The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัย 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by photographer046, 2022-05-31 22:18:06

หลักสูตรปฐมวัย 2565

หลักสูตรปฐมวัย 2565

สถานศกึ ษากำหนดระดบั คณุ ภาพของการแสดงออกในพฤตกิ รรม เป็น ๓ ระดบั ดังนี้

ระดบั คุณภาพ ระบบทใี่ ช้คำสำคญั

๑ หรือ ควรสง่ เสริม เดก็ มีความลังเล ไม่แน่ใจ ไมย่ อมปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ทง้ั น้ี เนื่องจากเดก็ ยังไม่พร้อม ยงั
มัน่ ใจ และกลัวไม่ปลอดภัย ผู้สอนต้องย่วั ยหุ รือแสดงใหเ้ หน็ เปน็ ตัวอยา่ งหรอื ต้อง
คอยอยใู่ กลๆ้ คอ่ ยๆให้เดก็ ทำทีละข้ันตอน พร้อมต้องให้กำลังใจ

๒ หรือ พอใช้ เดก็ แสดงได้เอง แตย่ ังไมค่ ล่อง เดก็ กล้าทำมากข้นึ ผ้สู อนกระตุน้ น้อยลง ผสู้ อนต้อง
คอยแก้ไขในบางครั้ง หรอื คอยให้กำลงั ใจให้เด็กฝกึ ปฏบิ ตั มิ ากขน้ึ

๓ หรอื ดี เด็กแสดงไดอ้ ย่างชำนาญ คล่องแคลว่ และภมู ิใจ เดก็ จะแสดงได้เองโดยไม่ตอ้ ง
กระตุ้น มีความสมั พนั ธ์ที่ดี

๓.๒ การสรุปผลการประเมินพฒั นาการเดก็
หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ กำหนดเวลาเรยี นสำหรบั เดก็ ปฐมวยั ต่อปีการศึกษาไมน่ อ้ ย
กว่า ๑๘๐ วนั สถานศึกษาจงึ บริหารจัดการเวลาท่ีไดร้ ับนี้ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ตอ่ การพัฒนาเดก็ อย่างรอบด้านและ
สมดุล ผู้สอนมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเตมิ เต็มศกั ยภาพของแด็ก เพ่ือให้การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้มี
ประสิทธิภาพ ผู้สอนตรวจสอบพฤติกรรมท่แี สดงพฒั นาการของเด็กต่อเน่ืองมีการประเมินซ้ำพฤติกรรมน้ันๆอยา่ งน้อย
๑ ครัง้ ตอ่ ภาคเรยี น เพอื่ ยนื ยันความเชอ่ื มั่นของผลการประเมินพฤตกิ รรมนัน้ ๆ และนำผลไปเป็นข้อมูลในการสรุปการ
ประเมินสภาพที่พึงประสงค์ของเด็กในแตล่ ะสภาพท่ีพงึ ประสงค์ นำไปสรุปการประเมินตัวบง่ ช้ีและมาตรฐาน
คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ตามลำดับ

๓.๓ การเลื่อนชนั้ อนุบาลและเกณฑ์การจบการศึกษาระดบั ปฐมวัย

เม่ือสิ้นปีการศกึ ษา เดก็ จะได้รับการเลือ่ นชน้ั โดยเด็กต้องได้รับการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ทง้ั ๑๒ ขอ้ ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั เพื่อเปน็ ข้อมูลในการสง่ ตอ่ ยอดการพัฒนาให้กบั เด็กในระดับสงู ขน้ึ ตอ่ ไป
และเนือ่ งจากการศึกษาระดับอนุบาลเปน็ การจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานที่ไมน่ ับเปน็ การศึกษาภาคบังคับ จงึ ไม่มกี าร
กำหนดเกณฑ์การจบชั้นอนุบาล การเทยี บโนการเรียน และเกณฑ์การเรียนซ้ำชั้น และหากเด็กมแี นวโน้มวา่ จะมปี ญั หา
ตอ่ การเรยี นรูใ้ นระดบั ท่ีสงู ขน้ึ สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการเพ่ือพจิ ารณาปัญหา และประสานกบั หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการให้ความชว่ ยเหลือ เขา้ ร่วมดำเนนิ งานแกป้ ัญหาได้

อยา่ งไรก็ตาม ทกั ษะท่ีนำไปสู่ความพร้อมในการเรียนรทู้ ่ีสามารถใช้เป็นรอยเชื่อมต่อระหวา่ งชน้ั อนบุ าลกบั ชัน้
ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ทีค่ วรพจิ ารณามีทักษะดงั นี้

๑. ทกั ษะการชว่ ยเหลือตนเอง ไดแ้ ก่ ใช้หอ้ งนำ้ ห้องส้วมได้ด้วยตนเอง แตง่ กายได้เอง เก็บของเข้าทเ่ี มื่อเล่น
เสรจ็ และช่วยทำความสะอาด รจู้ กั ร้องขอใหช้ ว่ ยเมอื่ จำเป็น

๒. ทักษะการใชก้ ล้ามเน้ือใหญ่ ไดแ้ ก่ วิ่งไดอ้ ย่างราบรน่ื ว่ิงก้าวกระโดดได้ กระด้วยสองขาพน้ จากพน้ื ถือจบั
ขวา้ ง กระดอนลูกบอลได้

๓. ทักษะการใช้กล้ามเน้ือเล็ก ได้แก่ ใชม้ ือหยิบจับอุปกรณว์ าดภาพและเขยี น วาดภาพคนมีแขน ขา และ
ส่วนตา่ งๆของรา่ งกาย ตัดตามรอยเสน้ และรูปตา่ งๆ เขียนตามแบบอยา่ งได้

๔. ทักษะภาษาการรหู้ นงั สือ ไดแ้ ก่ พูดใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจได้ ฟงั และปฏิบตั ิตามคำชแี้ จงงา่ ยๆ ฟังเรื่องราวและคำ
คล้องจองต่างๆอย่างสนใจ เข้าร่วมฟังสนทนาอภปิ รายในเร่ืองต่างๆ รู้จักผลัดกันพูดโต้ตอบ เล่าเรอ่ื งและทบทวน

เรื่องราวหรอื ประสบการณ์ต่างๆ ตามลำดับเหตุการณ์เล่าเรื่องจากหนังสือภาพอยา่ งเป็นเหตุเปน็ ผล เขียนชอื่ ตนเองได้
เขยี นคำที่มคี วามหมายตอ่ ตนเอง

๕. ทกั ษะการคิด ไดแ้ ก่ แลกเปล่ยี นความคิดและใหเ้ หตผุ ลได้ จดจำภาพและวัสดุท่ีเหมือนและต่างกนั ได้ ใช้
คำใหม่ๆในการแสดงความคิด ความรสู้ ึก ถามและตอบคำถามเก่ยี วกับเรื่องท่ีฟังเปรียบเทียบจำนวนของวัตถุ ๒ กลุ่ม
โดยใชค้ ำ “มากกวา่ ” “น้อยกว่า” “เทา่ กัน” รจู้ กั เช่อื มโยงเวลากับกจิ วตั รประจำวนั

๖. ทักษะทางสงั คมและอารมณ์ ไดแ้ ก่ ปรับตัวตามสภาพการณ์ ใชค้ ำพดู เพ่ือแก้ไขข้อขดั แยง้ นงั่ ไดน้ าน ๕-๑๐
นาที เพ่ือฟังเรื่องราวหรอื ทำกิจกรรม ทำงานจนสำเร็จ ร่วมมอื กับคนอ่ืนและรู้จักผลดั กันเลน่ ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้
เมอ่ื กังวลหรือตื่นเต้น หยดุ เล่นและทำในส่งิ ทผ่ี ู้ใหญ่ต้องการใหท้ ำได้ ภมู ใิ จในความสำเร็จของตนเอง

๔. การายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ

การรายงานผลการประเมินพัฒนาการเป็นการส่ือสารให้พ่อแม่ ผู้ปกครองได้รบั ทราบความก้าวหน้าในการ
เรียนรู้ของเด็ก ซ่งึ สถานศกึ ษาต้องสรปุ ผลการประเมินพฒั นาการ และจัดทำเอกสารรายงานให้ผปู้ กครองทราบเปน็
ระยะๆ หรืออย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ครง้ั

การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการสามารถรายงานเปน็ ระดบั คุณภาพท่ีแตกต่างไปตามพฤติกรรมที่
แสดงออกถึงพฒั นาการแตล่ ะดา้ น ท่ีสะท้อนมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงคท์ ั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสตู รการศึกษา
ปฐมวยั

๔.๑ จดุ ม่งุ หมายการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ

๑. เพอื่ ใหผ้ เู้ ก่ยี วข้อง พ่อ แม่ และผูป้ กครองใช้เปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ แก้ไข ส่งเสรมิ และ
พฒั นาการเรยี นรู้ของเดก็

๒. เพอ่ื ให้ผ้สู อนใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการวางแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
๓. เพอ่ื เปน็ ข้อมูลสำหรับสถานศึกษา เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา และหน่วยงานต้นสังกดั ใชป้ ระกอบในการ
กำหนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

๔.๒ ขอ้ มูลในการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ

๑. ข้อมูลระดับชน้ั เรียน ประกอบดว้ ย เวลาเรยี นแบบบันทกึ การประเมินพัฒนาการตามหน่วยการ
จดั ประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำช้นั และสมดุ รายงานประจำตัวนักเรียน และสารนิทัศน์
ทสี่ ะท้อนการเรยี นรู้ของเด็ก เปน็ ข้อมูลสำหรบั รายงานใหผ้ ู้มสี ่วนเก่ยี วข้อง ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผสู้ อน และ
ผู้ปกครอง ไดร้ ับทราบความก้าวหนา้ ความสำเรจ็ ในการเรยี นรขู้ องเด็กเพื่อนำไปในการวางแผนกำหนดเปา้ หมายและ
วธิ กี ารในการพัฒนาเด็ก

๒. ขอ้ มูลระดบั สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ผลการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคท์ ้ัง
๑๒ ขอ้ ตามหลกั สูตร เพ่อื ใช้เป็นขอ้ มูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนและ
คุณภาพของเด็ก ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์และแจ้งใหผ้ ู้ปกครอง และผเู้ ก่ียวข้องไดร้ ับทราบ
ข้อมลู โดยผมู้ หี น้าท่รี ับผิดชอบแต่ละฝ่ายนำไปปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาเด็กให้เกิดพัฒนาการอย่างถกู ต้อง เหมาะสม
รวมท้งั นำไปจัดทำเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการของผู้เรียน

๓. ข้อมูลระดบั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ไดแ้ ก่ ผลการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงคท์ ั้ง ๑๒
ขอ้ ตามหลักสูตรเปน็ รายสถานศกึ ษา เพอ่ื เป็นข้อมลู ท่ีศึกษานเิ ทศก์/ผู้เก่ียวข้องใช้วางแผนและดำเนนิ การพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา เพ่ือให้เกิดการยกระดับคุณภาพเด็กและมาตรฐาน
การศกึ ษา

4.๓ ลักษณะข้อมลู สำหรับการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ

การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะข้อมูลสำหรบั การรายงานไดห้ ลาย

รปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั วิธกี ารรายงานและสอดคล้องกบั การใหร้ ะดับผลการประเมินพฒั นาการโดยคำนึงถึง

ประสทิ ธภิ าพของการรายงานและการนำขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ของผู้รายงานแต่ละฝา่ ยลักษณะขอ้ มลู มีรูปแบบ ดังนี้

๑. รายงานเป็นตวั เลข หรือคำทเี่ ป็นตวั แทนระดับคณุ ภาพพัฒนาการของเด็กที่เกิดจากการ

ประมวลผล สรุปตดั สินขอ้ มลู ผลการประเมินพฒั นาการของเดก็ ได้แก่

- ระดับผลการประเมินพฒั นาการมี ๓ ระดบั คือ ๓ ๒ ๑

- ผลการประเมนิ คุณภาพ “ดี” “พอใช้” และ “ควรส่งเสรมิ ”

๒. รายงานโดยใช้สถติ ิ เปน็ รายงานจากข้อมูลที่เป็นตวั เลข หรอื ข้อความให้เปน็ ภาพแผนภูมหิ รือเสน้

พัฒนาการ ซง่ึ จะแสดงให้เหน็ พฒั นาการความก้าวหน้าของเด็กวา่ ดีข้นึ หรือควรได้รบั การพฒั นาอย่างไร เมื่อเวลา

เปลี่ยนแปลงไป

๓. รายงานเปน็ ข้อความ เป็นการบรรยายพฤตกิ รรมหรือคุณภาพทผี่ ้สู อนสังเกตพบ เพ่ือรายงานให้

ทราบวา่ ผ้เู ก่ยี วข้อง พ่อ แม่ และผปู้ กครองทราบวา่ เด็กมีความสามารถ มีพฤตกิ รรมตามคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ตาม

หลักสูตรอย่างไร เชน่

- เดก็ รับลกู บอลที่กระดอนจากพืน้ ดว้ ยมือท้ัง ๒ ข้างได้โดยไม่ใชล้ ำตวั ช่วยและลกู บอลไม่ตกพนื้

- เดก็ แสดงสีหนา้ ท่าทางสนใจ และมีความสุขขณะทำงานทกุ ชว่ งกิจกรรม

- เด็กเลน่ และทำงานคนเดยี วเป็นสว่ นใหญ่

- เด็กจับหนังสอื ไมก่ ลบั หวั เปิด และทำท่าทางอา่ นหนังสือและเลา่ เร่ืองได้

4.๔ เป้าหมายของการรายงาน

การดำเนินการจดั การศึกษาปฐมวยั ประกอบด้วย บุคลากรหลายฝา่ ยร่วมมือประสานงานกนั พฒั นา

เด็กทางตรงและทางอ้อม ใหม้ ีพัฒนาการ ทักษะ ความสามารถ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลักษณะท่ีพึง

ประสงคโ์ ดยผู้มีสว่ นร่วมเก่ียวข้องควรไดร้ บั การายงานผลการประเมนิ พฒั นาการของเดก็ เพ่อื ใช้เปน็ ข้อมูลในการ

ดำเนินงาน ดงั นี้

กลมุ่ เป้าหมาย การใชข้ อ้ มลู

ผู้สอน -วางแผนและดำเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขและพัฒนาเด็ก

-ปรบั ปรุงแก้ไขและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้

ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา -ส่งเสรมิ พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ระดบั ปฐมวัยของสถานศกึ ษา

พอ่ แม่ และผู้ปกครอง -รบั ทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก

-ปรบั ปรุงแกไ้ ขและพัฒนาการเรยี นรขู้ องเด็ก รวมทง้ั การดูแลสขุ ภาพอนามัยร่างกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และพฤติกรรมตา่ งๆของเด็ก

คณะกรรมการสถานศึกษา -พฒั นาแนวทางการจดั การศึกษาปฐมวยั สถานศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน

สำนักงานเขตพื้นที่ -ยกระดบั และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
การศกึ ษา/หนว่ ยงานตน้ นเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลและใหค้ วามชว่ ยเหลือการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
สังกัด ปฐมวัยของสถานศกึ ษาในสังกดั

4.๕ วิธกี ารรายงานผลการประเมินพัฒนาการ

การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการให้ผ้เู ก่ียวข้องรับทราบ สามารถดำเนินการ ได้ดังน้ี
๑. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการในเอกสารหลักฐานการศึกษา ขอ้ มลู จากแบบรายงาน

สามารถใชอ้ า้ งอิง ตรวจสอบ และรบั รองผลพฒั นาการของเด็ก เชน่
- แบบบนั ทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำช้นั
- แฟม้ สะสมงานของเด็กรายบุคคล
- สมดุ รายงานประจำตวั นกั เรียน
- สมดุ บันทกึ สขุ ภาพเด็ก
ฯลฯ

๒. การรายงานคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัยให้ผ้เู กี่ยวข้องทราบ สามารถรายงานได้หลายวิธี เช่น
- รายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยประจำปี
- วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา
- จดหมายส่วนตวั
- การใหค้ ำปรึกษา
- การให้พบครูทปี่ รกึ ษาหรอื การประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง
- การใหข้ อ้ มลู ทางอินเตอร์เน็ตผา่ นเวป็ ไซตข์ องสถานศกึ ษา

