The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัย 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by photographer046, 2022-05-31 22:18:06

หลักสูตรปฐมวัย 2565

หลักสูตรปฐมวัย 2565

คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖5 จัดทำขน้ึ เพ่ือให้โรงเรยี นบ้านกาแย ซึ่งจัดการศึกษาระดับ
ปฐมวัย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ โดยปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมกบั เด็กและสภาพ
ท้องถน่ิ เพื่อทีก่ ำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา เป็นคนดี มีวนิ ยั สำนกึ ความเปน็ ไทย และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศ
ไทยในอนาคต อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและได้มาตรฐานตามจุดหมายหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

โรงเรยี นบ้านกาแย สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3 ขอขอบคุณผทู้ ่ีมีส่วน
เก่ยี วข้องทกุ ท่าน ที่มีสว่ นรว่ มในการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖5 ให้มีความเหมาะสมต่อ
การนำไปใช้จดั การศึกษาระดับปฐมวยั ของโรงเรยี นต่อไป

คณะผจู้ ดั ทำ

สารบญั หนา้

คำนำ ๑
ความนำ ๒
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย ๒
วิสัยทศั น์ ๒
หลกั การ ๓
แนวคดิ การจดั การศึกษาปฐมวัย ๕
ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบ้านกาแย ๖

พัฒนาการเด็กปฐมวัย ๓๐
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตวั บง่ ชี้ และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ ๓๖
โครงสร้างเวลาเรียน ๔๒
การจดั ประสบการณ์ ๕๒
การประเมนิ พัฒนาการ ๕๕
การบริหารจดั การหลักสตู ร ๕๕
การจัดการศึกษาปฐมวัย (เดก็ อาย๓ุ - ๕ปี) สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ๕๗
การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัย กับระดับประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๕๘
การกำกับ ตดิ ตาม ประเมินและรายงาน
ภาคผนวก

ความนำ

สภาพการเปลีย่ นแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยสี ารสนเทศประกอบ รวมทง้ั
กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.
๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นเดก็ ปฐมวยั (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) นำไปสกู่ ารกำหนดทักษะสำคัญสำหรับ
เดก็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ท่มี คี วามสำคัญในการกำหนดเป้าหมายในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ให้มีความสอดคลอ้ งและทนั ต่อ
การเปล่ยี นแปลงทุกด้าน

กระทรวงศกึ ษาธิการมนี โยบายให้มีการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั อยา่ งจริงจังและต่อเนอ่ื งโดยได้แต่งตง้ั
คณะทำงานพิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อปรับปรุงใหส้ อดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกลา่ ว
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖5 เปน็ หลกั สตู รสถานศกึ ษา สถาบันพัฒนาเด็กปฐมวยั และหนว่ ยงานที่
เกี่ยวขอ้ ง นำไมใช้เปน็ กรอบและทศิ ทางในการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและได้มาตรฐานตาม
จดุ หมายหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ที่กำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีพฒั นาการ
ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญา ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาตใิ นอนาคต

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาปฐมวยั เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี บรบิ รู ณ์ อยา่ งเป็นองค์รวม บนพนื้ ฐานการอบรม
เลี้ยงดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่สี นองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนใหเ้ ต็มตาม
ศกั ยภาพภายใต้บรบิ ทสังคมและวัฒนธรรมทเ่ี ด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน
เพอื่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ติ ให้เดก็ พฒั นาไปสู่ความเป็นมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์เกิดคณุ ค่าตอ่ ตนเอง ครอบครัว สงั คม และ
ประเทศชาติ

วิสัยทัศน์

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยมงุ่ พฒั นาเด็กทกุ คนใหไ้ ด้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญาอย่างมคี ุณภาพและตอ่ เนื่อง ไดร้ บั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้อู ยา่ งมคี วามสุขและเหมาะสมตามวัย มี
ทกั ษะชีวติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ คนดี มีวินัย และสำนึกความเปน็ ไทย โดยความ
ร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครวั ชุมชน และทุกฝ่ายทเี่ กยี่ วข้องกบั การพัฒนาเดก็

หลกั การ

เด็กทุกคนมสี ิทธ์ิที่จะได้รบั การอบรมเลย้ี งดแู ละส่งเสรมิ พัฒนาการตามอนสุ ญั ญาวา่ ด้วยสิทธเิ ด็ก ตลอดจน
ได้รบั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูอ้ ยา่ งเหมาะสม ดว้ ยปฏสิ มั พันธท์ ี่ดรี ะหวา่ งเด็กกับพ่อแม่ เด็กกบั ผู้สอน เด็กกบั
ผเู้ ล้ยี งดูหรอื ผ้ทู ่เี กยี่ วข้องในการอบรมเลีย้ งดู การพฒั นา และให้การศึกษาแกเ่ ดก็ ปฐมวยั เพื่อให้เด็กมโี อกาสพัฒนา
ตนเองตามลำดบั ขน้ั ของพฒั นาการทกุ ด้าน อยา่ งเป็นองคร์ วม มีคุณภาพ และเต็มตามศักยภาพโดยมหี ลักการดังน้ี

๑. สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการท่ีครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
๒.ยึดหลกั การอบรมเล้ยี งดแู ละให้การศึกษาที่เน้นเด็กเปน็ สำคัญโดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและ
วิถีชวี ิตของเดก็ ตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพฒั นาเดก็ โดยองค์รวมผ่านการเล่นอยา่ งมีความหมายและมีกิจกรรมทีห่ ลากหลาย
ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดลอ้ มทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวยั และมีการพักผ่อนท่ีเพียงพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ให้เด็กมที ักษะชีวติ และสามารถปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เปน็ คนดี มวี นิ ยั และมีความสุข
๕. สร้างความรู้ ความเขา้ ใจและประสานความร่วมมอื ในการพฒั นาเด็กระหว่างสถานศึกษากบั พ่อแม่
ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย

แนวคิดการจดั การศึกษาปฐมวัย

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖5 พัฒนาขึน้ บนแนวคิดหลกั สำคญั เก่ยี วกับพฒั นาการเด็ก
ปฐมวยั โดยถือว่าการเลน่ ของเดก็ เป็นหวั ใจสำคัญของการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ภายใตก้ ารจัดสภาพแวดล้อม
ทเี่ อ้ือตอ่ การทำงานของสมอง ผา่ นส่ือทต่ี ้องเอ้ือใหเ้ ดก็ ได้เรียนรผู้ ่านการเลน่ ประสาทสมั ผัสท้งั หา้ โดยครจู ำเป็นตอ้ ง
เข้าใจและยอมรบั วา่ สงั คมและวัฒนธรรมที่แวดลอ้ มตวั เด็กมอี ิทธิพลต่อการเรียนรู้และการพัฒนาศกั ยภาพและ
พัฒนาการของเดก็ แต่ละคน ทงั้ นี้ หลักสูตรฉบบั น้มี ีแนวคิดในการจดั การศึกษาปฐมวยั ดังน้ี

๑. แนวคดิ เก่ียวกบั พัฒนาการเด็ก พฒั นาการของมนุษยเ์ ปน็ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึน้ ต่อเนื่องใน
ตวั มนษุ ยเ์ ริ่มตงั้ แตป่ ฏสิ นธไิ ปจนตลอดชวี ิต พัฒนาการของเด็กแต่ละคนจะมลี ำดบั ขัน้ ตอนลักษณะเดียวกนั แต่อัตรา
และระยะเวลาในการผา่ นขนั้ ตอนต่าง ๆ อาจแตกตา่ งกันไดข้ น้ั ตอนแรกๆจะเปน็ พนื้ ฐานสำหรับพัฒนาการขัน้ ตอ่ ไป
พฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา แตล่ ะสว่ นสง่ ผลกระทบซง่ึ กันและกนั เม่ือดา้ นหนึง่
กา้ วหนา้ อกี ด้านหนึง่ จะกา้ วหนา้ ตามด้วยในทำนองเดยี วกันถ้าดา้ นหนึ่งดา้ นใดผดิ ปกติจะทำใหด้ ้านอื่นๆผิดปกติตาม
ด้วย แนวคดิ เก่ยี วกับทฤษฎพี ัฒนาการด้านรา่ งกายอธบิ ายว่าการเจริญเติบโตและพฒั นาการของเด็กมีลักษณะต่อเนอ่ื ง
เป็นลำดับช้นั เดก็ จะพฒั นาถงึ ขั้นใดจะต้องเกิดวฒุ ภิ าวะของความสามารถด้านนั้นก่อน สำหรบั ทฤษฎดี า้ นอารมณ์
จิตใจ และสงั คมอธบิ ายว่า การอบรมเล้ียงดูในวยั เด็กส่งผลตอ่ บคุ ลิกภาพของเด็ก เมื่อเติบโตเปน็ ผ้ใู หญ่ ความรกั และ
ความอบอุ่นเปน็ พื้นฐานของความเช่ือม่นั ในตนเอง เด็กทีไ่ ด้รับความรักและความอบอ่นุ จะมีความไวว้ างใจในผู้อืน่ เห็น
คณุ ค่าของตนเอง จะมีความเชอื่ มน่ั ในความสามารถของตน ทำงานร่วมกับผู้อื่นไดด้ ี ซึ่งเป็นพน้ื ฐานสำคัญของความ
เป็นประชาธิปไตยและความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์และทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปญั ญาอธบิ ายว่า เด็กเกดิ มาพร้อมวฒุ ิ
ภาวะ ซึ่งจะพัฒนาข้นึ ตามอายุ ประสบการณ์ รวมทั้งค่านยิ มทางสังคมและส่ิงแวดล้อมท่ีเด็กไดร้ บั

๒. แนวคิดเกี่ยวกบั การเลน่ ของเด็ก การเล่นเปน็ หัวใจสำคญั ของการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ การเล่น
อยา่ งมจี ุดมงุ่ หมายเป็นเครื่องมอื การเรยี นร้ขู ัน้ พ้นื ฐานทถี่ ือเปน็ องค์ประกอบสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก
ขณะที่เดก็ เล่นจะเกิดการเรียนรูไ้ ปพร้อมๆกนั ด้วย จากการเลน่ เด็กจะมีโอกาสเคลือ่ นไหวสว่ นต่างๆของรา่ งกาย ไดใ้ ช้
ประสาทสัมผสั และการรบั รผู้ ่อนคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรยี นรู้ความร้สู ึกของผู้อืน่ เด็กจะรู้สึก
สนกุ สนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต มโี อกาสทำการทดลอง คิดสรา้ งสรรค์ คิดแก้ปัญหาและคน้ พบดว้ ยตนเอง การเลน่
ช่วยใหเ้ ดก็ เรียนรู้ส่ิงแวดลอ้ ม และชว่ ยใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสตปิ ัญญา ดังนัน้
เด็กควรมีโอกาสเล่น ปฏสิ มั พันธก์ บั บุคคล สิ่งแวดล้อมรอบตัว และเลอื กกิจกรรมการเล่นดว้ ยตนเอง

๓. แนวคิดเก่ียวกบั การทำงานของสมอง สมองเปน็ อวยั วะท่มี คี วามสำคัญทส่ี ดุ ในรา่ งกายของคนเรา
เพราะการท่ีมนษุ ย์สามารถเรียนรสู้ ิ่งต่างๆได้นนั้ ต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพ้ืนฐานการรบั รู้ รบั ความร้สู ึก
จากประสาทสัมผสั ทัง้ ห้า การเชอื่ มโยงตอ่ กนั ของเซลลส์ มองส่วนมากเกดิ ข้ึนก่อนอายุ ๕ ปี และปฏิสัมพนั ธ์แรกเริ่ม
ระหว่างเด็กกบั ผใู้ หญ่ มีผลโดยตรงตอ่ การสรา้ งเซลล์สมองและจดุ เชอ่ื มต่อ โดยในช่วง ๓ ปีแรกของชีวิต สมอง
เจรญิ เติบโตอย่างรวดเร็วมาก มกี ารสรา้ งเซลลส์ มองและจุดเช่ือมต่อขึ้นมามากมาย มีการสร้างไขมนั หรือมันสมองหุ้ม
ล้อมรอบเส้นใยสมองดว้ ย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผู้ใหญ่ มีเซลลส์ มองนับหมืน่
ล้านเซลล์ เซลลส์ มองและจดุ เชื่อมตอ่ เหลา่ นยี้ ่ิงได้รบั การกระตนุ้ มากเทา่ ใด การเชื่อมต่อกันระหวา่ งเซลลส์ มองย่ิงมี
มากขนึ้ และความสามารถทางการคิดยง่ิ มมี ากข้นึ เท่านัน้ ถา้ หากเดก็ ขาดการกระต้นุ หรือส่งเสริมจากส่ิงแวดล้อมที่
เหมาะสม เซลล์สมองและจุดเช่อื มตอ่ ที่สร้างขน้ึ มากจ็ ะหายไป เดก็ ท่ีไดร้ บั ความเครยี ดอยู่ตลอดเวลาจะทำให้ขาด

ความสามารถทจ่ี ะเรยี นรู้ อย่างไรกต็ าม สว่ นต่างๆของสมองเจรญิ เติบโตและเรม่ิ มคี วามสามารถในการทำหน้าท่ใี น
ชว่ งเวลาตา่ งกัน จงึ อธิบายได้วา่ การเรียนรู้ทกั ษะบางอยา่ งจะเกิดข้นึ ได้ดีท่ีสุดเฉพาะในชว่ งเวลาหนงึ่ ทีเ่ รียกวา่ ”
หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซ่ึงเปน็ ชว่ งทีพ่ ่อแม่ ผู้เลย้ี งดูและครสู ามารถช่วยให้เด็กเรยี นรู้และพฒั นาส่ิงนน้ั ๆไดด้ ี
ทสี่ ุด เม่อื พน้ ชว่ งนไ้ี ปแลว้ โอกาสน้นั จะฝกึ ยากหรือเด็กอาจทำไม่ได้เลย เช่น การเชื่อมโยงวงจรประสาทของการ
มองเหน็ และรับร้ภู าพจะตอ้ งได้รับการกระตนุ้ ทำงานต้งั แต่ ๓ หรอื ๔ เดอื นแรกของชวี ิตจึงจะมีพฒั นาการตามปกติ
ชว่ งเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปแี รกของชวี ติ เด็กจะพดู ได้ชัด คล่องและถูกต้อง โดยการพฒั นาจากการ
พูดเป็นคำๆมาเปน็ ประโยคและเลา่ เร่ืองได้ เป็นต้น

๔. แนวคิดเกี่ยวกับส่ือการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ทำใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรตู้ ามจุดประสงค์ที่วางไว้ ทำให้สงิ่ ที่
เป็นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็นรูปธรรมทเ่ี ด็กเขา้ ใจและเรียนร้ไู ด้งา่ ย รวดเรว็ เพลดิ เพลนิ เกิดการเรียนรแู้ ละคน้ พบ
ด้วยตนเอง การใช้สื่อการเรยี นรู้ต้องปลอดภัยต่อตวั เดก็ และเหมาะสมกบั วัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความสนใจ และความต้องการของเด็กท่ีหลากหลาย สื่อประกอบการจดั กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวัยควรมีส่ือทง้ั ท่ี
เปน็ ประเภท ๒ มติ แิ ละ/หรือ ๓ มติ ิ ท่เี ปน็ ส่ือของจริง ส่ือธรรมชาติ สอ่ื ทอี่ ยู่ใกล้ตวั เดก็ สื่อสะท้องวฒั นธรรม สอ่ื ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน สือ่ เพื่อพฒั นาเด็กในดา้ นตา่ งๆให้ครบทกุ ด้าน ทง้ั นี้ ส่อื ต้องเอื้อให้เด็กเรยี นรผู้ า่ นประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า
โดยการจดั การใชส้ อื่ สำหรบั เด็กปฐมวยั ต้องเร่ิมต้นจากส่ือของจริง ของจำลอง ภาพถา่ ย ภาพโครงรา่ งและสัญลักษณ์
ตามลำดับ

๕. แนวคิดเก่ียวกบั สังคมและวฒั นธรรม เด็กเมอ่ื เกดิ มาจะเป็นสว่ นหนง่ึ ของสงั คมและวัฒนธรรม ซ่ึงไม่
เพียงแต่จะได้รบั อิทธิพลจากการปฏิบตั ิแบบดัง้ เดิมตามประเพณี มรดก และความรขู้ องบรรพบุรุษ แตย่ งั ได้รบั อทิ ธพิ ล
จากประสบการณ์ ค่านยิ มและความเชื่อของบุคคลในครอบครัว และชมุ ชนของแต่ละทดี่ ้วย บรบิ ทของสงั คมและ
วฒั นธรรมทเี่ ด็กอาศัยอยหู่ รือแวดล้อมตวั เดก็ ทำใหเ้ ด็กแต่ละคนแตกต่างกันไป ครจู ำเปน็ ต้องเข้าใจและยอมรบั ว่า
สงั คมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมตวั เด็ก มีอทิ ธพิ ลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเดก็ แต่ละคน
ครูควรต้องเรียนรู้บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเดก็ ท่ีตนรบั ผดิ ชอบ เพ่ือชว่ ยให้เดก็ ได้รับการพัฒนา เกิดการ
เรียนร้แู ละอยู่ในกลุ่มคนทม่ี าจากพืน้ ฐานเหมือนหรือตา่ งจากตนได้อยา่ งราบรานมคี วามสุข เปน็ การเตรยี มเด็กไปสู้
สังคมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่นื การทำงานร่วมกับผู้อ่ืนทีม่ ีความหลากหลายทางความคดิ ความเช่อื และ
วฒั นธรรมเชน่ ความคลา้ ยคลงึ และความแตกต่างระหวา่ งวัฒนธรรมไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ นเรอ่ื งศาสนา ประเทศ
พม่า ลาว กมั พูชาก็จะคลา้ ยคลึงกับคนไทยในการทำบญุ ตักบาตร การสวดมนต์ไหวพ้ ระ การให้ความเคารพพระสงฆ์
การทำบุญเลี้ยงพระ การเวยี นเทียนเนอื่ งในวันสำคัญทางศาสนา ประเพณเี ข้าพรรษา สำหรบั ประเทศมาเลเซยี บรไู น
อนิ โดนเี ซีย ประชากรส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาอสิ ลามจึงมวี ัฒนธรรมแบบอสิ ลาม ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ได้รบั อทิ ธิพลจาก
ครสิ ต์ศาสนา ประเทศสิงคโปรแ์ ละเวยี ดนามนับถือหลายศาสนา โดยนบั ถอื ลทั ธิธรรมเนียมแบบจนี เปน็ หลกั เปน็ ต้น

