The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด
เอกสารสำนักงานเจ้าคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เล่ม ๑
เรียบเรียง ปฐมพร จำปาอ่อน
บรรณาธิการ พระมหาธนวัฒน์ ปริยตฺติเมธี เลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองเลย, ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง, เจ้าคณะตำบลกกทอง
พิมพ์ครั้งแรก พฤศจิกายน ๒๕๖๖
จำนวนพิมพ์ ๒๐๐ เล่ม
จัดพิมพ์โดย หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย สำนักงานวัดศรีบุญเรือง บ้านติ้ว ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
ปฐมพร จำปาอ่อน. ทำเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และ ทำเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑.-- เลย : สำนักงานวัดศรีบุญเรือง, ๒๕๖๖.
๒๔๔ หน้า. ๑. สงฆ์--ชีวประวัติ. I. ชื่อเรื่อง

294.30922
ISBN 978-616-604-202-3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Champathom, 2023-11-22 12:15:12

ทำเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และ ทำเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑

หนังสือชุด
เอกสารสำนักงานเจ้าคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เล่ม ๑
เรียบเรียง ปฐมพร จำปาอ่อน
บรรณาธิการ พระมหาธนวัฒน์ ปริยตฺติเมธี เลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองเลย, ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง, เจ้าคณะตำบลกกทอง
พิมพ์ครั้งแรก พฤศจิกายน ๒๕๖๖
จำนวนพิมพ์ ๒๐๐ เล่ม
จัดพิมพ์โดย หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย สำนักงานวัดศรีบุญเรือง บ้านติ้ว ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
ปฐมพร จำปาอ่อน. ทำเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และ ทำเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑.-- เลย : สำนักงานวัดศรีบุญเรือง, ๒๕๖๖.
๒๔๔ หน้า. ๑. สงฆ์--ชีวประวัติ. I. ชื่อเรื่อง

294.30922
ISBN 978-616-604-202-3

Keywords: ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดเลย,วัดศรีบุญเรือง,การคณะสงฆ์จังหวัดเลย

เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เลม ๑ ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และ ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ จัดพิมพเนื่องในวาระครบรอบ ๓๕ ป วันพระราชทานวิสุงคามสีมาสามัญ วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมอืงเลย จังหวัดเลย วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๖๖


ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และ ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ หนังสือชุด เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เลม ๑ เรียบเรยีง ปฐมพร จําปาออน บรรณาธิการ พระมหาธนวัฒนปรยิตฺติเมธี เลขานุการรองเจาคณะอําเภอเมืองเลย,ผูชวยเจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง, เจาคณะตําบลกกทอง ISBN 978-616-604-202-3 พิมพครั้งแรก พฤศจิกายน ๒๕๖๖ จํานวนพิมพ ๒๐๐ เลม จัดพิมพโดย หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรอืง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย สํานักงานวัดศรีบุญเรอืง บานตวิ้ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ●ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ ปฐมพร จําปาออน. ทําเนียบประวัติพระครูสญัญาบัตร จังหวัดเลย และ ทําเนียบ-ประวัติพระสังฆาธกิาร จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐- ๒๕๒๑.-- เลย : สํานักงานวัดศรีบญุเรอืง, ๒๕๖๖. ๒๔๔ หนา. ๑. สงฆ--ชีวประวัติ. I. ชื่อเรื่อง 294.30922 ISBN 978-616-604-202-3 ที่ปรึกษา พระราชวีราภรณ ที่ปรึกษาเจาคณะจังหวัดเลย, เจาอาวาสวัดศรบีุญเรอืง จังหวัดเลย พระครูสุตคณุาลงกรณรองเจาคณะอําเภอเมืองเลย, รองเจาอาวาสวัดศรีบุญเรอืง จังหวัดเลย พระมหาวโรตม ธมฺมวโร (นนตรี) วัดบวรนิเวศวหิาร กรุงเทพมหานคร พระปกรณ ชินวโร (ปุกหุต) วัดมณวีนาราม จังหวัดอุบลราชธานี ผศ.นุชนภางคชุมดีสาขาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.สาลินี มานะกิจ สาขาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยภูมิภูติมหาตมะ สาขาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.สิริวรรณ สิรวณิชย สาขาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร คณะทํางาน นายสํารวย ลาดํา นายนนทพิเชษฐชาญ ชัยหา นางสาวปพินญา ทวีสงา นายวรวิทย ทองอรุณ นายไตรภพ เจริญเกยีรติ นายวิรากร ชมภูนอย นายวีระพล ศรีบุญมี นายชนวีรคํามี นายพุทธิพงษ จําปาออน ภาพประกอบ หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรอืง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ออกแบบปก นายหัตธไชย ศริิสถิตย สถานที่พิมพ บริษัท แรบบิท๔พริ้นตจํากัด ๔๐/๔๔ ซอยวิภาวดีรังสิต ๖๖ แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท: ๐-๒๕๕๒-๒๒๒๒ E-mail: [email protected]


ก สารบัญ คําอนุโมทนา ฉ คํานําเสนอ ซ คํานําผูเรียบเรียง ญ ๑. บทนํา ๑ ๒. สังเขปประวัติวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย ๑๑ ๓. ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย ๑๗ ๑. พระครูวิจารณส ังฆกิจ (ภา พฺรหฺมเสโน บุตรธรรม) ๑๗ ๒. พระครูสันทัดคณานุการ (จันทร ฉนฺนวฑฺโฒ สวรรณเขต) ๑๙ ๓. พระครูพิเศษสังฆกิจ (อวน สุวณฺณธโร ทองปน) ๒๑ ๔. พระครูบวรธรรมรัต (แป ตาณงฺกโร สุขทองสา) ๒๓ ๕. พระครูสุมนวุฒิกร (วุฒิ  ิตมโน บุตรโยจันโท) ๒๕ ๖. พระครูวิจิตรสิกขกร (สาลี อภโย พุทธวงศ) ๒๗ ๗. พระครูพิทักษโพธิมณฑล (ชู กลฺยาณธมฺโม วรรณคีรี) ๒๙ ๘. พระครูพิศาลสิกขกร (ชีระ เปโม พันธุเถระ) ๓๑ ๔. ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๑ ๓๓ ๑. พระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) เจาคณะจังหวัดเลย ๓๓ ๒. พระครูมงคลญาณเมธี (เคน อตฺถกาโม) รองเจาคณะจังหวัดเลย ๓๕ ๓. พระครูวิบูลคณานุศิษฏ (เสาร อภินนฺโท) เจาคณะอําเภอเมืองเลย ๓๗ ๔. พระมหาสวาน  ิตคุโณ รองเจาคณะอําเภอเมืองเลย รูปที่ ๑ ๓๙ ๕. พระครูสมบูรณกัลยาณวัตร (สมบูรณ ปูรณธมฺโม) รองเจาคณะอําเภอเมืองเลย รูปที่ ๒ ๔๑ ๖. เจาอธิการเจริญศกัดิ์ขนฺติโก เจาคณะตําบลเมือง เขต ๑ ๔๓


ข สารบัญ (ตอ) ๔. ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๑ (ตอ) ๗. พระสมุหหอง จนฺทปฺโ เจาคณะตําบลเมือง เขต ๒ ๔๕ ๘. พระครูวชิรธรรมาภรณ (ทองเพชร จนฺทโชโต) เจาคณะตําบลกุดปอง ๔๗ ๙. พระใบฎีกาสุรเชษฐ สิริสุวณฺโณ เจาคณะตําบลน้ําหมาน ๔๙ ๑๐. พระครูวิเศษปริยัติกิจ (เภา ชินวโร) เจาคณะตําบลเสี้ยว ๕๑ ๑๑. พระครูนิวิฏฐสมาจาร (ลุน อาจาโร) เจาคณะตําบลน้ําสวย ๕๓ ๑๒. พระสมุหสวัสดิ์ พฺรหฺมสโร เจาคณะตําบลนาออ เขต ๑ ๕๕ ๑๓. เจาอธิการสมหมาย โกมุโล เจาคณะตําบลนาออ เขต ๒ ๕๗ ๑๔. พระปลัดทอง จนฺทโก เจาคณะตําบลนาดินดํา ๕๙ ๑๕. พระครูพิทักษโพธิมณฑล (บุญชู กลฺยาณธมฺโม) เจาคณะตําบลนาอาน ๖๑ ๑๖. พระสมุหจรัส กิติธโร เจาคณะตําบลนาโปง เขต ๑ ๖๓ ๑๗. พระใบฎีกาบุญมา อิสฺสโร เจาคณะตําบลนาโปง เขต ๒ ๖๕ ๑๘. พระสมุหคํามูล ปฺาวุโธ เจาคณะตําบลนาดวง ๖๗ ๑๙. พระครูโอภาสสิริคุณ (สวาง สีลธโร) เจาคณะตําบลกกดู เขต ๑ ๖๙ ๒๐. เจาอธิการรังสีสิริคตุ ฺโต เจาคณะตําบลกกดูเขต ๒ ๗๑ ๒๑. พระปลัดทองหลอ สฺโต เจาคณะตําบลนาดอกคํา ๗๓ ๒๒. พระครูวิฐานธรรมานุยุต (สฤษดิ์ สมาจาโร) เจาคณะตําบลทาสะอาด ๗๕ ๒๓. พระใบฎีกาสวาง โอภาโส เจาคณะตําบลทาสวรรค ๗๗ ๒๔. พระใบฎีกาบรรทัย ถาวโร รองเจาคณะตําบลนาดินดํา ๗๙ ๒๕. พระครูอดุลสังฆภาร (สังข จนฺทมโน) เจาคณะอําเภอวังสะพุง ๘๑ ๒๖. เจาอธิการรังสฤษฏ สุมนชาโต เจาคณะตําบลวังสะพุง ๘๓ ๒๗. พระสมุหบัวไลย จนฺทิโม เจาคณะตําบลทรายขาว เขต ๑ ๘๕ ๒๘. เจาอธิการคําพันธ านธมฺโม เจาคณะตําบลทรายขาว เขต ๒ ๘๗ ๒๙. พระครูโอภาสธรรมคุณ (ชาลี จนฺทปฺโญ) เจาคณะตําบลหนองหญาปลอง เขต ๑ ๘๙ ๓๐. เจาอธิการสุนา โอภาโส เจาคณะตําบลหนองหญาปลอง เขต ๒ ๙๑


ค สารบัญ (ตอ) ๔. ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๑ (ตอ) ๓๑. เจาอธิการศิริขันธ สุทฺธสีโล เจาคณะตําบลหนองหญาปลอง เขต ๓ ๙๓ ๓๒. พระอธิการพรหมมา อภิปฺโ เจาคณะตําบลหนองงิ้ว ๙๕ ๓๓. พระครูอุดมคุณากร (เทือง าณธโร) เจาคณะตําบลผานอย เขต ๑ ๙๗ ๓๔. เจาอธิการประดิษฐ โฆสโก เจาคณะตําบลผานอย เขต ๒ ๙๙ ๓๕. เจาอธิการวิลัย สิริวณฺโณ เจาคณะตําบลเอราวัณ ๑๐๑ ๓๖. เจาอธิการเคน ปยธมฺโม เจาคณะตําบลผาอินทรแปลง ๑๐๓ ๓๗. พระครูวิริยธรรมาภรณ (อวน วิริโย) เจาคณะตําบลผาสามยอด ๑๐๕ ๓๘. พระครูสันทัดคณานุการ (จันทร ฉนฺนวุฑฺโฒ) เจาคณะอําเภอทาลี่ ๑๐๗ ๓๙. พระอธิการคํามูล ปฺาปุณโฺณ เจาคณะตําบลทาลี่เขต ๑ ๑๐๙ ๔๐. เจาอธิการสายทอง ขนฺติโก เจาคณะตําบลทาลี่ เขต ๒ ๑๑๑ ๔๑. พระปลัดคํามวย ทินฺนสุทฺธิ เจาคณะตําบลหนองผือ ๑๑๓ ๔๒. เจาอธิการเกษม านาโณ เจาคณะตําบลน้ําแคม ๑๑๕ ๔๓. เจาอธิการนอย โฆสธมฺโม เจาคณะตําบลอาฮี ๑๑๗ ๔๔. พระครูสุมนวุฒิกร (วุฒิ  ิตมโน) เจาคณะอําเภอดานซาย ๑๑๙ ๔๕. พระครูประจันตนิวิฐ (ไสว คณุธมฺโม) เจาคณะตําบลดานซาย ๑๒๑ ๔๖. เจาอธิการสด ปภสฺสโร เจาคณะตําบลโพนสูง ๑๒๓ ๔๗. พระครูวีรธรรมโสภณ (แลว วายาโม) เจาคณะตําบลนาดี ๑๒๕ ๔๘. เจาอธิการอําคา เกสปฺโ เจาคณะตําบลปากหมัน ๑๒๗ ๔๙. พระใบฎีกาคาน อนาลโย เจาคณะตําบลนาหอ ๑๒๙ ๕๐. พระครูพิศาลธรรมานุวัตร (เฉลียว อินฺทสาโร) เจาคณะอําเภอนาแหว ๑๓๑ ๕๑. เจาอธิการนรินทร นรินฺทโร เจาคณะตําบลนาแหว ๑๓๓ ๕๒. เจาอธิการธาตรี ธมฺมธารี เจาคณะตําบลนาพึง ๑๓๕ ๕๓. พระครูนิพัทธสันติคุณ (อุดม วณฺณคุตฺโต) เจาคณะอําเภอเชียงคาน ๑๓๗ ๕๔. พระมหาจันทร กลฺยาโณ รองเจาคณะอําเภอเชียงคาน ๑๓๙ ๕๕. เจาอธิการบุญเทียน สุขุมาโล เจาคณะตําบลเชียงคาน ๑๔๑