๕. ภารกจิ ของผ้สู อนในการประเมนิ พฒั นาการ

การประเมินพัฒนาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ท่ีมคี ุณภาพและประสิทธิภาพนั้น เกิดขึ้นในห้องเรยี น
และระหว่างการจัดกจิ กรรมประจำวนั และกจิ วตั รประจำวนั ผ้สู อนตอ้ งไม่แยกการประเมินพฒั นาการออกจากการ
จดั ประสบการณต์ ามตารางประจำวัน ควรมีลกั ษณะการประเมินพฒั นาการในช้นั เรียน (Classroom Assessment)
ซ่ึงหมายถงึ กระบวนการและการสงั เกต การบันทกึ และรวบรวมข้อมูลจากการปฏบิ ัติกิจวัตรประจำวนั /กิจกรรม
ประจำวันตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ผูส้ อนควรจัดทำข้อมลู หลักฐานหรอื เอกสารอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อ
เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นร่องรอยของการเจริญเติบโตพฒั นาการและการเรียนรขู้ องเด็กปฐมวยั แล้วนำมาวเิ คราะห์
ตคี วาม บันทึกข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการประเมินพฒั นาการว่าเด็กรู้อะไร สามารถทำอะไรได้ และจะทำต่อไปอย่างไร ด้วย
วธิ ีการและเคร่ืองมือท่หี ลากหลายทั้งท่ีเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ท้ังนั้นการดำเนนิ การดังกล่าวเกิดขึ้นตลอด
ระยะเวลาของการปฏบิ ัติกิจวัตรประจำวนั /กิจกรรมประจำวันและการจัดประสบการณเ์ รียนรู้

ดงั น้นั ขอ้ มูลท่เี กิดจากการประเมนิ ที่มีคณุ ภาพเท่านั้น จึงสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ ตรงตามเป้าหมาย ผูส้ อน
จำเปน็ ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในหลักการ แนวคดิ วธิ ดี ำเนินงานในส่วนต่างๆท่เี ก่ยี วข้องกับหลักสูตรการ
จัดประสบการเรยี นรู้ เพอื่ สามารถนำไปใช้ในการวางแผนและออกแบบการประเมนิ พัฒนาการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
บนพื้นฐานการประเมนิ พัฒนาการในช้ันเรียนท่มี ีความถูกต้อง ยตุ ธิ รรม เชอ่ื ถือได้ มคี วามสมบรู ณ์ ครอบคลุมตาม
จุดหมายของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สะท้อนผลและสภาพความสำเร็จเมือ่ เปรียบเทยี บกบั เป้าหมายของการ
ดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ท้ังในระดบั นโยบาย ระดบั ปฏิบตั กิ าร และผ้มู ีส่วนเกีย่ วข้องต่อไป

๖. ขั้นตอนการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั

การประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพน้ัน เกิดขึ้นในห้องเรียน
ขณะจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้และการปฏิบตั ิกจิ วตั รประจำวนั ของเด็ก มีข้ันตอนดังน้ี

๖.๑. การวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ และการกำหนดประเดน็ การประเมิน
ผู้สอนต้องวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ และกำหนดสิ่งที่จะประเมินจากการจัด

ประสบการณ์การเรียนรู้และการปฏิบัติกิจกวัตรประจำวัน เพื่อวางแผนการประเมินพัฒนาการและการตรวจสอบ
ทบทวนความถูกต้อง ความครอบคลุมและความเชื่อมโยง อันจะเป็นประโยชน์ในการดำเนนิ งานประเมินพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยอย่างเปน็ ระบบ ดังนี้

๖.๑.๑ การวิเคราะหม์ าตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์
การนำหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่การจัดประสบการณ์ ได้มีวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รายปีที่

สอดคล้องของมาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพที่พึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้เพ่ือกำหนดหนว่ ยการเรียนรู้ โดยการนำ
สภาพที่พึงประสงค์ได้จากการวิเคราะห์มากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ และกำหนด
กิจกรรมหนกั ๖ กิจกรรม หรอื ใช้รูปแบบการจัดประสบการณต์ ามทส่ี ถานศกึ ษากำหนดในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้
บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ดังนั้น ผู้สอนต้องวางแผนการประเมินพัฒนาการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
มาตรฐาน ตัวบ่งช้แี ละสภาพที่พงึ ประสงค์

๖.๑.๒ การกำหนดประเด็นการประเมิน เป็นการกำหนดพัฒนาการที่ต้องการประเมิน คือ สภาพที่
พงึ ประสงค์ท่ีนำมากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ซึ่งครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง ๔ ด้านในแต่ละ
หนว่ ยการเรียนรู้ และเชอื่ มโยงไปยังจุดประสงคข์ องแผนการจดั ประสบการณใ์ นแต่ละวนั ดังนน้ั ประเด็นการประเมิน
จงึ ประกอบไปดว้ ยจุดประสงค์ของแผนการจดั ประสบการณ์ท่สี อดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ของหนว่ ยการเรียนรู้
นนั้ ๆ

๖.๒ การกำหนดวิธกี ารและเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการประเมนิ พัฒนาการ
เมื่อผู้สอนกำหนดประเด็กการประเมินพัฒนาได้ชัดเจนแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การกำหนดวิธีการและ

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการ ครูผู้สอนต้องวางแผนและกำหนดวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับกิจกรรม
เช่น ใช้การสังเกตพฤติกรรม การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน การพูดคุยหรือสัมภาษณ์เด็ก ฯลฯ วิธีการที่ครูผู้สอน
เลือกใช้ต้องมากกว่า ๒ วิธีการ หรือใช้วิธีการหลากหลาย ซึ่งวิธีการที่เหมาะสมและนิยมใช้ในการประเมินเด็ก
ปฐมวัย มีดังต่อไปนี้

๖.๒.๑ การสังเกตและการบันทึก แบ่งออกเป็น ๒ แบบ ได้แก่ ๑) การสังเกตแบบเป็นทางการ
คอื การสงั เกตอยา่ งมจี ุดมุ่งหมายท่ีแน่นอนตามแผนทว่ี างไว้ และ ๒) การสังเกตแบบไม่เป็นทางการ
คือ การสังเกตในขณะที่เด็กทำกิจกรรมประจำวันและเกิดพฤตกิ รรมที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึน้ ครูผู้สอนตอ้ งจดบันทกึ
ส่ิงทีร่ วบรวมไดจ้ ากการสังเกตอย่างเหมาะสม ทง้ั น้ีการบันทกึ พฤตกิ รรมความสำคญั อย่างยง่ิ ท่ีต้องทำอย่างชัดเจนและ
สม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กเจริญเติบโตและมีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การสังเกตและบันทึกพัฒนาการเด็กปฐมวัย
สามารถใช้แบบง่ายๆ ดังนี้

๑) แบบบันทึกพฤติกรรมแบบเป็นทางการ โดยกำหนดประเด็นหรือพัฒนาการที่ต้องการสังเกต
(สอดคลอ้ งกับสภาพที่พึงประสงค์หรือจดุ ประสงค์การเรยี นร้ขู องหน่วยการเรียนรู้) ระบุชอ่ื นามสกลุ เด็ก วัน เดือน
ปี เกิด ไว้ล่วงหน้า รวมทั้งชื่อผู้ทำการสังเกต ดำเนินการสังเกตโดยบรรยายพฤติกรรมเด็กที่สังเกตไว้ตามประเด็น
ผู้สังเกตต้องบันทึกวัน เดือน ปีที่ทำการสังเกตแต่ละครั้ง ข้อมูลการสังเกตที่ครูผู้สอนบันทึกลงในแบบบันทึก
พฤติกรรมนี้จะช่วยให้ครูผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมเด็กได้ดีขึ้น และทราบว่าเด็กแต่ละคนมีจุดเด่น มีความต้องการ มี
ความสนใจ หรือต้องการความช่วยเกลอื ในเรอื่ งใดบ้าง

