The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปหลักธรรมอริยสัจ4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pen.j53, 2022-02-12 05:18:25

สรุปหลักธรรมอริยสัจ4

สรุปหลักธรรมอริยสัจ4

วชิ าพระพุทธศาสนา

 จดั ทำโดย นำงสำวพวงเพญ็ จันทร์แจ่ม
 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม

 โรงเรียนประสำทรัฐประชำกจิ

หลกั ธรรมคำสอนถือเป็นหวั ใจสำคญั ของแต่ละศำสนำ ซง่ึ
อำจกล่ำวได้วำ่ หำกปรำศจำกหลกั ธรรมคำสอนแล้วกเ็ ปรียบเหมือน
ไม่มีศำสนำ หลกั ธรรมคำสอนของพระพทุ ธศำสนำเป็นหลกั ควำม
จริงท่ีมีอย่แู ล้ว พระพทุ ธองคเ์ ป็นเพยี งผ้คู ้นพบและนำมำสงั่ สอน
เผยแผแ่ กม่ วลมนษุ ย์

หลกั ธรรมคำสอนทำงพระพทุ ธศำสนำมีอย่มู ำกมำย ซงึ่
ล้วนแตม่ ีประโยชนต์ ่อกำรพฒั นำตน กำรศกึ ษำหลกั ธรรมคำสอน
ตำ่ งๆ ให้เข้ำใจอยำ่ งถกู ต้องลกึ ซงึ้ จะชว่ ยให้รู้เท่ำทันปัญหำตำ่ งๆ ท่ี
เกดิ ขนึ้ ตำมควำมเป็นจริง และสำมำรถแก้ไขปัญหำอยำ่ งมีสติ

อริยสัจ ๔ ออกสอบ

อริยสจั ๔ ควำมจริงอันประเสริฐ
ประกอบด้วย
 ทุกข์ ➬ สภาวะทท่ี นอยู่ยาก
สมุทัย ➬ เหตใุ ห้เกดิ ทกุ ข์
นโิ รธ ➬ รู้แจ้งวิธกี ารดับทุกข์
มรรค ➬ หนทางปฏบิ ัตใิ ห้ถึงความดบั ทกุ ข์

การพจิ ารณาอรยิ สจั ๔

๑. ทกุ ข์(ธรรมทค่ี วรร)ู้ องคป์ ระกอบทกุ ข์

ชำติ ➬ ความเกดิ
ชรำ ➬ ความแก่
พยำธิ ➬ ความเจบ็ ไข้
มรณะ ➬ ความตาย

การพบกบั สง่ิ อนั ไมเ่ ปน็ ทร่ี กั กเ็ ปน็ ทุกข์
ปรารถนาสง่ิ ใดไมไ่ ดส้ ง่ิ นน้ั กเ็ ปน็ ทกุ ข์

ขนั ธ์ ๕ ➬ ขันธ์ ๕ หรือเรียกว่ำ เบญจขันธ์ สำเหตุ
แห่งทุกข์
รูป • ส่วนท่เี ป็นร่ำงกำยของมนษุ ย์

เวทนำ • ควำมรู้สกึ ทเี่ กดิ ขนึ้ เมอื่ มนษุ ย์รับรู้สิ่งตำ่ งๆ เช่น สขุ ทกุ ข์ เฉยๆ

สญั ญำ • กำรหมำยรู้ กำรจดจำ

สงั ขำร • กำรปรุงแตง่ ให้คิดดี หรอื ไมด่ ีแล้วแตเ่ หตุกศุ ลกรรมหรืออกศุ ลกรรม

วิญญำณ • กำรรู้แจ้ง กำรรับรู้ ผำ่ นประสำทสมั ผสั ทงั ้ 6 (วญิ ญำณ 6 )