ง สารบัญ (ตอ) ๔. ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๑ (ตอ) ๕๖. พระสมุหแสวง เทวธมฺโม เจาคณะตําบลปากตม ๑๔๓ ๕๗. พระครูบุฮมภูมาจารย (เลื่อน ถาวโร) เจาคณะตําบลบุฮม เขต ๑ ๑๔๕ ๕๘. พระใบฎีกาใหล ถาวโร เจาคณะตําบลบุฮม เขต ๒ ๑๔๗ ๕๙. พระครูรัตนบรรพตพิทักษ (สุรัตน วิริโย) เจาคณะตําบลเขาแกว ๑๔๙ ๖๐. เจาอธิการสุบัน โกวิโท เจาคณะตําบลธาตุ ๑๕๑ ๖๑. พระปลัดประทุม พฺรหฺมจาโร เจาคณะตําบลจอมศรี ๑๕๓ ๖๒. เจาอธิการบุญเพ็ง กนฺตสีโล เจาคณะตําบลนาซาว ๑๕๕ ๖๓. เจาอธิการเจียง โชติปฺโญ เจาคณะตําบลหาดทรายขาว ๑๕๗ ๖๔. พระครูบรรพตคณานุกูล (พรหมา จนฺทโสภโณ) เจาคณะอําเภอภูกระดึง ๑๕๙ ๖๕. พระครูศรีฐานคณานุยุต (ยศ จกฺกวโร) รองเจาคณะอําเภอภูกระดึง ๑๖๑ ๖๖. เจาอธิการสุพจน ติสฺสวโร เจาคณะตําบลศรีฐาน เขต ๑ ๑๖๓ ๖๗. พระปลัดคลอง านกุสโล เจาคณะตําบลศรีฐาน เขต ๒ ๑๖๕ ๖๘. พระสมุหชาลี อภิชฺชวโร เจาคณะตําบลศรีฐาน เขต ๓ ๑๖๗ ๖๙. พระใบฎีกาสุริยา โกวิโท เจาคณะตําบลปวนพุ เขต ๑ ๑๖๙ ๗๐. พระครูวิศิษฏกิตติคุณ (สมัย สุมโน) เจาคณะตําบลปวนพุ เขต ๒ ๑๗๑ ๗๑. พระสมุหคําภา จนฺทสาโร เจาคณะตําบลปวนพุ เขต ๓ ๑๗๓ ๗๒. เจาอธิการคําผอง ธมฺมทินฺโน เจาคณะตําบลปวนพุ เขต ๔ ๑๗๕ ๗๓. พระครูรัตนนิภากร (แกว ยโสธโร) เจาคณะตําบลทาคลองชาง เขต ๒ ๑๗๗ ๗๔. พระครูสุนทรสมาธิวัตร (บุญเลิง กมโล) เจาคณะตําบลผานกเคา เขต ๑ ๑๗๙ ๗๕. พระปลัดหนูเวียง กนฺตธมฺโม เจาคณะตําบลผานกเคา เขต ๒ ๑๘๑ ๗๖. เจาอธิการชาญ อตฺตทนฺโต เจาคณะตําบลผานกเคา เขต ๓ ๑๘๓ ๗๗. พระใบฎีกาบุญทัน านุตฺตโร เจาคณะตําบลปาซาง ๑๘๕ ๗๘. เจาอธิการคําพันธ สุวณฺโณ เจาคณะตําบลผาขาว ๑๘๗ ๗๙. พระครูพิศาสิกขกร (ชิระ เปโม) เจาคณะอําเภอภูเรือ ๑๘๙ ๘๐. เจาอธิการหนูเจียง ธมฺมธโร เจาคณะตําบลหนองบัว ๑๙๑


จ สารบัญ (ตอ) ๔. ทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๑ (ตอ) ๘๑. เจาอธิการบุญเพ็ง จนฺทาโภ เจาคณะตําบลรองจิก ๑๙๓ ๘๒. เจาอธิการได ถิรคุโณ เจาคณะตําบลปลาบา ๑๙๕ ๘๓. พระครูบริรักษสุนทรเขต (สมใจ ปวโร) เจาคณะอําเภอปากชม ๑๙๗ ๘๔. เจาอธิการอภินันท อภินนฺโท เจาคณะตําบลปากชม ๑๙๙ ๘๕. พระครูบวรธรรมโสภณ (จันดา จนฺทวโร) เจาคณะตําบลหาดคัมภีร ๒๐๑ บรรณานุกรม ๒๐๓ ภาคผนวก ภาคผนวก ก ประวัติพระสังฆาธิการ พระมหาเสาร อภินนฺโท ๒๐๗ ภาคผนวก ข ประวัติพระสังฆาธิการ พระครูโอภาสสิริคุณ ๒๐๙ ภาคผนวก ค หนังสือรับรองพระธุดงค ๒๑๒ ภาคผนวก ง แบบรายงานการบรรจุพระสังฆาธิการ พระอธิการทา ปฺาวุโธ ดํารงตําแหนงเจาคณะตําบลปวนพุ เขต ๔ ๒๑๔ ภาคผนวก จ ทําเนียบพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๑๗ ๒๑๕ ภาคผนวก ฉ ทําเนียบพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒๒๐


ฉ คําอนุโมทนา ในวาระมงคลครบรอบ ๓๕ ป วันพระราชทานวิสุงคามสีมาสามัญวัดศรีบุญเรือง เลขที่ ๒๕๗ บานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ในวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๖๖ กอนหนาศักราชนี้ “วัดศรีบุญเรือง” หรือวัดบานติ้วไดมีการพัฒนา ถาวรวัตถุ ถาวรสถาน อาคารเสนาสนะ กุฏิที่พักสงฆ ศาลาการเปรียญ รวมถึงพัฒนา ดานศาสนบุคคล จนกระทั่งเห็นเปนหลักฐานที่ประจักษแลว ยอนไปเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๑ คณะสงฆและ พุทธศาสนิกชนตางไดรวมกันอนุโมทนาถึงความตั้งมั่นของอารามแหงนี้ที่ไดสําเร็จขึ้น ดังปรากฏในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานวิสุงคามสีมา ความวา “ที่ ๒๒ วัดศรีบุญเรือง ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย กําหนดเขต กวาง ๓๐ เมตร ยาว ๖๐ เมตร” คณะสงฆวัดศรีบุญเรือง ตลอดจนอุบาสกอุบาสิกาชาวบานติ้ว เห็นวา ในพุทธศักราช ๒๕๖๖ นี้ เปนปมหามงคลที่พรอมกับศรัทธาของสาธุชน ประกอบดวย ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาและบานเมือง จึงปรารถนาจะรักษา สืบทอด และตอยอดเอกสารขอมูลตาง ๆ ของพระสังฆาธิการในอดีตจนถึงปจจุบันสมัย ดวยจัดพิมพหนังสือขึ้นหนึ่งชุด เพื่อใหเยาวชนคนรุนหลังไดศึกษา และเพื่อเปนการ ระลึกถึงพระเดชพระคุณพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) อดีตเจาคณะจังหวัดเลย อดีตเจาอาวาส วัดศรีบุญเรือง ในฐานะเปนผูเก็บรวมรวบเอกสารประวัติพระสังฆาธิการในขณะนั้น ความปรารถนาของคณะสงฆวัดศรีบุญเรืองและชาวบานติ้ว จะไมสามารถ บรรลุตามวัตถุประสงคไดเลย หากไมไดรับความอนุเคราะหจาก “นายปฐมพร จําปาออน” เปนผูสืบคนและรวบรวม ตลอดจนคณะทํางานที่รวมกันเรียบเรียงจนสําเร็จเปนหนังสือ “ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และทําเนียบ-ประวัติพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐ - พ.ศ. ๒๕๒๑” เพื่อถวายไปยังอารามที่พระสังฆาธิการในอดีต เคยพํานักอยู และมอบใหแกสถาบันทางการศึกษาตาง ๆ รวมถึงมอบใหพุทธศาสนิกชน ทั่วไปที่สนใจศึกษา


ช ขออนุโมทนาบุญขอบคุณในความวิริยะ อุตสาหะ ความตั้งใจดีงามของ นายปฐมพร จําปาออน และคณะทํางาน ที่เต็มเปยมไปดวยความเสียสละ กําลังทรัพย กําลังแรงกาย เวลา ในการรวบรวมขอมูลจากสถานที่ตาง ๆ เพื่อเปนคุณูปการตอคณะสงฆ จนเปนหนังสือเลมนี้ อันเปนหนึ่งในหนังสือชุด เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ของหอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรืองฯ ขอใหอํานาจแหงคณุพระศรีรัตนตรัย บารมคุณหลวงพอพุทธมงคลศรีบุญเรือง ี มิ่งเมืองเลย พระประธานในอุโบสถ ตลอดถึงบุญกุศลที่ไดบําเพ็ญมา จงเปนอุปตถัมภก ปจจัยเสริมสงใหนายปฐมพร จําปาออน ตลอดจนคณะทํางาน เจริญรุงเรืองในหนาที่ การงาน การศกึษา และพรั่งพรอมดวย อายุวรรณะ สุข พละ ประสบสิ่งที่เปนอิฐวิบ ูล มนุญผล ตลอดกาลนาน ฯ พระครูสุตคุณาลงกรณ และศิษยานุศิษย าบรรจบอีกคํารบหนึ่งนี้ ในวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ครูสุตคุณาลงกรณ และศิษยานุศิษย