๒) แบบบันทกึ พฤตกิ รรมแบบไม่เป็นทางการ เป็นการบันทกึ พฤติกรรม เหตุการณ์ หรอื จากการ
จัดประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนทุกวัน โดยระบุชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปีเกิดเด็ก ผู้สังเกต วัน เดือน ปีที่
บันทึก อาจบันทึกโดยใช้การบรรยาย ใคร ทำอะไร ที่ไหน ทำอย่างไร ซึ่งจะเน้นเฉพาะเด็กรายกรณีที่ต้องการ
ศึกษา ควรมีรายละเอียดและข้อมูลที่ชัดเจน ครูผู้สอนควรบรรยายสิ่งที่เด็กทำได้มากกว่าสิ่งที่เด็กทำไม่ได้ และ
วิเคราะห์ประเด็นการประเมินตามสภาพท่ีพึงประสงค์อย่างเปน็ ระบบ ข้อมูลในการบนั ทึกต้องเปน็ ตามความเป็นจริง
ซ่งึ ขอ้ ดขี องการบันทึกรายวนั คอื การชี้ใหเ้ ห็นความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยครูผู้สอนไดพ้ ิจารณาปัญหา
ของเด็กเป็นรายบุคคล รวมทั้งชว่ ยให้ผูเ้ ช่ียวชาญมีขอ้ มูลสำหรับวินิจฉัยเด็กได้ชัดเจนข้ึนวา่ สมควรจะไดร้ ับคำปรึกษา
เพื่อลดปัญหา หรือส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้องและเป็นข้อมูลในการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขหรือ
พฒั นาการจัดกจิ กรรมและประสบการณ์ของครูให้ดยี ง่ิ ขนึ้

๓) แบบสำรวจรายการ โดยกำหนดประเด็กหรือพัฒนาการท่ตี ้องการสำรวจ (สอดคล้องกับสภาพ
ท่พี งึ ประสงค์หรอื จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ขู องหน่วยการเรียนรู้) ระบุช่อื นามสกุลเดก็ วนั เดือน ปี เกดิ ลว่ งหนา้ มี
การกำหนดรายการพฤติกรรมท่ีต้องการสำรวจละเอียดขึ้น และกำหนดเกณฑ์ในการสำรวจพฤตกิ รรม เช่น ปฏิบัติ-
ไมป่ ฏบิ ตั ิ ทำได้-ทำไม่ได้ เป็นต้น ชว่ ยให้ครูสามารถบนั ทกึ ไดส้ ะดวกขึน้ ควรมีการสำรวจพฤติกรรมในเรื่องเดียวกัน
อยา่ งนอ้ ย ๓ ครั้ง เพอ่ื ยืนยนั วา่ เด็กทำไดจ้ ริง

๖.๒.๒ การบันทึกการสนทนา เป็นการบันทึกการสนทนาทั้งแบบเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล เพื่อประเมิน
ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและพัฒนาการด้านการใช้ภาษาของเด็ก ความสามารถในการคิดรวบยอด
การแก้ปัญหา รวมถึงพัฒนาการด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรม
หรือบันทึกรายวัน โดยระบุ ชื่อ นามสกุล อายุเด็ก ภาคเรียนที่ และกิจกรรมที่ใช้สนทนา ช่องที่ใช้ในการบันทึก
ในแบบสนทนาให้ระบุ วัน เดือน ปี / คำพูดของเด็ก / ความคิดเห็นของครูผู้สอนที่สะท้อนพฤติกรรมที่แสดงออก
ของเด็กสอดคล้องกบั สภาพที่พึงประสงค์หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียน ซ่งึ ขอ้ มูลเหล่านนี้จะเป็นส่วน
หนง่ึ ในการพิจารณาการผ่านสภาพทีพ่ ึงประสงคท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งในแต่ละเรอื่ ง

๖.๒.๓ การสมั ภาษณ์ เปน็ วิธกี ารพดู คยุ กับเด็กเปน็ รายบคุ คลและควรจัดในสภาวะแวดล้อมท่ีเหมาะสมเพื่อ
ไมใ่ ห้เกิดความเครียดและวิตกกังวล ครผู ้สู อนควรใช้คำถามที่เหมาะสมเปิดโอกาสใหเ้ ด็กไดค้ ิดและตอบอย่างอิสระจะ
ทำให้ครูผู้สอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กและค้นพบศักยภาพในตัวเด็ กได้โดยบันทึกข้อมูล
ลงในแบบสมั ภาษณ์ ครผู สู้ อนควรปฏบิ ัติ ดังน้ี

การเตรียมการก่อนการสัมภาษณ์ โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ กำหนดคำพูด/
คำถามทจี่ ะพูดกบั เดก็ ควรเป็นคำถามทเ่ี ด็กสามารถตอบโตห้ ลากหลายไมม่ ผี ดิ /ถูก

การปฏิบัติขณะสัมภาษณ์ ครูผู้สอนควรสร้างความคุ้นเคยเป็นกันเอง สร้างสภาพแวดล้อม ที่
อบอุ่นไม่เคร่งเครียด ใช้คำถามทีก่ ำหนดไว้ถามเด็กทีล่ ะคำถาม ให้เดก็ มโี อกาสคดิ และมเี วลาในการตอบคำถามอย่าง
อิสระ ใชร้ ะยะเวลาสัมภาษณไ์ มค่ วรเกิน ๑๐ นาที

หลังการสัมภาษณ์ บันทึกในแบบสัมภาษณ์ ให้บันทึกคำพูดของเด็กตามความเป็นจริง หลังเสร็จ
การสัมภาษณ์ครูผู้สอนคอ่ ยพิจารณาข้อมูลจากคำพูดเด็กและลงความคิดเห็นทีส่ ะท้อนพฤติกรรมทีแ่ สดงออกของเด็ก
สอดคล้องกับสภาพที่พึงประสงค์หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็น
ส่วนหนึ่งในการพจิ ารณาการผา่ นสภาพทพ่ี ึงประสงค์ทเี่ กย่ี วข้องในแตล่ ะเร่ือง

การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร

การนำหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สู่การปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิดประสิทธภิ าพตามจดุ หมายของ หลักสตู ร ผ้เู ก่ียวข้องกับ
การบรหิ ารจดั การหลกั สูตรในระบบสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ผูส้ อน พ่อแม่ หรือผ้ปู กครอง และชมุ ชน มี
บทบาทสำคญั ยง่ิ ตอ่ การพัฒนาคุณภาพของเด็ก

๑. บทบาทผบู้ ริหารสถานศึกษาปฐมวยั

การจดั การศกึ ษาแก่เดก็ ปฐมวัยในระบบสถานศกึ ษาให้เกิดประสทิ ธผิ ลสูงสุด
ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาควรมบี ทบาท ดังน้ี

๑.๑ ศกึ ษาทำความเขา้ ใจหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยและมีวิสยั ทัศนด์ า้ นการจัดการศึกษาปฐมวัย
๑.๒ คดั เลือกบุคลากรทที่ ำงานกับเด็ก เช่น ผูส้ อน พ่ีเล้ยี ง อยา่ งเหมาะสม โดยคำนงึ ถงึ คุณสมบัติ
หลักของบุคลากร ดังนี้

๑.๒.๑ มีวุฒทิ างการศึกษาดา้ นการอนบุ าลศกึ ษา การศึกษาปฐมวยั หรือผา่ นการอบรมเก่ียวกบั
การจัดการศกึ ษาปฐมวยั

๑.๒.๒ มีความรกั เด็ก จิตใจดี มีอารมณ์ขนั และใจเยน็ ให้ความเป็นกันเองกบั เด็กอยา่ ง
เสมอภาค

๑.๒.๓ มีบุคลิกของความเป็นผสู้ อน เขา้ ใจและยอมรบั ธรรมชาติของเด็กตามวยั

๑.๒.๔พดู จาสุภาพเรยี บร้อย ชดั เจนเปน็ แบบอย่างได้
๑.๒.๕ มีความเปน็ ระเบียบ สะอาด และรู้จกั ประหยัด
๑.๒.๖ มีความอดทน ขยนั ซ่ือสตั ย์ในการปฏบิ ัติงานในหน้าทีแ่ ละ การปฏบิ ัติตอ่ เด็ก
๑.๒.๗ มอี ารมณร์ ่วมกับเด็ก รจู้ ักรับฟงั พิจารณาเรื่องราวปัญหาต่างๆ ของเด็กและตัดสนิ ปัญหา
ตา่ งๆอยา่ งมเี หตุผลด้วยความ เป็นธรรม
๑.๒.๘ มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ สมบรู ณ์
๑.๓ ส่งเสริมการจดั บริการทางการศึกษาใหเ้ ด็กได้เข้าเรียนอย่างทัว่ ถึง และเสมอภาค และ
ปฏิบตั กิ ารรบั เด็กตามเกณฑ์ที่กำหนด
๑.๔ ส่งเสริมใหผ้ ู้สอนและผู้ทป่ี ฏิบตั ิงานกบั เดก็ พฒั นาตนเองมคี วามรู้ก้าวหน้าอยู่เสมอ