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยโรงเรยี นกาแย

โรงเรยี นจดั การพฒั นาเด็กอายุ ๔ – ๖ ปีบนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ที่
สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาการทางสมองของเด็กแตล่ ะคนใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพ ผ่านการเลน่ การช่วยเหลือตนเอง มี
ทกั ษะในการดำรงชีวิตประจำวันตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้วยความรัก ความเข้าใจของทุกคน เพ่ือ
สรา้ งรากฐานคณุ ภาพชวี ิต และพัฒนาเด็กให้มีพฒั นาการท้งั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา

วิสยั ทศั น์

ภายในปพี ุทธศักราช ๒๕๖5 โรงเรยี นมุง่ เน้นพฒั นาเด็กอายุ ๔ – ๖ ปใี ห้มีพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย
อารมณ์ - จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญาเหมาะสมกับวยั เนน้ ให้เดก็ เรยี นรูผ้ า่ นการเลน่ ชว่ ยเหลอื ตนเอง ดำรงชวี ติ ตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และปลูกฝังให้เด็กมนี ิสัยการประหยดั อดออม โดยการมสี ว่ นร่วมของผปู้ กครอง
ชุมชนและทุกฝา่ ยที่เกีย่ วข้อง

ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ

1. พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาที่มุ่งเนน้ พัฒนาการเด็กปฐมวยั ทงั้ ๔ ด้าน อย่างสมดลุ และเต็มศักยภาพ
2. พฒั นาครูและบุคลากรด้านการจดั ประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมการเรียนรผู้ า่ นการเลน่ ทม่ี ีจุดหมายอย่าต่อเน่ือง
3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั สภาพแวดล้อม ส่ือ เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรู้ในการพฒั นาเด็กปฐมวัย
4. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ี่หลากหลายซง่ึ สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการทางสมองของเด็ก โดยนำหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ มาใชเ้ สริมสร้างพฒั นาการและการ
เรียนรู้ของเด็ก
5. ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของผปู้ กครองและชุมชนในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

เปา้ หมาย

1. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รบั การพัฒนาดา้ นร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญาเป็นองค์รวมอย่าง
สมดุลและมคี วามสุข

2. ครมู คี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสรมิ การเรียนร้ผู า่ นการเล่นโดยใช้
กระบวนการวางแผน การปฏบิ ตั ิ และการทบทวน

3. มีสภาพแวดล้อม ส่ือ เทคโนโลยี และแหล่งเรยี นรูท้ เ่ี อ้ือต่อการส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยอย่าง
พอเพยี ง

4. ผปู้ กครอง ชมุ ชน และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องมีส่วนรว่ มในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

จดุ หมาย

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั มุ่งใหเ้ ด็กมีพฒั นาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเม่ือมีความพรอ้ มในการ
เรียนรู้ต่อไป จงึ กำหนดจุดหมายเพื่อให้เกดิ กบั เด็กเมื่อเดก็ จบการศึกษาระดบั ปฐมวัย ดังน้ี

1. มรี ่างกายเจริญเติบโตตามวยั แขง็ แรง และมสี ุขนิสัยที่ดี
2. มีสขุ ภาพจิตดี มีสนุ ทรยี ภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและจติ ใจทีด่ ีงาม
3. มที กั ษะชวี ติ และปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี นิ ัย และอยูร่ ว่ มกบั ผู้อ่นื ได้อยา่ งมี

ความสขุ
4. มีทกั ษะการคดิ การใช้ภาษาส่ือสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย

พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั

พัฒนาการของเด็กปฐมวยั ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญาแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงท่เี กิดขึ้นตามวฒุ ิ
ภาวะและสภาพแวดลอ้ มที่เด็กไดร้ บั พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวยั อาจเร็วหรอื ช้าแตกต่างกนั ไป ในเด็กแตล่ ะคน มี
รายละเอยี ด ดังน้ี

๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เปน็ พฒั นาการที่เป็นผลมาจากการเปลยี่ นแปลงในทางทด่ี ีข้ึนของร่างกายในดา้ น
โครงสรา้ งของรา่ งกาย ดา้ นความสามารถในการเคล่ือนไหว และด้านการมีสขุ ภาพอนามัยที่ดี รวมถึงการใช้สมั ผสั รบั รู้
การใช้ตาและมอื ประสานกันในการทำกจิ กรรมตา่ งๆ เดก็ อายุ ๓ – ๖ ปมี กี ารเจรญิ เติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะในเร่ือง
น้ำหนักและสว่ นสูง กลา้ มเน้ือใหญจ่ ะมีความก้าวหนา้ มากกวา่ กลา้ มเน้ือเล็ก สามารถบังคับการเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย
ไดด้ ี มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเดนิ สามารถวิง่ กระโดด ควบคุมและบังคับการทรงตวั ได้ดี จงึ ชอบเคลื่อนไหว ไม่
หยดุ นิง่ พรอ้ มท่จี ะออกกำลงั และเคลื่อนไหวในลกั ษณะตา่ งๆสว่ นกล้ามเนอื้ เลก็ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตาและมือยงั
ไมส่ มบรู ณ์ การสัมผัสหรือการใช้มอื มีความละเอียดขนึ้ ใช้มือหยิบจบั สง่ิ ของต่างๆไดม้ ากขนึ้ ถ้าเด็กไมเ่ ครยี ดหรือกงั วล
จะสามารถทำกิจกรรมที่พัฒนากลา้ มเน้ือเลก็ ไดด้ ีและนานขึ้น

๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เปน็ ความสามารถในการร้สู กึ และแสดงความรู้สกึ ของเด็ก เชน่ พอใจ
ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกียด โดยทเี่ ดก็ รจู้ ักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ เผชญิ กับ
เหตกุ ารณ์ต่างๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกท่ีดีและการนับถอื ตนเอง เด็กอายุ ๓ – ๖ ปีจะแสดงความรสู้ ึกอยา่ งเต็มท่ี
ไม่ปดิ บัง ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแต่จะเกดิ เพียงชว่ั ครู่แล้วหายไปการทเี่ ด็กเปล่ียนแปลงอารมณ์งา่ ยเพราะมชี ่วง
ความสนใจระยะส้ัน เม่อื มีสง่ิ ใดน่าสนใจกจ็ ะเปลย่ี นความสนใจไปตามสง่ิ น้ัน เด็กวันนี้มักหวาดกลวั สง่ิ ต่างๆ เชน่ ความ
มืด หรอื สัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกดิ จากจนิ ตนาการ ซึง่ เดก็ ว่าเป็นเรื่องจรงิ สำหรับตน เพราะยงั สบั สนระหว่าง
เร่ืองปรงุ แต่งและเร่ืองจรงิ ความสามารถแสดงอารมณ์ไดส้ อดคล้องกบั สถานการณ์อยา่ งเหมาะสมกบั วยั รวมถงึ ชนื่ ชม
ความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อน่ื เพราะยึดตัวเองเปน็ ศนู ย์กลางน้อยลงและต้องการความสนใจจากผู้อื่น
มากข้ึน

๓. พัฒนาการดา้ นสงั คม เป็นความสามารถในการสรา้ งความสัมพันธท์ างสังคมคร้งั แรกในครอบครวั โดยมี
ปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่และพีน่ อ้ ง เม่ือโตข้ึนต้องไปสถานศกึ ษา เด็กเริม่ เรียนรกู้ ารติดต่อและการมสี ัมพันธก์ บั บุคคลนอก
ครอบครัว โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเด็กในวัยเดยี วกัน เดก็ ได้เรยี นรูก้ ารปรบั ตวั ให้เข้าสงั คมกบั เด็กอื่นพรอ้ มๆกับรจู้ ักรว่ มมือ
ในการเลน่ กบั กลุ่มเพื่อนเจตคตแิ ละพฤตกิ รรมทางสังคมของเด็กจะกอ่ ขึ้นในวยั น้แี ละจะแฝงแนน่ ยากทจี่ ะเปล่ยี นแปลง

ในวยั ตอ่ มา ดงั น้นั จึงอาจกล่าวไดว้ า่ พฤติกรรมทางสงั คมของเดก็ วัยนมี้ ี๒ ลักษณะ คอื ลักษณะแรกนนั้ เปน็ ความสัมพนั ธ์
กบั ผู้ใหญแ่ ละลักษณะทส่ี องเป็นความสมั พนั ธ์กับเด็กในวัยใกล้เคียงกนั

๔. ด้านสตปิ ัญญา ความคิดของเด็กวยั นม้ี ีลักษณะยึดตนเองเปน็ ศูนย์กลาง ยังไมส่ ามารถเขา้ ใจความรสู้ ึกของ
คนอนื่ เด็กมคี วามคดิ เพยี งแต่ว่าทกุ คนมองส่งิ ต่างๆรอบตวั และรู้สกึ ต่อสิ่งตา่ งๆ เหมอื นตนเอง ความคิดของตนเองเป็น
ใหญท่ สี่ ดุ เมือ่ อายุ ๔ – ๖ ปี เด็กสามารถโตต้ อบหรือมปี ฏิสมั พันธ์กบั วัตถุสงิ่ ของทอ่ี ยูร่ อบตวั ได้ สามารถจำส่ิงตา่ งๆ ท่ี
ได้กระทำซำ้ กนั บ่อยๆ ไดด้ ี เรียนรูส้ ่งิ ตา่ ง ๆ ได้ดขี ึน้ แตย่ ังอาศัยการรบั รเู้ ป็นส่วนใหญ่ แก้ปัญหาการลองผิดลองถูกจาก
การรับรมู้ ากกวา่ การใช้เหตุผลความคดิ รวบยอดเก่ยี วกับส่ิงต่างๆ ทอี่ ยรู่ อบตวั พัฒนาอย่างรวดเรว็ ตามอายทุ ่ีเพ่มิ ขึน้ ใน
ส่วนของพฒั นาการทางภาษา เด็กวัยนีเ้ ปน็ ระยะเวลาของการพฒั นาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมกี ารฝกึ ฝนการใชภ้ าษา
จากการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในรปู ของการพูดคุย การตอบคำถาม การเล่าเรื่อง การเลา่ นิทานและการทำกิจกรรมต่าง ๆ
ที่เกีย่ วข้องกบั การใชภ้ าษาในสถานศึกษา เด็กปฐมวัยสามารถใชภ้ าษาแทนความคิดของตนและใชภ้ าษาในการตดิ ต่อ
สัมพันธ์กบั คนอน่ื ได้คำพูดของเด็กวยั น้ี อาจจะทำให้ผ้ใู หญ่บางคนเข้าใจวา่ เดก็ รู้มากแลว้ แตท่ ีจ่ รงิ เด็กยงั ไมเ่ ข้าใจ
ความหมายของคำและเรื่องราวลึกซง้ึ นัก

มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั กำหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคจ์ ำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย
๑. พัฒนาการด้านรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคือ

มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั และมสี ุขนิสยั ทด่ี ี
มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแขง็ แรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคล่วและประสาน

สัมพนั ธก์ นั
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคอื

มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมีความสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจท่ดี ีงาม
๓. พฒั นาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชวี ิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อย่รู ว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมคี วามสุขและปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสังคมใน

ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๔. พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐานคือ

มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกับวัย
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน็ พ้ืนฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติท่ีดตี ่อการเรียนรูแ้ ละมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้

เหมาะสมกับวยั

ตวั บง่ ชี้

ตวั บ่งชี้เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาเดก็ ท่มี ีความสมั พนั ธส์ อดคลอ้ งกับมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์

สภาพที่พงึ ประสงค์

สภาพท่พี ึงประสงคเ์ ปน็ พฤติกรรมหรอื ความสามารถตามวยั ที่คาดหวังให้เด็กเกดิ บนพ้ืนฐานพฒั นาการตาม
วยั หรือความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดับอายเุ พื่อนำไปใชใ้ นการกำหนดสาระเรียนรใู้ น การจัดประสบการณ์
กจิ กรรมและประเมินพฒั นาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตวั บ่งช้ี และ
สภาพท่พี งึ ประสงค์ ดังนี้

มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยเดก็ มีสขุ นสิ ัยทด่ี ี

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑.๑ มีน้ำหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์
สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-น้ำหนักและสว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย -น้ำหนักและสว่ นสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามัย สุขนิสัยทด่ี ี
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- รบั ประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน์และด่ืมน้ำสะอาดด้วย - รับประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชนไ์ ด้หลายชนดิ และ
ตนเอง ดื่มนำ้ สะอาดได้ด้วยตนเอง

- ลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ห้องน้ำ - ล้างมอื ก่อนรับประทานอาหารและหลงั จากใช้

ห้องส้วมดว้ ยตนเอง หอ้ งนำ้ หอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง

- นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา - นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา

- ออกกำลงั กายเปน็ เวลา - ออกกำลงั กายเป็นเวลา

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อื่น
สภาพทีพ่ ึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- เลน่ และทำกจิ กรรมอยา่ งปลอดภยั ด้วยตนเอง - เลน่ และทำกิจกรรมและปฏิบตั ติ อ่ ผอู้ น่ื อย่าง
ปลอดภัย

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนอ้ื เลก็ แขง็ แรงใช้ได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสาน
สมั พนั ธก์ นั

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๒.๑ เคลอื่ นไหวรา่ งกายอย่างคล่องแคล่วประสานสมั พันธ์และทรงตัวได้
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- เดนิ ตอ่ เท้าไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงไดโ้ ดยไมต่ ้องกางแขน - เดนิ ตอ่ เท้าถอยหลังเป็นเสน้ ตรงไดโ้ ดยไม่ตอ้ งกางเกง

- กระโดดขาเดยี วอยกู่ ับท่ีไดโ้ ดยไม่เสียการทรงตัว - กระโดดขาเดียว ไปข้างหนา้ ได้อยา่ งต่อเน่ืองโดยไม่เสยี
การทรงตัว

- วงิ่ หลบหลกี สงิ่ กีดขวางได้ - ว่ิงหลบหลีกสง่ิ กดี ขวางได้อย่างคล่องแคล่ว

- รบั ลกู บอลได้ดว้ ยมือท้งั สองขา้ ง - รบั ลูกบอลทกี่ ระดอนขึ้นจากพนื้ ได้

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๒.๓ ใช้มือ - ตาประสานสมั พนั ธ์กนั
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นตรงได้ - ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ โคง้ ได้

- เขยี นรูปสี่เหล่ียมตามแบบได้อย่างมีมุมชัดเจน - เขียนรปู สามเหลี่ยมตามแบบไดอ้ ย่างมีมุมชดั เจน

- ร้อยวสั ดุท่มี ีรจู นาดเส้นผ่านศูนย์ ๐.๕ ซม.ได้ - ร้อยวัสดทุ ีม่ รี ูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้

๒.พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจติ ดแี ละมคี วามสุข

ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกไดต้ ามสถานการณ์ - แสดงอารมณ์ ความร้สู กึ ไดส้ อดคล้องกับสถานการณ์
อยา่ งเหมาะสม

ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ มีความรสู้ กึ ท่ีดตี ่อตนเองและผู้อื่น

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- กลา้ พูด กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมบางสถานการณ์ - กล้าพดู กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์

-พงึ พอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง -พงึ พอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผูอ้ ืน่

มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

ตวั บง่ ช้ีที่ ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรีและการเคลอื่ นไหว
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- สนใจและมีความสุขและแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ -สนใจและมคี วามสุขและแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ

- สนใจและมีความสขุ และแสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี -สนใจและมคี วามสุขและแสดงออกผ่านเสยี งเพลง

ดนตรี

-สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ เคลอ่ื นไหวประกอบ -สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ เคลอ่ื นไหวประกอบ

เพลง จงั หวะและดนตรี เพลง จังหวะและดนตรี

มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมจี ติ ใจที่ดงี าม

ตัวบ่งช้ีที่ ๕.๑ ซื่อสตั ย์ สจุ ริต
สภาพท่พี ึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- รอคอยเมือ่ ต้องการสง่ิ ของของผู้อื่นเมื่อมผี ู้ชี้แนะ -รอคอยเม่ือต้องการสิ่งของของผู้อืน่ ดว้ ยตนเอง