ซ คํานําเสนอ “การศึกษาประวัติศาสตรใด ๆ ถือตามหลักฐานเปนสําคัญ ห า กข า ด ห ลั ก ฐ า น แ ล ว ผู ที่ ศึ ก ษ า อ ดี ต ก็ ไ ม ส า ม า ร ถ ห า คํ า ต อ บ เพื่อทําความเขาใจตอเรื่องราวในอดีตไดอยางถองแท” ประวัติศาสตรทองถิ่น เปนแนวทางการศึกษาหนึ่งที่ชวยใหเกิดการเรียนรู เรื่องราวปฏิสัมพันธของมนุษย ชุมชน มุงหมายเพื่อทําความเขาใจประสบการณ ความหลากหลายของชีวิตผูคนที่แตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่ศึกษา โดยผูศึกษา สามารถกําหนดขอบเขตการศึกษาในหนวยการวิเคราะหที่มีขนาดแตกตางและ หลากหลายบนพื้นฐานของความสัมพันธที่แตกตางกันภายใตบริบทและเงื่อนไขตางๆ เชน หมูบาน เมือง ยานชุมชน ชุมชนลุมน้ํา กลุมอาชีพ เครือขายทางสังคม กลุมชาติพันธุ หรือกลุมทางสังคมอื่น ๆ การศกึษาประวัตศาสตรทองถิ่นจึงเปนการเรียนรูที่ผสมผสาน ิ วิธีการที่หลากหลาย โดยเฉพาะการทํางานภาคสนามเพื่อใหเขาใจสภาพพื้นที่ ผูคนและ เวลาของทองถิ่น ซึ่งผูศึกษาอาจหาไมไดจากเอกสารหรือบันทึกที่เปนเรื่องเลาหลักของ ประวัติศาสตรชาติ แตสิ่งหนึ่งที่เชื่อมาตลอด คือ การทํางานดานประวัติศาสตรทองถิ่น จะชวยขยายเพดานความรูทั้งในเรื่องพื้นที่ ประเด็นเรื่องในชวงเวลาที่ผูศึกษาสนใจ อีกดวย เอกสารที่ทานถือในมือเลมนี้ คือ หนังสือ ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลยและทําเนียบประวัติพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ เปนหนึ่งในหนังสือชุด เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย แสดงวาผูจัดทําคาดหวังวาจะผลิตเอกสารอีกหลายชิ้น ตามมาในเวลาอันเหมาะสม ซ่ึงนับไดวาเปนความพยายามอยางยิ่งของผูจัดทําตอ การรวบรวมหลักฐานตาง ๆ ซึ่งเปนรองรอยที่หลงเหลือใหผูศึกษาใชเปนเครื่องมือใน การศึกษา เชื่อมโยงขอมูลที่พบจากหลักฐานประเภทตาง ๆ โดยเฉพาะจากเอกสาร ทองถิ่นที่ถูกจัดทําขึ้นในวาระตางกัน เชน หนังสืออนุสรณงานศพ หนังสือที่จัดพิมพใน วาระพิเศษตาง ๆ รวมทั้งเอกสารอื่นที่ถูกจัดเก็บจากหอจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง รวมทั้งกราบขอบพระคุณทางพระครูสุตคุณาลงกรณ รองเจาคณะอําเภอเมืองเลย,


ฌ รองเจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง และทางคณะสงฆวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลยที่เห็นถึงความสําคัญ สงเสริมและสนับสนุนการจัดทําเอกสารชุดนี้ อันนําไปสูการสรางความตระหนักรูของผูคนในทองถิ่น เพื่อกลับไปทําความรูจักตัวตน ของผูคนในทองถิ่นซึ่งมีความสําคัญอยางมากสําหรับชีวิตในอนาคต และเหนือสิ่งอื่นใด การรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับคณะสงฆและงานดานศาสนาของจังหวัดเลยในครั้งนี้ ก็เพื่อไมใหขอมูลจากเอกสารหลักฐานสูญหายไปตามกาลเวลา ดังความตั้งใจของ ผูจัดทํา อีกทั้งยังเปนฐานขอมูลสําคัญในการคนควา ใชเปนหลักฐานอางอิงและตอยอด ในการศกึษาประวัติศาสตรทองถิ่นจังหวัดเลยหรือประเด็นอื่นที่เกี่ยวเนื่อง ผูชวยศาสตราจารยสิริวรรณ สิรวณิชย สาขาวิชาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร


ญ คํานําผูเรียบเรียง ประวัติพระครูสัญญาบัตรและพระสังฆาธิการของจังหวัดเลยนับตั้งแตอดีต เปนตนมา ยังไมไดมีการรวบรวมและเรียบเรียงเพื่อจัดพิมพเผยแพรอยางเปนระบบ เทาที่ควร สวนใหญประวัติของพระสังฆาธิการ ตลอดจนพระเถรานุเถระของจังหวัดเลย นั้น มักปรากฏอยูในหนังสืออนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ-ประชุมเพลิง หรือ หนังสือที่ระลึกที่จัดพิมพขึ้นตามวาระตาง ๆ ขณะเดียวกันตั้งแตชวงปลายทศวรรษ ๒๕๔๐ เปนตนมา ยังมีวิทยานิพนธและงานวิชาการสวนหนึ่งที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับ บทบาทของพระสงฆในจังหวัดเลย โดยเฉพาะพระสังฆาธิการและพระเถระชั้นผูใหญ เชน พระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) (๒๕๔๘ และ ๒๕๕๕) พระราชวุฒาจารย (ตอมา คือ พระเทพสิทธิมงคล) (๒๕๔๘) พระรัตนกวี (ปจจุบัน คือ พระราชวีราภรณ) (๒๕๔๙) พระพุทธิรังษี (๒๕๔๙) พระญาณทีปาจารย (ตอมา คือ พระราชญาณวิสุทธิโสภณ) (๒๕๕๑) พระภัทรธรรมสุธี (ปจจุบัน คือ พระราชวชิรสุธี) (๒๕๖๑) พระครูภาวนาวิสุทธาภรณ (๒๕๖๒) และพระครูวิจารณสังฆกิจ (ภา) (๒๕๖๔) เปนตน หนังสืออนุสรณ/ที่ระลึกและงานศึกษาเหลานี้ สวนใหญเปนการเรียบเรียงประวัติขึ้น จากคําบอกเลาและคําสัมภาษณเปนหลัก เนื่องจากภายในจังหวัดเลย ไมมีแหลง ฐานขอมูลสําหรับสืบคนเอกสารชั้นตนของคณะสงฆไดอยางจริงจัง ดวยเหตุนี้นับตั้งแตตน พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่ผูเรียบเรียงไดรับโอกาสและเมตตาจาก ทานพระครูสุตคุณาลงกรณ รองเจาคณะอําเภอเมืองเลย รองเจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว และหลวงพี่พระมหาธนวัฒน ปริยตฺติเมธี เจาคณะตําบลกกทอง และผูชวย เจาอาวาสวัดศรบีุญเรือง อนุญาตใหสามารถสืบคนเอกสารชั้นตนที่เก็บรักษาอยูภายใน วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ซึ่งเปนเอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย สมัยพระราชวีรมุนี และนํามาใชจนสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี อีกทั้งในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ที่ผานมา ยังไดนําเอกสารเหลานี้มาใชเปนหลักฐานอางอิงในการเรียบเรียง หนังสือ ประวัติวัดศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย เดิมที ผูเรียบเรียงตั้งใจวาจะนําเอกสาร ๒ ชุดมาพิมพประกอบในหนังสือเลมดังกลาวดวย เพื่อ ไมใหขอมูลสําคัญของวัดและคณะสงฆจังหวัดเลยสูญหาย แตเมื่อปรึกษาทานพระครู


ฎ และหลวงพี่แลว เห็นวาขนาดเลมจะมีความหนามากเกินไป จึงไดแบงแยกสวนนี้ ออกมาเปนเลมที่ทานผูอานไดถืออยูในปจจุบัน ขณะเดียวกันดวยปญหาเรื่องเอกสารและฐานขอมูลของคณะสงฆจังหวัดเลย ที่ผานมาไมไดมีการรวบรวมและจัดเก็บ ผูเรียบเรียงจึงไดขออนุญาตทานพระครู สุตคุณาลงกรณ จัดทําฐานขอมูลออนไลน “หอเอกสารและจดหมายเหตุ วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย” ขึ้น ทั้งนี้ยังไดเรียบเรียงหนังสือชุด เอกสารสํานักงาน เจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เพื่อไมใหขอมูลสําคัญ เหลานี้สูญหาย และยังเปนการอนุรักษเพื่อตออายุหลักฐานสําคัญทางประวัติศาสตร ของการคณะสงฆเมืองเลยอีกดวย ซึ่งผูที่มีความสนใจสามารถสืบคนและใชเปน หลักฐานอางอิงได อยางไรก็ตามในปจจุบันยังอยูในระหวางการดําเนินการจัดทํา ฐานขอมูล จึงทําใหฐานขอมูลยังไมสมบูรณและมีเพียงเอกสารจํานวนหนึ่งเทานั้น สําหรับหนังสือ ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และ ทําเนียบประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ เลมนี้ ผูเขียนแบงเนื้อหา ออกเปน ๕ สวน ไดแก บทนําซึ่งไดอธิบายถึงลักษณะและที่มาของเอกสารทั้ง ๒ ชุด พรอมกับขอตกลงเบื้องตนในการทําความเขาใจหนังสือเลมนี้ที่เรียบเรียงขึ้นจาก เอกสารทั้ง ๒ ชุด สวนที่ ๒ เปนสังเขปประวัติวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว โดยปรับปรุงจาก หนังสือ ประวัติวัดและชุมชนบานติ้วฯ ซึ่งมีการอธิบายชวงเวลากอตั้งวัดจากหลักฐาน และเอกสารที่พบใหม สวนที่ ๓ เปนเอกสารประวัติพระครูสัญญาบัตร (ไมทราบป) และสวนที่ ๔ เปนเอกสารทําเนียบ-ประวัติพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย ระหวางชวง พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ นอกจากนี้ในสวนภาคผนวกยังไดเพิ่มเติมเอกสารที่เกี่ยวกับ พระสังฆาธิการและพระสงฆของสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง ไดแก ประวัติพระสังฆาธิการของพระมหาเสาร อภินนฺโท ประวัติพระสังฆาธิการของพระครู โอภาสสิริคุณ หนังสือรับรองพระธุดงค และแบบรายงานบรรจุพระสังฆาธิการ พรอม แนบทําเนียบพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๑๗ และ พ.ศ. ๒๕๒๒ อีกดวย ผูเรียบเรียงหวังวาหนังสือเลมนี้ ที่นําเสนอขอมูลประวัติพระครูสัญญาบัตร และพระสังฆาธิการจังหวัดเลย คงสามารถชวยเติมเต็มใหกับประวัติศาสตรคณะสงฆ และการพระศาสนาของจังหวัดเลย และทําใหทําเนียบสมณศักดิ์ และทําเนียบ


ฏ พระสังฆาธิการของจังหวัดเลย มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น และสําหรับผูสนใจคง สามารถนําไปใชประโยชนและตอยอดในการศึกษาของงานประวัติศาสตรทองถิ่น จังหวัดเลย ไดไมมากก็นอย และหากมีขอเสนอและคําชี้แนะใด ๆ ผูเรียบเรียงขอนอม รับฟงทุกประการ สุดทายนี้ ผูเรียบเรียงตองกราบนมัสการระลึกถึงคุณของพระเดชพระคุณ พระราชวีรมุนี อดีตเจาคณะจังหวัดเลย และอดีตเจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ที่ได รวบรวมและเก็บเอกสารเหลานี้เอาไวใหชนรุนหลังไดศึกษา กราบนมัสการขอบพระคุณ ในเมตตาของพระเดชพระคุณพระราชวีราภรณ ที่ปรึกษาเจาคณะจังหวัดเลย เจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง พระครูสุตคุณาลงกรณ รองเจาคณะอําเภอเมืองเลย รองเจาอาวาส วัดศรีบุญเรือง และพระมหาธนวัฒน ปริยตฺติเมธี เลขานุการรองเจาคณะอําเภอเมืองเลย และผูชวยเจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง ในความเมตตาอนุญาตใหผูเรียบเรียงไดจัดทํา หนังสือเลมนี้ขึ้น และยังอนุเคราะหขอมูลตางๆขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารยนุชนภางค ชุมดี ผูชวยศาสตราจารยสาลินี มานะกิจ อาจารยภูมิ ภูติมหาตมะ ผูชวยศาสตราจารย สิริวรรณ สิรวณิชย คณาจารยของสาขาวิชาประวัติศาสตรทองถิ่น ผูประสิตวิชาความรู ตาง ๆ ใหกับผูเรียบเรียงและคอยใหคําแนะนําเสมอมา โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูชวยศาสตราจารยสิริวรรณ ที่เมตตาเขียนคํานําเสนอใหกับหนังสือเลมนี้ ขอบพระคุณ หลวงพี่วโรตม ธมฺมวโร ที่แนะนําและใหคําปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องตราประจําตําแหนง เจาคณะจังหวัดเลย รวมถึงหลวงพี่ปกรณ ชินวโร (ปุกหุต) ผูที่คอยใหคําแนะนํา กําลังใจ และใหคําปรึกษา ตลอดจนเปนแรงบันดาลใจที่ทําใหผูเรียบเรียงอยากทํา หนังสือเลมนี้ขึ้น ขอบพระคุณคุณยายวัชรี จําปาออน และคุณแมวัชราภรณ จําปาออน ที่คอยเปนแรงผลักดัน สนับสนุนใหความชวยเหลือ และตองขอบคุณคณะทํางานทุกคน ตั้งแตคุณลุงสํารวย แมน มายด ตะ มหาโอม โบท ไทม บาส และวีร ที่ชวยเหลือกันมา จนหนังสือเลมนี้สําเร็จลง อันถือเปนเลมปฐมฤกษของชุดเอกสารสํานักงาน เจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ปฐมพร จําปาออน เรียบเรียง ณ หองสี่เหลี่ยม ใกลเชิงสะพานพระปนเกลาฯ แขวงบางยี่ขัน กลางพรรษา ในฤดูฝน ๒๕๖๖