๑.๕ เปน็ ผู้นำในการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษาโดยรว่ มใหค้ วามเห็นชอบ กำหนดวสิ ัยทัศน์ และ
คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของเดก็ ทกุ ชว่ งอายุ

๑.๖ สรา้ งความร่วมมอื และประสานกบั บุคลากรทุกฝา่ ยในการจดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษา
๑.๗ จดั ให้มขี อ้ มลู สารสนเทศเก่ยี วกับตัวเด็ก งานวิชาการหลักสูตร อยา่ งเปน็ ระบบและมกี าร
ประชาสัมพันธ์หลกั สตู รสถานศกึ ษา
๑.๘ สนับสนุนการจดั สภาพแวดลอ้ มตลอดจนสื่อ วัสดุ อปุ กรณ์ทเี่ ออ้ื อำนวยต่อการเรียนรู้
๑.๙ นเิ ทศ กำกบั ติดตามการใช้หลกั สูตร โดยจดั ใหม้ รี ะบบนเิ ทศภายในอยา่ งมีระบบ
๑.๑๐ กำกับตดิ ตามใหม้ ีการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาและนำผลจากการประเมินไปใชใ้ น
การพัฒนาคุณภาพเดก็
๑.๑๑ กำกับ ติดตาม ใหม้ กี ารประเมินการนำหลักสตู รไปใช้ เพ่อื นำผลจากการประเมินมา
ปรบั ปรุงและพฒั นาสาระของหลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั ความต้องการของเดก็ บริบทสงั คมและให้มี
ความทันสมยั

๒. บทบาทผสู้ อนปฐมวัย

การพัฒนาคณุ ภาพเดก็ โดยถือวา่ เดก็ มีความสำคัญทส่ี ดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องส่งเสริมให้
เดก็ สามารถพัฒนาตนตามธรรมชาติ สอดคล้องกบั พัฒนาการและเตม็ ตามศักยภาพ ดงั น้ัน ผ้สู อนจงึ มีบทบาทสำคญั
ยง่ิ ทีจ่ ะทำให้กระบวนการจดั การเรียนรดู้ งั กลา่ วบรรลผุ ลอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผูส้ อนจงึ ควรมบี ทบาท / หน้าท่ี ดงั น้ี

๒.๑ บทบาทในฐานะผู้เสริมสร้างการเรยี นรู้
๒.๑.๑ จดั ประสบการณ์การเรยี นรสู้ ำหรับเด็กทีเ่ ดก็ กำหนดข้นึ ด้วยตัวเดก็ เองและผสู้ อนกับ

เด็กรว่ มกนั กำหนด โดยเสริมสรา้ งพฒั นาการเด็กให้ครอบคลมุ ทกุ ด้าน
๒.๑.๒ ส่งเสริมให้เด็กใชข้ ้อมูลแวดลอ้ ม ศกั ยภาพของตวั เด็ก และหลักทางวชิ าการในการ

ผลิตกระทำ หรอื หาคำตอบในสิง่ ที่เด็กเรียนรู้อยา่ งมีเหตผุ ล
๒.๑.๓ กระตนุ้ ใหเ้ ด็กร่วมคดิ แกป้ ัญหา คน้ คว้าหาคำตอบดว้ ยตนเองดว้ ยวธิ ีการศึกษาที่

นำไปสูก่ ารใฝร่ ู้ และพัฒนาตนเอง
๒.๑.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและสรา้ งบรรยากาศการเรียนท่สี ร้างเสริมใหเ้ ด็กทำกิจกรรมได้

เต็มศักยภาพและความแตกต่างของเด็กแตล่ ะบุคคล
๒.๑.๕ สอดแทรกการอบรมด้านจริยธรรมและคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ในการจัดการเรยี นรู้

และกจิ กรรมตา่ งๆอย่างสม่ำเสมอ
๒.๑.๖ ใช้กจิ กรรมการเล่นเปน็ สือ่ การเรยี นรูส้ ำหรับเด็กให้เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ
๒.๑.๗ ใช้ปฏสิ มั พนั ธ์ทด่ี รี ะหวา่ งผ้สู อนและเด็กในการดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน

อยา่ งสม่ำเสมอ
๒.๑.๘ จดั การประเมนิ ผลการเรียนรทู้ ส่ี อดคล้องกับสภาพจริงและนำผลการประเมนิ มา

ปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพเด็กเต็มศกั ยภาพ

๒.๒ บทบาทในฐานะผู้ดแู ลเด็ก
๒.๒.๑ สังเกตและส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กทุกดา้ นทง้ั ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม

และ สติปญั ญา
๒.๒.๒ ฝกึ ให้เดก็ ช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวนั
๒.๒.๓ ฝกึ ให้เด็กมคี วามเชอ่ื ม่นั มคี วามภูมิใจในตนเองและกล้าแสดงออก

๒.๒.๔ ฝกึ การเรียนรู้หน้าที่ ความมีวินัย และการมนี ิสยั ที่ดี
๒.๒.๕ จำแนกพฤติกรรมเด็กและสร้างเสริมลักษณะนิสัยและแกป้ ัญหาเฉพาะบุคคล
๒.๒.๖ ประสานความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษา บา้ น และชุมชน เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ได้พฒั นาเต็ม
ตามศักยภาพและมีมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์

๒.๓ บทบาทในฐานะนักพัฒนาเทคโนโลยีการสอน
๒.๓.๑ นำนวัตกรรม เทคโนโลยที างการสอนมาประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสมกบั สภาพบรบิ ท

สังคม ชุมชน และทอ้ งถิน่
๒.๓.๒ ใช้เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชนในการเสริมสรา้ งการเรยี นรใู้ หแ้ ก่เด็ก
๒.๓.๓ จดั ทำวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือนำไปปรับปรุงพัฒนาหลกั สตู ร / กระบวนการเรยี นรู้

และพัฒนาสื่อการเรยี นรู้
๒.๓.๔ พฒั นาตนเองให้เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ มคี ณุ ลักษณะของผใู้ ฝร่ มู้ ีวิสัยทัศนแ์ ละ

ทันสมยั ทันเหตุการณ์ในยุคของข้อมลู ขา่ วสาร
๒.๔ บทบาทในฐานะผู้บริหารหลกั สูตร
๒.๔.๑ ทำหน้าทีว่ างแผนกำหนดหลกั สูตร หน่วยการเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

การประเมินผลการเรยี นรู้
๒.๔.๒ จดั ทำแผนการจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเป็นสำคัญ ใหเ้ ดก็ มีอิสระในการเรยี นรู้ทั้ง

กายและใจ เปดิ โอกาสให้เด็กเล่น/ทำงาน และเรยี นร้ทู ้ังรายบคุ คลและเป็นกลมุ่
๒.๔.๓ ประเมินผลการใช้หลกั สตู ร เพอื่ นำผลการประเมินมาปรบั ปรงุ พฒั นาหลักสูตรให้

ทนั สมัย สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของ ผู้เรยี น ชุมชน และท้องถ่ิน

๓. บทบาทของพอ่ แม่หรอื ผปู้ กครองเดก็ ปฐมวยั

การศึกษาระดบั ปฐมวยั เปน็ การศึกษาทจ่ี ัดให้แก่เด็กทผ่ี ูส้ อนและพ่อแม่หรือผูป้ กครองต้องส่ือสารกนั
ตลอดเวลา เพอื่ ความเข้าใจตรงกนั และพรอ้ มร่วมมือกันในการจดั การศึกษาให้กบั เด็ก ดังน้ัน พอ่ แม่หรือผปู้ กครอง
ควรมบี ทบาทหนา้ ท่ี ดงั นี้

๓.๑ มสี ว่ นรว่ มในการกำหนดแผนพัฒนาสถานศกึ ษาและใหค้ วามเหน็ ชอบ กำหนด
แผนการเรยี นรขู้ องเดก็ รว่ มกับผู้สอนและเด็ก

