The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือพนักงาน CDG ฉบับย่อ 5-65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siravee.aka, 2022-05-19 02:49:16

คู่มือพนักงาน CDG ฉบับย่อ 5-65

คู่มือพนักงาน CDG ฉบับย่อ 5-65

คู่มอื พนักงาน

บรษิ ัท ชนนั ธร ดีเวลลอปเมน้ ท์ กรุป๊ จาํ กดั

1. บททวั่ ไป

บรษิ ัท ชนนั ธร ดีเวลลอปเมน้ ท์ กรุ๊ป จาํ กดั ไดเ้ รมิ ก่อตงั ในปี และบรษิ ัท เรอื งปัญญาเคหะการ ก่อตงั เมือปี
โดยคณุ สชุ าติ เรอื งปัญญาวฒุ ิ เพอื ประกอบธุรกิจพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ยป์ ระเภทบา้ นเดยี ว ทาวเฮาส์ และอาคารชดุ มี
ทนุ จดทะเบียนเรมิ แรก , , บาท

ปัจจบุ นั บรษิ ัทฯ ไดพ้ ฒั นาโครงการอสงั หาริมทรพั ยใ์ นกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล ไม่ว่าจะเป็นโครงการบา้ นเดียว
Be-Motto และ Motto กาญจนาภิเษก, โครงการทาวเฮาส์ Mews เทียนทะเล , Mono เอกชยั -พระราม และอาคาร
ชดุ คอนโด PELA

2. วนั ทาํ งาน เวลาทาํ งาน วนั หยดุ ประจาํ สปั ดาห์ การมาสาย และเวลาพกั

บรษิ ัทฯกาํ หนดวนั ทาํ งาน เวลาทาํ งาน และเวลาพกั ตามลกั ษณะงานและความจาํ เป็นในการปฏิบตั หิ นา้ ทีดงั นี
2.1 วนั ทาํ งานปกต,ิ เวลาทาํ งานปกติ และวนั หยุดประจาํ สัปดาห์

สาํ นักงาน จาํ นวนวันทาํ งาน วันทาํ งาน เวลาทาํ งาน วนั หยุดประจาํ สัปดาห์
08.30 – 17.30 น. เสาร์ - อาทติ ย์
สาํ นักงานใหญ่ 5 วนั วนั จนั ทร์ - วนั ศกุ ร์ 09.00 – 18.00 น.
08.00 – 17.00 น. สลบั กนั หยดุ สปั ดาหล์ ะ วนั
โครงการ 6 วนั วนั จนั ทร์ - อาทติ ย์

พนกั งานไดร้ บั คา่ จา้ งในวนั หยดุ ประจาํ สดุ สปั ดาหเ์ ท่ากบั คา่ จา้ งวนั ทาํ งานปกติ

2.2 เวลาพัก สาํ นกั งานใหญ่ สาํ นกั งานสาขา และโครงการ เวลา 12.00 – 13.00 น.

2.3 สาํ หรบั พนักงานบางสายงาน บริษัทฯอาจกาํ หนดวนั ทาํ งาน เวลาทาํ งาน และเวลาพกั แตกต่างไปจากนีตาม
ความจาํ เป็นและเหมาะสม แตบ่ รษิ ัทฯจะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบลว่ งหนา้ ก่อนเขา้ ทาํ งานหรอื กอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน ไมน่ อ้ ย
กวา่ 3 วนั โดยไดร้ บั ความยนิ ยอมจากพนกั งาน

2.4 บรษิ ัทฯสงวนสทิ ธิทีจะเปลยี นแปลง กาํ หนดวนั และเวลาทาํ งาน ตามความเหมาะสมกบั สภาวะการทาํ งานในแต่
ละหน่วยงานได้ โดยไม่เปลยี นแปลงชวั โมงการทาํ งานตอ่ สปั ดาห์ และจะทาํ การตกลงกบั พนกั งานกอ่ น

2.5 เวลาทาํ งานพิเศษ สาํ หรบั หน่วยงานทีจาํ เป็น บริษัทฯอาจพิจารณาเปลียนแปลงเวลาทาํ งาน เวลาพกั และเวลา
เลิกงานเป็นอย่างอืน เป็นกรณีพิเศษตามความเหมาะสม โดยจะทาํ การตกลงกบั พนกั งานก่อน ทงั นีสาํ หรบั เวลา
การทาํ งานอนั ตรายตามทีกฎหมายกาํ หนดไวว้ นั ละไม่เกิน 7 ชวั โมง สปั ดาหล์ ะไม่เกิน 42 ชวั โมง

2.6 วนั หยุดตามประเพณี
บรษิ ัทฯ กาํ หนดใหม้ ีวนั หยดุ ตามประเพณีอย่างนอ้ ยปีละ 13 วนั รวมทงั วนั แรงงานแหง่ ชาติ โดยไดร้ บั คา่ จา้ ง

3. วนั ลาและหลกั เกณฑก์ ารลา

. วันหยุดพักผ่อนประจาํ ปี

 พนกั งานทีทาํ งานติดตอ่ ตดิ ตอ่ กนั มาแลว้ ครบ 119 วนั หรอื ผา่ นการทดลองงาน โดยนบั แตว่ นั เขา้ ทาํ งานมี

สทิ ธิหยดุ พกั ผ่อนประจาํ ปี โดยไดร้ บั คา่ จา้ งดงั นี

อายุงาน จาํ นวนวนั ลาพกั ร้อน (วนั ) เฉลยี เดอื นละ สะสมได้สูงสุด

เดอื น – ปี 12 วนั นบั จากวนั ทีเรมิ งาน

– ปี 12 วนั วนั

– ปี 15 . วนั วนั

ปีขนึ ไป 18 . วนั วนั

 สิทธิวนั ลาจะเป็นลกั ษณะสะสมตามจาํ นวนเดอื นทีพนกั งานไดท้ าํ งานโดยนบั ตงั แตว่ นั ทีเขา้ ทาํ งาน

 วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาํ ปี สามารถสะสมขา้ มปีปฏิทินได้ โดยสะสมไดส้ งู สดุ ตามอายงุ าน