ขันธ์ ๕ รูป • สว่ นที่เป็นร่ำงกำยของมนษุ ย์

ธำตุ ๔

ผม ขน เลบ็ ฟัน หนงั อำโปธำตุ
(ธำตุนำ้ )
ปฐวธี ำตุ นำ้ ตำ นำ้ ลำยนำ้ มกู เหง่อื
(ธำตุดนิ )
เตโชธำตุ
ลมหำยใจ ลมในท้อง (ธำตุไฟ)
กำรเผำย่อยอำหำร
วำโยธำตุ
( ธำตลุ ม)

ขนั ธ์ ๕ • ควำมรู้สกึ ท่ีเกิดขนึ้ เม่อื มนษุ ย์รับรู้ส่งิ ต่ำงๆ

เวทนำ เช่น สุข ทกุ ข์ เฉยๆ

ขนั ธ์ ๕ สัญญำ •กำรหมำยรู้ กำรจดจำ

จำสมั ผัส จำรูป

สญั ญำ จำเสยี ง

จำรส จำกล่ิน

ขนั ธ์ ๕ สงั ขำร • กำรปรุงแตง่ ให้คดิ ดี หรือไม่ดแี ล้วแต่
เหตกุ ศุ ลกรรมหรืออกศุ ลกรรม

คดิ ดี ทำดี

คดิ ไมด่ ี นำมำซึ่งกำร
กระทำทีไ่ มด่ ี

ขนั ธ์ ๕

วญิ ญำณ • กำรรู้แจ้ง กำรรับรู้ ผำ่ นประสำทสมั ผสั ทงั ้ 6 (วญิ ญำณ 6 )

ได้ยนิ เสยี ง หู ตำ เห็นรปู

จมกู ลิน้ รับรส
ได้กล่ิน

กำย ใจ
สมั ผสั ควำมร้สู ึก อำรมณ์

ธรรมท่มี ปี ระจำโลก ส่งิ ท่ีครอบงำ
มนุษย์

ลำภ เส่อื มลำภ
ยศ เส่อื มยศ
สรรเสริญ นินทำ

สขุ ทุกข์



การพิจารณาอริยสัจ ๔

๒. สมทุ ยั (ธรรมทคี่ วรละ) คือเหตใุ ห้

เกดิ ทกุ ข์

มีสำเหตมุ ำจำก อวชิ ำ ตณั หำ

กำมตณั หำ ควำมอยำกได้โน่น อยำกได้นี้

ภวตัณหำ อยำกเป็ นโน่น อยำกเป็ นนี้

วภิ วตัณหำ ไม่อยำกเป็ นโน่น ไม่อยำกเป็ นนี้

ส่งิ ทงั้ สำม เป็ นเหตุเกดิ จำก

กรรม หมายถงึ การกระทาของมนษุ ย์ซึ่งประกอบข้นึ

ดว้ ยเจตนา คอื ตงั้ ใจกระทา

กุศลกรรม • กำรกระทำท่ีเป็ นควำมดี

อกุศลกรรม • กำรกระทำท่ีไม่ดี เป็ นควำมเขลำ

ซ่ึงท้ังกุศลกรรมและอกศุ ลกรรม มหี นทางให้เกิดได้ ๓ ทาง คือ
๑) การกระทาท่แี สดงออกทางกาย เรยี กวา่ กายกรรม
๒) การกระทาทีแ่ สดงออกทางวาจา เรียกวา่ วจกี รรม
๓) การกระทาทแ่ี สดงออกทางใจ เรยี กว่า มโนกรรม

นิยาม ๕ หมายถงึ กฎธรรมชาติ ความเป็ นไปอนั มรี ะเบียบ

แน่นอนของธรรมชาติ

อุตนุ ิยำม • กฎธรรมชำตเิ ก่ยี วกบั ลม ฟ้ำ อำกำศ ฤดูกำล
พืชนยิ ำม • กฎธรรมชำติเก่ยี วกับกำรสืบพนั ธ์
จิตนยิ ำม • กฎธรรมชำติเก่ยี วกบั กำรทำงำนของจติ