๓.๒ ส่งเสริมสนบั สนุนกจิ กรรมของสถานศกึ ษา และกิจกรรมการเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาเด็กตามศักยภาพ
๓.๓ เป็นเครือข่ายการเรียนรู้ จดั บรรยากาศภายในบ้านใหเ้ อื้อตอ่ การเรยี นรู้
๓.๔ สนับสนนุ ทรัพยากรเพื่อการศึกษาตามความเหมาะสมและจำเป็น
๓.๕ อบรมเลีย้ งดู เอาใจใส่ให้ความรัก ความอบอุ่น ส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการดา้ นต่างๆ ของเดก็
๓.๖ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาพฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงคต์ ลอดจนส่งเสรมิ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ โดย
ประสานความรว่ มมือกับผสู้ อน ผเู้ กี่ยวข้อง
๓.๗ เปน็ แบบอยา่ งที่ดีทั้งในด้านการปฏิบตั ิตนให้เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ และมีคุณธรรมนำไปสกู่ าร
พัฒนาใหเ้ ปน็ สถาบนั แห่งการเรียนรู้
๓.๘ มสี ว่ นรว่ มในการประเมินผลการเรยี นรู้ของเด็กและในการประเมินการจดั การศึกษาของ
สถานศึกษา

๔. บทบาทของชมุ ชน

การปฏิรปู การศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดก้ ำหนดให้ชุมชนมบี ทบาทใน
การมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา โดยให้มีการประสานความรว่ มมอื เพ่ือ ร่วมกันพฒั นาผ้เู รียนตามศกั ยภาพ ดังนน้ั
ชุมชนจึงมีบทบาทในการจัดการศึกษาปฐมวัย ดังน้ี

๔.๑ มีสว่ นรว่ มในการบริหารสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคม/ชมรม
ผู้ปกครอง

๔.๒ มีส่วนรว่ มในการจัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษาเพื่อเปน็ แนวทางในการดำเนนิ การของสถานศกึ ษา
๔.๓ เปน็ ศนู ย์การเรียนรู้ เครือขา่ ยการเรียนรู้ ใหเ้ ดก็ ได้เรยี นรู้และมปี ระสบการณจ์ ากสถานการณ์จรงิ
๔.๔ ใหก้ ารสนับสนุนการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ขู องสถานศกึ ษา
๔.๕ สง่ เสรมิ ใหม้ ีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอก และภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
เพ่อื เสรมิ สรา้ งพัฒนาการของเดก็ ทกุ ด้าน รวมทัง้ สืบสานจารีตประเพณี ศิลปวฒั นธรรมของท้องถ่นิ และของชาติ
๔.๖ ประสานงานกับองคก์ รท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษาเป็นแหล่งวทิ ยาการของชมุ ชน
และมีสว่ นในการพัฒนาชุมชนและท้องถนิ่
๔.๗ มีสว่ นรว่ มในการตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ทำหนา้ ท่เี สนอแนะในการพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

การจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ( เด็กอายุ ๓ – ๖ ปี )สำหรบั กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ

การจดั การศึกษาสำหรบั กล่มุ เป้าหมายเฉพาะสามารถนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปปรับใชไ้ ด้ ทง้ั ในส่วน
ของโครงสรา้ งหลักสตู ร สาระการเรียนรู้ การจดั ประสบการณ์ และการประเมินพฒั นาการใหเ้ หมาะสมกบั สภาพ
บริบท ความตอ้ งการ และศักยภาพของเดก็ แตล่ ะประเภทเพื่อพัฒนาใหเ้ ด็กมีคณุ ภาพตามมาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ งึ
ประสงคท์ ่ีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดโดยดำเนนิ การดังนี้

๑. เปา้ หมายคุณภาพเด็ก หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั ได้กำหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และสาระ
การเรยี นรู้ เปน็ เปา้ หมายและกรอบทิศทางเพ่ือให้ทุกฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งใชใ้ นการพัฒนาเด็ก สถานศึกษาหรอื ผจู้ ดั การ
ศึกษาสำหรบั กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ สามารถเลือกหรือปรับใช้ ตวั บง่ ชี้และสภาพทีพ่ งึ ประสงค์ในการพฒั นาเด็ก เพ่ือ
นำไปทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คลแต่ยงั คงไว้ซึ่งคุณภาพพฒั นาการของเด็กท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ
สงั คม และสติปัญญา

๒. การประเมนิ พฒั นาการ จะต้องคำนึงถงึ ปัจจยั ความแตกต่างของเด็ก อาทิ เด็กที่พกิ ารอาจต้องมกี ารปรบั
การประเมินพฒั นาการทีเ่ อ้ือตอ่ สภาพเด็ก ท้ังวธิ กี ารเคร่ืองมอื ที่ใช้ หรือกลุ่มเด็กท่มี ีจุดเน้นเฉพาะดา้ น

การเช่ือมตอ่ ของการศึกษาระดับปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑

การเชือ่ มต่อของการศึกษาระดบั ปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ มีความสำคญั อยา่ งยิ่ง บุคลากรทุกฝา่ ย
จะต้องใหค้ วามสนใจต่อการชว่ ยลดชอ่ งว่างของความไมเ่ ขา้ ใจในการจดั การศกึ ษาท้ังสองระดบั ซ่งึ จะส่งผลต่อการ
จดั การเรียนการสอน ตัวเด็ก ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่นๆท้ังระบบ การเช่อื มต่อของ
การศึกษาระดับปฐมวยั กบั ระดับประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ จะประสบผลสำเร็จไดต้ อ้ งดำเนนิ การดังต่อไปน้ี

๑. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาเป็นบคุ คลสำคญั ทม่ี ีบทบาทเป็นผนู้ ำในการเชอื่ มต่อโดยเฉพาะระหว่างหลักสตู ร
การศกึ ษาปฐมวัยในช่วงอายุ ๓ – ๖ ปี กบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานในชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ โดยต้อง

ศึกษาหลักสตู รทง้ั สองระดบั เพือ่ ทำความเขา้ ใจ จัดระบบการบรหิ ารงานด้านวิชาการที่จะเอ้ือต่อการเช่ือมโยง
การศึกษาโดยการจัดกจิ กรรมเพือ่ เชื่อมต่อการศึกษา ดังตัวอยา่ งกิจกรรมต่อไปนี้

๑.๑ จัดประชมครูระดับปฐมวัยและครรู ะดบั ประถมศึกษารว่ มกันสร้างรอยเชือ่ มต่อของหลักสูตรท้งั สอง
ระดับใหเ้ ปน็ แนวปฏิบัติของสถานศกึ ษาเพื่อครูทง้ั สองระดับจะได้เตรยี มการสอนให้สอดคล้องกับเด็กวยั น้ี

๑.๒ จดั หาเอกสารด้านหลกั สูตรและเอกสารทางวิชาการของท้งั สองระดับมาไวใ้ หค้ รูและบคุ ลากรอ่นื ๆได้
ศึกษาทำความเขา้ ใจ อย่างสะดวกและเพียงพอ

๑.๓ จัดกิจกรรมใหค้ รทู ั้งสองระดับมีโอกาสแลกเปลีย่ นเผยแพรค่ วามรู้ใหม่ๆ ท่ีได้รบั จากการอบรม ดู
งาน ซ่งึ ไม่ควรจดั ใหเ้ ฉพาะครูในระดบั เดียวกนั เท่านัน้

๑.๔ จัดเอกสารเผยแพร่ตลอดจนกิจกรรมสมั พนั ธ์ในรปู แบบต่างๆ ระหวา่ งสถานศึกษา พอ่ แม่
ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งสม่ำเสมอ

๑.๕ จัดให้มีการพบปะ หรือการทำกิจกรรมรว่ มกบั พ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างสมำ่ เสมอต่อเนื่อง ในระหว่าง
ทีเ่ ดก็ อยู่ในระดบั ปฐมวัย เพ่ือพอ่ แม่ ผปู้ กครอง จะได้สรา้ งความเข้าใจและสนบั สนนุ การเรียน การสอนของบตุ รหลาน
ตนไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