ตวั บง่ ช้ีที่ ๕.๒ มีความเมตตา กรณุ า มีนำ้ ใจและชว่ ยเหลือแบ่งปัน
สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- แสดงความรักเพ่ือนและมีเมตตาสัตวเ์ ลย้ี ง -แสดงความรักเพ่อื นและมีเมตตาสตั วเ์ ลี้ยง

-แบ่งปันส่ิงของใหผ้ อู้ นื่ ไดเ้ ม่ือมีผู้ชี้แนะ -แบง่ ปันสง่ิ ของใหผ้ ู้อืน่ ไดด้ ว้ ยตนเอง

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๕.๓ มคี วามเห็นอกเห็นใจผู้อนื่ สภาพท่ีพึงประสงค์
อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
- แสดงสหี น้าหรือทา่ ทางรับรคู้ วามรสู้ กึ ผอู้ น่ื -แสดงสีหน้าหรอื ทา่ ทางรับรูค้ วามรูส้ กึ ผูอ้ น่ื อย่าง
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์

ตวั บ่งช้ีท่ี ๕.๔มคี วามรบั ผดิ ชอบ

สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- ทำงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายจนสำเรจ็ เม่อื มผี ู้ช้แี นะ -ทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนสำเรจ็ ดว้ ยตนเอง

๓.พฒั นาการด้านสังคม
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชวี ติ และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ตวั บ่งชที้ ่ี ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจำวัน
สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- แตง่ ตวั ด้วยตนเอง -แต่งตัวด้วยตนเองได้อยา่ งคล่องแคลว่

-รับประทานอาหารด้วยตนเอง -รับประทานอาหารด้วยตนเองอยา่ งถูกวธิ ี

-เขา้ ห้องนำ้ ห้องส้วมด้วยตนเอง -ทำความสะอาดหลงั ใชห้ ้องน้ำหอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง

ตวั บง่ ชี้ท่ี ๖.๒ มีวนิ ยั ในตนอง สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
- เกบ็ ของเลน่ ของใช้เข้าท่ีด้วยตนเอง -เก็บของเลน่ ของใช้เขา้ ที่อย่างเปน็ ระเบยี บด้วยตนเอง
-เขา้ แถวตามลำดับก่อนหลงั ไดด้ ้วยตนเอง -เขา้ แถวตามลำดับก่อนหลงั ได้ดว้ ยตนเอง

ตวั บง่ ช้ที ่ี ๖.๓ ประหยัดและพอเพยี ง

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- ใชส้ ง่ิ ของเคร่ืองใช้อย่างประหยดั และพอเพยี งเม่ือมผี ู้ -ใช้สง่ิ ของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยัดและพอเพยี งด้วย
ชแี้ นะ ตนเอง

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย

ตัวบ่งชที้ ี่ ๗.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- มีสว่ นร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม -มสี ่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

เมอ่ื มีผู้ชี้แนะ ดว้ ยตนเอง

-ทิง้ ขยะไดถ้ ูกที่ -ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกที่

ตัวบง่ ช้ีท่ี ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย
สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยได้ด้วยตนเอง -ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ

-แสดงคำขอบคุณและขอโทษดว้ ยตนเอง -แสดงคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง

-ยืนตรงเม่อื ไดย้ ินเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสรญิ พระ -ยนื ตรงและร่วมรอ้ งเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสรญิ
บารมี พระบารมี

มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้อย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสังคมใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- เลน่ และทำกจิ กรรมรว่ มกบั กล่มุ เด็กท่ีแตกตา่ งไปจากตน -เลน่ และทำกจิ กรรมรว่ มกับเดก็ ทีแ่ ตกตา่ งไปจากตน

ตัวบง่ ชี้ที่ ๘.๒ มีปฏิสมั พันธท์ ด่ี กี ับผู้อ่ืน

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- เลน่ หรือทำงานรว่ มกบั เพ่ือนเปน็ กลุ่ม -เล่นหรอื ทำงานรว่ มกบั เพ่ือนอยา่ งมีเป้าหมาย

-ย้ิมหรอื ทกั ทายหรอื พดู คยุ กับผู้ใหญแ่ ละบคุ คลที่คุ้นเคยได้ -ย้ิมหรือทักทายหรือพูดคุยกบั ผใู้ หญแ่ ละบุคคลทค่ี ุ้นเคย

ด้วยตนเอง ไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๓ ปฏิบตั ิตนเบื้องต้นในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คม

สภาพทพี่ งึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- มีส่วนรว่ มสร้างขอ้ ตกลงและปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงเมอ่ื มีผชู้ แ้ี นะ -มสี ่วนรว่ มสรา้ งข้อตกลงและปฏิบัติตามขอ้ ตกลงด้วยตนเอง

-ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีไดด้ ้วยตนเอง -ปฏิบัติตนเป็นผนู้ ำและผู้ตามทดี่ ีไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

-ประนปี ระนอมแกไ้ ขปัญหาโดยปราศจากการใชค้ วามรุนแรงเมือ่ มผี ู้ -ประนปี ระนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรงดว้ ย
ชี้แนะ ตนเอง

๕. ด้านสตปิ ัญญา

มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั

ตัวบง่ ชที้ ี่ ๙.๑ สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรื่องใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจ

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- ฟังผ้อู ื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบสอดคล้องกบั เร่ืองที่ -ฟงั ผ้อู นื่ พูดจนจบและสนทนาโตต้ อบอยา่ งตอ่ เนื่อง
ฟัง เชอื่ มโยงกับเร่ืองท่ีฟัง

-เล่าเร่อื งเปน็ ประโยคอยา่ งต่อเนื่อง -เลา่ เปน็ เรอ่ื งราวตอ่ เนื่องได้

ตวั บ่งชี้ที่ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณไ์ ด้
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- อ่านภาพ สญั ลักษณ์ คำ พร้อมท้ังชี้ หรอื กวาดตามอง -อ่านภาพ สญั ลักษณ์ คำ ด้วยการชี้ หรอื กวาดตามอง

ข้อความตามบรรทัด จุดเรม่ิ ต้นและจดุ จบของข้อความ

-เขียนคล้ายตวั อักษร -เขยี นชอื่ ของตนเอง ตามแบบ

เขยี นข้อความด้วยวธิ ีที่คดิ ขนึ้ เอง

มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเี่ ป็นพน้ื ฐานในการเรียนรู้ อายุ ๕ ปี

ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด
อายุ ๔ ปี

- บอกลักษณะและส่วนประกอบของสง่ิ ของตา่ งๆจากการ -อธบิ ายลักษณะ สว่ นประกอบ การเปลี่ยนแปลง หรอื

สังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส ความสัมพนั ธ์ของสงิ่ ของตา่ งๆจากการสังเกตโดยใช้

ประสาทสมั ผสั

-สังเกตและเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งหรือความเหมือน -สงั เกตและเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งหรือความเหมอื น
ของสิง่ ต่างๆโดยใช้ลักษณะทส่ี ังเกตพบเพียงลักษณะเดียว ของส่งิ ตา่ งๆโดยใช้ลักษณะท่ีสังเกตพบสองลักษณะข้นึ

ไป

-จำแนก ๆ โดยใช้อย่างน้อยหนึ่งลักษณะเป็นเกณฑ์และ -จำแนกและจดั กลุ่มสิ่งต่างๆโดยใชต้ งั้ แตส่ องลักษณะขน้ึ

จัดกลมุ่ ส่งิ ต่าง ไปเปน็ เกณฑ์

-เรียงลำดับสิง่ ของหรือเหตกุ ารณอ์ ยา่ งน้อย ๔ ลำดับ -เรียงลำดบั สง่ิ ของหรือเหตกุ ารณอ์ ยา่ งน้อย ๕ ลำดับ

ตัวบ่งชที้ ี่ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี

-อธบิ ายสาเหตุหรือผลทเี่ กดิ ขึ้นในเหตุการณห์ รือ การ -อธิบายเชือ่ มโยงสาเหตแุ ละผลที่เกดิ ขน้ึ ในเหตกุ ารณ์
กระทำเมื่อมผี ู้ช้แี นะ หรือการกระทำด้วยตนเอง

-เดา หรือคาดคะเนส่งิ ทีอ่ าจจะเกดิ ขึน้ หรอื มีส่วนร่วมใน -คาดคะเนส่งิ ที่อาจจะเกดิ ขึ้น และมีส่วนร่วมในการลง

การลงความเหน็ จากข้อมูล ความเห็นจากข้อมลู อย่างมีเหตุผล

ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิดแก้ปญั หาและตัดสินใจ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี

- ตดั สินใจในเรือ่ งงา่ ยๆและเร่ิมเรยี นรู้ผลท่ีเกิดขึ้น -ตัดสนิ ใจในเรื่องง่ายๆและยอมรบั ผลทีเ่ กิดขึน้

- แกป้ ัญหาโดยลองผิดลองถกู -สรา้ งทางเลอื กและเลือกวิธแี กป้ ญั หา

มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ อายุ ๕ ปี

ตวั บ่งชี้ที่ ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์
อายุ ๔ ปี

- แสดงผลงานศิลปะเพอื่ ส่ือสารความคิด ความรู้สึกข-อผงลงา--แสดงผลงานศลิ ปะเพ่ือสื่อสารความคดิ ความรสู้ ึกของ

ตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลกใหมจ่ ากเดมิ หรือมี ตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลกใหม่จากเดิมและมี

รายละเอียดเพมิ่ ขน้ึ รายละเอียดเพิ่มขึ้น

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/เคล่อื นไหวตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี

- เคลอื่ -เคลือ่ นไหวท่าทางเพ่ือส่อื สารความคดิ ความรสู้ กึ ของ-ผลงา--เคลือ่ นไหวทา่ ทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ

ตนเองอย่างหลากหลายหรือแปลกใหม่ ตนเองท่ีหลากหลายและแปลกใหม่

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสม

กับวยั

ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑๒.๑ มเี จตคติท่ดี ีตอ่ การเรียนรู้

อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

- เคลอ่ื -ซกั ถามเก่ยี วกับสัญลกั ษณห์ รือตวั หนงั สือที่พบเห็น -ผลงา--หนังสอื มาอ่านและเขียนสอื่ ความคดิ ดว้ ยตนเองเปน็
ประจำอยา่ งตอ่ เน่ือง

กระตือ-กระตอื รือร้นในการเข้ารว่ มกิจกรรม กระตือ-กระตือรือรน้ ในการร่วมกจิ กรรมตั้งแต่ต้นจนจบ

ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี

- เคลื่อ-หาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธกี ารของตนเอง -ผลงา--คำตอบของข้อสงสยั ต่างๆ ตามวธิ กี ารทห่ี ลากหลายดว้ ย
ตนเอง

กระตือ-ประโยคคำถามวา่ “ท่ีไหน” “ทำไม” ในการคน้ หาคำกตรอะบตือ-ประโยคคำถามว่า “เม่อื ไร” อยา่ งไร” ในการคน้ หา
คำตอบ

ตารางวิเคราะหต์ วั บง่ ช้ี

พฒั นาการ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึง ตัวบง่ ชี้
ประสงค์

ดา้ นรา่ งกาย มฐ.1 รา่ งกายเจริญเติบโตตามวัย 1.1 น้ำหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์
และมีสขุ นิสยั ท่ีดี 1.2 มีสขุ ภาพอนามยั สุขนสิ ัยทีด่ ี
1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผอู้ ่นื

มฐ.2 กล้ามเนอ้ื ใหญ่ และกล้ามเนื้อ 2.1 เคลอื่ นไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่
เล็กแข็งแรงใชไ้ ด้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ และ ประสานสัมพันธ์และทรงตัวไดด้ ี
ประสานสัมพนั ธก์ นั

2.2ใชม้ อื – ตา ประสานสมั พันธ์กัน

ด้านอารมณ์ จิตใจ มฐ.3 มสี ขุ ภาพจติ ดี และมีความสขุ

3.1 แสดงออกทางอารมณ์ไดอ้ ย่างอย่าง
เหมาะสม

3.2 มคี วามรู้สึกทด่ี ตี อ่ ตนเองและผู้อ่นื

มฐ.4 ช่ืนชมและแสดงออกทาง 4.1 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงาน
ศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ศิลปะ ดนตรีและการเคลอื่ นไหว

ตารางวิเคราะหต์ วั บ่งชี้

พฒั นาการ มาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ตัวบง่ ชี้
ประสงค์

มฐ.5 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและมี 5.1 ซือ่ สตั ย์สจุ ริต
จิตใจที่ดงี าม
5.2 มคี วามเมตตา กรุณา มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน

5.3 มคี วามเหน็ อกเห็นใจผู้อื่น

5.4 มคี วามรบั ผิดชอบ

ด้านสังคม มฐ.6 มีทกั ษะชวี ติ และปฏิบัติตนตาม 6.1 ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วัตร

หลกั ปรชั ญาของ ประจำวัน

เศษฐกจิ พอเพยี ง 6.2 มีวินัยในตนเอง

6.3 ประหยัดและพอเพียง

มฐ.7 รักธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม 7.1 ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
7.2 มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทยและรักความ
เปน็ ไทย

มฐ.8 อยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมี 8.1 ยอมรับความเหมือนหรือความแตกต่าง

ความสขุ และปฏิบัติตนเปน็ สมาชกิ ทีด่ ี ระหว่างบุคคล

ของสังคมในระบอบประชาธิปไตย 8.2 มีปฏสิ ัมพันธ์ทีด่ กี บั ผูอ้ ่ืน
อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ

8.3 ปฏิบตั ติ นเบ้ืองตน้ ในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของ

สังคม

ตารางวิเคราะห์ตัวบง่ ชี้

พัฒนาการ มาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี

ดา้ นสติปัญญา มฐ.9 ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั 9.1 สนทนาโตต้ อบ / เลา่ เรือ่ งใหผ้ ูอ้ ื่น
เขา้ ใจ

9.2 อา่ น- เขียนภาพและสญั ลักษณ์ได้

มฐ.10 มีความสามารถในการคดิ ท่เี ป็นพ้ืนฐาน 10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบ
ในการเรียนรู้ ยอด

10.2 มีความสามารถในการคิดเชงิ
เหตผุ ล

10.3 มีความสามารถในการคิด
แก้ปญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มจี ินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 11.1 ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคล่อื นไหวตาม
จินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

12.1 มเี จตคตทิ ่ีดีต่อการเรยี นรู้

มฐ.12 มีเจตคติทีด่ ตี ่อการเรียนรู้ และมี 12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหา
ความสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสม ความรู้
กับวัย

ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี และสภาพทพ่ี งึ ประสงค์

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี
คุณลกั ษณะ
เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี
ทพ่ี งึ ประสงค์

ดา้ น มฐ.1 รา่ งกาย 1. มนี ้ำหนัก 1.1.1 น้ำหนักและส่วนสงู 1.1.1นำ้ หนกั และส่วนสงู
ร่างกาย เจรญิ เตบิ โตตาม ส่วนสูงตาม ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
วยั และมีสุขนสิ ยั ที่ เกณฑ์
ดี 2. มีสุขภาพ 1.2.1 รบั ประทานอาหารท่ี 1.2.1รบั ประทานอาหารที่มี

อนามัย มีประโยชน์และดม่ื น้ำ ประโยชนไ์ ด้หลายชนิดและ

สะอาดได้ด้วยตนเอง ดมื่ น้ำสะอาดไดด้ ว้ ยตนเอง

สุขนสิ ยั ทดี่ ี 1.2.2 ลา้ งมอื ก่อน 1.2.2 ลา้ งมือก่อน

รบั ประทานอาหารและ รบั ประทานอาหารและ

หลงั จากใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ ม หลังจากใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ ม

ดว้ ยตนเอง ด้วยตนเอง

1.2.3 พักผ่อนเป็นเวลา

1.2.4 ออกกำลังกายเป็น
เวลา

3. รกั ษาความ 1.3.1 เล่นและทำกจิ กรรม 1.3.1เลน่ ทำกจิ กรรมและ
ปลอดภัยของ อยา่ งปลอดภัยดว้ ยตนเอง ปฏบิ ัติตอ่ ผ้อู ืน่ อยา่ ง
ตนเองและผูอ้ ่นื ปลอดภัย

ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ และสภาพทพ่ี งึ ประสงค์

สภาพท่พี งึ ประสงค์

พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้
คณุ ลกั ษณะท่ี
พงึ ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เด็กอายุ 5-6 ปี

ดา้ น มฐ.2 กล้ามเน้อื 1. เคลือ่ นไหว 2.1.1 เดนิ ต่อเทา้ ไปข้างหน้า 2.1.1 เดนิ ตอ่ เทา้ ถอย
รา่ งกาย
ใหญ่ และ ร่างกายอย่าง เป็นเส้นตรงได้โดยไมต่ ้องกาง หลังเป็นเส้นตรงได้โดยไม่

กล้ามเนื้อเล็ก คล่องแคล่ว และ แขน ต้องกางแขน

แขง็ แรงใช้ได้ ทรงตวั ได้

อยา่ งคล่องแคลว่

และประสาน 2.1.2 กระโดดขาเดยี วอยู่ 2.1.2 กระโดดขาเดียวไป

สมั พนั ธก์ นั กบั ที่ไดโ้ ดยไม่เสียการทรงตัว ข้างหน้าได้อย่างต่อเน่ือง

โดยไม่เสียการทรงตวั

2.1.3 ว่ิงหลบหลกี ส่งิ กดี 2.1.3 วิง่ หลบหลีกส่ิงกดี
ขวางได้ ขวางได้อยา่ งคล่องแคลว่