๑ ปฐมพร จําปาออน๑ เอกสารประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย (ไมทราบป) และเอกสาร ทะเบียน-ประวัติพระสังฆาธิการจังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ เปนเอกสารที่ สํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย ซึ่งในขณะนั้นตั้งอยูที่วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตําบล กุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) ดํารงตําแหนงเปนเจาคณะจังหวัดเลย เอกสารทั้งสองชุดจึงถูกเก็บรักษาไว ในอารามแหงนี้สืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน สําหรับวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว เคยเปน สํานักงานเจาคณะจังหวัดเลยมาแลว ๒ ชวงเวลา ไดแก สมัยพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) ระหวาง พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๓๓๒ เปนชวงที่ ๑ และสมัยพระราชวีราภรณ (เสาร อภินนฺโท) พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๙๓ เปนชวงที่ ๒ เอกสารชุดแรก คือ ประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย เปนเอกสารที่ เขียนประวัติพระครูสัญญาบัตร ๘ รูป ประกอบดวยพระครูสัญญาบัตรที่ดํารง ตําแหนงเจาคณะอําเภอและเจาคณะตําบลในเขตจังหวัดเลย ฝายมหานิกาย เอกสารชุดนี้ไมปรากฏปที่มีการรวบรวมหรือทําประวัติเอาไว จึงทําใหไมสามารถ ระบุปที่แนชัดได แตสันนิษฐานวาเอกสารชุดนี้คงมีการทําขึ้นในประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗ เปนอยางนอย เนื่องจากเอกสารชุดนี้ปรากฏปศักราชลาสุด คือ พ.ศ. ๒๕๐๗ ในเอกสารประวัติพระครูวิจิตรสิกขกร และพระครูพิศาล- ๑ ลูกหลานชาวเมืองเลยโดยกําเนิด สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒ ปฐมพร จําปาออน, ประวัติวดัศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อาํเภอเมือง จังหวดัเลย (เลย: สํานักงานวัดศรีบุญเรอืง, ๒๕๖๖), ๑๐๙. ๓ เรื่องเดียวกัน, ๑๒๐. บทนา ํ


๒ สิกขกร๔ อีกทั้งยังเปนชวงเวลาที่พระวีรญาณมุนี (ชํานิ ฉนฺโน)๕ ดํารงตําแหนง เจาคณะจังหวัดเลยอีกดวย ดวยเหตุนี้จึงสันนิษฐานวาเอกสารชุดนี้ คงเปนเอกสารที่ ทางสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย ในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยูที่วัดศรีบุญเรืองและมีพระราชวีรมุนี เปนเจาคณะจังหวัดเลย รวบรวมขึ้นเพื่อสงใหที่ประชุมของมหาเถรสมาคม พิจารณาคัดเลือกพระสมณศักดิ์ รับพระราชทานเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์๖ เอกสารประวัติพระครูสญัญาบตัร แผนที่๑ ดานหนาและดานหลัง ที่มา: “ประวัติพระครูสัญญาบัตร ประวตัิพระครวูิจารณสังฆกิจ,” เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย [สมัยพระ ราชวีรมุนี], ศบร.๑/๑, หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อาํเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. ๔ “ประวัติพระครูสัญญาบัตร ประวัติพระครูวิจิตรสิกขกร,” เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย [สมัย พระราชวีรมุนี], ศบร.๑/๖, หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. และ“ประวัติพระครู สัญญาบัตร ประวัติพระครูพิศาลสิกขกร,” เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย [สมัยพระราชวีรมุนี], ศบร.๑/๘, หอ เอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. ๕ ตอมาเมื่อ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปนพระราชคณะชั้นราชที่ พระราชวีรมุนี ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ปฐมพร จําปาออน, ประวัติวัดศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย, ๑๑๓. ๖ สนติ์ แสวงบุญ, ทําเนยีบพัดยศสมณศักดิ์(พระนคร: ศรีเมืองการพิมพ, ๒๕๑๕), ไมปรากฏเลยหนา.


๓ รูปแบบของเอกสารชุดนี้ ๑ ฉบับ ประกอบดวยกระดาษ ๒ แผน ๔ หนา แผนแรกดานหนา (ปกหนา) เปนขอมูลประวัติ ชาติภูมิ บรรพชา-อุปสมบท พรอม ภาพของเจาของประวัติ แผนแรกดานหลัง เปนขอมูลวิทยฐานะ สมณศักดิ์ และ ตําแหนงที่ไดรับแตงตามตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ สวนแผนที่ ๒ ดานหนา เปนพื้นที่สําหรับเขียนความชอบ ความริเริ่มและการบําเพ็ญประโยชน (โครงการ ระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุด และผลงาน) และดานหลังเปนพื้นที่สําหรับเขียน ความผิด (อธิกรณ การถูกกลาวหา พฤติการณอันเปนเรื่องอื้อฉาว)๗ นอกจากนี้ เมื่อตรวจสอบเอกสารชุดนี้แลว พบวาลักษณะการเขียนอักขรวิธีเหมือนกันทุกฉบับ จึงสันนิษฐานไดวาเอกสารชุดนี้คงเขียนโดยคนคนเดียวกัน อาจเปนการเขียนผาน ชุดขอมูลที่มีอยูแลวหรือสัมภาษณพระครูสัญญาบัตรผูเปนเจาของประวัติโดยตรง ทะเบียน-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย เปนเอกสารอีกชุดที่ปรากฏ รวมกับเอกสารชุดแรก ระยะเวลาที่ปรากฏในเอกสารชุดนี้อยูระหวางชวง พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ มีจํานวนทั้งหมด ๘๘ ฉบับ ประกอบดวยพระสังฆาธิการ ฝายมหานิกาย ๘๕ รูป โดยเอกสารที่เกาสุด คือ ทะเบียน-ประวัติ พระครูวิบูลคณานุศิษฏ เจาคณะอําเภอเมืองเลย๘ และทะเบียน-ประวัติ พระมหาสวาน  ิตคุโณ รองเจาคณะ อําเภอเมืองเลย๙ ลงวันทําทะเบียนประวัติเมื่อวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๐ ซึ่งมีเอกสารที่ลงวันทําทะเบียนประวัติเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐ ทั้งหมด ๑๔ ฉบับ สวนใหญเปนทะเบียนประวัติของเจาคณะจังหวัด รองเจาคณะจังหวัด ๗ เนื้อหาในสวนนี้ของเอกสารทุกฉบับไมปรากฏเนื้อหาและขอความใด ๆ ผูเรยีบเรยีงจึงไมไดนํามาเขียน ไวในหนังสือเลมนี้ ๘ “ทะเบียน-ประวัติพระครวูิบูลคณานุศษิฏเจาคณะอําเภอเมืองเลย พ.ศ. ๒๕๒๐,” เอกสารสํานักงาน เจาคณะจังหวัดเลย [สมัยพระราชวีรมุนี], ศบร.๒.๒/๑, หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. ๙ “ทะเบียน-ประวัติ พระมหาสวาน  ิตคุโณ รองเจาคณะอําเภอเมืองเลย พ.ศ. ๒๕๒๐,” เอกสาร สํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย [สมัยพระราชวีรมุนี], ศบร.๒.๒/๒, หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรอืง อําเภอ เมืองเลย จังหวัดเลย.


๔ เจาคณะอําเภอและรองเจาคณะอําเภอ สวนเอกสารที่เหลืออีก ๗๔ ฉบับ ลงวันที่ ทําทะเบียนประวัติเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ รูปแบบของเอกสารชุดนี้ มีลักษณะเปนเอกสารแผนกระดาษพับครึ่ง (คลายสมุดพับ) ดานหนา (ปกหนา) ประกอบดวยหัวเรื่อง “ทะเทียน-ประวัติ พระสังฆาธิการ” พรอมพื้นที่ใหระบุนามของพระสังฆาธิการ ตําแหนงที่ดํารงอยู ขณะนั้น และชื่อที่อยูของวัด พรอมภาพของพระสังฆาธิการ อีกทั้งยังระบุ วัน-เดือน-ปที่ทําทะเบีนประวัติอีกดวย ภายในเอกสาร ประกอบดวย ๒ สวน ไดแก สวนแรกเปนขอมูลพื้นฐานของพระสังฆาธิการและขอมูลตําแหนงที่ดํารงอยู ในขณะนั้น อีกสวนหนึ่งเปนประวัติของพระสังฆธิการ ดานหลัง (ปกหลัง) เปน ตารางประวัติการดํารงตําแหนงในอดีต และสมณศักดิ์ในอดีต พรอมลายมือชื่อ ของพระสังฆาธิการเจาของประวัติ และลายมือชื่อพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) เจาคณะจังหวัดเลย ในขณะนั้น ปกหนาและปกหลัง ของเอกสารทะเบียน-ประวัติพระสังฆาธิการ จงัหวัดเลย (แบบอักษรพิมพดดี) ที่มา: ปฐมพร จาํ ปาออน, ถายเมื่อ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.


๕ ขณะเดียวกันเอกสารชุดนี้ ใชวิธีการบันทึกขอมูลดวย ๒ วิธี กลาวคือ เอกสารบางฉบับเปน การพิ มพด วยเครื่องพิ มพ ดี ด อีกสวนหนึ่งเปนการเขียนดวย ลายมือของพระสังฆาธิการผูเปน เจาของประวัติเอง เนื่องจาก ลายมือและอักขรวิธีที่เขียนใน เอกสารกับลายมือชื่อที่ลงนาม ตอนทายเอกสารคลายคลึงกัน แมวาเอกสารชุดนี้ใหขอมูล ประวัติและรายนามของพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ แตเอกสารทั้งหมด ๘๕ ฉบับ คงเปนเพียงเอกสารสวนที่หลงเหลือ อยูจากจํานวนพระสังฆาธิการ ทั้งหมดในชวงเวลานั้น เนื่องจากไม ปรากฏเอกสารของเจาคณะตําบล ทาชางคลอง เขต ๑ ปรากฏ หลักฐานเพียงพระครูรัตนนิภากร เจาคณะตําบลทาชางคลอง เขต ๒๑๐ เทานั้น สวนพระสังฆาธิการในเขตอําเภอ ปากชมก็ปรากฏเพียง เจาคณะตําบลปากชม และเจาคณะตําบลหาดคัมภีร ๑๐ “ทะเบียน-ประวัติ พระครูรัตนนิภากร เจาคณะตําบลทาชางคลองเขต ๒ พ.ศ. ๒๕๒๑,” เอกสาร สํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย [สมัยพระราชวีรมุนี], ศบร.๒.๘/๑๐, หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. เอกสารทะเบียน-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย (ดานใน เขียนดวยลายมือของพระสังฆาธิการ ที่เปนเจาของประวัติ) ที่มา: “ทะเบียน-ประวัติพระครูรตันนิภากร เจาคณะตําบล  ทาชางคลองเขต ๒ พ.ศ. ๒๕๒๑,” เอกสารสํานักงานเจาคณะ จังหวัดเลย [สมัยพระราชวีรมุนี], ศบร.๒.๘/๑๐, หอเอกสาร และจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรอืง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย.