 การหยุดพกั ผ่อนประจาํ ปีของพนกั งาน ทงั นีการอนญุ าตใหห้ ยุดพกั ผ่อนประจาํ ปีอยู่ในอาํ นาจของผจู้ ดั การ
สว่ น และเมือไดร้ บั การอนญุ าตแลว้ จึงจะหยดุ ได้ หากพนกั งานหยดุ งานไปโดยทียงั ไม่ไดร้ บั การอนญุ าต ถือ

เป็นการละทิงหนา้ ที ตอ้ งถกู ดาํ เนินการทางวนิ ยั

 บริษัทฯ อาจกาํ หนดใหพ้ นักงานหยุดพกั ผ่อนประจาํ ปีพรอ้ มกัน ในช่วงใดช่วงหนึงของปีก็ได้ หากมีความ

จาํ เป็นทางธรุ กิจ

 การลาหยุดไม่ว่าดว้ ยกรณีใดๆ พนักงานทุกคนจะตอ้ งทาํ ใบลาตามแบบฟอรม์ ทีบริษัทฯ กาํ หนด เสนอต่อ
ผบู้ งั คบั บญั ชาเพือการพจิ ารณาอนญุ าตการลาทกุ ครงั และเมือผบู้ งั คบั บญั ชาไดอ้ นญุ าตแลว้ พนกั งานจะตอ้ ง

นาํ ใบลานนั สง่ มอบใหแ้ กส่ ว่ นทรพั ยากรบคุ คลเพอื บนั ทกึ การลานนั ๆ

3.2 การลาป่ วย
 บริษัทฯ อนุญาตใหพ้ นักงานลาป่ วยไดเ้ ท่าทีป่ วยจริง โดยไดร้ บั ค่าจา้ งปีละไม่เกิน 30 วนั ทาํ งานและตอ้ งมี
ใบรบั รองแพทย์

 กรณีทีพนักงานเจ็บป่ วยจนไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้ เพราะการเจ็บป่ วยนันพนักงานจะตอ้ งยืนใบลาตาม
แบบฟอรม์ ทีบรษิ ัทๆ กาํ หนดตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาของตนทนั ทีทีสามารถทาํ ได้ ในกรณีทีพนกั งานไม่อาจยืนใบลา
ป่ วยได้ ใหพ้ นกั งานแจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบทางโทรศพั ท์ หรือทางจดหมายส่งทางไปรษณีย์ หรือ โดยวิธี
อนื ใดทนั ทีในวนั แรกทีป่วย หรอื โดยเรว็ ทีสดุ ยกเวน้ จะมีเหตสุ ดุ วิสยั จนไม่อาจแจง้ หรอื ติดตอ่ ได้

 เมือพนกั งานแจง้ การลาป่ วยแลว้ จะตอ้ งยืนใบลาอย่างชา้ ในวนั แรกทีกลบั เขา้ ทาํ งาน ในกรณีทีพนกั งานไม่
ปฏบิ ตั ติ ามโดยไม่มีเหตผุ ลอนั ควร บรษิ ัทฯถือวา่ วนั ทีลาป่วยดงั กลา่ วเป็นการขาดงาน

 การใชส้ ิทธิลาป่วยพนกั งานจะตอ้ งแนบใบรบั รองแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั หนึง หรอื ของสถานพยาบาลของทาง
ราชการ ซึงลงความเห็นใหห้ ยุดทาํ งานกาํ กับใบลาป่ วยมาแสดงทุกครงั ในกรณีทีพนักงานไม่อาจแสดง
ใบรบั รองแพทยใ์ หพ้ นกั งานชีแจงเหตผุ ลเป็นจริงใหผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชาทราบและพิจารณา ทงั นีผบู้ งั คบั บญั ชามี

สิทธิส่งตวั พนักงานใหแ้ พทยท์ าํ การตรวจร่างกายและวินิจฉัยอาการเจ็บป่ วย หากแพทยเ์ ห็นว่าไม่ป่ วยจริง
บรษิ ัทฯจะถือวา่ เป็นการขาดงาน
 พนกั งานทีลาป่วยโดยมไิ ดป้ ่วยจรงิ จะถือเป็นการขาดงาน และงดจ่ายคา่ จา้ งในวนั ทีขอลาหยดุ ดงั กลา่ วอีกทงั
ถือเป็นความผิดทางวนิ ยั ดว้ ย
 การลาป่วยถึงแมจ้ ะเป็นสิทธิทีกฎหมายกาํ หนดให้ แตก่ ารใชส้ ิทธิลาป่ วยโดยไม่มีความจาํ เป็นจรงิ อาจสง่ ผม
ในการประเมนิ ผลงานประจาํ ปีได้

. . การลาดว้ ยเหตจุ ากการประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ป่ วยอนั เนืองมาจากการทาํ งาน
กรณีทีพนกั งานประสบอนั ตราย หรือเจ็บป่วยอนั เนืองมาจากการทาํ งาน บรษิ ัทฯอนญุ าตใหพ้ นกั งานลาหยดุ

ไดเ้ ทา่ ทีป่วยจรงิ โดยไดร้ บั คา่ จา้ ง ตามความเห็นในใบรบั รองแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั หนงึ

3.4 การลาเพอื ทาํ หมนั และเนืองจากการทาํ หมัน
 พนกั งานมีสิทธิลาเพือทาํ หมนั และมีสิทธิลาอนั เนืองจากการทาํ หมนั ได้ ตามระยะเวลาทีแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั
กาํ หนด และออกใบรบั รองแพทยโ์ ดยไดร้ บั ค่าจา้ ง ทงั นี พนกั งานจะตอ้ งแสดงใบรบั รองของแพทยห์ รือของ
สถานพยาบาลของทางราชการ ในวนั แรกทีกลบั มาปฏิบตั งิ าน
 การขอลาเพอื ทาํ หมนั พนกั งานตอ้ งยืนใบลาตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 3 วนั