2.1.4 รบั ลูกบอลโดยใชม้ ือ 2.1.4 รับลกู บอลท่ี
ท้ัง2 ข้าง กระดอนขน้ึ จากพ้นื ได้

ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ และสภาพทีพ่ งึ ประสงค์

สภาพท่ีพึงประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี
คุณลกั ษณะทีพ่ ึง
ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ นรา่ งกาย มฐ.2 กลา้ มเนือ้ 2. ใชม้ อื -ตา 2.2.1 ใช้กรรไกรตดั 2.2.1 ใชก้ รรไกรตัด

ใหญ่ และ ประสาน กระดาษตามแนวเส้นตรงได้ กระดาษตามแนวเสน้ โค้ง

กลา้ มเนือ้ เล็ก สมั พนั ธ์กนั ได้

แข็งแรงใชไ้ ดอ้ ย่าง

คลอ่ งแคลว่ และ

ประสานสมั พนั ธ์ 2.2.2 เขียนรูปสเี่ หล่ียมตาม 2.2.2 เขียนรปู
แบบได้อยา่ งมีมุมชัดเจน สามเหล่ียมตามแบบได้
กัน อยา่ งมีมมุ ชดั เจน

2.2.3 รอ้ ยวัสดทุ ่มี รี ูขนาด 2.2.3 รอ้ ยวัสดทุ ่ีมีรขู นาด
เส้นผ่านศูนยก์ ลาง 0.5 เสน้ ผ่านศูนย์กลาง 0.25
เซนติเมตร ได้ เซนตเิ มตร ได้

ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐาน ตวั บ่งช้ี และสภาพท่พี งึ ประสงค์

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี
คุณลักษณะท่ี
พึงประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ น มฐ.3 มี 1. 3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึก 3.1.1 แสดงอารมณ์

อารมณ์ สขุ ภาพจติ ดี แสดงออก ไดต้ ามสถานการณ์ ความรสู้ กึ ไดส้ อดคล้องกับ

จิตใจ และมคี วามสุข ทางอารมณ์ สถานการณ์อยา่ งเหมาะสม

ได้อยา่ ง 3.2.1 กลา้ พดู กลา้ แสดงออก 3.2.1 กลา้ พูดกลา้ แสดงออก
เหมาะสม อยา่ งเหมาะสมบางสถานการณ์ อย่างเหมาะสมบางสถานการณ์

2. มี 3.2.2 แสดงความพอใจใน 3.2.2 แสดงความพอใจใน
ความรู้สกึ ทดี่ ี ผลงานและความสามารถของ ผลงานและความสามารถของ
ตอ่ ตนเอง ตนเอง ตนเองและผู้อ่นื
และผอู้ ่นื

ดา้ น มฐ.4 ชน่ื ชม 1. สนใจมี 4.1.1 สนใจ มีความสขุ และ 4.1.1 สนใจ มคี วามสุขและ

อารมณ์ และแสดงออก ความสุขและ แสดงออกผ่านงานศิลปะ แสดงออกผา่ นงานศิลปะ

จิตใจ ทางศิลปะ แสดงออก 4.1.2 สนใจ มีความสขุ และ 4.1.2 สนใจ มีความสขุ และ
ดนตรี และการ ผา่ นงาน แสดงออกผา่ นเสียงเพลง ดนตรี แสดงออกผ่านเสียงเพลง
การเคล่อื นไหว ศิลปะ ดนตรี ดนตรี
และการ 4.1.3 สนใจ มีความสุขและ

เคลอื่ นไหว แสดงท่าทาง/เคลือ่ นไหว 4.1.3 สนใจ มีความสุขและ

ประกอบเพลง จังหวะและ แสดงทา่ ทาง/เคลอื่ นไหว

ดนตรี ประกอบเพลง จังหวะและ

ดนตรี

ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐาน ตวั บง่ ช้ี และสภาพท่พี งึ ประสงค์

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้
คณุ ลกั ษณะท่ี
พงึ ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เด็กอายุ 5-6 ปี

ดา้ น มฐ.5 มี 1. ซื่อสตั ย์ 5.1.1 ขออนญุ าตหรือรอคอย 5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอย

อารมณ์ คุณธรรม สจุ รติ เมอื่ ต้องการสง่ิ ของของผูอ้ น่ื เม่ือ เมื่อต้องการสง่ิ ของของผู้อืน่

จิตใจ จริยธรรมและ มีผชู้ แี้ นะ ด้วยตนเอง

มจี ติ ใจ ทดี่ ีงาม

2. มีความ 5.2.1 แสดงความรักเพ่ือนและ 5.2.1 แสดงความรกั เพอื่ น
เมตตา กรณุ า มีเมตตาสัตว์เล้ียง และมเี มตตาสตั วเ์ ลย้ี ง
มนี ้ำใจและ
ช่วยเหลือ 5.2.2ช่วยเหลือ แบ่งปนั ผูอ้ นื่ ได้ 5.2.2ช่วยเหลอื แบ่งปันผู้อื่น
แบง่ ปนั เมอื่ มีผ้ชู ้แี นะ ได้ดว้ ยตนเอง

3. มี 5.3.1 แสดงสีหน้าและทา่ ทาง 5.3.1 แสดงสีหน้าและทา่ ทาง
ความเห็นอก
เห็นใจผู้อนื่ รับร้คู วามรสู้ กึ ผอู้ ื่น รับรูค้ วามรู้สึกผูอ้ ื่นอย่าง

สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์

4. มีความ 5.4.1 ทำงานที่ได้รบั 5.4.1 ทำงานทไ่ี ดร้ บั
รับผดิ ชอบ มอบหมายจนสำเร็จเม่อื มผี ู้ มอบหมายจนสำเรจ็ ด้วยตนเอง
ช้ีแนะ

ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี และสภาพที่พงึ ประสงค์

สภาพท่ีพึงประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้
คุณลกั ษณะท่พี ึง
ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ นสงั คม มฐ.6 มีทักษะ 1. ช่วยเหลือ 6.1.1 แต่งตวั ด้วยตนเอง 6.1.1 แตง่ ตัวดว้ ยตนเองได้
ชีวติ และปฏบิ ตั ิ อยา่ งคล่องแคลว่
ตนตามหลัก ตนเองในการ 6.1.2 รบั ประทานอาหารดว้ ย
ปรชั ญาของ ปฏิบตั กิ จิ วัตร ตนเอง 6.1.2 รบั ประทานอาหารดว้ ย
เศรษฐกิจ ประจำวัน ตนเองอยา่ งถูกวิธี
พอเพยี ง
6.1.3 ใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ มด้วย 6.1.3 ใช้และทำความสะอาด
หลังใช้ห้องน้ำหอ้ งส้วมด้วย
ตนเอง ตนเอง

2.มวี นิ ยั ใน 6.2. 1 เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ข้า 6.2. 1 เก็บของเล่นของใช้เข้า
ตนเอง ทีด่ ้วยตนเอง ทอ่ี ยา่ งเรียบร้อยด้วยตนเอง

6.2.2 เข้าแถวตามลำดับ 6.2.2 เขา้ แถวตามลำดับ
ก่อนหลังไดด้ ้วยตนเอง กอ่ นหลังไดด้ ว้ ยตนเอง

3. ประหยัด 6.3.1 ใชส้ ่งิ ของเคร่ืองใช้อยา่ ง 6.3.1 ใชส้ ง่ิ ของเคร่ืองใช้อยา่ ง
และพอเพยี ง ประหยัดและพอเพยี งเม่อื มีผู้ ประหยดั และพอเพียงดว้ ย
ชีแ้ นะ ตนเอง

ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐาน ตวั บง่ ชี้ และสภาพท่พี งึ ประสงค์

สภาพที่พงึ ประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้
คุณลักษณะท่พี ึง
ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ นสงั คม มฐ.7 รกั 1. ดูแลรักษา 7.1.1 มีสว่ นร่วมในการดแู ล 7.1.1 ดแู ลรักษาธรรมชาติและ
ธรรมชาติ
ส่งิ แวดลอ้ ม ธรรมชาติ รกั ษาธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม สงิ่ แวดล้อมดว้ ยตนเอง
วฒั นธรรม และ
ความเป็นไทย และ ท้งั ภายในและภายนอกห้องเรียน 7.1.2 ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกท่ี
ส่งิ แวดล้อม ดว้ ยตนเอง

7.1.2 ทิง้ ขยะได้ถูกที่

2. มมี ารยาท 7.2.1 ปฏิบัติตามมารยาทไทย 7.2.1 ปฏบิ ตั ติ ามมารยาทไทย
ตาม ได้ด้วยตนเอง ได้ตามกาลเทศะ
วฒั นธรรม
ไทยและ 7.2.2 กลา่ วคำขอบคณุ และขอ 7.2.2 กลา่ วคำขอบคุณและขอ
รกั ษาความ โทษด้วยตนเอง โทษด้วยตนเอง
เป็นไทย
7.2.3 ยืนตรงเม่ือไดย้ นิ เพลง 7.2.3 ยนื ตรงและรว่ มรอ้ ง
ชาตไิ ทยและเพลงสรรเสรญิ พระ เพลงชาติไทยและเพลง
บารมี สรรเสรญิ พระบารมี

ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และสภาพทพี่ งึ ประสงค์

สภาพทีพ่ ึงประสงค์

พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้
คณุ ลักษณะที่พึง
ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ นสังคม มฐ.8 อยูร่ ่วมกับ 1. ยอมรบั 8.1.1 เลน่ และทำกจิ กรรม 8.1.1 เล่นและทำกจิ กรรม
ผู้อ่ืนได้อยา่ งมี ความเหมอื น ร่วมกับเด็กท่ีแตกตา่ งไปจาก ร่วมกับเดก็ ท่ีแตกต่างไปจาก
ความสขุ และ และความ ตน ตน
ปฏิบัติตนเปน็ แตกตา่ ง
สมาชกิ ทด่ี ขี อง ระหว่างบคุ คล 8.2.1เลน่ หรือทำงานรว่ มกับ 8.2.1เลน่ หรอื ทำงานรว่ มกบั
สังคมในระบอบ เพื่อนเป็นกลุ่ม เพอื่ นอย่างมีเป้าหมาย
ประชาธปิ ไตย 2.มปี ฏสิ ัมพันธ์ 8.2.2ย้มิ ทกั ทายหรอื พูดคยุ 8.2.2ย้ิม ทกั ทายหรอื พูดคยุ
อนั มี ทีด่ กี บั ผ้อู ่นื กบั ผูใ้ หญ่และบุคคลท่ีคุ้นเคย กับผ้ใู หญแ่ ละบุคคลท่ีคนุ้ เคยได้
พระมหากษัตรยิ ์ ได้ดว้ ยตนเอง เหมาะสมกบั สถานการณ์
ทรงเปน็ ประมขุ

3.ปฏิบัตติ น 8.3.1มีสว่ นรว่ มสรา้ ง 8.3.1มสี ว่ นรว่ มสรา้ งข้อตกลง
เบ้อื งต้นในการ ขอ้ ตกลงและปฏิบตั ิตนตาม และปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง
เปน็ สมาชกิ ท่ดี ี ข้อตกลงเม่ือมผี ชู้ ีแ้ นะ ด้วยตนเอง
ของสงั คม
8.3.2ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้นู ำและ 8.3.2ปฏิบตั ิตนเปน็ ผนู้ ำและผู้
ผตู้ ามไดด้ ้วยตนเอง ตามไดเ้ หมาะสมกับ
สถานการณ์
8.3.3 ประนีประนอมแกไ้ ข
ปญั หาโดยปราศจากการใช้ 8.3.3 ประนปี ระนอมแก้ไข
ความรุนแรงเมื่อมีผู้ช้ีแนะ ปัญหาโดยปราศจากการใช้
ความรุนแรงดว้ ยตนเอง

ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ และสภาพทีพ่ งึ ประสงค์

สภาพทพี่ ึงประสงค์

พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้
คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึง
ประสงค์ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ น มฐ.9 ใชภ้ าษา 1. สนทนา 9.1.1 ฟังผู้อนื่ พูดจนจบและ 9.1.1 ฟงั ผู้อ่ืนพูดจนจบและ
สตปิ ญั ญา สื่อสาร ได้ โตต้ อบและ สนทนาโต้ตอบสอดคลอ้ งเร่ืองท่ี สนทนาโตต้ อบอย่างต่อเนือ่ ง
เล่าเรื่องให้ ฟงั เช่ือมโยงกับเรื่องที่ฟัง
เหมาะสมกับวยั ผ้อู ื่นเข้าใจ

9.1.2 เลา่ เรื่องเปน็ ประโยค 9.1.2 เล่าเรอื่ งราวอยา่ ง

อยา่ งต่อเนื่อง ต่อเนอื่ ง

2.อ่าน เขยี น 9.2.1 อ่านภาพสญั ลักษณ์ คำ 9.2.1 อา่ นภาพสญั ลักษณ์ คำ
ภาพและ พร้อมทั้งชห้ี รอื กวาดตามอง ดว้ ยการชี้หรอื กวาดตามอง
สัญลักษณ์ได้ ขอ้ ความตามบรรทัด จดุ เร่มิ ตน้ และจุดจบของ
ข้อความ
9.2.2เขียนคล้ายตัวอักษร
9.2.2เขียนชือ่ ของตนเองตาม
แบบเขยี นข้อความด้วยวิธที คี่ ิด
ขนึ้

ตารางวิเคราะหม์ าตรฐาน ตวั บง่ ช้ี และสภาพที่พงึ ประสงค์

สภาพที่พงึ ประสงค์

พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้
คุณลกั ษณะท่ีพึง
ประสงค์ เด็กอายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ น มฐ.10 มี 1. มี 10.1.1 บอกลักษณะและ 10.1.1 บอกลกั ษณะและ
สติปัญญา ความสามารถใน
การคิดทเี่ ป็น ความสามารถ สว่ นประกอบของสิ่งตา่ งๆจาก สว่ นประกอบการเปล่ียนแปลง
พน้ื ฐานการ
เรียนรู้ ในการคิดรวบ การสังเกตโดยใชป้ ระสาทสมั ผัส หรือความสมั พันธ์ของสิ่งตา่ งๆ

ยอด 10.1.2 จับค่แู ละเปรียบเทียบ จากการสงั เกตโดยใชป้ ระสาท
ความแตกตา่ งโดยใช้ลกั ษณะที่ สัมผัส

สงั เกตพบเพียงลักษณะเดียว 10.1.2 จบั ค่แู ลเปรียบเทยี บ

10.1.3จำแนกและจดั กลมุ่ สิ่ง ความแตกตา่ งโดยใช้ลกั ษณะที่
ตา่ งๆโดยใชอ้ ย่างน้อย 1 สังเกตพบเพยี ง ๒ ลกั ษณะ
ลักษณะเป็นเกณฑ์ เดียว

10.1.4เรยี งลำดบั สงิ่ ของหรือ 10.1.3จำแนกและจดั กล่มุ สิ่ง
เหตกุ ารณ์อย่างน้อย 4 ลำดบั ต่างๆโดยใชต้ ัง้ แต่ 2 ขน้ึ ไปเป็น
เกณฑ์

10.1.4เรยี งลำดบั สิ่งของหรอื
เหตุการณ์อยา่ งน้อย5 ลำดับ

ตารางวิเคราะหม์ าตรฐาน ตวั บง่ ชี้ และสภาพทพ่ี งึ ประสงค์

สภาพท่ีพึงประสงค์

พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี
คณุ ลักษณะท่พี ึง
ประสงค์ เด็กอายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี

ดา้ น มฐ.10 มี 2. มคี วามสามารถ 10.2.1 ระบุสาเหตุ หรือผลท่ีเกดิ ขึ้นใน 10.2.1 อธิบาย
สติปัญญา ความสามารถใน ในการคดิ เชิงเหตุผล เหตุการณห์ รือการกระทำเมื่อมผี ชู้ ีแ้ นะ เชื่อมโยงสาเหตุ
และผลทีเ่ กิดขนึ้
การคดิ ท่เี ปน็ 10.2.2 คาดเดา หรือคาดคะเนสง่ิ ท่ี ในเหตุการณ์หรือ
พ้นื ฐานการเรยี นรู้ อาจจะเกดิ ขึน้ หรือมีสว่ นรว่ มในการลง การกระทำด้วย
ความเห็นจากข้อมูล ตนเอง

3.มีความสามารถใน 10.3.1 ตัดสนิ ใจในเรือ่ งงา่ ยๆ 10.2.2
การคิดแกป้ ญั หาและ คาดคะเนสงิ่ ที่
อาจจะเกดิ ขึ้น
ตดั สนิ ใจ และเรมิ่ เรียนรูผ้ ลที่เกิดข้ึน และมสี ่วนรว่ มใน
การลงความเหน็
10.3.2 ระบปุ ญั หาและแกป้ ัญหาโดย จากข้อมูล
ลองผิดลองถกู
10.3.1
ตดั สนิ ใจในเรอ่ื ง
งา่ ยๆ และ
ยอมรบั ผลที่
เกดิ ขน้ึ