๖ ไมปรากฏเอกสารของเจาคณะตําบลเชียงกลม ฝายมหานิกาย ขณะที่ทําเนียบ พระสังฆาธิการ พ.ศ. ๒๕๑๗ (มหานิกาย) และทําเนียบพระสังฆาธิการ พ.ศ. ๒๕๒๒ (มหานิกาย)๑๑ ปรากฏตําแหนงพระสังฆาธิการทั้ง ๒ ตําบลขางตนอยู นอกจากนี้ อาจมีความเปนไปไดวาคงมีบางรายนามที่หายไปเชนกัน เพราะนับตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๗ จนถึง พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนระยะเวลาเกือบ ๕ ป ซึ่งทางคณะสงฆ จังหวัดเลยไดมีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองคณะสงฆใหม ดังปรากฏใหเห็นใน ทําเนียบพระสังฆาธิการ พ.ศ. ๒๕๒๒๑๒ วามีการตั้งเขตการปกครองคณะสงฆ นาแหว (มหานิกาย) ขึ้นใหม เพิ่มมาอีกหนึ่งอําเภอ และยังปรากฏในชุดเอกสาร ทะเบียน-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ นี้ดวย กลาวไดวาเอกสารประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย และเอกสาร ทะเบียน-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ อันเปน เอกสารที่รวบรวมและเก็บรักษาโดยสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย วัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ซึ่งขณะนั้นพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) เจาอาวาส วัดศรีบุญเรือง ดํารงตําแหนงเปนเจาคณะจังหวัดเลย ฝายมหานิกาย ถือเปน หลักฐานทางประวัติศาสตรที่มีความสาํคัญตอการศึกษาประวัติศาสตรการศาสนา และการคณะสงฆจังหวัดเลยอยางยิ่ง เนื่องจากเปนเอกสารชั้นตนที่ถูกเขียน/ บันทึกขึ้นรวมสมัยกับชวงเวลานั้น ๑๑ ปฏิทินศาสนา พุทธศักราช ๒๕๑๘ (กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา กรมการศาสนา, ๑๐๕; ปฏิทิน ศาสนา พุทธศักราช ๒๕๒๓ (กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา กรมการศาสนา, ๒๕๒๓), ๑๑๖-๑๑๗. ดูเพิ่มเติมที่ ภาคผนวก จ และ ภาคผนวก ฉ ทําเนียบพระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๑๗ และ พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนเอกสารที่มีชวงใกลเคียงกับ เอกสารทะเบียน-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๒ มากที่สุด เทาที่ผูเรียบเรียงสามารถ สืบคนไดในชวงเวลาขณะนี้ (กันยายน ๒๕๖๖) ๑๒ ปฏิทินศาสนา พุทธศักราช ๒๕๒๓, ๑๑๓-๑๑๗.


๗ หนังสอืทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตรจังหวัดเลยและทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๑ เลมนี้ จึงเปนหนังสือที่นําขอมูล เกี่ยวกับประวัติสวนบุคคลของพระสังฆาธิการ ตลอดจนประวัติตําแหนง พระสังฆาธิการและสมณศักดิ์ของคณะสงฆจังหวัดเลยที่ปรากฏอยูในเอกสารทั้ง ๒ ชุดนี้ นํามาเรียบเรียงใหมและจัดพิมพขึ้นเปนครั้งแรก แตดวยเอกสารเหลานี้ ผานระยะเวลานานกวา ๔๐ ป ขอมูลบางสวนจึงมีความเลือนรางตามสภาพของ เอกสารและมีขอมูลบางสวนที่คลาดเคล่ือนกับปจจุบัน (๒๕๖๖) รวมถึงรูปแบบ การบันทึก ลักษณะการกรอกขอมูลและอักรวิธีที่ปรากฏในเอกสารมีความ แตกตางกันไปตามความเขาใจของคณะสงฆแตละอําเภอ (เวนเพียงเอกสาร ชุดประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย ที่ผูเขียนขอมูลนาจะเปนคนเดียวกัน) การเรียบเรียงหนังสือเลมนี้จึงมีขอจํากัดดังที่กลาวไปในขางตน ดวยเหตุนี้ ผูเรียบเรียงขอทําความเขาใจสําหรับการเรียบเรียงขอมูลเอกสารลงในหนังสือเลม ดังตอไปนี้ ๑. หากขอมูลใดมีความคลาดเคลื่อน หรือไมตรงกับขอมูลปจจุบัน ผูเรียบเรียงไดใสเชิงอรรถไวเพื่ออธิบายเนื้อหาและขอมูลนั้น ๒. หากในเอกสารไมปรากฏขอมูล ผูเรียบเรียงจึงไดลงเครื่องหมาย ยัติภังค (-) เอาไว เชน จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. รองเจาคณะอําเภอ วันรับ พ.ศ. ๒๔๕๒ วันพน พ.ศ. ๒๔๗๑ ๒. พระอุปชฌาย วันรับ พ.ศ. ๒๔๖๒ วันพน - ๓. เจาคณะอําเภอ วันรับ พ.ศ. ๒๔๗๑ วันพน -


๘ ๓. เนื้อความ “ตัวเอียง” ที่ปรากฏในหนังสือเลมนี้ ผูเรียบเรียงไดเพิ่มเติม ขอมูลที่ขาดหายไป เพื่อใหขอมูลสมบูรณยิ่งขึ้น เชน ตําแหนงของพระสังฆาธิการ หรือ นามสกุลบิดาและมารดาของพระสังฆาธิการ ปจจุบันนอกจากดํารงตําแหนง เจาคณะอําเภอเมืองเลย แลว ยังดํารงตําแหนงพระ สังฆาธิการตําแหนงอื่นอีก คือ ๑. เปนรองเจาอาวาส เมื่อวันที่ ๑๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ๒. เปนรองเจาคณะจังหวัดเลย เมื่อวันที่ ๒๑ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๐ ประวัติ นามเดิม เสาร นามสกลุ บุญพิมพสัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย เกิดที่บาน ดงมัน หมูที่ ๔ ตําบล สิงหโคก อําเภอ เกษตรวิสยั จังหวัด รอยเอ็ด เมื่อวันที่ ๑๗ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๗ นามบดิา นายเบา บุญพิมพ นามมารดา นางสุด บุญพิมพ ๔. ผูเรียบเรียงไดแกไข เนื้อหาใหมีลักษณะคลายคลึงกันเพื่องายตอการ อานและทําความเขาใจ ซึ่งเนื้อหาใดที่มีการแกไข ไดเชิงอรรถอธิบายไวแลว


๙ ๕. ในสวนของอําเภอวังสะพุง ในเอกสารตนฉบับ สวนใหญเขียนวา “วังสพุง” ดวยเหตุนี้ผูเรียบเรียงจึงเขียนดวยอักขรวิธีปจจุบัน คือ “วังสะพุง” เพื่อใหงายตอการอานและความเขาใจในปจจุบัน ๖. ในสวนของนาม และตําแหนง ของพระสังฆาธิการ ผูเรียบเรียงได เลือกใช สมณศักดิ์สูงสุดในขณะนั้น และลงตําแหนงพระสังฆาธิการโดยละเอียด เชน กรณีของพระครูประจันตนิวิฐ ที่ไมไดลงนามวา พระครูประจันตนิวิฐ แตลง เพียงวา พระไสว คุณธมฺโม และลงตําแหนงพระสังฆาธิการเพียง เจาคณะตําบล ผูเรียบเรียงจึงไดเพิ่มเติมใหสมบูรณ เปน เจาคณะตําบลดานซาย หรือกรณีของ พระสังฆาธิการบางรูปที่ยังเขียนนามวา “พระ” หรือ “พระอธิการ” เทานั้น ผูเรียบเรียงจึงแกไขใหเปน “เจาอธิการ” ตามสมณศักดิ์และตําแหนงที่ พระคุณทานไดรับในขณะนั้น พระครปูระจนัตนิวิฐ เจาคณะตําบลดานซาย เจาอธิการประดิษฐโฆสโก เจาคณะตําบลผานอย เขต ๒ ๗. อีกประการหนึ่ง ตรงสวนที่เปนชื่อพระสังฆาธิการ ฉายา อายุ พรรษา วัดที่จําพรรษา ผูเขียนไดเรียบเรียงขอมูลจากหนาปกของเอกสาร มาประกอบ รวมกับเนื้อหาสวนตนภายในเอกสาร ดวยเหตุนี้ จึงทําใหตําแหนงพระสังฆาธิการ ที่ไมไดสมณศักดิ์ เปนพระครู พระมหาเปรียญ หรือดํารงตําแหนงฐานานุกรมใด ๆ ใชชื่อวา “เจาอธิการ” ดวยเหตุนี้ ผูเรียบเรียงจึงเขียนคําวา “พระ เจาอธิการ” ไว ในหนังสือ ตามรูปแบบของเอกสารเดิมดวย แตใหผูอานเขาใจวา เปนตําแหนง “เจาอธิการ” ไมใช “พระเจาอธิการ” เพราะไมปรากฏชื่อตําแหนงนี้ และไมนิยม ใชกัน เชน


๑๐ พระ เจาอธิการพรหมมา ฉายา อภิปโฺ พระ เจาอธิการเจียง ฉายา โชติปโฺ ๘. เนื้อหาบางสวนที่ไมปรากฏขอมูล เชน ในตารางตําแหนงในอดีตและ สมณศักดิ์ในอดีต หรือ สวนหมายเหตุตาง ๆ ผูเรียบเรียงละไวเพื่อใหมีขอมูลที่ สําคัญเทานั้น โดยไมไดเรียบเรียงลงไปในหนังสือเลมนี้(หากผอูานสนใจ ใหติดตอ ขอดูเอกสารชั้นตน ที่หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย) ดวยขอตกลงเพื่อทําความเขาใจที่กลาวมาในขางตนทั้ง ๘ ขอนี้ หากมี ขอผิดพลาดประการใด ผูเรียบเรียงขอนอมรับผิดชอบทุกประการ สําหรับผูที่ สนใจอานและคนควาเอกสารชั้นตนฉบับจริงของเอกสารดังกลาว สามารถสืบคน ไดที่ หอเอกสารและจดหมายเหตุวัดศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ณ วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย หรือสามารถ สืบคนออนไลนไดที่ Facebook เพจ วัดศรีบุญเรือง อ.เมืองเลย หรือเขาถึงไดที่ https://drive.google.com/drive/folders/1ZVziI0Ro5fjkNcl5nvFITGSYSR neaLQ-?usp=sharing