. . การลาคลอดบตุ ร
 พนักงานหญิงทีมีครรภ์ มีสิทธิลาคลอดก่อนและหลงั คลอดได้ ครรภห์ นึงเป็นเวลาไม่เกิน 98 วัน โดยรวม
วนั หยดุ ทีมีในระหวา่ งวนั ลาคลอดดงั กลา่ วดว้ ย
 พนักงานหญิงทีลาคลอดมีสิทธิไดร้ บั ค่าจา้ งเท่าเวลาทีลาตามอตั ราค่าจา้ งทีไดร้ บั อยู่ แต่ไม่เกิน 45วนั รวม
วันหยุดทุกประเภททีกล่าว เท่านันทังนีหากพนักงานกลบั มาปฏิบัติหนา้ ทีภายใน 45 วนั แรก พนักงานยัง
สามารถรบั ทงั คา่ จา้ งเมือกลบั มาทาํ งานและคา่ จา้ งตามสิทธิลาคลอดดว้ ยอตั ราเต็ม 45 วนั ดว้ ย
 การลาหยดุ งานเพือเตรียมตวั คลอดบตุ ร พนกั งานจะตอ้ งยืนใบลาตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาลว่ งหนา้ อย่างนอ้ ย 7 วนั
และเมือไดร้ บั อนญุ าตจากผบู้ งั คบั บญั ชาแลว้ จงึ จะหยดุ งานได้
 กรณีทีจาํ เป็นตอ้ งหยดุ งานเนืองจากคลอดบตุ รฉกุ เฉิน โดยทีไม่อาจขออนญุ าตลาหยดุ งานต่อผบู้ งั คบั บญั ชา
ในวนั นนั ได้ ใหพ้ นกั งานหรอื บคุ คลในครอบครวั ของพนกั งานติดตอ่ แจง้ การลาหยดุ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบ ใน
โอกาสแรกทีจะทาํ ได้
 การแทง้ บุตรก่อนตงั ครรภค์ รบ 28 สปั ดาห์ ไม่ถือเป็นการลาคลอด ใหถ้ ือเป็นการลาป่ วยเนืองจากการแทง้
บตุ ร แตถ่ า้ เป็นการแทง้ บตุ รหลงั ตงั ครรภเ์ กิน 28 สปั ดาห์ ใหถ้ ือเป็นการลาคลอด
 ถา้ พนกั งานซงึ เป็นหญิงมีครรภ์ มีใบรบั รองแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั หนงึ แสดงว่าไม่อาจทาํ งานในหนา้ ทีเดิมได้
ใหม้ ีสิทธิขอใหบ้ ริษัทฯเปลียนงานในหนา้ ทีเป็นการชวั คราวก่อนหรือหลงั คลอดได้ และบริษัทฯจะพิจารณา
เปลียนงานใหแ้ กพ่ นกั งานนนั ตามทีเหน็ สมควร
 ในการลาคลอดบตุ รใหน้ าํ ระเบยี บปฏิบตั ใิ นเรอื งการลาป่วยมาใชโ้ ดยอนโุ ลม

. การลากจิ
 การลากิจจะตอ้ งยืนใบลาลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย 1 วนั เวน้ แตก่ รณีสดุ วสิ ยั
 การลากิจแต่ละครงั บริษัทฯ อนญุ าตใหล้ าไดค้ รงั ละไม่เกินกว่า 3 วนั ทาํ งาน ทงั นี การลากิจแต่ละครงั ตอ้ ง
ไดร้ บั การอนุมตั ิจากผบู้ งั คบั บญั ชาก่อนเสมอ เวน้ แต่ในกรณีพิเศษใหอ้ ยู่ในดลุ พินิจของผูบ้ งั คบั บญั ชาระดบั
ผจู้ ดั การสว่ นขนึ ไป และตอ้ งมีเหตผุ ลสมควรจรงิ ๆ
 พนกั งานจะไดร้ บั อนญุ าตใหล้ ากิจโดยไดร้ บั คา่ จา้ งดว้ ยความจาํ เป็นเรอื งตา่ งๆดงั นี
o เมือบิดาหรือมารดาของพนักงาน บิดาหรือมารดาคู่สมรสของพนักงาน คู่สมรสหรือบุตรป่ วยหนัก
จาํ เป็นตอ้ งไปดแู ล
o ลาเพอื ไปติดตอ่ งานราชการทีตอ้ งไปดว้ ยตนเองตามกฎหมาย

ทงั นีการลากิจโดยไดร้ บั ค่าจา้ งทกุ ประเภทรวมกนั แลว้ จะตอ้ งไม่เกิน 5 วนั ทาํ งาน ต่อปี เวน้ แต่ไดร้ บั อนญุ าต
จากกรรมการบรษิ ัทฯ

. การลาเพอื ประกอบพธิ ีงานศพ
พนักงานมีสิทธิลาหยุดเพือจัดงานศพของบิดา มารดา พีนอ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกัน คู่สมรสและบุตรที

ถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ได้ 3 วนั ทาํ งาน โดยไดร้ บั คา่ จา้ ง โดยใชส้ ทิ ธิการลาทีมี

. การลาอุปสมบท
 พนกั งานชายทียงั ไม่เคยอปุ สมบทมาก่อน และทาํ งานกบั บรษิ ัทฯ มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี มีสิทธิลาอปุ สมบท
ไดไ้ ม่เกิน 30 วนั ติดต่อกัน รวมวนั หยุดทุกประเภททีมีในระหว่างการลานันโดยใชส้ ิทธิการลาทีมีโดยไดร้ บั
คา่ จา้ ง
 สทิ ธิการลาอปุ สมบท พนกั งานสามารถใชไ้ ดเ้ พียงครงั เดียวตลอดอายกุ ารทาํ งานกบั บรษิ ัทฯ
 พนกั งานซงึ ประสงคจ์ ะอปุ สมบท ตอ้ งยืนใบลาลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกว่า 15 วนั ต่อผจู้ ดั การสว่ น เมือไดร้ บั อนญุ าต
ใหล้ าแลว้ อปุ สมบทไดแ้ ลว้ จงึ จะหยดุ งานและอปุ สมบทได้ แตจ่ ะหยดุ งานกอ่ นวนั อปุ สมบทเกิน 3 วนั ไม่ได้
 พนกั งานทีอปุ สมบทแลว้ ตอ้ งมีหนงั สือรบั รองการอปุ สมบทของเจา้ อาวาสในอารามทีไดอ้ ปุ สมบทอยู่ รบั รอง
การอปุ สมบทยืนตอ่ สว่ นทรพั ยากรบคุ คล ผา่ นทางผจู้ ดั การสว่ น เพอื เก็บไวเ้ ป็นหลกั ฐานในการลา
 เมือพนกั งานไดล้ าสขิ าบทแลว้ จะตอ้ งรบี รายงานตวั ต่อผจู้ ดั การฝ่ายเพือเขา้ ปฏิบตั ิหนา้ ทีภายใน 7 วนั ทาํ งาน
หากพน้ กาํ หนดนีแลว้ ใหถ้ ือวา่ ขาดงาน แมจ้ ะยงั ไมค่ รบกาํ หนดทีไดร้ บั อนญุ าตใหล้ าอปุ สมบทก็ตาม