10.3.2 ระบุ
ปญั หาสร้าง
ทางเลือกและ
เลือกวธิ ีแก้ปญั หา

ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี และสภาพท่พี งึ ประสงค์

มาตรฐาน สภาพท่พี งึ ประสงค์

พัฒนาการ คณุ ลักษณะที่ ตวั บ่งชี้ เดก็ อายุ 4-5 ปี เดก็ อายุ 5-6 ปี
พงึ ประสงค์

ดา้ น มฐ.11 มี 1.ทำงานศิลปะตาม 1.1.1 สรา้ งผลงานศลิ ปะ 1.1.1 สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อ
สติปัญญา จินตนาการ จนิ ตนาการและ เพือ่ สื่อสารความคดิ สือ่ สารความคดิ ความร้สู กึ ของ
และความคิด ความคดิ สร้างสรรค์ ความร้สู ึกของตนเอง โดยมี ตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง
สรา้ งสรรค์ 2. แสดงทา่ ทาง/ การดัดแปลงและแปลกใหม่ แปลกใหม่จากเดิมและมี
เคลอ่ื นไหวตาม จากเดมิ หรือมรี ายละเอยี ด รายละเอยี ดเพม่ิ ขน้ึ
มฐ.12 มีเจต จินตนาการอย่าง เพิม่ ขึน้
คติทด่ี ตี ่อการ สรา้ งสรรค์ 11.2.1 เคลอื่ นไหวทา่ ทางเพ่ือ
เรยี นรู้ และมี 11.2.1 เคลือ่ นไหวท่าทาง สื่อสารความคดิ ความรู้สกึ ของ
ความสามารถ 1. มเี จตคติทีด่ ตี อ่ เพ่อื ส่ือสารความคดิ ตนเองอย่างหลากหลายหรือ
ในการแสวงหา การเรยี นรู้ ความรสู้ ึกของตนเองอยา่ ง แปลกใหม่
ความรูไ้ ด้ หลากหลายหรอื แปลกใหม่
เหมาะสมกับ 2.มีความสามารถ 12.1.1 สนใจหยบิ หนังสือทา
วัย ในการแสวงหา 12.1.1 สนใจซักถาม อา่ นและเขียนส่อื ความคิดด้วย
ความรู้ เกี่ยวกบั สญั ลกั ษณ์หรอื ตนเองเป็นประจำอย่าง
ตัวหนังสือที่พบเห็น ต่อเนอ่ื ง

12.1.2กระตอื รือร้นใน 12.1.2กระตอื รือรน้ ในการ
การเข้ารว่ มกจิ กรรม เขา้ รว่ มกจิ กรรมต้ังแต่ต้นจน
จบ
12.2.1ค้นหาคำตอบของ
ข้อสงสัยตา่ งๆ ตามวิธกี าร 12.2.1คน้ หาคำตอบของข้อ
ของตนเอง สงสยั ต่างๆ ตามวธิ ีการที่
หลากหลายด้วยตนเอง
12.2.2ใช้ประโยคคำถาม
ว่า “ทไี่ หน” “ทำไม”ใน 12.2.2ใชป้ ระโยคคำถามว่า
การค้นหาคำตอบ “เม่ือไหร่” “อย่างไร”ในการ
คน้ หาคำตอบ

ช่วงอายุ โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
อายุ ๔-๖ ปี
สาระการเรียนรู้
ประสบการณ์สำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

- ด้านร่างกาย - เรอื่ งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก

- ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ - เร่อื งราวเกยี่ วกับบุคคล และสถานทแ่ี วดล้อมเดก็
- ด้านสังคม - ธรรมชาตริ อบตวั
- ด้านสติปญั ญา - สิ่งต่างๆ รอบตัวเดก็

ระยะเวลาเรยี น มเี วลาเรียนไม่น้อยกวา่ 180 วัน/ปีการศึกษา แตล่ ะวนั ใชเ้ วลาไม่เกนิ 5 ช่ัวโมง

กิจกรรมประจำวัน

- กิจกรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ

กจิ กรรมการเรียน - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ / กิจกรรมในวงกลม
- กิจกรรมสร้างสรรค์
(ประจำวนั ใน - กจิ กรรมเสรี / การเล่นตามมมุ
หอ้ งเรยี น)

- กจิ กรรมกลางแจ้ง

- กิจกรรมเกมการศึกษา

สาระการเรียนรรู้ ายปี

สาระการเรียนรใู้ ชเ้ ป็นส่อื กลางในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ให้กับเดก็ เพ่ือสง่ เสรมิ พฒั นาการทกุ
ดา้ น ให้เป็นไปตามจดุ หมายของหลักสตู รที่กำหนด ประกอบด้วย ประสบการณส์ ำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ดงั นี้

๑. ประสบการณ์สำคัญ

ประสบการณ์สำคญั เปน็ แนวทางสำหรับผ้สู อนไปใชใ้ นการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เดก็ ปฐมวัย
เรียนรู้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ และไดร้ ับการสง่ เสรมิ พัฒนาการครอบคลมุ ทุกด้าน ดงั นี้

๑.๑ ประสบการณส์ ำคัญทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย เป็นการสนับสนุนใหเ้ ด็กได้มโี อกาส
พัฒนาการใช้กลา้ มเน้ือใหญ่ กล้ามเนือ้ เล็ก และการประสานสมั พันธ์ระหวา่ งกล้ามเนอื้ และระบบประสาท ในการทำ

กิจวตั รประจำวันหรือทำกจิ กรรมต่างๆและสนบั สนุนใหเ้ ดก็ มโี อกาสดแู ลสขุ ภาพและสุขอนามยั และการรักษาความ
ปลอดภัย ดงั น้ี

๑.๑.๑ การใช้กลา้ มเน้ือใหญ่
๑.๑.๑.๑ การเคลอ่ื นไหวอยู่กับท่ี
๑.๑.๑.๒ การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนที่
๑.๑.๑.๓ การเคลอ่ื นไหวพร้อมวสั ดอุ ุปกรณ์
๑.๑.๑.๔ การเคลอื่ นไหวท่ีใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้กลา้ มเนือ้ มัดใหญใ่ นการขว้าง
การจบั การโยน การเตะ
๑.๑.๑.๕ การเล่นเคร่อื งเลน่ สนามอยา่ งอสิ ระ

๑.๑.๒ การใช้กลา้ มเนื้อเล็ก
๑.๑.๒.๑ การเล่นเคร่อื งเลน่ สัมผัสและการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก
๑.๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเล่นกบั สี
๑.๑.๒.๓ การปน้ั
๑.๑.๒.๔ การประดิษฐส์ งิ่ ตา่ งๆดว้ ย เศษวสั ดุ
๑.๑.๒.๕ การหยบิ จับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ

๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัว
๑.๑.๓.๑ การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามัย สขุ นิสยั ทดี่ ใี นกจิ วตั รประจำวัน

๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภยั
๑.๑.๔.๑ การปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภัยในกิจวตั รประจำวนั
๑.๑.๔.๒ การฟงั นทิ าน เรื่องราว เหตุการณ์ เกีย่ วกับการปอ้ งกันและรักษาความปลอดภัย
๑.๑.๔.๓ การเล่นเครอื่ งเลน่ อย่างปลอดภัย
๑.๑.๔.๔ การเล่นบทบาทสมมตเิ หตุการณ์ต่างๆ

๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกีย่ วกับรา่ งกายตนเอง
๑.๑.๕.๑ การเคล่ือนไหวเพื่อควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพ้ืนท่ี
๑.๑.๕.๒ การเคลอ่ื นไหวข้ามสิ่งกดี ขวาง

๑.๒ ประสบการณ์สำคญั ทส่ี ่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจเปน็ การสนับสนุนให้เดก็ ได้

แสดงออกทางอารมณ์และความร้สู กึ ของตนเองทเี่ หมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะทเี่ ปน็ อตั ลกั ษณ์
ความเปน็ ตวั ของตัวเอง มีความสขุ ร่าเรงิ แจ่มใส การเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่นื ได้พฒั นาคุณธรรม จริยธรรม สนุ ทรยี ภาพ
ความรสู้ ึกท่ีดีต่อตนเอง และความเชื่อมัน่ ในตนเองขณะปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ดังน้ี

๑.๒.๑ สนุ ทรียภาพ ดนตรี
๑.๒.๑.๑ การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏิกริ ยิ าโตต้ อบเสยี งดนตรี
๑.๒.๑.๒ การเคลือ่ นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๑.๒.๑.๓ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๑.๔ การทำกิจกรรมศลิ ปะต่างๆ

๑.๒.๑.๕ การสร้างสรรค์สิง่ สวยงาม
๑.๒.๒ การเล่น

๑.๒.๒.๑ การเลน่ อสิ ระ
๑.๒.๒.๒ การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
๑.๒.๒.๓ การเล่นตามมมุ ประสบการณ์
๑.๒.๒.๔ การเลน่ นอกห้องเรียน
๑.๒.๓ คุณธรรม จรยิ ธรรม
๑.๒.๓.๑ การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาท่นี ับถือ
๑.๒.๓.๒ การฟงั นิทานเก่ียวกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๑.๒.๓.๓ การร่วมสนทนาแลกเปล่ยี นความคิดเห็นเชงิ จรยิ ธรรม
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์
๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความร้สู กึ ของตนเองและผู้อนื่
๑.๒.๔.๒ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๔.๓ การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
๑.๒.๔.๔ การร้องเพลง
๑.๒.๔.๕ การทำงานศิลปะ
๑.๒.๕ การมอี ตั ลกั ษณ์เฉพาะตนและเชอื่ ว่าตนเองมีความสามารถ
๑.๒.๕.๑ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง
๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจผู้อนื่
๑.๒.๖.๑ การแสดงความยินดีเม่อื ผ้อู ื่นมคี วามสุข เหน็ อกเห็นใจเมอ่ื ผู้อนื่ เศร้าหรือเสยี ใจ และการ
ช่วยเหลือปลอบโยนเมอ่ื ผู้อ่นื ไดร้ ับบาดเจ็บ

๑.๓ ประสบการณ์สำคัญท่สี ่งเสรมิ พฒั นาการด้านสงั คม เป็นการสนับสนุนใหเ้ ด็กได้มโี อกาส

ปฏสิ ัมพันธ์กบั บุคลและสิง่ แวดลอ้ มตา่ งๆรอบตัวจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่างๆ ผา่ นการเรยี นร้ทู างสังคม เช่น การเล่น
การทำงานกบั ผ้อู น่ื การปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจำวนั การแก้ปัญหาขอ้ ขดั แย้งต่างๆ

๑.๓.๑ การปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจำวัน
๑.๓.๑.๑ การชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวตั รประจำวัน
๑.๓.๑.๒ การปฏิบัตติ นตามแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๑.๓.๒ การดแู ลรกั ษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๑.๓.๒.๑ การมสี ว่ นร่วมรับผดิ ชอบดแู ลรักษาสิ่งแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น
๑.๓.๒.๒ การทำงานศลิ ปะทีใ่ ช้วสั ดุหรือสง่ิ ของท่ีใช้แล้วมาใชซ้ ำ้ หรือแปรรูปแล้วนำกลับมา ใช้ใหม่
๑.๓.๒.๓ การเพาะปลกู และดูแลต้นไม้
๑.๓.๒.๔ การเลีย้ งสตั ว์
๑.๓.๒.๕ การสนทนาขา่ วและเหตกุ ารณ์ทเี่ กย่ี วกบั ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในชีวติ ประจำวัน

๑.๓.๓ การปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมท้องถนิ่ ทีอ่ าศัยและความเปน็ ไทย

๑.๓.๓.๑ การเลน่ บทบาทสมมตุ ิการปฏบิ ัตติ นในความเปน็ คนไทย
๑.๓.๓.๒ การปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ทอี่ าศัยและประเพณไี ทย
๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย
๑.๓.๓.๔ การศกึ ษานอกสถานที่
๑.๓.๓.๕ การละเล่นพ้นื บา้ นของไทย
๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพันธ์ มีวนิ ัย มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสังคม
๑.๓.๔.๑ การร่วมกำหนดข้อตกลงของห้องเรียน
๑.๓.๔.๒ การปฏิบัติตนเปน็ สมาชิทีด่ ีของหอ้ งเรียน
๑.๓.๔.๓ การใหค้ วามร่วมมือในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ
๑.๓.๔.๔ การดแู ลหอ้ งเรียนร่วมกัน
๑.๓.๔.๕ การร่วมกจิ กรรมวนั สำคญั
๑.๓.๕ การเลน่ แบบร่วมมือร่วมใจ
๑.๓.๕.๑ การรว่ มสนทนาและแลกเปล่ยี นความคิดเหน็
๑.๓.๕.๒ การเล่นและทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืน
๑.๓.๕.๓ การทำศิลปะแบบร่วมมือ
๑.๓.๖ การแกป้ ัญหาความขัดแย้ง
๑.๓.๖.๑ การมีส่วนรว่ มในการเลอื กวิธีการแก้ปญั หา
๑.๓.๖.๒ การมสี ่วนรว่ มในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
๑.๓.๗.๑ การเล่นหรือ ทำกจิ กรรมรว่ มกับกลมุ่ เพ่ือน

๑.๔ ประสบการณส์ ำคัญทีส่ ง่ เสริมพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา เปน็ การสนับสนุนให้เด็กไดร้ ับรู้ เรยี นรสู้ ่ิงตา่ งๆ
รอบตัวผา่ นการมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม บุคคลและสอื่ ต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพ่ือเปิดโอกาส
ให้เด็กพฒั นาการใช้ภาษา จินตนาการความคดิ สร้างสรรค์ การแกป้ ัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิดรวบยอด
เก่ยี วกบั ส่งิ ตา่ งๆ รอบตัวและมีความคดิ รวบยอดทางคณติ ศาสตร์ทีเ่ ป็นพน้ื ฐานของการเรียนรู้ในระดบั ท่สี ูงขน้ึ ตอ่ ไป

๑.๔.๑ การใช้ภาษา
๑.๔.๑.๑ การฟงั เสียงต่างๆ ในสิ่งแวดลอ้ ม
๑.๔.๑.๒ การฟงั และปฏิบัตติ ามคำแนะนำ
๑.๔.๑.๓ การฟงั เพลง นทิ าน คำคล้องจอง บทร้อยกรองหรือเรื่องราวตา่ งๆ
๑.๔.๑.๔ การแสดงความคดิ ความรู้สึก และความต้องการ
๑.๔.๑.๕ การพดู กบั ผู้อ่ืนเก่ียวกับประสบการณ์ของตนเอง หรอื พูดเล่าเรื่องราวเก่ยี วกับตนเอง
๑.๔.๑.๖ การพูดอธิบายเกี่ยวกบั สิง่ ของ เหตกุ ารณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งตา่ งๆ
๑.๔.๑.๗ การพดู อย่างสรา้ งสรรค์ในการเล่น และการกระทำตา่ งๆ
๑.๔.๑.๘ การรอจงั หวะทเ่ี หมาะสมในการพูด

๑.๔.๑.๙ การพูดเรยี งลำดับเพื่อใช้ในการสอื่ สาร
๑.๔.๑.๑๐ การอา่ นหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ
๑.๔.๑.๑๑ การอา่ นอิสระตามลำพัง การอ่านรว่ มกัน การอ่านโดยมผี ูช้ ี้แนะ
๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอยา่ งของการอ่านทถี่ ูกต้อง
๑.๔.๑.๑๓ การสงั เกตทิศทางการอา่ นตวั อักษร คำ และข้อความ
๑.๔.๑.๑๔ การอา่ นและช้ีข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซ้ายไปขวา จากบนลงลา่ ง
๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตวั อักษรในช่อื ของตน หรือคำคุ้นเคย
๑.๔.๑.๑๖ การสงั เกตตัวอักษรทป่ี ระกอบเป็นคำผา่ นการอา่ นหรือเขยี นของผู้ใหญ่
๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคำ วลี หรือประโยค ท่มี โี ครงสรา้ งซ้ำๆกัน จากนิทาน เพลง ๑.๔.๑.๑๘
การเลน่ เกมทางภาษา
๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอย่างของการเขยี นทถ่ี ูกต้อง
๑.๔.๑.๒๐ การเขยี นร่วมกนั ตามโอกาส และการเขยี นอิสระ
๑.๔.๑.๒๑ การเขยี นคำท่ีมีความหมายกับตวั เดก็ /คำคนุ้ เคย

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชงิ เหตุผล การตัดสนิ ใจและแก้ปัญหา
๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง และความสมั พันธ์ของสง่ิ ต่างๆ โดยใช้

ประสาทสมั ผัสอย่างเหมาะสม
๑.๔.๒.๒ การสงั เกตส่ิงตา่ งๆ และสถานทจ่ี ากมุมมองท่ตี า่ งกนั
๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตำแหนง่ ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆดว้ ยการกระทำ ภาพวาด

ภาพถา่ ย และรูปภาพ
๑.๔.๒.๔ การเล่นกับสื่อต่างๆท่เี ป็นทรงกลม ทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
๑.๔.๒.๕ การคัดแยก การจดั กลุม่ และการจำแนกส่ิงตา่ งๆตามลกั ษณะและรปู ร่าง รูปทรง
๑.๔.๒.๖ การต่อของชนิ้ เลก็ เตมิ ในชน้ิ ใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชนิ้ ส่วน
๑.๔.๒.๗ การนับและแสดงจำนวนของส่ิงตา่ งๆในชีวิตประจำวนั
๑.๔.๒.๘ การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั จำนวนของสง่ิ ตา่ งๆ
๑.๔.๒.๙ การรวมและการแยกสงิ่ ตา่ งๆ
๑.๔.๒.๑๐ การบอกและแสดงอันดบั ที่ของสิ่งต่างๆ
๑.๔.๒.๑๑ การจบั คู่ การเปรยี บเทยี บ และการเรยี งลำดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะความยาว/ความสูง