กรรมนยิ ำม • กฎธรรมชำติเก่ยี วกบั พฤติกรรมของมนุษย์
ธรรมนยิ ำม • กฎธรรมชำตเิ ก่ยี วกบั ควำมเป็ นเหตุเป็ นผลของส่ิงต่ำงๆ

นิวรณ์ หมายถึง สิ่งที่ขวางกน้ั จิต ทาใหไ้ ม่เกดิ สมาธิ

๑. กำมฉันทะ ความยนิ ดี พอใจในกามคุณ รูป รส
กลิ่น เสียง สมั ผสั

๒. พยำปำทะ ความโกรธ ความพยาบาท
หรือพยำบำท ความไมพ่ อใจ การคิดปอง
ร้าย อาฆาต

๓. ถนี มทิ ธะ คือ ความหดหู่เซ่ืองซึม
แสดงออกถึงความเกยี จคร้าน

ไมค่ ล่องแคล่ว

๔. อุทธจั จกุกกุจจะ

ความฟุ้งซ่านและราคาญใจ ความกลวั

กลัวสอบตก
กลัวเพ่ือนล้อเลียน

วจิ กิ จิ ฉำ ความลงั เลสงสัย ไม่แน่ใจว่าสิ่งใด
ผดิ ส่ิงใดถูก สิ่งใดควรทาหรือไม่
ควรทา

กำรขำดควำมม่นั ใจ

การพิจารณาอริยสัจ ๔

๓.นโิ รธ(ธรรมทค่ี วรบรรลุ) คอื ควำม

ดบั ทกุ ข์ ภำวะท่ปี ัญหำดบั สนิ้ ไปภำวะของกำรดบั กิเลส

หลดุ พ้นจำกปวงกเิ ลส

นิพพำน ความดับสนิทแห่งกองกเิ ลสและ
กองทุกข์

วิมตุ ติ การหลดุ พ้น การรู้แจ้งในศีล สมาธิ
ปัญญา

อตั ถะ ๓ อัตถะ หรืออรรถ แปลวา่ ประโยชน์
หรือผลที่มงุ่ หมาย มี ๓ ประการ คอื

๑) ทฏิ ฐธมั มิกัตถะ หมายถึง ประโยชน์ปัจจุบนั
หรือประโยชน์ในโลกนี้ ท่คี นท่วั ไปปรารถนาจะได้รบั

๒) สัมปรายิกตั ถะ หมายถงึ ประโยชน์เบือ้ งหน้า
หรอื ประโยชนใ์ นภพหน้าหรือชาติหน้า

๓) ปรมัตถะ หมายถึง ประโยชน์สงู สุด หรือ
ประโยชน์ที่แทจ้ รงิ คอื นิพพานหรอื การหลดุ พน้

ภำวนำ ๔ คอื การเจริญ การทาให้เป็ นให้มขี ้ึน การ
ฝึ กอบรม หรือการพัฒนา

๑.กำยภำวนำ • กำรเจริญกำยหรือกำรพฒั นำกำย

๒.สลี ภำวนำ • กำรเจริญศลี หรือกำรพฒั นำควำมประพฤติ
๓.จิตภำวนำ • กำรเจริญจติ พฒั นำจติ
๔.ปัญญภำวนำ • กำรเจริญปัญญำหรือกำรพฒั นำปัญญำ

กำรเจริญปัญญำ เป็ นกำรอบรมทงั้ กำย จติ ใจ และปัญญำ

นิพพำน สภาพทด่ี ับกเิ ลสแล้ว ภาวะทเ่ี ป็ น
ความสุขสูงสุดของชีวติ

ผู้ท่เี ข้ำถึงพระนิพพำน คอื พระอรหันต์
ธรรมสนับสนุนส่นู ิพพำน

หลกั ไตรสกิ ขำ
ศีล กำรตงั้ อย่ใู นศลี มีควำมประพฤตดิ ีงำม ทงั้
ทำงกำย วำจำ และใจ
สมำธิ กำรตงั้ ม่นั แห่งจิต
ปัญญำ ควำมรอบรู้ รู้แจ้ง