๑.๖ จดั กิจกรรมให้ครูทง้ั สองระดับได้ทำกจิ กรรมรว่ มกนั กับพ่อแม่ ผู้ปกครองและเด็กในบางโอกาส
๑.๗ จัดกจิ กรรมปฐมนิเทศพอ่ แม่ ผปู้ กครองอย่างน้อย ๒ ครงั้ คือ ก่อนเดก็ เข้าเรียนระดับปฐมวยั ศึกษา
และก่อนเดก็ จะเลื่อนข้นึ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เพื่อให้พอ่ แม่ ผปู้ กครองเขา้ ใจ การศึกษาทั้งสองระดับและใหค้ วาม
รว่ มมอื ในการชว่ ยเด็กใหส้ ามารถปรับตวั เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มใหม่ได้ดี
๒. ครรู ะดับปฐมวัย
ครูระดับปฐมวัย นอกจากจะตอ้ งศึกษาทำความเขา้ ใจหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และจัดกจิ กรรมพัฒนาเดก็
ของตนแลว้ ควรศกึ ษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การจัดการเรยี นการสอนในช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ และสร้าง
ความเขา้ ใจให้กับพ่อแม่ ผปู้ กครองและบคุ ลากรอ่ืนๆ รวมท้ังชว่ ยเหลือเดก็ ในการปรบั ตัวก่อนเล่ือนขึน้ ชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี ๑ โดยครูอาจจัดกิจกรรมดังตวั อยา่ งต่อไปนี้
๒.๑ เก็บรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับตัวเดก็ เปน็ รายบุคคลเพื่อสง่ ต่อครชู ้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ซ่งึ จะทำใหค้ รู
ระดบั ประถมศึกษาสามารถใช้ข้อมลู นัน้ ช่วยเหลอื เด็กในการปรบั ตัวเขา้ กับการเรยี นรใู้ หม่ตอ่ ไป
๒.๒ พดู คยุ กบั เด็กถงึ ประสบการณ์ท่ีดีๆ เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรใู้ นระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เพ่ือให้
เด็กเกิดเจตคติทีด่ ีต่อการเรียนรู้
๒.๓ จดั ให้เด็กได้มโี อกาสทำความรูจ้ ักกบั ครตู ลอดจนสภาพแวดล้อม บรรยากาศของห้องเรยี นชน้ั
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ทง้ั ทอี่ ยู่ในสถานศกึ ษาเดยี วกันหรือสถานศึกษาอื่น

๓. ครรู ะดับประถมศกึ ษา
ครูระดบั ประถมศึกษาต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพฒั นาการเด็กปฐมวยั และมีเจตคติที่ดตี ่อการจัด
ประสบการณ์ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยเพื่อนำมาเป็นข้อมลู ในการพัฒนาจัดการเรียนรู้ในระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปี
ที่ ๑ ของตนให้ต่อเน่ืองกับการพัฒนาเดก็ ในระดบั ปฐมวัย ดังตัวอยา่ ง ตอ่ ไปน้ี

๓.๑ จดั กจิ กรรมใหเ้ ด็ก พ่อแม่ และผูป้ กครอง มีโอกาสได้ทำความร้จู ักคุ้นเคยกบั ครแู ละห้องเรยี นชัน้
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ก่อนเปิดภาคเรยี น

๓.๒ จัดสภาพหอ้ งเรียนให้ใกลเ้ คยี งกบั ห้องเรยี นระดับปฐมวัย โดยจัดให้มีมุมประสบการณภ์ ายในห้อง
เพอื่ ใหเ้ ด็กได้มีโอกาสทำกจิ กรรมได้อยา่ งอิสระเช่น มุมหนงั สอื มมุ ของเลน่ มมุ เกมการศึกษา เพื่อช่วยใหเ้ ด็กช้นั
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ไดป้ รบั ตัวและเรียนร้จู ากการปฏิบัตจิ ริง

๓.๓ จัดกจิ กรรมรว่ มกันกับเด็กในการสร้างข้อตกลงเก่ยี วกับการปฏิบตั ติ น
๓.๔ เผยแพร่ข่าวสารด้านการเรียนร้แู ละสรา้ งความสมั พนั ธ์ทดี่ ีกับเด็ก พ่อแม่ ผ้ปู กครอง และชุมชน
๔. พ่อแม่ ผู้ปกครองและบคุ ลากรทางการศึกษา
พ่อแม่ ผูป้ กครอง และบุคลากรทางการศกึ ษาต้องทำความเข้าใจหลกั สตู รของการศึกษาทงั้ สองระดบั และ
เข้าใจวา่ ถึงแมเ้ ด็กจะอยใู่ นระดับประถมศกึ ษาแล้วแตเ่ ด็กยังต้องการความรักความเอาใจใส่ การดแู ลและการ
ปฏิสัมพนั ธ์ทไี่ ม่ไดแ้ ตกตา่ งไปจากระดับปฐมวัย และควรให้ความร่วมมอื กับครูและสถานศึกษาในการช่วยเตรยี มตวั เด็ก
เพอื่ ให้เดก็ สามารถปรบั ตัวได้เรว็ ยิ่งขึ้น

การกำกบั ติดตาม ประเมนิ และรายงาน

การจัดสถานศึกษาปฐมวยั มีหลักการสำคญั ในการใหส้ งั คม ชมุ ชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและกระจาย
อำนาจการศึกษาลงไปยังท้องถน่ิ โดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ซึง่ เปน็ ผู้จดั การศกึ ษาใน
ระดับนี้ ดงั นน้ั เพื่อใหผ้ ลผลติ ทางการศึกษาปฐมวัยมคี ุณภาพตามมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคแ์ ละสอดคล้องกับ
ความต้องการของชุมชนและสังคมจำเปน็ ต้องมีระบบการกำกบั ติดตาม ประเมินและรายงานที่มปี ระสทิ ธิภาพ เพื่อให้
ทุกกลมุ่ ทกุ ฝา่ ยทมี่ สี ว่ นรว่ มรับผิดชอบในการจดั การศึกษา เหน็ ความกา้ วหนา้ ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความ
ร่วมมือช่วยเหลือ ส่งเสริม สนบั สนนุ การวางแผน และดำเนินงานการจดั การศกึ ษาปฐมวัยให้มีคณุ ภาพอย่างแท้จริง

การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการจดั การศกึ ษาปฐมวัยเปน็ ส่วนหนึง่ ของกระบวนการบรหิ าร
การศกึ ษาและระบบการประกันคุณภาพทต่ี ้องดำเนินการอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อนำไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาปฐมวยั สร้างความมน่ั ใจใหผ้ เู้ ก่ยี วข้อง โดยตอ้ งมีการดำเนนิ การท่เี ป็นระบบเครือขา่ ยครอบคลุมทั้ง
หนว่ ยงานภายในและภายนอกต้งั แต่ระดบั ชาติ เขตพ้นื ท่ีทุกระดบั และทุกอาชีพ การกำกับดูแลประเมินผลต้องมีการ
รายงานผลจากทุกระดับให้ทกุ ฝา่ ยรวมทั้งประชาชนท่ัวไปทราบ เพอื่ นำข้อมูลจากรายงานผลมาจัดทำแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตอ่ ไป

ภาคผนวก

07.30-08.15 น. ตารางกจิ กรรมประจำวนั
08.15-08.40 น.
08.40-09.00 น. รบั เด็กเปน็ รายบุคคล
09.00-09.30 น. เคารพธงชาติและกิจกรรมหน้าเสาธง
09.30-10.30 น. ตรวจสุขภาพ สนทนากบั เด็ก
10.30-10.40 น. กจิ กรรมเคลอื่ นไหลและจังหวะ
10.40-11.00 น. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ(์ ในวงกลม)
11.00-11.30 น. พัก (รับประทานอาหารว่าง)
11.30-12.00 น. กจิ กรรมสรา้ งสรรค์และเลน่ ตามมุม
12.00-14.00 น. กิจกรรมเลน่ กลางแจง้
14.00-14.20 น. พกั (รบั ประทานอาหารกลางวัน)
14.20-14.30 น. นอนพักผอ่ น (นิทานก่อนนอน)
14.30-14.45 น. เกบ็ ที่นอน ล้างหน้า
14.45-15.00 น. พัก (รับประทานอาหารวา่ ง)
เกมการศกึ ษา
สรปุ /เตรียมตวั กลบั บา้ น