น้ำหนกั ปริมาตร
๑.๔.๒.๑๒ การบอกและเรียงลำดบั กจิ กรรมหรือเหตกู ารณ์ตามชว่ งเวลา
๑.๔.๒.๑๓ การใช้ภาษาทางคณติ ศาสตร์กบั เหตุการณ์ในชวี ิตประจำวนั
๑.๔.๒.๑๔ การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลทเ่ี กิดขึน้ ในเหตุการณ์หรือการกระทำ
๑.๔.๒.๑๕ การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสิง่ ท่ีอาจเกิดขน้ึ อยา่ งมเี หตุผล
๑.๔.๒.๑๖ การตดั สนิ ใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา

๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์
๑.๔.๓.๑ การรบั รู้ และแสดงความคดิ ความรูส้ ึกผา่ นสือ่ วัสดุ ของเลน่ และชิ้นงาน
๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสร้างสรรคผ์ า่ นภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ
๑.๔.๓.๓ การสรา้ งสรรคช์ น้ิ งานโดยใช้รปู รา่ งรปู ทรงจากวสั ดทุ ีห่ ลากหลาย

๑.๔.๔ เจตคติท่ีดีต่อการเรียนรแู้ ละการแสวงหาความรู้
๑.๔.๔.๑ การสำรวจสิง่ ต่างๆ และแหลง่ เรียนรรู้ อบตวั
๑.๔.๔.๒ การตง้ั คำถามในเรอ่ื งทีส่ นใจ
๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรเู้ พื่อคน้ หาคำตอบของข้อสงสยั ต่างๆ
๑.๔.๔.๔ การมสี ว่ นรว่ มในการรวบรวมขอ้ มลู และนำเสนอข้อมลู จากการสบื เสาะหาความรู้ใน

รปู แบบต่างๆ

สาระที่ควรเรยี นรู้

สาระทค่ี วรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเดก็ ท่นี ำมาเป็นสอื่ กลางในการจดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ เกิดแนวคดิ หลงั จาก
นำสาระการเรยี นรนู้ ัน้ ๆ มาจัดประสบการณใ์ หเ้ ด็ก เพื่อให้บรรลุจุดหมายทีก่ ำหนดไว้ท้ังน้ี ไม่เน้นการทอ่ งจำเน้ือหา
ครูสามารถกำหนดรายละเอียดขน้ึ เองให้สอดคล้องกับวัย ความตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้
ผา่ นประสบการณ์สำคัญ ทั้งน้ี อาจยืดหยุน่ เนอื้ หาไดโ้ ดยคำนงึ ถงึ ประสบการณ์และสง่ิ แวดลอ้ มในชีวติ จริงของเด็ก ดงั นี้

๒.๑ เร่ืองราวเก่ยี วกับตวั เด็ก เดก็ ควรรูจ้ ักชอื่ นามสกลุ รปู รา่ งหนา้ ตา รู้จกั อวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษา
รา่ งกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามยั ทดี่ ี การรบั ประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การระมดั ระวงั ความปลอดภยั ของ
ตนเองจากผู้อื่นและภัยใกลต้ ัว รวมทงั้ การปฏบิ ัตติ ่อผูอ้ ื่นอย่างปลอดภยั การรูจ้ กั ความเปน็ มาของตนเองและ
ครอบครวั การปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกทดี่ ขี องครอบครัวและโรงเรยี น การเคารพสทิ ธิของตนเองและผูอ้ ื่น การรู้จักแสดง
ความคิดเหน็ ของตนเองและรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อน่ื การกำกับตนเอง การเลน่ และทำสิง่ ตา่ งๆดว้ ยตนเองตาม
ลำพังหรอื กบั ผู้อน่ื การตระหนักรเู้ กยี่ วกับตนเอง ความภาคภูมใิ จในตนเอง การสะท้อนการรับรอู้ ารมณแ์ ละความรสู้ ึก
ของตนเองและผู้อ่นื การแสดงออกทางอารมณแ์ ละความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม การแสดงมารยาททีด่ ี การมคี ุณธรรม
จริยธรรม

๒.๒ เรือ่ งราวเก่ียวกับบคุ คลและสถานที่แวดลอ้ มเดก็ เด็กควรเรียนรเู้ ก่ียวกบั ครอบครัว สถานศกึ ษา ชุมชน
และบคุ คลต่างๆ ทเ่ี ด็กต้องเกี่ยวข้องหรอื ใกลช้ ิดและมีปฏสิ มั พันธ์ในชวี ติ ประจำวัน สถานที่สำคญั วนั สำคัญ อาชีพของ
คนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณส์ ำคญั ของชาติไทยและการปฏิบตั ติ ามวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น
และความเป็นไทย หรือแหลง่ เรยี นรจู้ ากภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ อื่นๆ

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกยี่ วกับชือ่ ลักษณะ สว่ นประกอบ การเปลย่ี นแปลงและความสมั พันธ์
ของมนษุ ย์ สตั ว์ พชื ตลอดจนการรูจ้ ักเกยี่ วกบั ดนิ นำ้ ท้องฟา้ สภาพอากาศ ภยั ธรรมชาติ แรง และพลงั งานใน
ชวี ิตประจำวันทแ่ี วดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อมและการรกั ษาสาธารณสมบัติ

๒.๔ สงิ่ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรยี นรเู้ ก่ยี วกับการใช้ภาษาเพื่อส่ือความหมายในชีวิตประจำวัน ความรู้
พนื้ ฐานเกยี่ วกบั การใชห้ นงั สอื และตวั หนงั สอื รู้จกั ช่อื ลักษณะ สี ผิวสมั ผสั ขนาด รูปร่าง รปู ทรง ปรมิ าตร นำ้ หนัก

จำนวน สว่ นประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพันธข์ องสิ่งตา่ งๆรอบตวั เวลา เงนิ ประโยชน์ การใช้งาน และ
การเลอื กใช้ส่ิงของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการส่อื สารต่างๆ ท่ีใชอ้ ยใู่ นชวี ติ ประจำวนั อยา่ ง
ประหยดั ปลอดภัยและรักษาสง่ิ แวดล้อม

การจดั ประสบการณ์

การจัดประสบการณ์สำหรบั เด็กปฐมวยั อายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการจดั กิจกรรมในลักษณะบูรณาการผ่านการ
เลน่ การลงมือกระทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกดิ ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม รวมท้งั เกิดการ
พฒั นาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ไมจ่ ัดเปน็ รายวชิ าโดยมีหลกั การ และแนวทางการจดั
ประสบการณ์ ดังน้ี

๑. หลกั การจัดประสบการณ์
๑.๑ จดั ประสบการณ์การเลน่ และการเรยี นรู้หลากหลาย เพ่ือพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและ

ต่อเนื่อง
๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและบรบิ ทของ

สังคมท่เี ด็กอาศัยอยู่
๑.๓ จดั ใหเ้ ดก็ ได้รบั การพัฒนาโดยให้ความสำคญั กบั กระบวนการเรยี นรู้และพัฒนาการของเดก็
๑.๔ จดั การประเมนิ พัฒนาการให้เปน็ กระบวนการอย่างต่อเนือ่ ง และเป็นสว่ นหนึ่งของการจัด

ประสบการณ์ พรอ้ มทัง้ นำผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอย่างต่อเน่ือง
๑.๕ ให้พอ่ แม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝ่ายทเี่ กีย่ วขอ้ งมสี ่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

๒. แนวทางการจดั ประสบการณ์
๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจติ วทิ ยาพัฒนาการและการทำงานของสมองทเ่ี หมาะสมกบั

อายุ วุฒภิ าวะและระดับพัฒนาการ เพื่อใหเ้ ด็กทกุ คนไดพ้ ัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ
๒.๒ จดั ประสบการณใ์ ห้สอดคลอ้ งกับแบบการเรียนรขู้ องเด็ก เดก็ ไดล้ งมือกระทำเรียนรู้ผา่ นประสา

สมั ผสั ทั้งห้า ได้เคลื่อนไหว สำรวจ เล่น สงั เกต สบื คน้ ทดลอง และคดิ แกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง
๒.๓ จดั ประสบการณแ์ บบบูรณาการ โดยบูรณาการทัง้ กจิ กรรม ทกั ษะ และสาระการเรียนรู้
๒.๔ จัดประสบการณ์ใหเ้ ด็กได้รเิ รมิ่ คิด วางแผน ตดั สนิ ใจลงมือกระทำและนำเสนอความคดิ โดยครู

หรือผู้จัดประสบการณเ์ ปน็ ผสู้ นบั สนุนอำนวยความสะดวก และเรียนรู้รว่ มกบั เด็ก
๒.๕ จดั ประสบการณใ์ ห้เด็กมีปฏสิ ัมพนั ธ์กับเด็กอื่นกับผูใ้ หญ่ ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มที่เอื้อตอ่ การ

เรียนรู้ ในบรรยากาศท่ีอบอุ่นมีความสุข และเรยี นร้กู ารทำกจิ กรรมแบบรว่ มมอื ในลักษณะตา่ งๆกัน
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพนั ธก์ ับสื่อและแหล่งการเรียนรหู้ ลากหลาย
๒.๗ จดั ประสบการณ์ท่ีส่งเสริมลกั ษณะนสิ ยั ทีด่ ีและทักษะการใช้ชวี ิตประจำวันตลอดจนสอดแทรก

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้เปน็ ส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่อง
๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะทีม่ ีการวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ และแผนทเ่ี กิดขึ้นในสภาพจรงิ โดย

ไม่ไดค้ าดการณ์ไว้

๒.๙ จัดทำสารนทิ ัศน์ดว้ ยการรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับพฒั นาการและการเรียนรขู้ องเด็กเป็น
รายบุคคล นำมาไตร่ตรองและใชใ้ หเ้ ป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาเดก็ และการวิจัยในชนั้ เรียน

๒.๑๐ จดั ประสบการณโ์ ดยให้พอ่ แม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนรว่ มท้ังการวางแผน การสนบั สนนุ
สื่อแหล่งเรียนรู้ การเข้ารว่ มกิจกรรม และการประเมนิ พฒั นาการ

๓. การจัดกจิ กรรมประจำวัน
กจิ กรรมสำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปีบรบิ ูรณ์ สามารถนำมาจดั เป็นกิจกรรมประจำวันไดห้ ลายรปู แบบเป็นการ

ช่วยใหค้ รผู สู้ อนหรอื ผู้จดั ประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวันจะทำกจิ กรรมอะไร เม่ือใด และอยา่ งไร ท้งั นี้ การจดั กจิ กรรม
ประจำวนั สามารถจัดไดห้ ลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแตล่ ะหนว่ ยงานและสภาพชุมชน ที่
สำคญั ครผู ู้สอนต้องคำนงึ ถงึ การจัดกจิ กรรมให้ครอบคลมุ พัฒนาการทกุ ดา้ นการจดั กิจกรรมประจำวนั มีหลักการจัด
และขอบขา่ ยกจิ กรรมประจำวนั ดังน้ี

๓.๑ หลักการจัดกิจกรรมประจำวัน
๑. กำหนดระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมแต่ละกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของเดก็ ในแต่ละวนั แต่

ยืดหยนุ่ ไดต้ ามความต้องการและความสนใจของเด็ก เช่น
วัย ๓-๔ ปี มีความสนใจช่วงสน้ั ประมาณ ๘-๑๒ นาที
วัย ๔ – ๕ ปี มีความสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วัย ๕-๖ ปี มคี วามสนใจอยไู่ ด้ประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที
๒. กจิ กรรมท่ตี ้องใชค้ วามคิดท้งั ในกลุม่ เล็กและกลมุ่ ใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาต่อเนอ่ื งนานเกนิ กว่า๒๐ นาที
๓. กจิ กรรมที่เดก็ มีอสิ ระเลือกเลน่ เสรี เพ่ือช่วยใหเ้ ด็กรจู้ ักเลอื กตดั สนิ ใจ คดิ แกป้ ัญหา คิดสร้างสรรค์

เชน่ การเลน่ ตามมุม การเลน่ กลางแจ้ง ฯลฯ ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที
๔. กิจกรรมควรมีความสมดลุ ระหวา่ งกจิ กรรมในหอ้ งและนอกห้อง กิจกรรมท่ใี ชก้ ล้ามเน้ือใหญ่และ

กลา้ มเนื้อเล็ก กจิ กรรมทเ่ี ป็นรายบคุ คล กลุม่ ย่อยและกลมุ่ ใหญ่ กิจกรรมทีเ่ ดก็ เปน็ ผู้ริเร่ิมและครผู สู้ อนหรือผู้จดั
ประสบการณ์เป็นผรู้ ิเร่ิม และกิจกรรมท่ีใชก้ ำลังและไม่ใชก้ ำลงั จดั ใหค้ รบทกุ ประเภท ทั้งนี้ กจิ กรรมท่ีตอ้ งออกกำลงั
กายควรจดั สลับกับกจิ กรรมท่ีไมต่ ้องออกกำลงั มากนัก เพ่ือเดก็ จะไดไ้ ม่เหนอื่ ยเกนิ ไป

๓.๒ ขอบข่ายของกิจกรรมประจำวนั
การเลอื กกจิ กรรมทีจ่ ะนำมาจัดในแต่ละวันสามารถจดั ไดห้ ลายรูปแบบ ท้งั นี้ ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมในการ
นำไปใช้ของแตล่ ะหน่วยงานและสภาพชมุ ชน ทสี่ ำคัญครผู ู้สอนตอ้ งคำนึกถงึ การจดั กิจกรรมใหค้ รอบคลุมพัฒนาการ
ทุกดา้ น ดงั ต่อไปนี้
๓.๒.๑ การพฒั นากลา้ มเน้อื ใหญ่ เป็นการพฒั นาความแข็งแรง การทรงตัว ความยดื หยุ่น ความคลอ่ งแคล่ว
ในการใชอ้ วยั วะต่าง ๆ และจังหวะการเคล่ือนไหวในการใช้กลา้ มเน้ือใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กไดเ้ ล่นอิสระกลางแจ้ง
เลน่ เครอื่ งเล่นสนาม ปนี ปา่ ยเล่นอิสระ เคลอ่ื นไหวร่างกายตามจงั หวะดนตรี
๓.๒.๒ การพฒั นาการกล้ามเนื้อเลก็ เป็นการพฒั นาความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อเล็ก กล้ามเนอื้ มือ-น้ิวมือ
การประสานสมั พนั ธร์ ะหว่างกล้ามเนอ้ื มือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์ โดยจดั

กิจกรรมใหเ้ ด็กได้เลน่ เคร่ืองสัมผัส เลน่ เกมการศึกษา ฝึกชว่ ยเหลือตนเองในการแตง่ กาย หยบิ จบั ช้อนส้อม และใช้
อปุ กรณ์ศลิ ปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พู่กัน ดนิ น้ำมัน ฯลฯ

๓.๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นการปลูกฝังใหเ้ ดก็ มีความรู้สึกที่
ดตี ่อตนเองและผูอ้ ื่น มีความเช่อื มั่น กลา้ แสดงออก มีวินัย รับผดิ ชอบ ซ่ือสตั ย์ ประหยดั เมตตากรุณา เอ้ือเฟื้อ
แบง่ ปนั มีมารยาทและปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาท่ีนบั ถอื โดยจัดกจิ กรรมต่างๆ ผา่ นการเล่นใหเ้ ด็กได้มี
โอกาสตดั สินใจเลอื ก ได้รับการตอบสนองตาความต้องการไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตโิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมอย่างต่อเน่ือง

๓.๒.๔ การพัฒนาสงั คมนสิ ยั เปน็ การพัฒนาใหเ้ ดก็ มลี ักษณะนสิ ยั ท่ดี ี แสดงออกอย่างเหมาะสมและอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนได้อยา่ งมีความสุข ชว่ ยเหลอื ตนเองในการทำกิจวตั รประจำวนั มีนสิ ยั รกั การทำงาน ระมัดระวังความ
ปลอดภยั ของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมดั ระวังอนั ตรายจากคนแปลกหนา้ ให้เดก็ ได้ปฏิบตั กิ จิ วตั รประจำวันอย่าง
สมำ่ เสมอ เช่น รบั ประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขบั ถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและทำงานรว่ มกับผูอ้ นื่
ปฏิบัติตามกฎกติกาข้อตกลงของรว่ มรวม เก็บของเข้าที่เมอื่ เล่นหรือทำงานเสร็จ

๓.๒.๕ การพฒั นาการคดิ เปน็ การพัฒนาให้เดก็ มีความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาความ คิดรวบยอดทาง
คณิตศาสตร์ และคดิ เชงิ เหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์โดยจดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กได้สนทนา อภิปรายและเปล่ียน
ความคิดเหน็ ศึกษานอกสถานท่ี เลน่ เกมการศึกษา ฝกึ การแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั ฝึกออกแบบและสรา้ งชน้ิ งาน
และทำกิจกรรมทั้งเป็นกลุ่มย่อย กลุม่ ใหญ่และรายบุคคล