3.9 การลาโดยไมข่ อรับค่าจา้ ง
เป็นการลาหยดุ งานโดยสมคั รใจของพนกั งาน ทีไม่ขอรบั คา่ จา้ งจากบรษิ ัทฯ เนืองจากไมอ่ ยใู่ นขอบข่ายการลา

หยดุ ทีไดร้ บั ค่าจา้ งทีบรษิ ัทฯ กาํ หนดไว้ การลาหยดุ ดงั กล่าวจะตอ้ งไม่ก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่บรษิ ัทฯ และจะตอ้ ง
ไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การสว่ น ก่อนทกุ ครงั

4. การจ่ายค่าจา้ ง และการจา่ ยค่าล่วงเวลา ค่าทาํ งานในวนั หยดุ และค่าทาํ งานล่วงเวลาวนั หยดุ

. วนั จ่ายค่าจ้าง
 บรษิ ัทฯจะจา่ ยคา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา และคา่ ทาํ งานในวนั หยดุ เดือนละครงั ใหแ้ ก่พนกั งานรายเดอื น พนกั งานทดลอง

งาน และพนักงานทีมีกาํ หนดระยะเวลาการจา้ งงานไวแ้ น่นอน โดยกาํ หนดจ่ายใหใ้ นวันที 25 ของเดือน ผ่าน
ธนาคารกสกิ รไทย
 บรษิ ัทฯจะจา่ ยคา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา และคา่ ทาํ งานในวนั หยดุ เดือนละ 2 ครงั ใหแ้ ก่พนกั งานรายวนั โดยกาํ หนดจา่ ย
ใหใ้ นวนั ที 5 และ 20 ของเดือนผา่ นธนาคารกสกิ รไทย
 การเสียภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา เงินประกันสังคม และ/หรือค่าใชจ้ ่ายใดๆ ทีกฎหมายกาํ หนดว่า ลูกจา้ ง/
พนักงานต้องชําระอันเนืองจากการมีเงินได้ หรือจากการเป็นลูกจ้าง/พนักงานนัน พนักงานจะต้องเป็น
ผรู้ บั ผิดชอบ โดยทงั นี บรษิ ัทฯจะหกั เงินไดบ้ คุ คลธรรมดา เงินประกนั สงั คม และ/หรือเงินไดอ้ ืนใดไว้ ณ ทีจ่ายก่อน
จา่ ยเงนิ ไดจ้ าํ นวนนนั ๆใหแ้ ก่พนกั งานเป็นประจาํ ทกุ เดือน ตามกาํ หนดเวลาทีกฎหมายกาํ หนด

. การทาํ งานล่วงเวลาหรือในวนั หยุด
บรษิ ัทฯไม่มีนโยบายทีจะใหพ้ นกั งานทาํ งานลว่ งเวลา ทาํ งานในวนั หยดุ หรือทาํ งานล่วงเวลาในวนั หยดุ เวน้

แต่กรณีมีเหตุจาํ เป็น อันเกิดจากงานทีมีลกั ษณะตอ้ งทาํ ติดต่อกันถา้ หยุดจะเกิดการเสียหายแก่งาน หรือเป็นงาน
ฉุกเฉินโดยจะหยุดเสียมิได้ บริษัทฯจะใหพ้ นกั งานทาํ งานล่วงเวลา หรือทาํ งานในวนั หยุดเท่าทีจาํ เป็น ทงั นีในการ
ทาํ งานลว่ งเวลาในสปั ดาหห์ นงึ จะใหท้ าํ ไมเ่ กินสปั ดาหล์ ะ 36 ชวั โมงโดยรวมถึงชวั โมงการทาํ งานในวนั หยดุ

ในกรณีพนักงานไดม้ าทาํ งานล่วงเวลา หรือทาํ งานในวนั หยุดโดยมิไดร้ บั คาํ สงั หรือไม่ไดร้ บั การอนมุ ตั ิจาก
บรษิ ัทฯใหถ้ กู ตอ้ งก่อน บรษิ ัทฯจะไมจ่ ่ายคา่ ลว่ งเวลา หรอื คา่ ทาํ งานในวนั หยดุ ให้

4.3 หลักเกณฑก์ ารจา่ ยเงนิ คา่ ล่วงเวลา ค่าทาํ งานในวนั หยุด และคา่ ทาํ งานล่วงเวลาวนั หยุด
. . คา่ ทาํ งานลว่ งเวลา บรษิ ัทฯจะจ่ายตามอตั ราทีกฎหมายกาํ หนด ดงั นี
พนกั งานทีทาํ งานนอกเหนือเวลาทาํ งานปกติในวนั ทาํ งาน จะไดร้ บั ค่าทาํ งานล่วงเวลาในอตั ราหนึงเท่าครงึ

( . เท่า) ของอตั ราค่าจา้ งต่อชวั โมงการทาํ งานปกติสาํ หรบั เวลาทีทาํ หรือในอตั ราหนึงเท่าครงึ ของอตั ราค่าจา้ งต่อ
หนว่ ยในเวลาทาํ งานปกตขิ องเวลาทีทาํ