๑๑ สังเขปประวัติวัดศรีบญุเรือง บานติ้ว ตําบลกดุปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย* ปฐมพร จําปาออน๑ วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตั้งอยูเลขที่ ๒๕๗ บานติ้ว ถนนเจริญรัฐ ตําบล กุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย มีเนื้อที่ ๘ ไร ๑ งาน ๘๒ ตารางวา โดย ทางดานทิศเหนือติดกับทางสาธารณประโยชน (ถนนเจริญรัฐ ซอยบุญเจริญ) ทิศใตติดกับทางสาธารณประโยชน (ถนนเจริญรัฐ ซอย ๖) ทิศตะวันออก ติดกับที่ดินชาวบาน และทิศตะวันตกติดกับถนนเจริญรัฐ วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว กอรางขึ้นพรอมกับชุมชนบานติ้วในชวง ประมาณทศวรรษ ๒๔๕๐ (ราว พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๕๙) ซึ่งเปนชวงเวลาที่ชุมชน ตาง ๆ ในบริเวณลุมน้ําเลยเริ่มมีความมั่นคงและสงบเรียบรอยแลว หลังผาน ชวงเวลาสงครามกรุงเทพฯ-เวียงจันทน เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๙-๒๓๗๐ และ สงครามปราบฮอ ในระหวาง พ.ศ. ๒๔๑๘-๒๔๓๑๒ อยางไรก็ตามวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว เริ่มปรากฏชื่อในเอกสารและหลักฐานตาง ๆ ตั้งแตชวงปลายทศวรรษ ๒๔๗๐๓ เปนตนมา โดยปรากฏชื่อใน เอกสารประวัติพระครูสัญญาบัตร * เนื้อหาสวนใหญปรับปรุงและเรียบเรียงใหมใหกระชับขึ้นจากหนังสือ ปฐมพร จําปาออน, ประวัติ วัดศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย (เลย: สํานักงานวัดศรีบุญเรือง, ๒๕๖๖), บทที่ ๓. ๑ ลูกหลานชาวเมืองเลยโดยกําเนิด สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากสาขาวิชาประวัติศาสตร ทองถิ่น คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒ ปฐมพร จําปาออน, ประวัติวัดศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัด เลย, ๑๙-๒๐. ๓ ในหนังสือ ประวัติวัดศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย ระบุ วาหลกัฐานเกาสุดคือ แผนที่จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๔๙๒ เขียนโดย นายเติม สิงหัษฐิต แตปจจุบันเจอหลักฐานที่อาง ถึงชวงเวลาที่เกากวา พ.ศ. ๒๔๙๒ นั่นคือ พ.ศ. ๒๔๗๙ ใน “ประวัติพระครูสัญญาบัตร ประวัติพระครูวิจิตร สิกขกร,” เอกสารสํานักงานเจาคณะจังหวัดเลย [สมัยพระราชวีรมุนี], ศบร.๑/๖, หอเอกสารและจดหมายเหตุวัด


๑๒ จังหวัดเลย ของพระครูวิจิตรสิกขกร (สาลี อภโย) ระบุวาพระครูวิจิตรสิกขกร อุปสมบทเปนพระภิกษุเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ ตรงกับวันเสาร แรม ๑๒ ค่ํา เดือน ๕ ปชวด เวลา ๑๐.๐๐น. ณ พัทธสีมาวัดศรีบุญเรือง ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย โดยมีพระครูบุดดา วัดโพนงาม บานติดตอ ตําบลนาอาน อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เปนพระอุปชฌาย พระทองอินทร วัดโพนชัย ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระพันธ วัดโพนทอง ตําบลนาโปง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย๔ เอกสารชิ้นนี้จึงเปน หลักฐานที่ระบุวา วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว มีมาตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๙ แลวเปน อยางนอย และในชวงเวลาดังกลาววัดแหงนี้มีอุโบสถ (หลังเกา) แลว นอกจากนี้ ในชวงเวลาตั้งแตทศวรรษ ๒๔๘๐ เปนตนมา วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ยังปรากฏชื่อในหลักฐานอื่น ๆ เรื่อยมาอีกดวย ไดแก แถลงการณคณะสงฆ เรื่อง แตงตั้งพระอธิการรัตน ภทฺทโร วัดศรีบุญเรือง เปนคณะกรรมการสงฆ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย สังกัดองคการเผยแผ พ.ศ. ๒๔๘๘๕ แผนที่จังหวัดเลย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ บันทึกของพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน) พ.ศ. ๒๔๙๖๖ และ ราชกิจจานุเบกษา เรื่อง พระราชทานสมณศักดิ์ พระครูภัทรธรรม ประกาศ (รัตน ภทฺทโร) พ.ศ. ๒๔๙๗๗ เปนตน กลาวไดวาวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ศรีบุญเรือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. นั่นจึงเปนหลักฐานใหมสุดตอนนี้ (๒๕๖๖) ที่ทําใหเห็นวาวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว มีอายุมาตั้งแตช วงปลายทศวรรษ ๒๔๗๐ เปนอยางนอย ๔ “ประวัตพิระครูสัญญาบัตร ประวัติพระครูวิจิตรสิกขกร,” หมายเหตุ ผูเรียบเรียง สันนิษฐานวา วัดโพนชัย ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ที่ปรากฏใน เอกสารคงเปนวัดหนึ่งในบริเวณเขตตําบลเมือง แตเขียนชื่อวัดผิด หรืออาจเปนวัดอื่น ๆ ตําบลนาอาน และตําบล นาโปง ในชวงเวลานั้น แตเขียนชื่อตําบลผิดอยางไรก็ตามตองมีการศกึษาเพิ่มเติมในอนาคตตอไป ๕ “รายชื่อพระภิกษุผูไดรับแตงตั้ง เปนคณะกรรมการสงฆอําเภอจังหวัดเลย,” แถลงการณคณะสงฆ เลม ๓๓ (๒๔๘๘): ๑๕๑. ๖ ปฐมพร จําปาออน, ประวัติวัดศรีบุญเรืองและชุมชนบานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัด เลย, ๖๑-๖๒. ๗ “แจงความสํานักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์,” ราชกิจจานุเบกษา เลม ๗๑, ตอนที่ ๘๔ (๑๖ ธันวาคม ๒๔๙๗): ๒๗๙๔.


๑๓ สรางขึ้นพรอมกับชุมชนบานติ้ว ในชวงทศวรรษ ๒๔๕๐ และปรากฏรองรอย หลักฐานทางประวัติศาสตรอยางชัดเจนตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๙ เปนตนมา วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ชวงแรก ไมปรากฏหลักฐานชัดเจนวา เจาอาวาสวัดศรีบุญเรืองเปนใคร แตปรากฏรองรอยการสรางอุโบสถกออิฐ ถือปูนหลังเล็กขึ้นมาเพื่อใชในการประกอบพิธีกรรมของคณะสงฆ ตอมาเมื่อ พระครูภัทรธรรมประกาศ (รัตน ภทฺทโร) เขามาดํารงตําแหนงเปนเจาอาวาส วัดศรีบุญเรือง ประมาณชวง พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๕๐๐ ชวงเวลานี้ วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว เริ่มมีบทบาทสําคัญในการปกครองคณะสงฆจังหวัดเลยมากขึ้น เนื่องจากพระครูภัทรธรรมประกาศ เปนกรรมการคณะสงหฝายเผยแผ อีกทั้ง นับตั้งแต พ.ศ. ๒๔๙๔ เปนตนมา พระมหาชํานิ ฉนฺโน๘ เดินทางเขามา จําพรรษา เพื่อดํารงตําแหนงรักษาการเจาคณะจังหวัดเลย ฝายมหานิกาย และไดรับแตงตั้งเปนเจาคณะจังหวัดเลย ฝายมหานิกาย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕ ตอมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ พระครูภัทรธรรมประกาศ (รัตน) ยายไป จําพรรษาที่วัดภัทราราม บานฟากเลย อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย จึงทําให ตําแหนงเจาอาวาสวางลง ดวยเหตุนี้พระวีรญาณมุนี (ชํานิ ฉนฺโน)๙ จึงไดรับ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงเจาอาวาสวัดศรีบุญเรืองสืบตอแทน เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ในชวงที่พระวีรญาณมุนี (ชํานิ) ดํารงตําแหนง เจาอาวาสนั้น พระเดชพระคุณไดดําเนินการพัฒนาและกอสรางวัดใหมีความ สมบูรณมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการสรางอุโบสถหลังใหมแบบไทยประเพณีขึ้น แลวเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ และไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาสามัญ เมื่อ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๑ นอกจากนี้ยังมีการกอสรางกําแพงและ ซุมประตูโขง ตลอดจนกอตั้งโรงเรียนปริยัติธรรมและมูลนิธิสีหนาทภิกขุขึ้น ๘ สมณศักดิ์ในขณะนั้น ๙ สมณศักดิ์ในขณะนั้น ซึ่งพระมหาชํานิ ฉนฺโน ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ เปน “พระวีรญาณมุนี ขันติวาทีคณาภิรักษ สังฆปาโมกข” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๘


๑๔ กระทั่งเมื่อพระราชวีรมุนี (ชํานิ ฉนฺโน)๑๐ เริ่มอาพาธดวยอาการ กระดูกสันหลังทับเสนประสาท ดวยเหตุนี้กิจการตาง ๆ ภายในวัด จึง มอบหมายใหพระครูวิบูลคณานุศิษฏ (เสาร อภินนฺโท)๑๑ รองเจาอาวาส วัดศรีบุญเรือง เปนผูชวยดูแลและชวยเหลือแทน ในชวงนี้วัดศรีบุญเรืองไดมี การบูรณปฏิสังขรณเสนาสนะและถาวรวัตถุตาง ๆ ภายในวัดที่ชํารุดทรุดโทรม ไดแก อุโบสถ นอกจากนี้ยังไดกอสรางศาลาการเปรียญหลังใหม แบบ คอนกรีตเสริมเหล็กขึน้มาเพื่อใชประโยชนตลอดจนจัดตงั้โรงเรยีนศรบีุญเรือง ปริยัติศึกษาชวงปลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ การเปล่ยีนแปลงของวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว เกิดขึ้นอีกครั้ง เมื่อพระราชวีรมุนี (ชํานิ) ผูเปนรมโพธิ์ใหญของคณะสงฆ จังหวัดเลยและพระภิกษุสามเณรวัดศรีบุญเรือง ตลอดจนพุทธศาสนิกชน ชาวจังหวัดเลย ไดละสังขารอยางสงบเมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังนั้น พระรัตนกวี (เสาร อภินนฺโท)๑๒ จึงไดรับแตงตั้งเปนเจาอาวาส วัดศรีบุญเรือง สืบตอมาจนถึงปจจุบัน วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ในสมัยของพระรัตนกวี (เสาร) มีการสราง และบูรณปฏิสังขรณเสนาสนะเพิ่มเติมขึ้นอีกหลายแหง เชน ทาสีกําแพงวัด และอุโบสถ สรางอาคารเรียน โรงเรียนศรีบุญเรืองปริยัติศึกษา สรางกําแพง วัดใหม และบูรณะอุโบสถวัดศรีบุญเรืองขึ้นใหม นอกจากนี้ยังเปนชวงเวลาที่ วัดศรีบุญเรืองเกิดเหตุการณสําคัญ ซึ่งถือเปนเหตุการณประวัติศาสตรของวัด อีกดวย นั่นคือ พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ ขณะยังดํารงพระอิสสริยยศเปนพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี ๑๐ สมณศักดิ์ในขณะนั้น ซ่ึงพระวีรญาณมุนี(ชํานิฉนฺโน) ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน “พระราชวีรมุนี ศรีปาพจนวิจิตร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ๑๑ สมณศักดิ์ในขณะนั้น ซ่ึงพระมหาเสารอภินนฺโท ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน “พระครูวิบูลคณานุศษิฏ” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ๑๒ สมณศกัดิ์ในขณะนั้น ซึ่งพระครูวิบูลคณานุศษิฏ(เสารอภินนฺโท) ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ เปน “พระรัตนกวี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙


๑๕ พระวรราชาทินัดดามาตุเสด็จมาเปนองคประธานในการทรงบําเพ็ญพระกุศล ถวายผาพระกฐินพระราชทานแดพระภิกษุสงฆที่จําพรรษา ณ วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เมื่อวันพุธ ที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ปจจุบัน วัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ใตรมโพธิ์ธรรมของพระเดชพระคุณ พระราชวีราภรณ (เสาร อภินนฺโท)๑๓ อารามแหงนี้มีความบริบูรณพรอมดวย สมณผูรูในปริยัติธรรม และการพระศาสนา ทั้งยังประกอบดวยศาสนาคาร ศาสนวัตถุที่ควรคาตอการดําเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ไดแก อุโบสถ ศาลาการเปรียญ และอาคารเรียน เปนสําคัญ ดวยระยะเวลายาวนานเกือบ ศตวรรษ วัดศรีบุญเรืองแหงนี้ยอมเปนอารามที่มีประวัติศาสตรความเปนมา ยาวนานเคียงคูกับจังหวัดเลยและทองถิ่นชุมชนบานติ้ว ตลอดจนยังมี ความสําคัญในดานการปกครองคณะสงฆ จังหวัดเลย ฝายมหานิกาย ควรคา แกการอนุรักษและศึกษาอยางยิ่ง ๑๓ สมณศักดิ์ในปจจุบัน ซึ่งพระรัตนกวี (เสาร อภินนฺโท) ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ เปน “พระราชวีราภรณ ตรีปฎกวราลงกรณ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐


๑๖ ภาพมุมสูงวัดศรีบุญเรือง บานติ้ว ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ถายเมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๕


๑๗ ทําเนียบประวัติพระครูสัญญาบัตร จังหวัดเลย ๑. พระครูวิจารณสังฆกิจ (ภา พฺรหฺมเสโน บุตรธรรม) ประวัติพระครู วิจารณสังฆกิจ ฉายา พฺรหฺมเสโน นามสกุล (ภา) บุตรธรรม สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด ศรีจันทร ตําบล นาออ อําเภอ เมืองเลย จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายนนท บุตรธรรม สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางอุน บุตรธรรม สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานปากหมาก๑ หมูที่ ๕ ตําบลนาออ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๓ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๒๖ เวลา ๕.๓๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๕ ฯ ๒ ค่ํา ปมะแม ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๑๐ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ อายุ ๑๔ ป๒ วัดศรีสุมังคลาราม๓ ตําบลนาออ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย อาจารยผูใหบรรพชา พระอาจารยสิงห วัดศรีสุมังคลาราม อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๑ ปจจุบัน บานปากหมากอยูในเขตตําบลศรีสองรัก อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๖


๑๘ อุปสมบท วันที่ ๑๑ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๗ ตรงกับวัน ๗ ฯ ๗ ค่ํา ปมะโรง เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ พัทธสีมา วัดศรีจันทร ตําบลนาออ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอุปชฌาย พระครูลี วัดธาตุ ตําบลธาตุ อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย พระอธิการสีดา วัดศรีสัตตนาค๔ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย พระอธิการพวย วัดศรีสัตตนาค๔ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก - ความรูทางธรรม - ง. สมณศักดิ์ พระครูวิจารณสังฆกิจ ชั้นโท ไดรับเมื่อ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ พระครูวิจารณสังฆกิจ ชั้นเอก ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. รองเจาคณะอําเภอ วันรับ พ.ศ. ๒๔๕๒ วันพน พ.ศ. ๒๔๗๑ ๒. พระอุปชฌาย วันรับ พ.ศ. ๒๔๖๒ วันพน - ๓. เจาคณะอําเภอ วันรับ พ.ศ. ๒๔๗๑ วันพน - ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ๒ เนื้อหาในสวนนี้ของเอกสารมีความขัดแยงกันระหวางปบรรพชาและอายุที่บรรพชา แตจาก การศึกษาของปฐมพร จําปาออน สันนิษฐานวาพระครูวิจารณสังฆกิจคงบรรพชาชวงอายุ๑๔-๑๕ ปซ่ึงตรง กับ พ.ศ. ๒๔๔๐ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ปฐมพร จําปาออน, “การศึกษาบทบาทของพระครูวิจารณสังฆกิจ (ภา) ตอการพัฒนาชุมชนบานนาออ อําเภอเมือง จังหวัดเลย (๒๔๕๗-๒๕๖๔),” (รายงานคนควาเฉพาะบุคคล หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรทองถิ่น คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๖๔), ๒๒. ๓ ปจจุบัน วัดศรีสุมังคลาราม บานปากหมากอยูในเขตตําบลศรีสองรกัอําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๔ ปจจุบัน วัดศรีสัตตนาค อยูในเขตตําบลชัยพฤกษอาํเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๑๓


๑๙ ๒. พระครูสันทัดคณานุการ (จันทร ฉนฺนวฑฺโฒ สวรรณเขต) ประวัติพระครู สันทัดคณานุการ ฉายา ฉนฺนวฑฺโฒ นามสกุล (จันทร) สวรรณเขต สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด โพธิ์ศรี ตําบล ทาลี่ อําเภอ ทาลี่ จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายอรรควงศ สวรรณเขต สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางจันดา สวรรณเขต สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานทาลี่ หมูที่ ๒ ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๑๕ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ เวลา ๑๒.๐๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๖ ฯ ๘ ค่ํา ปวอก๕ ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา - อุปสมบท วันที่ ๑๐ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๙๖ ตรงกับวัน ๕ ฯ ๗ ค่ํา ปมะโรง เวลา ๑๒.๐๐ น. ณ พัทธสีมา วัดโพธิ์ศรี ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย ๕ วันเกิด เมื่อตรวจสอบกับเอกสารทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ พระครูสันทัดคณานุการ พ.ศ. ๒๕๒๐ แลว พบวามีความคลาดเคลื่อนกันอยู กลาวคือ ในเอกสารทําเนียบ-ประวัติระบุวา เกิดวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ ซ่งึตรงกับวันศกุร(๖) แรม ๙ คํ่า เดือน ๘ ปวอก ซึ่งใกลเคียงกับวันที่ทางจันทรคติที่ ปรากฏในเอกสารขางตนอาจเปนไดวาพระครสูันทัดคณานุการเกิดในวันที่๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ ตรงกับ วันศกุร(๖) แรม ๙ คํา่เดือน ๘ ปวอก ๖ วันที่อุปสมบท เมื่อตรวจสอบกับเอกสารทําเนียบ-ประวัติฯ แลว พบวามีความคลาดเคลื่อนกัน อยู กลาวคือ ในเอกสารระบุวา อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๙ ซึ่งตรงกับวันที่ทางจันทรคติที่ ๘ ๑๕


๒๐ พระอุปชฌาย พระครูพรหม วัดอุโมง ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย พระศรียา วัดอุโมง ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย พระสา วัดโพธิ์ศรีตําบลทาลี่อําเภอทาลี่จังหวัดเลย ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก ความรูสามัญ ประถมปที่ ๓ ความรูทางธรรม - ง. สมณศักดิ์ พระครูสันทัดคณานุการ ชั้นโท ไดรับเมื่อ วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๘ พระครูสันทัดคณานุการ ชั้นเอก ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาอาวาสวัดโพธิ์ศรี วันรับ - วันพน - ๒. เจาคณะอําเภอทาลี่ วันรับ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๘ วันพน - ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ปรากฏในเอกสารขางตนดังนั้นจึงกลาวไดวา พระครูสันทัดคณานุการ อุปสมบทเมื่อวันที่๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๙ ตรงกับวันพฤหัสบดี (๕) ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๗ ปมะโรง


๒๑ ๓. พระครูพิเศษสังฆกิจ (อวน สุวณฺณธโร ทองปน) ประวัติพระครู พิเศษสังฆกิจ ฉายา สุวณฺณธโร นามสกุล (อวน) ทองปน สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด โพธิชัยมงคล ตําบล นาโปง อําเภอ เมืองเลย จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายทอง ทองปน สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางจําปา ทองปน สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานทาศาลา หมูที่ ๕ ตําบลทาศาลา๗ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๔ เวลา ๐๘.๐๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๓ ฯ ๙ ค่ํา ปขาล๘ ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๑ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ อายุ ๑๓ ป วัดธาตุศรีสองรัก ตําบลดานซาย อําเภอดานซาย จังหวัดเลย อาจารยผูใหบรรพชา พระศิริ วัดนาเวียง อําเภอดานซาย จังหวัดเลย ๗ ปจจุบัน ตําบลทาศาลา อยูในเขตอําเภอภูเรือ จังหวัดเลย ๘ วันเกิดทางสุริยคติและจันทรคติมีความคลาดเคลื่อนกันอยู เนื่องจากวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๔๔๔ ตามที่ปรากฏในเอกสารตรงกับวัน ๒ แรม ๖ เดือน ๘๘ (เดือนแปดหลัง) ปฉลู ไมใชวันที่ทางจันทรคติที่ ปรากฏในเอกสาร ขณะที่หากเปนวันที่๕ สิงหาคม ๒๔๔๕ ตรงกับวันอังคาร (๓) ขึ้น ๒ ค่ํา เดอืน ๙ ปขาล ซึ่ง อาจเปนขอมูลที่ถูกตอง เนื่องจากวัน-เดือน-ปทางจันทรคติและวัน-เดือนทางสุริยคติมีความใกลเคียงเอกสาร ตนฉบับมากที่สุด ๑


๒๒ อุปสมบท วันที่ ๑๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ตรงกับวัน ๔ ฯ ๖ ค่ํา ปจอ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ พัทธสีมา วัดธาตุศรีสองรัก ตําบลดานซาย อําเภอดานซาย จังหวัดเลย พระอุปชฌาย พระครูขันธ วัดนาหอ๙ ตําบลดานซาย อําเภอดานซาย จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย พระเหม วัดบานแกง๑๐ ตําบลดานซาย อําเภอ ดานซาย จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย พระอินทร วัดบานนาดี๑๑ ตําบลดานซาย อําเภอดานซาย จังหวัดเลย ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก - ความรูทางธรรม (ชั้นสูงสุด) นักธรรม ชั้นตรี ง. สมณศักดิ์ พระครูพิเศษสังฆกิจ ชั้นตรี ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาคณะตําบลนาโปง วันรับ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ วันพน - ๒. พระอุปชฌาย วันรับ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ วันพน - ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ๙ สันนิษฐานวาปจจุบัน คือ วัดศรีภูมิบานนาหอ ตาํบลนาหอ อาํเภอดานซาย จงัหวัดเลย ๑๐ สันนิษฐานวาปจจุบัน วัดบานแกงคงอยูในเขตตําบลกกสะทอน อําเภอดานซาย จังหวัดเลย ๑๑ สันนิษฐานวา อาจเปนวัดโพธิ์ศรีบานนาดีตําบลนาดีอําเภอดานซาย จังหวัดเลยในปจจุบัน ๑๕


๒๓ ๔. พระครูบวรธรรมรัต (แป ตาณงฺกโร สุขทองสา) ประวัติพระครู บวรธรรมรัต ฉายา ตาณงฺกโร นามสกุล (แป) สุขทองสา สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด วิเวกธรรมคุณ ตําบล กุดปอง อําเภอ เมืองเลย จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายผอง สุขทองสา สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางแทน สุขทองสา สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานแฮ หมูที่ ๔ ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๒๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๑ เวลา ๑๙.๐๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๗ ฯ ๖ ค่ํา ปกุน๑๒ ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๗ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ อายุ ๓๒ ป วัดพระพุทธบาท ตําบลพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี อาจารยผูใหบรรพชา พระครูพุทธบาล วัดพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ๑๒ วันเกิดมีความคลาดเคลื่อน กลาวคือ วันเสาร (๗) แรม ๑๒ ค่ํา เดือน ๖ ปกุน ตรงกับวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ซึ่งอาจมีความเปนไปไดวาวันที่ทางสุริยคติเปนการจดบันทึกคลาดเคล่ือน ซึ่งถาหาก เปนวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ตามที่ปรากฏในเอกสารตรงกับวันจันทร (๒) ขึ้น ๑๓ ค่ํา เดือน ๗ ปกุน ผูเรยีบเรยีงสันนิษฐานวา วันเกิดของพระครูบวรธรรมรัต ควรเปนวันที่๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ตรงกับวัน เสาร (๗) แรม ๑๒ ค่ํา เดือน ๖ ปกุน ๑๒


๒๔ อุปสมบท วันที่ ๗ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ ตรงกับวัน ๔ ฯ ๖ ค่ํา ปมะเมีย เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ พัทธสีมา วัดพระพุทธบาท ตําบลพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี พระอุปชฌาย พระครูพุทธบาล วัดพระพุทธบาท ตําบลพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรีพระกรรมวาจาจารย พระปลัดรอด วัดพระพุทธบาท ตําบลพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี พระอนุสาวนาจารย พระสมุหมั่น วัดพระพุทธบาท ตําบลพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท จังหวัด สระบุรี ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก - ความรูทางธรรม (ชั้นสูงสุด) - ง. สมณศักดิ์ พระครูบวรธรรมรัต ชั้นตรี ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาคณะตําบลกุดปอง วันรับ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ วันพน - ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ๑๐