๓.๒.๖ การพฒั นาภาษา เปน็ การพัฒนาใหเ้ ดก็ ใช้ภาษาสื่อสารถา่ ยทอดความรสู้ ึกนึกคดิ ความรูค้ วามเข้าใจ
ในสิ่งตา่ งๆ ทเ่ี ด็กมีประสบการณโ์ ดยสามารถตัง้ คำถามในสิ่งทส่ี งสยั ใครร่ ู้ จัดกจิ กรรมทางภาษาใหม้ คี วามหลากหลาย
ในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขยี น มีนสิ ยั รักการอา่ น
และบุคคลแวดล้อมต้องเปน็ แบบอยา่ งที่ดใี นการใช้ภาษา ทั้งนี้ต้องคำนกึ ถงึ หลักการจัดกิจกรรมทางภาษาทีเ่ หมาะสม
กับเด็กเปน็ สำคัญ

๓.๒.๗ การสง่ เสรมิ จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นการส่งเสริมใหเ้ ด็กมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์
ได้ถา่ ยทอดอารมณ์ความรสู้ ึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดยจัดกจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรคด์ นตรี การ
เคลื่อนไหวและจงั หวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์ส่ิงตา่ งๆ อย่างอสิ ระ เลน่ บทบาทสมมุติ เล่นนำ้ เล่นทราย เลน่ บล็อก
และเล่นก่อสรา้ ง

การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษา มคี วามสำคัญตอ่ เด็กเน่ืองจากธรรมชาติของเดก็ ในวัยนสี้ นใจท่จี ะเรยี นรู้
คน้ คว้า ทดลอง และตอ้ งการสมั ผัสกับสงิ่ แวดล้อมรอบๆตัว ดังนัน้ การจัดเตรยี มส่ิงแวดลอ้ มอย่างเหมาะสมตาม
ความต้องการของเด็ก จงึ มีความสำคญั ท่เี กี่ยวข้องกบั พฤติกรรมและการเรียนรู้ของเดก็ เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่น
ทเี่ ป็นประสบการณ์ตรงทเี่ กิดจากการรบั ร้ดู ้วยประสาทสมั ผัสทง้ั หา้ จงึ จำเปน็ ต้องจัดส่งิ แวดล้อมในสถานศึกษาให้
สอดคลอ้ งกับสภาพ และความตอ้ งการของหลกั สตู ร เพอ่ื ส่งผลใหบ้ รรลจุ ดุ หมายในการพัฒนาเดก็ การจัด
สภาพแวดลอ้ มคำนึงถงึ ส่งิ ตอ่ ไปนี้

๑. ความสะอาด ความปลอดภยั
๒. ความมอี สิ ระอย่างมีขอบเขตในการเลน่
๓. ความสะดวกในการทำกจิ กรรม

๔. ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เชน่ หอ้ งเรียน ห้องนำ้ ห้องส้วม สนามเด็กเล่น ฯลฯ
๕. ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้ำหนัก จำนวน สีของสื่อและเครอ่ื งเลน่
๖. บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ที่เล่นและมุมประสบการณ์ตา่ ง ๆ สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรียน
หลักสำคัญในการจดั ต้องคำนึงถงึ ความปลอดภยั ความสะอาด เปา้ หมายการพฒั นาเด็ก ความเป็นระเบยี บ
ความเป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรสู้ กึ อบอุ่น ม่ันใจ และมคี วามสุข ซึง่ อาจจดั แบง่ พ้นื ทีใ่ ห้เหมาะสมกบั การ
ประกอบกิจกรรมตามหลักสตู ร ดงั นี้
๑. พ้ืนท่อี ำนวยความสะดวกเพอื่ เดก็ และผสู้ อน

๑.๑ ที่แสดงผลงานของเด็ก อาจจดั เปน็ แผ่นปา้ ย หรือทแ่ี ขวนผลงาน
๑.๒ ทเี่ ก็บแฟม้ ผลงานของเด็ก อาจจดั ทำเปน็ กล่องหรอื จัดใส่แฟม้ รายบุคคล
๑.๓ ทเี่ กบ็ เคร่อื งใช้ส่วนตัวของเด็ก อาจทำเปน็ ชอ่ งตามจำนวนเดก็
๑.๔ ทีเ่ ก็บเครอ่ื งใช้ของผู้สอน เช่น อปุ กรณ์การสอน ของส่วนตัวผู้สอน ฯลฯ
๑.๕ ป้ายนิเทศตามหนว่ ยการสอนหรือสงิ่ ท่ีเด็กสนใจ

๒. พน้ื ท่ีปฏิบตั ิกจิ กรรมและการเคลือ่ นไหว ต้องกำหนดให้ชัดเจน ควรมพี ืน้ ทท่ี เ่ี ด็กสามารถจะทำงานได้ดว้ ย
ตนเอง และทำกจิ กรรมด้วยกันในกลุ่มเลก็ หรือกลมุ่ ใหญ่ เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้อยา่ งอิสระจากกิจกรรมหนง่ึ ไปยัง
กิจกรรมหนงึ่ โดยไม่รบกวนผู้อ่ืน

๓. พน้ื ท่ีจัดมุมเลน่ หรอื มมุ ประสบการณ์ สามารถจัดไดต้ ามความเหมาะสมขน้ึ อยู่กับสภาพของหอ้ งเรียน
จดั แยกส่วนท่ีใชเ้ สียงดังและเงียบออกจากกัน เชน่ มุมบลอ็ กอยูห่ ่างจากมมุ หนังสือ
มุมบทบาทสมมติอย่ตู ดิ กับมมุ บล็อก มุมวิทยาศาสตร์อยูใ่ กล้มุมศิลปะฯ ลฯ ทีส่ ำคญั จะต้องมีของเลน่ วัสดอุ ุปกรณใ์ นมมุ
อย่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก การเลน่ ในมุมเลน่ อยา่ งเสรี มักถกู กำหนดไว้ในตารางกิจกรรมประจำวัน เพ่ือให้
โอกาสเด็กได้เล่นอย่างเสรปี ระมาณวนั ละ ๖๐ นาทีการจัดมุมเล่นตา่ งๆ ผสู้ อนควรคำนึงถึงสงิ่ ต่อไปน้ี

๓.๑ ในหอ้ งเรยี นควรมีมุมเลน่ อย่างน้อย ๓-๕ มมุ ทงั้ นีข้ ้ึนอยกู่ บั พ้นื ท่ีของห้อง
๓.๒ ไดม้ กี ารผลัดเปลยี่ นส่อื ของเลน่ ตามมุมบ้าง ตามความสนใจของเด็ก
๓.๓ จดั ใหม้ ปี ระสบการณ์ทเี่ ด็กได้เรียนรู้ไปแลว้ ปรากฏอยู่ในมุมเล่น เช่น เด็กเรยี นรเู้ รือ่ งผีเสื้อ ผสู้ อน
อาจจัดให้มีการจำลองการเกดิ ผเี สอื้ ลอ่ งไว้ให้เด็กดใู นมุมธรรมชาติศกึ ษาหรือมุมวทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ
๓.๔ เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเลน่ ทง้ั นี้เพื่อจูงใจให้เด็กรสู้ กึ เป็นเจา้ ของ อยากเรยี นรู้
อยากเข้าเล่น
๓.๕ เสริมสรา้ งวนิ ัยใหก้ ับเดก็ โดยมีข้อตกลงรว่ มกันว่าเมื่อเลน่ เสรจ็ แลว้ จะตอ้ งจัดเกบ็ อุปกรณท์ ุกอย่าง
เขา้ ที่ให้เรยี บร้อย

สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้

ส่ือประกอบการจดั กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวยั ทงั้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา มีส่อื
ทั้งทเี่ ปน็ สอ่ื ของจริง ส่ือธรรมชาติ ส่อื ที่อยู่ใกล้ตวั เด็ก สือ่ สะท้อนวฒั นธรรม สือ่ ทป่ี ลอดภัยต่อตวั เดก็ ส่ือเพ่ือพฒั นา
เดก็ ในด้านต่างๆให้ครบทกุ ด้านสือ่ ท่ีเอื้อให้เด็กเรียนรูผ้ า่ นประสาทสัมผสั ท้งั หา้ โดยการจัดการใช้สื่อเรม่ิ ต้นจาก สอ่ื
ของจริง ภาพถา่ ย ภาพโครงร่าง และ สญั ลักษณ์ ทง้ั น้ีการใชส้ อ่ื ตอ้ งเหมาะสมกบั วยั วฒุ ิภาวะ ความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กทห่ี ลากหลาย ตวั อยา่ งสือ่ ประกอบการจดั กิจกรรม มีดงั น้ี
กิจกรรมเสรี /การเล่นตามมุม

๑. มมุ บทบาทสมมติ อาจจัดเปน็ มมุ เลน่ ดงั นี้

๑.๑ มมุ บ้าน

❖ ของเลน่ เคร่อื งใช้ในครวั ขนาดเลก็ หรือของจำลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้ำ
เขียง มดี พลาสติก หม้อ จาน ชอ้ น ถ้วยชาม กะละมงั ฯลฯ
❖ เครื่องเลน่ ตุ๊กตา เส้อื ผ้าตุ๊กตา เตียง เปลเดก็ ตุก๊ ตา
❖ เครื่องแต่งบา้ นจำลอง เช่น ชดุ รับแขก โตะ๊ เคร่ืองแป้ง หมอนองิ กระจกขนาดเห็นเต็มตวั
หวี ตลบั แป้ง ฯลฯ
❖ เครือ่ งแต่งกายบุคคลอาชพี ต่าง ๆ ทีใ่ ช้แล้ว เชน่ ชุดเคร่ืองแบบทหาร ตำรวจ
ชดุ เสอ้ื ผา้ ผใู้ หญ่ชายและหญงิ รองเทา้ กระเป๋าถือที่ไมใ่ ชแ้ ล้ว ฯลฯ
❖ โทรศพั ท์ เตารีดจำลอง ทร่ี ดี ผ้าจำลอง
❖ ภาพถา่ ยและรายการอาหาร
๑.๒ มมุ หมอ
- เครอื่ งเลน่ จำลองแบบเคร่ืองมอื แพทย์และอุปกรณ์การรกั ษาผู้ป่วย เชน่ หฟู ัง
เสอ้ื คลุมหมอ ฯลฯ
❖ อปุ กรณส์ ำหรบั เลยี นแบบการบนั ทกึ ข้อมูลผปู้ ว่ ย เชน่ กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ

๑.๓ มมุ รา้ นคา้
❖ กล่องและขวดผลติ ภัณฑต์ ่างๆท่ใี ชแ้ ลว้
❖ อุปกรณ์ประกอบการเล่น เช่น เครื่องคดิ เลข ลกู คิด ธนบตั รจำลอง ฯลฯ

๒. มมุ บลอ็ ก
❖ ไม้บลอ็ กหรือแทง่ ไม้ท่ีมีขนาดและรูปทรงต่างๆกัน
❖ ของเลน่ จำลอง เช่น รถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ คน สตั ว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ
❖ ภาพถา่ ยตา่ งๆ

๓. มุมหนังสอื
❖ หนังสอื ภาพนิทาน สมุดภาพ หนงั สอื ภาพท่มี ีคำและประโยคสน้ั ๆพร้อมภาพ
❖ ชัน้ หรอื ที่วางหนงั สือ
❖ อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการสรา้ งบรรยากาศการอ่าน เช่น เสื่อ พรม หมอน
❖ อุปกรณส์ ำหรบั การเขยี น

๔. มุมวิทยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาตศิ ึกษา
❖ วสั ดตุ ่าง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมลด็ พชื ต่าง ๆ เปลอื กหอย ดนิ หนิ แร่ ฯลฯ
❖ เครื่องมือเครือ่ งใช้ในการสำรวจ สังเกต ทดลอง เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก เขม็ ทิศ
เครอ่ื งชง่ั ฯลฯ

๕.มมุ อาเซียน
❖ ธงของแตล่ ะประเทศในกลุ่มประเทศอาเซยี น
❖ คำกล่าวทกั ทายของแตล่ ะประเทศ
❖ ภาพการแต่งกายประจำชาติในกลมุ่ ประเทศอาเซียน

กิจกรรมสรา้ งสรรค์ ควรมวี สั ดุ อุปกรณ์ ดังนี้

๑. การวาดภาพและระบายสี
- สีเทยี นแท่งใหญ่ สไี ม้ สชี อล์ก สนี ้ำ
- พกู่ ันขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ )

- กระดาษ
- เสอื้ คลมุ หรือผ้ากันเป้ือน

๒. การเล่นกับสี
❖ การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีนำ้
❖ การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พูก่ นั สีนำ้
❖ การพับสี มี กระดาษ สนี ้ำ พู่กัน
❖ การเทสี มี กระดาษ สีนำ้
❖ การละเลงสี มี กระดาษ สีนำ้

๓. การพิมพภ์ าพ
❖ แมพ่ ิมพต์ ่าง ๆ จากของจริง เช่น น้วิ มือ ใบไม้ กา้ นกล้วย ฯลฯ
❖ แมพ่ ิมพจ์ ากวัสดุอ่ืน ๆ เช่น เชอื ก เสน้ ด้าย ตรายาง ฯลฯ
❖ กระดาษ ผา้ เช็ดมือ สีโปสเตอร์ สนี ำ้

๔.การปนั้ เชน่ ดินน้ำมนั ดินเหนยี ว แผน่ รองป้นั แมพ่ ิมพ์รูปตา่ ง ๆ ไม้นวดแป้ง
๕.การพบั ฉกี ตัดปะ เชน่ กระดาษ หรือวสั ดุอน่ื ๆทจ่ี ะใช้พบั ฉกี ตัด ปะ กรรไกรขนาดเลก็
ปลายมน กาว ผา้ เช็ดมอื ฯลฯ
๖. การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุตา่ ง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษไหม กาว กรรไกร
สี ผา้ เชด็ มอื ฯลฯ
๗. การรอ้ ย เช่น ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ

เกมการศึกษา ตวั อยา่ งสือ่ ประเภทเกมการศึกษามีดังนี้
๑. เกมจบั คู่
❖ จับคู่รปู รา่ งทเ่ี หมือนกนั
❖ จับคู่ภาพเงา
❖ จับคสู่ งิ่ ท่มี คี วามสัมพนั ธ์กนั สิ่งที่ใชค้ ู่กนั
❖ จบั คภู่ าพกับโครงร่าง
❖ จับคภู่ าพชน้ิ สว่ นที่หายไป
❖ จับคภู่ าพทเี่ ป็นประเภทเดยี วกนั
❖ จบั คภู่ าพท่ซี ่อนกัน
❖ จบั ค่ภู าพสัมพนั ธแ์ บบตรงกันข้าม
❖ จับคแู่ บบอนุกรม
๒. เกมภาพตัดต่อ
❖ ภาพตัดตอ่ ท่ีสัมพันธ์กบั หน่วยการเรียนตา่ ง ๆ เชน่ ผลไม้ ผัก ฯลฯ
๓. เกมจัดหมวดหมู่
❖ ภาพสิง่ ต่าง ๆ ทีน่ ำมาจัดเป็นพวก ๆ
❖ ภาพเกีย่ วกบั ประเภทของใช้ในชีวติ ประจำวัน
❖ ภาพจดั หมวดหมู่ตามรูปร่าง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต
๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมโิ น)
❖ โดมโิ นภาพเหมือน
❖ โดมิโนภาพสัมพนั ธ์

๕. เกมเรยี งลำดับ
❖ เรยี งลำดบั ภาพเหตุการณต์ ่อเน่อื ง
❖ เรียงลำดับขนาด

กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ /กจิ กรรมในวงกลม ตวั อย่างสอื่ มีดงั น้ี

๑. สื่อของจริงที่อยใู่ กล้ตวั และสอ่ื จากธรรมชาตหิ รอื วสั ดุท้องถิ่น เช่น ตน้ ไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เส้ือผา้
๒. ส่ือทจี่ ำลองขน้ึ เช่น ลกู โลก ตุ๊กตา สัตว์ ฯลฯ
๓. สื่อประเภทภาพ เช่น ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ
๔. สือ่ เทคโนโลยี เช่น ทวี ี เครอื่ งบนั ทึกเสียง เคร่ืองขยายเสยี ง โทรศัพท์
กิจกรรมกลางแจ้ง ตวั อย่างส่ือมดี งั นี้
๑. เครือ่ งเลน่ สนาม เชน่ เครือ่ งเล่นสำหรับปนี ปา่ ย เครื่องเล่นประเภทล้อเลอ่ื น ฯลฯ
๒. ท่ีเล่นทราย มีทรายละเอียด เครอ่ื งเล่นทราย เคร่อื งตวง ฯลฯ
๓. ทเ่ี ล่นน้ำ มีภาชนะใส่นำ้ เส้อื คลุมหรือผา้ กันเป้ือนพลาสติก อปุ กรณ์เล่นนำ้ เชน่ ถว้ ยตวง ขวดตา่ งๆ กรวย
กรอกน้ำ
กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ ตวั อยา่ งสอื่ มดี งั น้ี
๑. เคร่อื งเคาะจังหวะ เช่น ฉิง่ กลอง อุปกรณ์ประกอบการเคลือ่ นไหว เชน่ ริบบิ้น แถบผ้า หว่ ง
การเลือกสอ่ื มวี ธิ กี ารเลือกส่อื ดังน้ี
๑. เลือกให้ตรงกับจดุ มุ่งหมายและเร่อื งท่สี อน
๒. เลอื กให้เหมาะสมกบั วยั และความสามารถของเด็ก
๓. เลอื กให้เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของท้องถิน่ ท่เี ดก็ อยู่หรอื สถานภาพของสถานศึกษา
๔. มวี ิธีการใชง้ ่าย และนำไปใช้ได้หลายกิจกรรม
๕. มคี วามถูกต้องตามเนื้อหาและทนั สมัย
๖. มีคุณภาพดี เช่น ภาพชัดเจน ขนาดเหมาะสม
๗. เลอื กสอ่ื ท่ีเด็กเข้าใจงา่ ยในเวลาสนั้ ๆ ไม่ซบั ซ้อน
๘. เลอื กสอื่ ทสี่ ามารถสัมผัสได้
๙. เลือกส่ือเพื่อใช้ฝึก และส่งเสรมิ การคิดเปน็ ทำเป็น และกล้าแสดงความคิดเห็นด้วยความม่ันใจ
ข้อควรระวงั ในการใชส้ ื่อการเรียนการสอน การใชส้ ื่อในระดับปฐมวยั ควรระวังในเร่ืองต่อไปน้ี