ท่ี คำ ภาษาไทย ที่ คำ
๑. มี บัญชคี ำพ้นื ฐานช้ันเดก็ เล็ก ๑๖๓. ชาม
๒. ไม่ จำนวนคำทั้งสน้ิ 242 คำ ๑๖๔. รัก
๓. ก็ ที่ คำ ๑๖๕. มะมว่ ง
๔. ไป ๘๒. หนังสอื ๑๖๖. หมู
๕. กิน ๘๓. น้ำ ๑๖๗. กระต่าย
๖. แม่ ๘๔. นอน ๑๖๘. พระ
๗. บ้าน ๘๕. รถ ๑๖๙. ปาก
๘. หมอ ๘๖. เหน็ ๑๗o. เรือ
๙. ใส่ ๘๗. นอ้ ง ๑๗๑. หม้อ
๑o. มนั ( ส ) ๘๘. ผม (ส) ๑๗๒. ตวั
๑๑. เขา ( ส ) ๘๙. มือ ๑๗๓. กล้วย
๑๒. ขาย ๙๐. ขนม ๑๗๔. หมอน
๑๓. คน (น) ๙๑. ชอ้ น ๑๗๕. ดนิ
๑๔. ขา้ ว ๙๒. เลี้ยง ๑๗๖. เกบ็
๑๔. พอ่ ๙๓. จาน ๑๗๗. ปลา
๑๖. เล่น ๙๔. ดู ๑๗๘. หมา
๑๗. ให้ ๙๕. เสอื้ ๑๗๙. ตลาด
๑๘. หนู (ส) ๙๖. ไข่ ๑๘o. ตา (อวยั วะ)
๑๙. ชอบ ๙๗. ลูก ๑๘๑. หา
๒o. มา ๙๘. ถว้ ย ๑๘๒. ผา้ ห่ม
๙๙. ไก่
๑๐๐. ขา (น)
๑๐๑. ตำรวจ

ที่ คำ ที่ คำ ที่ คำ
๒๑. ล้าง ๑๐๒. จบั ๑๘๓. นำ้ ปลา
๒๒. พี่ ๑๐๓. โรงเรยี น ๑๘๔. ข่ี
๒๓. ซอ้ื ๑๐๔. ปลูก ๑๘๕. แขน
๒๔. รู้ ๑๐๕. ผกั ๑๘๖. อาบนำ้
๒๕. อยู่ ๑๐๖. ร้จู ัก ๑๘๗. แตงโม
๒๖. ได้ ๑๐๗. เดิน ๑๘๘. แกง
๒๗. ดอกไม้ ๑๐๘. สอน ๑๘๙. ขนมปัง
๒๘. มะพรา้ ว ๑o๙. ยา่ ๑๙๐. ขนั (น)
๒๙. ส้ม ๑๑๐. หอ้ ง ๑๙๑. เตา
๓๐. ฟงั ๑๑๑. วิง่ ๑๙๒. มุ้ง
๓๑. เงาะ ๑๑๒. แปรง (น) ๑๙๓. พระราชินี
๓๒. เรา ๑๑๓. ไหว้ ๑๙๔. นัง่
๓๓. มีด ๑๑๔. โรงพยาบาล ๑๙๕. เต่า
๓๔. หัว ๑๑๕. ทหาร ๑๙๖. ผักกาด
๓๕. ยาย ๑๑๖. ลิง ๑๙๗. การต์ ูน
๓๖. มะละกอ ๑๑๗. เด็ก ๑๙๘. เทา้
๓๗. นา้ ๑๑๘. ชมพู่ ๑๙๙. ร้อน
๓๘. โทรทัศน์ ๑๑๙. หนา้ ๒๐๐. วัว
๓๙. ชุด ๑๒๐. โตะ๊ ๒๐๑. อา
๔๐. นก ๑๒๑. ช้าง ๒๐๒. พริก
๔๑. แมว ๑๒๒. พา ๒๐๓. หู

ท่ี คำ ท่ี คำ ท่ี คำ
๔๒. เทีย่ ว (ก) ๑๒๓. ยา ๒๐๔. ผู้หญิง
๔๓. เพอื่ น ๑๒๔. นักเรยี น ๒๐๕. ป้า
๔๔. น้ำตาล ๑๒๕. ของเล่น ๒๐๖. ฟัน (น)
๔๕. จมูก ๑๒๖. แม่คา้ ๒๐๗. ผชู้ าย
๔๖. ผา้ ๑๒๗. ลำไย ๒๐๘. ดอกเขม็
๔๗. ถู ๑๒๘. เป็ด ๒๐๙. รปู
๔๘. ครู ๑๒๙. สม้ โอ ๒๑๐. ป่า
๔๙. นม ๑๓๐. ตนี ๒๑๑. มะเขือ
๕๐. ผกั บุ้ง ๑๓๑. ตุก๊ ตา ๒๑๒. กางเกง
๕๑. ตู้ ๑๓๒. เตยี ง ๒๑๓. ในหลวง
๕๒. พระเจา้ อย่หู ัว ๑๓๓. หลงั ๒๑๔. เสอ้ื ผ้า
๕๓. ผม (น) ๑๓๔. กดั ๒๑๕. เขยี น
๕๔. ตี ๑๓๕. เสอ้ื กันหนาว ๒๑๖. งู
๕๕. ลุง ๑๓๖. ร่ม ๒๑๗. กระเป๋า
๕๖. เสอื ๑๓๗. ปู (น) ๒๑๘. กะหลำ่ ปลี
๕๗. ตูเ้ ยน็ ๑๓๘. ควิ้ ๒๑๙. น้ิว
๕๘. ตา (ญาติ) ๑๓๙. ดม่ื ๒๒๐. กวาด
๕๙. พาย (ก) ๑๔๐. ยงิ ๒๒๑. ถุง
๖๐. ละมดุ ๑๔๑. สมุด ๒๒๒. ไล่
๖๑. กหุ ลาบ ๑๔๒. น้อยหนา่ ๒๒๓. ตดิ
๖๒. หญา้ ๑๔๓. มา้ ๒๒๔. เปิด
๖๓. หยิบ ๑๔๔. หวั เขา่ ๒๒๕. มดั

ท่ี คำ ที่ คำ ที่ คำ
๖๔. ตดั ๑๔๕. สงิ โต ๒๒๖. ผกั ชี
๖๕. ทน่ี อน ๑๔๖. กวาง ๒๒๗. บิน
๖๖. จระเข้ ๑๔๗. รอ้ งไห้ ๒๒๘. มะลิ
๖๗. เจอ ๑๔๘. วัด ๒๒๙. รถยนต์
๖๘. ปู่ ๑๔๙. มะขาม ๒๓๐. กระป๋อง
๖๙. กว๋ ยเต๋ยี ว ๑๕๐. หมาป่า ๒๓๑. ฉีดยา
๗๐. รถไฟ ๑๕๑. ลางสาด ๒๓๒. ถ่วั
๗๑. ครัว ๑๕๒. ชาวนา ๒๓๓. คอ
๗๒. ควาย ๑๕๓. ประตู ๒๓๔. ตะหลวิ
๗๓. นา ๑๕๔. ฝร่งั (ผลไม้) ๒๓๕. ปลาทู
๗๔. ขนุน ๑๕๕. นั่น ๒๓๖. ตบั
๗๕. นกแก้ว ๑๕๖. ฉนั (ส) ๒๓๗. กระโดด
๗๖. สวนสตั ว์ ๑๕๗. ถนน ๒๓๘. ตก
๗๗. หมี ๑๕๘. วิทยุ ๒๓๙. กราบ
๗๘. ฝน ๑๕๙. อ่าน ๒๔๐. กงุ้
๗๙. ตม้ ๑๖๐. ทพั พี ๒๔๑. สะดอื
๘๐. คะนา้ ๑๖๑. องุ่น ๒๔๒. หมวก
๘๑. ขา้ วสาร ๑๖๒. มะยม

คณะทำงาน

1.นายอะหห์ มดั ซานาดี แวอารง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านกาแย
รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นกาแย
๒. นางสาวตอฮีเราะห์ ยาเอ๊ะ ครูปฐมวัย
ครูปฐมวัย
๓.นางนอรไ์ อนี เจะ๊ ดาโอะ๊ ครูปฐมวัย
หัวหนา้ วิชาการประถมศกึ ษา
๔.นางสาวซามเี รา๊ ะ ดอเลา๊ ะ ผู้แทนครูประถมศึกษา
ผูแ้ ทนผูป้ กครองนักเรยี น
๕.นางซลิ มี อายิ ผู้แทนผู้ปกครองนักเรยี น

๖.นางสาวสีตรี อฮานา บือซา

๗.นางรอซีดะห์ เกษม

๘.นางสาวอามีเนา๊ ะ เจ๊ะแว

๙.นางสาวฟาตีย๊ะ วาเซะ

ทีมบรรณาธกิ าร

๑.นางนอร์ไอนี เจะ๊ ดาโอะ๊ ครปู ฐมวยั
ครูปฐมวัย
๒.นางสาวซามเี ร๊าะ ดอเล๊าะ ครูปฐมวยั

๓.นางซลิ มี อายิ


Click to View FlipBook Version