. . คา่ ทาํ งานในวนั หยดุ
พนักงานมีสิทธิไดร้ บั ค่าจา้ งในวนั หยุด วนั หยุดประจาํ สปั ดาห์ วนั หยุดตามประเพณี และวนั หยุดพกั ผ่อน
ประจาํ ปี ถา้ มาทาํ งานในวนั หยุดดงั กล่าวจะไดร้ บั ค่าทาํ งานในวนั หยดุ ในอตั ราหนึงเท่า (1เท่า) ของอตั ราค่าจา้ งต่อ
ชวั โมงการทาํ งานปกติสาํ หรบั เวลาทีทาํ หรอื ในอตั ราหนึงเท่าของอตั ราคา่ จา้ งต่อหน่วยในเวลาทาํ งานปกติของเวลาที
ทาํ และหากทาํ งานเกินแปดชวั โมงในวนั หยดุ จะไดร้ บั คา่ ทาํ งานในวนั หยดุ ในอตั ราสองเท่า (2 เท่า) ของอตั ราคา่ จา้ งตอ่
ชวั โมงการทาํ งานปกติสาํ หรบั เวลาทีทาํ หรือในอตั ราสองเท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อหน่วยในเวลาทาํ งานปกติของเวลาที
ทาํ

. . หลกั การคาํ นวณคา่ จา้ งตอ่ ชวั โมง ใหถ้ ือปฏิบตั ิดงั นี

สาํ หรบั พนกั งานรายเดือน = ( เงนิ เดอื นสดุ ทา้ ย ) / (30 x 8)

สาํ หรบั พนกั งานรายวนั = อตั ราคา่ จา้ งตอ่ วนั / 8

5. สวสั ดิการ

เพอื เป็นขวญั และกาํ ลงั ใจใหก้ บั พนกั งานทีผา่ นทดลองงานแลว้ บรษิ ัทฯ มีสวสั ดกิ ารใหด้ งั นี

5.1 เงินช่วยเหลือกรณีตา่ งๆ

เงนิ ช่วยเหลอื จาํ นวน เงอื นไข หลักฐานทใี ช้

กรณีสมรส , บาท ใชส้ ทิ ธิได้ ครงั ทะเบยี นสมรสหรอื การด์ แตง่ งาน

ตลอดการเป็นพนกั งาน

กรณีงานอปุ สมบท 3,000 บาท สาํ หรบั เพศชายเทา่ นนั หนงั สือรบั รองการบวช

กรณีงานศพ , บาท ใชก้ บั พนกั งาน บดิ า มารดา ใบมรณบตั ร

คสู่ มรส และบตุ รของพนกั งาน

กรณีคลอดบตุ ร , บาท สาํ หรบั เพศหญิงเท่านนั สตู บิ ตั ร

. กองทนุ สาํ รองเลยี งชีพ

บริษัทฯ ไดท้ าํ ขอ้ ตกลงกับธนาคารกสิกรไทย ภายใตก้ องทุนสาํ รองเลียงชีพ เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ซึงจด

ทะเบียนแลว้ โดยพนักงานตอ้ งอายงุ าน ปีขึนไป จึงจะสมคั รเขา้ ร่วมกองทนุ ได้ โดยมีอตั ราเงินสะสมตามอายงุ าน

ดงั นี

อายุงาน อตั ราเงนิ สะสมส่วนสมาชกิ อตั ราเงนิ สะสมส่วนนายจา้ ง

(ร้อยละของคา่ จ้าง) (ร้อยละของคา่ จ้าง)

– ปี 3 3

– ปี 4 4

ปี ขึนไป 5 5

หากพนกั งานสนิ สดุ การเป็นสมาชิก สมาชกิ มีสทิ ธิไดร้ บั เงินสมทบและผลประโยชนส์ ว่ นของนายจา้ งดงั นี

อายุงาน อตั ราเงนิ สมทบและผลประโยขนข์ องเงนิ สมทบ
ทจี ะจา่ ยเมือสมาชิกสินสุดลง

– ปี 70%

3 ปีขนึ ไป 100%

5.4 ประกนั สขุ ภาพกลมุ่

บรษิ ัทฯ ไดท้ าํ ประกนั สขุ ภาพกล่มุ ใหก้ บั พนกั งานรายเดือนทีอายงุ าน ปีขึนไป ไดม้ ีประกนั สขุ ภาพทงั ผปู้ ่วยนอก
(OPD) ผปู้ ่วยใน (IPD) และประกนั ชีวติ โดยเป็นไปตามเงือนไขของกรมธรรมป์ ระกนั สขุ ภาพกลมุ่

5.5 เงนิ กพู้ นกั งาน

ทางบรษิ ัทจดั เป็น สวสั ดิการใหก้ บั พนกั งานทีมีความจาํ เป็น ในกรณีฉกุ เฉินเทา่ นนั ซงึ มีกฏเกณฑด์ งั นี
 พนกั งานตอ้ งมีอายงุ านมากกวา่ 1 ปี ขนึ ไป และมีประวตั ิการทาํ งานทีดี ไมไ่ ดร้ บั ใบเตอื น
 จาํ นวนวงเงนิ ขอกยู้ ืมไดไ้ มเ่ กินสองเท่าของฐานเงินเดอื น และตอ้ งไม่เกินวงเงนิ 80,000 บาท
 ทางบรษิ ัทคดิ ดอกเบียเงินกยู้ ืมตามดอกเบีย MLR+1 % ตอ่ ปีของกสกิ รไทย ณ วนั ทีทาํ เรอื งกยู้ ืม
 การชาํ ระเงนิ กยู้ ืมแก่บรษิ ัทเป็นงวด ขนั ตาํ เดือนละ 5,000 บาท และสง่ ใหค้ รบยอดภายใน 6 เดอื น นบั ตงั แต่ เดือน

ถดั ไปทีกยู้ ืม โดยบรษิ ัทจะหกั จากบญั ชีเงินเดือน ตามการตดั รอบของบรษิ ัทฯ ทกุ เดอื น
5.6 สว่ นลดซอื บา้ นในโครงการของบรษิ ัท
5.7 กองทนุ ประกนั สงั คม และกองทนุ เงนิ ทดแทน

6. วนิ ัย และ โทษทางวนิ ัย

เนืองจากบรษิ ัทฯ มีพนกั งานปฏิบตั งิ านรว่ มกนั เป็นจาํ นวนมาก จงึ ไดก้ าํ หนดหลกั เกณฑต์ า่ งๆ ในหมวดนี เพอื
ความเป็นระเบยี บของหมคู่ ณะ และเพอื ชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานใหด้ าํ เนินไปดว้ ยความสงบรม่ รนื บงั เกิดประสทิ ธิภาพ
6.1 แนวนโยบายเรืองวนิ ัย