๑.วัสดทุ ใ่ี ช้ ต้องไมม่ ีพิษ ไม่หัก และแตกง่าย มีพนื้ ผวิ เรยี บ ไมเ่ ปน็ เสย้ี น
๒.ขนาด ไม่ควรมขี นาดใหญเ่ กนิ ไป เพราะยากต่อการหยบิ ยก อาจจะตกลงมา
เสียหาย แตก เป็นอันตรายต่อเดก็ หรือใชไ้ มส่ ะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โต๊ะ เก้าอ้ีท่ีใหญ่
และสงู เกนิ ไป และไม่ควรมีขนาดเล็กเกนิ ไป เดก็ อาจจะนำไปอมหรือกลนื ทำใหต้ ิดคอหรือ
ไหลลงทอ้ งได้ เช่น ลูกปดั เลก็ ลูกแก้วเล็ก ฯลฯ
๓. รปู ทรง ไม่เป็นรปู ทรงแหลม รปู ทรงเหล่ยี ม เปน็ สนั
๔. นำ้ หนัก ไม่ควรมีน้ำหนักมาก เพราะเด็กยกหรอื หยิบไม่ไหวอาจตกลงมาเปน็ อันตรายต่อตัวเดก็
๕. ส่ือ หลีกเล่ียงสื่อทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ ตวั เดก็ เช่น สารเคมี วัตถไุ วไฟ ฯลฯ
๖. สี หลกี เลย่ี งสที ี่เป็นอันตรายตอ่ สายตา เช่น สสี ะทอ้ นแสง ฯลฯ

การประเมินพัฒนาการ

การประเมนิ พฒั นาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เปน็ การประเมินพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์
จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเปน็ กระบวนการต่อตนเอง และเป็นสว่ นหนึ่งของกจิ กรรมปกตทิ ่ีจัดใหเ้ ด็ก
ในแตล่ ะวัน ผลที่ไดจ้ ากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนำมาจดั ทำข้อมูลหลักฐานหรอื เอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยกา
รวบรวมผลงานสำหรบั เดก็ เป็นรายบคุ คลทส่ี ามารถบอกเร่ืองราวหรอื ประสบการณ์ท่ีเด็กไดร้ ับวา่ เด็กเกดิ การเรยี นรู้
และมคี วามกา้ วหนา้ เพียงใด ท้ังนี้ นำขอ้ มลู ผลการประเมินพฒั นาการเด็กมาพจิ ารณา ปรับปรุงวางแผล การจัด
กจิ กรรม และสง่ เสรมิ ให้เด็กแต่ละคนไดร้ บั การพฒั นาตามจุดหมายของหลกั สูตรอย่างต่อเนอื่ ง การประเมนิ พัฒนาการ
ยึดหลกั ดังน้ี

1. วางแผนการประเมนิ พัฒนาการอยา่ งเป็นระบบ
2. ประเมินพฒั นาการเด็กครบทุกด้าน
3. ประเมนิ พฒั นาการเด็กเป็นรายบคุ คลอย่างสม่ำเสมอตอ่ เน่ืองตลอดปี
4. ประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจริงจากกจิ กรรมประจำวันดว้ ยเครื่องมอื และวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย
5. สรุปผลการประเมนิ จดั ทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใชพ้ ฒั นาเด็ก
วธิ กี ารประเมนิ ท่เี หมาะสมและใชก้ ับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบนั ทึกพฤติกรรม การสนทนา
กบั เดก็ การสัมภาษณ์ การวเิ คราะห์ข้อมลู จากผลงานเด็ก

บทบาทหนา้ ที่ของผู้เกยี่ วขอ้ งในการดำเนนิ งานประเมนิ พัฒนาการ

การดำเนินงานประเมินพัฒนาการของสถานศึกษา เปิดโอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งเข้ามามสี ว่ นร่วมในการประเมิน

พฒั นาการและร่วมรับผิดชอบอย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษา ดังน้ี

ผปู้ ฏบิ ัติ บทบาทหน้าท่ีในการประเมินพฒั นาการ

ผู้สอน ๑. ศกึ ษาหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั และแนวการปฏิบตั ิการประเมนิ พฒั นาการตาม
หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย

๒. วิเคราะหแ์ ละวางแผนการประเมินพฒั นาการท่ีสอดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรยี นรู้/กิจกรรม
ประจำวัน/กิจวัตรประจำวัน

๓. จัดประสบการณต์ ามหนว่ ยการเรยี นรู้ ประเมินพัฒนาการ และบนั ทกึ ผลการประจำวัน/
กิจวตั รประจำวัน

๔. รวบรวมผลการประเมนิ พัฒนาการ และสรุปผลการประเมนิ เมือ่ ส้ินภาคเรียนและสน้ิ ปี
การศกึ ษา

๕. สรุปผลการประเมินพัฒนาการระดบั ชน้ั เรียนลงในสมุดบันทึกผลการประเมนิ พัฒนาการ
ประจำชน้ั

๖. จดั ทำสมุดรายงานประจำตวั นักเรยี น

๗. เสนอผลการประเมินพฒั นาการตอ่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาลงนามอนมุ ัติ

ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ๑.กำหนดผ้รู ับผดิ ชอบงานประเมินพัฒนาการตามหลกั สตู ร และวางแนวทางปฏบิ ัติการ
ประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยตามหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั

๒. นิเทศ กำกบั ตดิ ตามใหก้ ารดำเนินการประเมนิ พฒั นาการใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย

๓. นำผลการประเมินพฒั นาการไปจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานกำหนดนโยบายและ
วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวยั

พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ๑. ใหค้ วามร่วมมือกบั ผสู้ อนในการประเมนิ พฤตกิ รรมของเด็กทสี่ งั เกตได้จากทีบ่ า้ นเพื่อเปน็
ข้อมูลประกอบการแปลผลของผู้สอน

๒. รับทราบผลการประเมนิ ของเดก็ และสะท้อนใหข้ ้อมลู ย้อนกลับทเ่ี ป็นประโยชน์ในการ
สง่ เสริมและพฒั นาเด็กในปกครองของตนเอง

๓. รว่ มกบั ผ้สู อนในการจัดประสบการณ์

คณะกรรมการ ๑. ให้ความเหน็ ชอบและประกาศใช้หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยและแนวปฏิบตั ใิ นการ
สถานศึกษาข้นั ประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย
พื้นฐาน
๒. รับทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กเพื่อการประกนั คุณภาพภายใน

ขอบเขตของการประเมนิ พฒั นาการ
๑. สิ่งท่จี ะประเมนิ

การประเมนิ พัฒนาการสำหรับเดก็ อายุ ๓-๖ ปี มเี ปา้ หมายสำคัญคือ มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
จำนวน ๑๒ ข้อ ดงั นี้

๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมสี ุขนสิ ัยทดี่ ี
มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญแ่ ละกล้ามเนื้อเล็กแขง็ แรงใช้ได้อย่างคลอ่ งแคลว่ และประสานสัมพนั ธก์ ัน

๒. พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมคี วามสุข
มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจท่ดี ีงาม

๓. พัฒนาการด้านสังคม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชวี ิตและปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเป็นไทย

มาตรฐานท่ี ๘ อย่รู ่วมกบั ผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ

๔. พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ท่เี ปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรแู้ ละมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกบั วัย

ส่ิงท่ีจะประเมินพัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยแต่ละด้าน มดี ังน้ี
ดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย การประเมินการมนี ้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สขุ ภาพอนามยั สุขนิสยั ท่ดี ี การ
รู้จกั รกั ษาความปลอดภยั การเคลื่อนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกำลงั กาย และการใชม้ ืออย่าง
คลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธ์กัน
ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสมกบั
วัยและสถานการณ์ ความรู้สกึ ท่ีดีตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื มีความรู้สกึ เหน็ อกเหน็ ใจผู้อื่น ความสนใจ/ความสามารถ/และมี
ความสุขในการทำงานศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ความรบั ผดิ ชอบในการทำงาน ความซื่อสตั ยส์ จุ ริตและรสู้ ึก
ถูกผดิ ความเมตตากรุณา มนี ้ำใจและชว่ ยเหลือแบ่งปนั ตลอดจนการประหยัดอดออม และพอเพียง
ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินยั ในตนเอง การชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบตั กิ ิจวัตร
ประจำวัน การระวงั ภยั จากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ทเ่ี สยี่ งอันตราย การดแู ลรักษาธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวฒั นธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา่ ง
ระหวา่ งบุคคล การมสี ัมพันธท์ ่ดี กี ับผู้อนื่ การปฏบิ ตั ติ นเบ้ืองตน้ ในการเป็นสมาชิกท่ดี ีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
ดา้ นสตปิ ัญญา ประกอบด้วย การประเมนิ ความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเลา่ เรื่องให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจ
ความสามารถในการอ่าน เขยี นภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หา คดิ เชิงเหตุผล คิดรวบยอด การ
เลน่ /การทำงานศิลปะ/การแสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ของตนเอง การมเี จตคตทิ ่ี
ดตี อ่ การเรียนรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้

๒. วธิ ีการและเครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมนิ พฒั นาการ

การประเมนิ พัฒนาการเดก็ แต่ละครง้ั ควรใชว้ ิธกี ารประเมนิ อยา่ งหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลท่สี มบูรณ์ที่สดุ
วธิ กี ารท่เี หมาะสมและนิยมใชใ้ นการประเมนิ เด็กปฐมวัยมีด้วยกนั หลายวธิ ี ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. การสังเกตและการบันทกึ การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอยา่ งมรี ะบบ ได้แก่ การสังเกตอยา่ งมี
จดุ ม่งุ หมายที่แนน่ อนตามแผนทว่ี างไว้ และอีกแบบหน่ึงคือ การสงั เกตแบบไมเ่ ป็นทางการ เป็นการสงั เกตในขณะท่ี
เดก็ ทำกิจกรรมประจำวันและเกิดพฤตกิ รรมทไี่ ม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้นและผู้สอนจดบนั ทึกไวก้ ารสังเกตเป็นวิธีการท่ี
ผูส้ อนใช้ในการศึกษาพัฒนาการของเด็ก เม่ือมีการสังเกตก็ต้องมีการบนั ทึก ผ้สู อนควรทราบว่าจะบนั ทกึ อะไรการ
บันทึกพฤติกรรมมคี วามสำคัญอยา่ งยิ่งที่ต้องทำอยา่ งสมำ่ เสมอ เน่ืองจากเด็กเจรญิ เตบิ โตและเปลยี่ นแปลงอย่าง
รวดเร็ว จึงตอ้ งนำมาบันทึกเป็นหลักฐานไวอ้ ย่างชัดเจน การสงั เกตและการบันทึกพัฒนาการเดก็ สามารถใชแ้ บบง่ายๆ
คอื

๑.๑ แบบบนั ทกึ พฤติกรรม ใช้บันทกึ เหตกุ ารณ์เฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผูบ้ นั ทกึ ต้อง
บันทึกวัน เดือน ปเี กิดของเด็ก และวัน เดือน ปี ที่ทำการบันทึกแต่ละครง้ั

๑.๒ การบันทึกรายวัน เปน็ การบนั ทกึ เหตุการณห์ รือประสบการณห์ รือประสบการณ์ที่เกิดข้ึนในชนั้ เรยี น
ทกุ วนั ถ้าหากบันทกึ ในรูปแบบของการบรรยายก็มักจะเนน้ เฉพาะเด็กรายท่ตี ้องการศกึ ษา ข้อดขี องการบนั ทึกรายวัน

คอื การชใี้ หเ้ ห็นความสามารถเฉพาะอยา่ งของเด็ก จะช่วยกระตุ้นใหผ้ สู้ อนได้พิจารณาปัญหาของเดก็ เปน็ รายบุคคล
ช่วยใหผ้ ู้เชียวชาญมีขอ้ มูลมากขึ้นสำหรับวินิจฉัยเดก็ วา่ สมควรจะไดร้ ับคำปรึกษาเพื่อลดปัญหาและสง่ เสริมพฒั นาการ
ของเด็กไดอ้ ย่างถกู ต้อง นอกจากน้ันยังชว่ ยชี้ให้เห็นข้อเสยี ของการจัดกจิ กรรมและประสบการณ์ไก้เป็นอยา่ งดี

๒. การสนทนา สามารถใชก้ ารสนทนาได้ทัง้ เป็นกลุ่มหรือรายบุคคล เพ่ือประเมินความสามารถในการแสดง
ความคิดเห็น และพัฒนาการดา้ นภาษาของเด็กและบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤตกิ รรมหรือบนั ทึกรายวนั

๓. การสมั ภาษณ์ ดว้ ยวธิ พี ูดคุยกบั เด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดลอ้ มเหมาะสมเพื่อไมใ่ ห้เกดิ
ความเครยี ดและวิตกกงั วล ผ้สู อนควรใชค้ ำถามทีเ่ หมาะสมเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กได้คิดและตอบอยา่ งอสิ ระจะทำใหผ้ ูส้ อน
สามารถประเมนิ ความสามารถทางสติปญั ญาของเด็กแต่ละคนและคน้ พบศักยภาพในตวั เดก็ ไดโ้ ดยบันทึกข้อมูลลงใน
แบบสัมภาษณ์

๔. การรวบรวมผลงานทแี่ สดงออกถึงความก้าวหนา้ แตล่ ะดา้ นของเด็กเปน็ รายบคุ คล โดยจดั เกบ็ รวบรวม
ไว้ในแฟ้มผลงาน (portfolio) ซง่ึ เปน็ วิธรี วบรวมและจัดระบบขอ้ มลู ต่างๆทีเ่ กีย่ วกบั ตัวเดก็ โดยใชเ้ ครื่องมือต่างๆ
รวบรวมเอาไว้อยา่ งมีจุดมุ่งหมายทีช่ ดั เจน แสดงการเปลย่ี นแปลงของพฒั นาการแตล่ ะด้าน

๓. เกณฑก์ ารประเมินพัฒนาการ

การสร้างเกณฑ์หรือพัฒนาเกณฑ์หรือกำหนดเกณฑ์การประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัย ผูส้ อนให้ความ
สนใจในสว่ นที่เกี่ยวขอ้ ง ดังนี้

๑. การวางแผนการสงั เกตพฤติกรรมของเด็กอยา่ งเป็นระบบ เชน่ จะสังเกตเด็กคนใดบ้างในแต่ละวนั กำหนด
พฤติกรรมท่สี ังเกตใหช้ ดั เจน จดั ทำตารางกำหนดการสงั เกตเดก็ เปน็ รายบคุ คล รายกลุม่ ผ้สู อนต้องเลือกสรร
พฤติกรรมทีต่ รงกบั ระดับพัฒนาการของเด็กคนน้ันจริงๆ

๒. ในกรณที ่หี อ้ งเรียนมีนักเรียนจำนวนมาก ผู้สอนเลอื กสงั เกตเฉพาะเด็กที่ทำได้ดีแล้วและเดก็ ทย่ี ังทำไม่ได้
ส่วนเดก็ ปานกลางให้ถอื วา่ ทำไดไ้ ปตามกิจกรรม

๓. ผู้สอนสังเกตจากพฤติกรรม คำพดู การปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนในระหวา่ งทำงาน/กิจกรรม และคุณภาพของ
ผลงาน/ชิ้นงาน รอ่ งรอยท่ีนำมาใช้พิจารณาตดั สินผลของการทำงานหรอื การปฏิบตั ิ

๓.๑ ระดับคณุ ภาพผลการประเมินพฒั นาการเด็ก
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กท้ังในระดบั ชน้ั เรียนและระดับสถานศึกษากำหนดใน
ทศิ ทางเดยี วกนั สถานศึกษาใหร้ ะดบั คุณภาพผลการประเมินพฒั นาการของเด็กท่สี ะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ
ประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ หรือพฤติกรรมที่จะประเมนิ เปน็ ระบบตัวเลข เช่น ๑ หรอื ๒ หรอื ๓ หรอื เป็น
ระบบทใี่ ช้คำสำคัญ เชน่ ดี พอดี หรือ ควรส่งเสริม ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ตัวอยา่ งเช่น

ระบบตวั เลข ระบบท่ใี ชค้ ำสำคญั
๓ ดี

๑ พอใช้
ควรสง่ เสริม


Click to View FlipBook Version