๒๕ ๕. พระครูสุมนวุฒิกร (วุฒิฐติมโน บุตรโยจันโท) ประวัติพระครู สุมนวุฒิกร ฉายา ฐิตมโน นามสกุล (วุฒิ) บุตรโยจันโท สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด โพนชัย ตําบล ดานซาย อําเภอ ดานซาย จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายดวง บุตรโยจันโท สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางทิพย บุตรโยจันโท สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานกางปลา๑๓ หมูที่ ๒ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๑๖ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ เวลา ๑๘.๐๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๔ ฯ ๔ ค่ํา ปฉลู๑๔ ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๑๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ อายุ ๑๓ ป วัดศรีสัตตนาค๑๕ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย อาจารยผูใหบรรพชา พระสีลธราจารย วัดสีลธราราม อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ภาพตนฉบับของพระครูสุมนวุฒิการในเอกสารชํารุด ผูเรียบเรียงจึงไดนําภาพที่สมบูรณและ เหมือนกันมาใชประกอบเพื่อใหเนื้อหามีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ๑๓ ปจจุบัน บานกางปลา อยูในเขตตําบลชัยพฤกษอาํเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๑๔ วันเกิด เมื่อตรวจสอบกับเอกสารทําเนียบ-ประวัติพระสังฆาธิการ พระครูสุมนวุฒิกร พ.ศ. ๒๕๒๐ แลว พบวามีความคลาดเคลื่อนกันอยู กลาวคือ ในเอกสารทําเนียบ-ประวัติระบุวา เกิดวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ซึ่งตรงกับวันอังคาร (๓) ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๔ ปฉลู ซึ่งมีความใกลเคียงกับวันที่ทางจันทรคติ อีกทั้ง ตรงกับเนื้อหาในหนังสืออนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พระครูสุมนวุฒิกรอีกดวย ดังนั้น จึงสรุปไดวา พระครู สุมนวุฒิกร เกิดวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ตรงกับวันอังคาร (๓) ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๔ ปฉลู ๑๕


๒๖ อุปสมบท วันที่ ๑๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ ตรงกับวัน ๔ ฯ ๗ ค่ํา ประกา๑๖ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ พัทธสีมา วัดศรีสัตตนาค ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอุปชฌาย พระครูวิจารณสังฆกิจ วัดศรีจันทร ตําบลนาออ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย พระสีลธราจารย วัดสีลธราราม๑๗ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย พระปลัดมุข วัดศรีชมชื่น ตําบล นาออ อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก ความรูสามัญ ประถมปที่ ๓ ความรูทางธรรม (ชั้นสูงสุด) นักธรรม ชั้นเอก ง. สมณศักดิ์ พระครูสุมนวุฒิกร ชั้นตรี ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ พระครูสุมนวุฒิกร ชั้นโท ไดรับเมื่อ วันที่๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๔ พระครูสุมนวุฒิกร ชั้นเอก ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาคณะตําบลดานซาย วันรับ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ วันพน ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ๒. พระอุปชฌาย วันรับ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ วันพน – ๓. เจาคณะอําเภอดานซาย วันรับ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๔ วันพน – ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ๑๕ ปจจุบัน วัดศรีสัตตนาค อยูในเขตตําบลชัยพฤกษอาํเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๑๖ วันอุปสมบท เมื่อตรวจสอบกับเอกสารทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการฯ แลว พบวามีความ คลาดเคลื่อนกันอยู กลาวคือ ในเอกสารทําเนียบ-ประวัติฯ ระบุวา อุปสมบทเมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ ตรงกับวันอังคาร (๓) แรม ๖ ค่ํา เดือน ๗ ประกา ซึ่งนาจะถูกตองและใกลเคียงกับขอมูลจริงที่สุด เพราะเนื้อหาในเอกสารในสวนของวันเกิดมีความถูกตอง วันเวลาอุปสมบทจึงนาเชื่อถือเชนกัน ดังนั้น พระครู สุมนวุฒิกร อุปสมบทเมื่อวันที่๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ ตรงกับวันอังคาร (๓) แรม ๖ คํา่เดือน ๗ ประกา ๑๗ ปจจุบัน วัดสีลธราราม อยูในเขตตําบลชัยพฤกษอาํเภอเมองเลย จังหวัดเลย ื ๑๕


๒๗ ๗. พระครูวิจิตรสิกขกร (สาลี อภโย พุทธวงศ) ประวัติพระครู วิจิตรสิกขกร ฉายา อภโย นามสกุล (สาลี) พุทธวงศ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด โพนงาม บานนาบอน ตําบล เมือง อําเภอ เมืองเลย จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายไม พุทธวงศ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางเฟอง พุทธวงศ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานนาบอน๑๘ หมูที่ ๗ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๑๐ เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๕๘ ตรงกับจันทรคติ วัน ๑ ฯ ๓ ค่ํา ปเถาะ๑๙ ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๑๘ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ อายุ ๒๒ ป วัดศรีบุญเรือง ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย อาจารยผูใหบรรพชา พระครูบุดดา วัดโพนงาม อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๑๘ ปจจุบัน บานนาบอน อยูในเขตตําบลชัยพฤกษอาํเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๑๙ วันเกิดทางสุริยคติและจันทรคติมีความคลาดเคลื่อนกัน วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๔๕๘ ตรงกับ วันพฤหัสบดี (๕) ขึ้น ๗ ค่ํา เดือน ๓ ปเถาะ สวนทางจันทรคติที่ปรากฏในเอกสารขางตนตรงกับ วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ๒๔๕๗ ซ่งึวันเดือนปที่ปรากฏในเอกสารและวันเดือนปที่ตรวจสอบทานใหมนั้นไมใกลเคียงกันเลย จึงตองมีการศกึษาตอไปในอนาคต ๙


๒๘ อุปสมบท วันที่ ๑๘ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ ตรงกับวัน ๗ ฯ ๕ ค่ํา ปชวด เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ พัทธสีมา วัดศรีบุญเรือง ตําบลกุดปอง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอุปชฌาย พระครูบุดดา วัดโพนงาม บานติดตอ ตําบลนาอาน อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย พระทองอินทร วัดโพนชัย๒๐ ตําบลเมือง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย พระพันธ วัดโพนทอง ตําบลนาโปง อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก ความรูสามัญ ประถมปที่ ๓ ความรูทางธรรม (ชั้นสูงสุด) นักธรรม ชั้นเอก ง. สมณศักดิ์ พระครูวิจิตรสิกขกร ชั้นตรี ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาอาวาสวัดโพนงาม วันรับ พ.ศ. ๒๔๘๓ วันพน – ๒. ศึกษาอําเภอเมืองเลย วันรับ พ.ศ. ๒๔๘๗ วันพน ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๖ ๓. เจาคณะตําบลเมือง วันรับ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๗ วันพน – ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ๒๐ สันนิษฐานวา อาจเปนวัดโพธิ์ชยับานนาบอน ตาํบลชัยพฤกษอําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ใน ปจจุบัน ๑๒


๒๙ ๘. พระครูพิทักษโพธิมณฑล (ชู กลฺยาณธมฺโม วรรณคีรี) ประวัติพระครู พิทักษโพธิมณฑล ฉายา กลยาณธมฺโม นามสกุล (ชู) วรรณคิรี สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด โพธิ์ศรสีมโพธิ ตําบล นาอาน อําเภอ เมืองเลย จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายมี วรรณคีรี สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางบัว วรรณครีี สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานผานอย หมูที่ ๒ ตําบลผานอย อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย วันเกิด วันที่ ๑ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ เวลา ๖.๐๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๔ ฯ ๖ ค่ํา ปเถาะ๒๑ ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา – อุปสมบท วันที่๑๐ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๙ ตรงกับวัน ๔ ฯ ๗ คํ่า ปชวด เวลา ๑๓.๔๕ น. ณ พัทธสีมา วัดโพนงาม ตําบลนาอาน อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอุปชฌาย เจาอธิการแสง วัดจอมแจง ตําบลนาดินดํา อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ๒๑ วันเกิด เมื่อตรวจสอบกับเอกสารทําเนียบ-ประวัติ พระสังฆาธิการ พระครูพิทักษโพธิมณฑล พ.ศ. ๒๕๒๑ พบวามีความคลาดเคล่ือนกันอยูกลาวคือ ในเอกสารทําเนียบ-ประวัติระบุวา เกิดวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๔๕๗ ซึ่งตรงกับวันพุธ (๔) ขึ้น ๗ ค่ํา เดือน ๕ ปขาล ซึ่งวันเดือนปที่ปรากฏในเอกสารขางตน และเอกสารทําเนียบ-ประวัตินั้นไมใกลเคียงกันเลย จึงตองมีการศึกษาตอไปในอนาคต ๑๕ ๖


๓๐ พระกรรมวาจาจารย พระอธิการพรหม วัดจอมแจง ตําบลนาดินดํา อําเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย – ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก ความรูสามัญ ประถมปที่ ๔ ความรูทางธรรม (ชั้นสูงสุด) นักธรรม ชั้นโท ง. สมณศักดิ์ พระครูพิทักษโพธิมณฑล ชั้นตรี ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาคณะตําบลนาอาน วันรับ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ วันพน – ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏


๓๑ ๙. พระครูพิศาลสิกขกร (ชิระ เปโม พันธุเถระ) ประวัติพระครู พิศาลสิกขกร ฉายา เปโม นามสกุล (ชิระ) พันธุเถระ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย วัด ศิริมงคล ตําบล อาฮี อําเภอ ทาลี่ จังหวัด เลย ก. ชาติภูมิ บิดา นายลอด พันธุเถระ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย มารดา นางกรม พันธุเถระ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ที่เกิด บานบะแหบ๒๒ หมูที่ ๒๒ ตําบลแวงนอย อําเภอพล จังหวัดขอนแกน วันเกิด วันที่ ๑๓ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๓ เวลา ๑๑.๐๐ น. ตรงกับจันทรคติ วัน ๕ ฯ ๖ ค่ํา ปวอก ข. บรรพชา-อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๑๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ อายุ ๑๗ ป วัดประทุมวัน ตําบลเพ็กใหญ อําเภอพล จังหวัดขอนแกน อาจารยผูใหบรรพชา พระครูปฏิภาณ ธรรมรส วัดประทุมวัน อําเภอพล จังหวัดขอนแกน อุปสมบท วันที่ ๓๐ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๔ ตรงกับวัน ๔ ฯ ๖ ค่ํา ปมะเส็ง เวลา ๙.๓๐ น. ณ พัทธสีมา วัดศรีธงชัย๒๓ ตําบลแวงนอย อําเภอพล จังหวัดขอนแกน พระอุปชฌาย พระครูวรพรตวิธาน วัดจุมพล๒๔ ตําบลแวงนอย อําเภอพล จังหวัด ๒๒ ปจจุบัน บานบะแหบ อยูในเขตตําบลกานเหลือง อําเภอแวงนอย จังหวัดขอนแกน ๒๓ ปจจุบัน วัดศรีธงชัย อยูในเขตตําบลแวงนอย อําเภอแวงนอย จังหวัดขอนแกน ๒๔ ปจจุบัน วัดจุมพล อยูในเขตตําบลแวงนอย อาํเภอแวงนอย จังหวัดขอนแกน ๑๑ ๕


๓๒ ขอนแกน พระกรรมวาจาจารย พระสอน วัดจุมพล ตําบลแวงนอย อําเภอพล จังหวัดขอนแกน พระอนุสาวนาจารย พระสวด วัดศรีธงชัย ตําบลแวงนอย อําเภอพล จังหวัดขอนแกน ค. วิทยฐานะ ความรูทางโลก ความรูสามัญ ประถมปที่ ๔ ความรูทางธรรม (ชั้นสูงสุด) นักธรรม ชั้นเอก ง. สมณศักดิ์ พระครูพิศาลสิกขกร ชั้นตรี ไดรับเมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ จ. ตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ ๑. เจาอาวาสวัดศริมิงคล วันรับ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ วันพน – ๒. เจาคณะตําบลลาดคาง วันรับ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ วันพน พ.ศ. ๒๔๙๙ ๓. ศึกษาอําเภอทาลี่ วันรับ ๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๙๘ วันพน ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๖ ๔. เจาคณะตําบลอาฮี วันรับ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๗ วันพน –


Click to View FlipBook Version