ผบู้ งั คบั บญั ชาจะตอ้ งพยายามปอ้ งกนั มิใหเ้ กิดปัญหาการลงโทษทางวินยั ดว้ ยการใหห้ ลกั การบริหารบคุ คล
หรอื การปกครองทีดี

ตามปกติแลว้ การดาํ เนินการลงโทษทางวินยั จะพิจารณาลงโทษตามสภาพแห่งความผิดตามควรแก่กรณี
เพือใหพ้ นกั งานไดม้ ีโอกาสปรบั ปรุงตนเอง เวน้ แตค่ วามผดิ นนั จะมีลกั ษณะรา้ ยแรง บรษิ ัทฯจาํ เป็นจะตอ้ งเลกิ จา้ งทนั ที

. วนิ ัยของพนักงาน
. พนกั งานตอ้ งเคารพ และปฏิบตั ิตามระเบียบขอ้ บงั คบั เกียวกับการทาํ งาน ประกาศเกียวกับการทาํ งาน

หรือระเบียบเกียวกบั ความปลอดภยั ของบริษัทฯ หรือระเบียบ ประกาศ ทีจะเพิมเติม เปลียนแปลง แกไ้ ขในภายภาค
หนา้

. พนกั งานตอ้ งเชือฟัง และปฏิบตั ิตามคาํ สงั อนั ชอบดว้ ยกฎหมาย ของผบู้ งั คบั บญั ชา
. พนกั งานตอ้ งตงั ใจปฏิบตั ิหนา้ ทีในความรบั ผิดชอบใหไ้ ดผ้ ลดีทีสดุ ตามกาํ ลงั ความสามารถ ไม่ชะลอ หรือ
ถ่วงการปฏิบตั ิงาน หรอื ขดั ขวางการทาํ งานของผอู้ ืน

. พนกั งานตอ้ งมีความซือสตั ยส์ จุ ริต ไม่กลนั แกลง้ หรือจงใจกระทาํ ใหเ้ กิดความเสียหายต่อบริษัทฯ และ
หรอื พนกั งานดว้ ยกนั เอง ไมล่ กั ทรพั ย์ ยกั ยอก ฉอ้ โกงทรพั ยส์ ินของบรษิ ัทฯ และหรอื ของพนกั งานดว้ ยกนั เอง/

. พนักงานตอ้ งไม่ละทิงหนา้ ทีทีไดร้ บั มอบหมาย ไม่ขาดงานหรือหยุดงานโดยไม่มีเหตุสมควร หรือมา
ทาํ งานสายบอ่ ยครงั หรอื นอนหลบั ในเวลาทาํ งาน

. พนกั งานตอ้ งบนั ทึกบตั รลงเวลาดว้ ยตวั เองทุกครงั ทีเขา้ งาน และไม่ออกจากสถานทีทาํ งานในระหว่าง
เวลาทาํ งาน โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตหรือไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร และตอ้ งไม่ปรบั หรือแกไ้ ขเวลาทีไดท้ าํ การบนั ทึกไวโ้ ดย
ไม่ไดร้ บั อนญุ าต

. พนกั งานตอ้ งรกั ษาผลประโยชนข์ องบรษิ ัทฯ และไมเ่ ปิดเผยความลบั ของบรษิ ัท
. พนกั งานตอ้ งไม่กระทาํ หรือ ใหผ้ อู้ ืนกระทาํ การใดๆ อนั ทาํ ใหเ้ สือมเสียชือเสียง หรือภาพพจนข์ องบรษิ ัท
ฯ ไดร้ บั ความเสยี หาย โดยการเผยแพร่ แจกจ่ายเอกสารใดๆ ทีมใิ ช่เพือประโยชนข์ องบรษิ ัทฯ หรอื ทีอาจเกิดผลกระทบ
ตอ่ การดาํ เนินงานของบรษิ ัทฯ โดยมไิ ดร้ บั อนญุ าตจากบรษิ ัทฯ
. พนกั งานตอ้ งรกั ษาความเป็นอนั หนงึ อนั เดยี วของหม่คู ณะ ไมส่ รา้ งความแตกแยกใหเ้ กิดขนึ
. พนกั งานตอ้ งไม่นาํ สรุ า ยาเสพติด เขา้ มาภายในสถานทีทาํ งานของบริษัทฯ และไม่เสพสรุ า ยาเสพติด
ในบรเิ วณทีทาํ การของบรษิ ัทฯ ทงั ในเวลาทาํ การ และนอกเวลาทาํ การ หรือบรเิ วณนอกทีทาํ การของบรษิ ัทฯ ในขณะที
ปฏบิ ตั ิงานนอกสถานที
. พนกั งานตอ้ งไม่ทาํ ใหท้ รพั ยส์ ิน อาคาร สถานทีของบริษัทฯเสียหาย หรือแกไ้ ข เพิมเติม ตดั ทอน หรือ
เปลยี นแปลง ประกาศ ระเบียบ คาํ สงั บนั ทกึ ขอ้ ความรายงาน หรอื เอกสารอืนซงึ เกียวขอ้ งกบั การทาํ งาน โดยมชิ อบ
. พนกั งานตอ้ งไม่ปลอ่ ยปละละเลยการดแู ลผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา โดยตอ้ งดแู ลผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาปฏิบตั ิตาม
กฎระเบยี บ ประกาศ และคาํ สงั ของบรษิ ัทฯ โดยเครง่ ครดั และสมาํ เสมอ
. พนักงานตอ้ งไม่ใชเ้ วลาทาํ งานของบริษัทฯ, ไม่ใชต้ าํ แหน่งหนา้ ทีจากการเป็นพนักงาน หวั หนา้ งาน
ผูบ้ ังคับบัญชา และทีปรึกษา ของบริษัทฯ ไปแสวงหาผลประโยชนห์ รือเอือประโยชนห์ รือหรือขัดผลประโยชนห์ รือ
ยอมรบั ผลประโยชนใ์ ด ๆ เพือตนเองหรือผูอ้ ืน เช่น คู่คา้ กับบริษัทฯ, รา้ นคา้ ตัวแทนจาํ หน่ายสินคา้ , ผูร้ บั เหมางาน
กอ่ สรา้ ง และพนกั งานตอ้ งไมท่ าํ กิจกรรม หรอื เป็นหนุ้ สว่ นหรอื มีความสมั พนั ธท์ างเครอื ญาตหิ รอื มีสว่ นไดเ้ สียในกิจการ
อืน ทีเป็นการแข่งขนั หรือขดั ผลประโยชนก์ บั ธุรกิจของบรษิ ัทฯ หรือใชท้ รพั ยส์ ิน หรืออาคารสถานทีของบรษิ ัทฯเพือการ
สว่ นตวั หรอื เพอื การอนื ทีไมเ่ กียวขอ้ งกบั การทาํ งานหรอื ธรุ กิจของบรษิ ัทฯโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต ซงึ บรษิ ัทฯ ถือวา่ เป็นการ
เจตนาทีจะสอ่ ไปในทางทจุ รติ ฉอ้ โกง โดยมีบทลงโทษจนถึงทีสดุ
. พนกั งานตอ้ งไม่แสดงพฤติกรรมทีไม่สภุ าพทาํ ใหผ้ อู้ ืนอบั อายเสียหนา้ หรือใชถ้ อ้ ยคาํ หรืออาการ ทียยุ ง
สง่ เสรมิ ก่อกวนขม่ ขู่ อาฆาตมาดรา้ ย ก่อการวิวาท หรอื พยายามกอ่ การวิวาทกบั เพือนรว่ มงาน ลกู คา้ หรอื ผทู้ ีมาตดิ ต่อ
บริษัท ฯ รวมทงั ตอ้ งไม่แพร่กระจายข่าวลือ อนั ทาํ ใหผ้ ูอ้ ืนไดร้ บั ความเสียหาย หรือกระทาํ การอืนใดทีทาํ ใหเ้ กิดการ
แตกแยกในหม่พู นกั งาน
. พนกั งานตอ้ งไม่จดั การประชมุ ชุมนมุ ภายในบริษัทฯหรือบริเวณหนา้ บริษัทฯโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าตจาก
บรษิ ัทฯ และตอ้ งไม่รว่ มการนดั หยดุ งานทีฝ่าฝืนกฎหมาย
. พนกั งานตอ้ งไม่เลน่ การพนนั ในสถานทีทาํ งานของบรษิ ัทฯ

. พนกั งานตอ้ งไม่พกพาอาวธุ หรอื สิงผิดกฎหมายเขา้ มาในสถานทีทาํ งานของบรษิ ัทฯ
. พนกั งานตอ้ งไม่ประพฤติตนชวั ชา้ จนเป็นทีรงั เกียจของสงั คม และตอ้ งไม่ปฏิบตั ิตนเป็นอนั ธพาล หรือ
เสเพลหรอื กระทาํ การใดๆอนั สอ่ ใหเ้ หน็ วา่ เสอื มเสยี ในดา้ นศลี ธรรม
. พนักงานตอ้ งไม่เป็น ผู้ทีมีหนีสินลน้ พน้ ตัว หรือดาํ เนินการเป็นนายทุนปล่อยกู้ หรือตังวงแชรเ์ อา
ทรพั ยส์ ิน หรอื มีพฤติกรรมชสู้ าว จนเป็นเหตใุ หท้ ะเลาะววิ าท หรอื เกิดผลกระทบกบั การทาํ งาน

. . หากพนกั งานมีพฤติกรรมเรอื งชสู้ าวหรือครู่ กั ในระหว่างทาํ งานของบรษิ ัทฯ ตอ้ งพิจารณาถงึ
ความเหมาะสมในการปฏิบตั ิงาน, การบงั คบั บญั ชา และการปกครอง เพือเป็นแบบอย่างอนั ดี ซึงตอ้ งมีพนกั งานคน
หนงึ คนใดพิจารณาตนเอง และลาออกจากบรษิ ัทฯ

. พนกั งานตอ้ งไม่ประพฤติผิดในการเรียกรบั สินบน รอ้ งขอ หรือรบั ไวซ้ ึงของกาํ นลั เงิน สิงตอบแทน หรือ
ประโยชนอ์ นื ใด จากบคุ คลใดๆ เพือช่วยอาํ นวยประโยชน์ หรอื การไดม้ าซงึ ประโยชนข์ องบคุ คลนนั โดยมิชอบ

. พนักงานตอ้ งไม่กระทาํ การใดๆ อันเป็นเหตุใหบ้ ริษัทฯ เกิดความไม่ไวว้ างใจ หรือใหก้ ารช่วยเหลือ
สนบั สนนุ แนะนาํ ชกั ชวน หรอื มีสว่ นรว่ มในการกระทาํ ความผดิ หรอื ปกปิดการกระทาํ ความผดิ ของคนอืน

. พนกั งานตอ้ งไม่ปลอมแปลงเอกสารไม่ว่าทงั หมด หรือส่วนหนึงสว่ นใด ใชเ้ อกสารปลอมใชเ้ อกสารเท็จ
หรอื ใหข้ อ้ ความอนั เป็นเท็จแก่ผบู้ งั คบั บญั ชา หรือบรษิ ัทฯเพือประโยชนข์ องตนเองและผอู้ ืนเช่นการใชส้ ิทธิการลา โดย
ผดิ ประเภท หรอื การลาโดยไม่สจุ รติ

. พนกั งานตอ้ งแต่งกายตามเครืองแบบทีบริษัทฯกาํ หนด หรือแต่งกายสภุ าพในวนั ซงึ บริษัทฯกาํ หนดให้
แตง่ ไดใ้ นวนั ทาํ งาน

. พนกั งานตอ้ งปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดี ไมฝ่ ่าฝืน หรอื กระทาํ ผดิ ตอ่ กฎหมาย
. พนกั งานทกุ คนจะตอ้ งผ่านการทดสอบหรือประเมินผลการทาํ งาน ตามระยะเวลาการทาํ งานทีบรษิ ัทฯ
กาํ หนด โดยจะมีการประเมินในรอบแต่ละเดือน และ/หรือแต่ละไตรมาส และ/หรือประเมินประจาํ ปี เพือพิจารณาผล
การทาํ งานทีผ่านมา ตามกฏเกณฑท์ ีบริษัทฯไดก้ าํ หนดไว้ หากพนักงานไม่ผ่านการประเมินผลงาน ตอ้ งพิจารณา
ตนเองทาํ หนงั สือลาออกดว้ ยความสมคั รใจ หรือบริษัทฯมีสิทธิบอกเลิกจา้ งโดยไม่จ่ายเงินชดเชยใด ๆ ทงั สิน บริษัทฯ
สงวนไวซ้ งึ สทิ ธิจะยกเลกิ หรอื เพกิ ถอน เปลยี นแปลงหลกั เกณฑ์

การลงโทษทางวนิ ัย
บรษิ ัทฯ ถือเป็นนโยบายว่า การทีบรษิ ัทฯ จะลงโทษพนกั งานในกรณีทีพนกั งานฝ่าฝืนไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบ

วินยั หรือขอ้ บงั คบั การทาํ งานนนั บริษัทฯ จะพิจารณาใหค้ วามเป็นธรรมแก่พนกั งานอย่างดีทีสดุ การลงโทษใดๆ ก็ดี
จะตอ้ งยดึ หลกั เกณฑข์ อ้ บงั คบั ของบรษิ ัทฯเป็นสาํ คญั

การลงโทษจะตอ้ งกระทาํ เป็นขนั ตอน ตามความหนกั เบาของความผิดทีกระทาํ โดยพิจารณาจากเจตนาของ
ผกู้ ระทาํ ความผิด การลงมือกระทาํ ความผิด และผลของการกระทาํ ความผิดนนั เป็นเกณฑ์ ในกรณีทีพนกั งานฝ่าฝืน
ไม่ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขอ้ บงั คบั เกียวกบั การทาํ งาน ซงึ กาํ หนดบทลงโทษทางวินยั ไว้ 4 ประการ ดงั นี

1. การตกั เตือนดว้ ยวาจา และบนั ทกึ ไวเ้ ป็นหนงั สือ
2. การตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
3. การพกั งาน
4. การเลิกจา้ งโดยไมจ่ า่ ยคา่ ชดเชย

หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาลงโทษทางวนิ ยั
1. หลกั เกณฑก์ ารลงโทษทางวินยั การตกั เตอื นดว้ ยวาจา และบนั ทกึ ไวเ้ ป็นหนงั สอื เพือสง่ ตอ่ ใหฝ้ ่ายบคุ คล
 การผิดวินยั นนั ยงั ไม่กอ่ ใหเ้ กิดผลเสยี หายใดตอ่ บรษิ ัทฯ เลย

 พนกั งานผกู้ ระทาํ ความผดิ วนิ ยั ไมเ่ คยกระทาํ ผดิ วนิ ยั ในเรอื งเดียวกนั นีมากอ่ นเลย

 พนกั งานรูส้ กึ สาํ นกึ ตนไดก้ ระทาํ ผดิ วินยั และยืนยนั วา่ จะไมก่ ระทาํ ความผดิ อีก

2. หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาการลงโทษทางวินยั ไม่เคยกระทาํ ผิดทางวินยั ในเรืองเดียวกนั มาก่อนเลย พนกั งานรู้
สาํ นกึ วา่ ตนไดก้ ระทาํ ความผิดวนิ ยั และยืนยนั วา่ จะไม่กระทาํ ความผดิ อีก

ผูม้ ีอาํ นาจพิจารณาลงโทษจะพิจารณาลงโทษตามบทลงโทษอืนๆ โดยพนกั งานอาจไดร้ บั โทษประการใด
ประการหนงึ หรือหลายประการพรอ้ มกนั โดยไม่ตอ้ งเรียงลาํ ดบั ก็ได้ หากเห็นว่าการลงโทษตามลาํ ดบั ขา้ งตน้ ไม่ไดผ้ ล
หรอื มีการกระทาํ ผดิ ซาํ อกี

3. หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาลงโทษทางวินยั โดยการเลิกจา้ งโดยไม่จ่ายค่าชดเชย ผมู้ ีอาํ นาจลงโทษ มีเกณฑ์
ในการพิจารณาลงโทษดงั นี

 เมือปรากฏวา่ พนกั งานทจุ รติ ตอ่ หนา้ ทีหรอื กระทาํ ความผิดอาญาโดยเจตนาแกบ่ รษิ ัทฯผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื
ฝ่ายบรหิ ารของบรษิ ัทฯ นนั ไดก้ ระทาํ การตา่ งๆ ในฐานะตวั แทนของบรษิ ัทฯ

 เมือปรากฏวา่ พนกั งานไดก้ ระทาํ การใด อนั เป็นการจงใจทาํ ใหบ้ รษิ ัท ฯ ไดร้ บั ความเสียหาย

 เมือปรากฏว่าพนักงานไดก้ ระทาํ การฝ่ าฝืนข้อบังคับเกียวกับการทาํ งานหรือระเบียบหรือคาํ สังของ
นายจา้ งอนั ชอบดว้ ยกฎหมายและเป็นธรรม โดยบรษิ ัทฯไดต้ กั เตือนเป็นหนงั สือ และลงโทษทางวินยั แลว้
เว้นแต่กรณีทีรา้ ยแรงทีไม่จาํ เป็นตอ้ งตักเตือน ทังนี หนังสือเตือนดังกล่าวมีผลบังคับใช้ไม่เกิน 1 ปี
นบั ตงั แตว่ นั ทีพนกั งานไดก้ ระทาํ ผดิ

 เมือปรากฏว่าพนกั งานไดล้ ะทิงหนา้ ทีเป็นเวลา 3 วนั ทาํ งานติดต่อกนั โดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร ไม่วา่ จะ
มีวนั หยดุ คนั หรอื ไมก่ ็ตาม

 เมือพนกั งานประมาทเลินเลอ่ เป็นเหตใุ หบ้ รษิ ัทฯไดร้ บั ความเสยี หายรา้ ยแรง

 เมือพนกั งานตอ้ งคาํ พิพากษา อนั ถึงทีสดุ ใหร้ บั โทษจาํ คกุ เวน้ แต่เป็นโทษสาํ หรบั ความผิดทีไดก้ ระทาํ โดย
ประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ


Click to View FlipBook Version