การพิจารณาอริยสัจ ๔
๔. มรรค คือ หนทำงท่นี ำไปส่กู ำรดบั ทุกข์

หลกั ธรรมท่คี วรเจริญ

พระสัทธรรม ธรรมอนั ดี ธรรมทแี่ ท้ ธรรมทเ่ี ป็ น
๑. ปริยัตติสัทธรรม หลกั หรือแก่นของพระพทุ ธศาสนา
๒. ปฏิปัตตสิ ทั ธรรม กำรศกึ ษำตำมคำส่งั สอนของ
๓. ปฏิเวธสัทธรรม พระพุทธเจ้ำ

นำควำมรู้ท่ไี ด้จำกกำรศึกษำมำ
ปฏิบตั ิ

ผลท่บี รรลดุ ้วยกำรปฏิบตั ิ

อริยมรรคมอี งค์ ๘

๑. สัมมำทฏิ ฐิ ควำมเห็นชอบ
๒. สมั มำสังกัปปะ ควำมดำริชอบ
๓. สัมมำวำจำ เจรจำชอบ
๔. สมั มำกัมมันตะ กำรกระทำชอบ
๕. สัมมำอำชีวะ เลยี้ งชีพชอบ
๖. สมั มำวำยำมะ ควำมพยำยำมชอบ
๗. สัมมำสติ ควำมระลกึ ชอบ
๘. สัมมำสมำธิ จิตตงั้ ม่นั ชอบ

ปญั ญา ๓

ปญั ญา หมายถึง ความรู้ ความรอบรู้ ความร้ทู ั่ว ซงึ่ เกดิ ข้ึนได้ ๓ ทาง คอื

๑) ปญั ญาเกิดจากการฟัง (สุตมยปญั ญา) คอื ความรู้ทไ่ี ด้จากการไดย้ ิน ได้
ฟงั การศึกษา การถา่ ยทอดตอ่ ๆ กันมาและการสัง่ สมข้อมูล
๒) ปัญญาเกิดจากการคดิ (จนิ ตามยปัญญา) คอื ความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการคิด
พิจารณา เช่อื มโยงเหตผุ ล เปน็ ความคดิ ทเี่ ป็นระบบ ละเอียดลึกซึง้ และคดิ
โดยแยบคายหรือโยนโิ สมนสิการ
๓) ปัญญาเกดิ จากการฝึกอบรมและลงมือปฏิบัติ (ภาวนามยปัญญา) คอื
ความร้ทู ี่ได้จากการลงมอื ปฏิบัติ รู้ผลของส่ิงตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง

สัปปุริสธรรม ๗

สปั ปุริสธรรม หมายถงึ ธรรมของสตั บุรษุ หรอื ธรรมท่ีทาให้เป็นสตั บรุ ษุ
(คนดี)หรอื คณุ สมบัตขิ องคนดี มี ๗ ประการ คือ

๑) ความเป็นผรู้ ้จู ักเหตุ (ธมั มญั ญตุ า) คือ รู้หลกั ความจริง
รจู้ กั เหตุ รวู้ า่ สิง่ ตา่ ง ๆ เกิดขน้ึ จากเหตุ

๒) ความเปน็ ผรู้ ู้จกั ผล (อตั ถัญญตุ า) คือ เม่อื พจิ ารณาเหตุแลว้
สามารถรู้ผลแห่งเหตุน้นั ได้ รวู้ า่ กระทาส่งิ นนั้ แล้วจะเกดิ ผลอยา่ งไร

๓) ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ตน (อตั ตญั ญตุ า) คอื ร้วู า่ ตนเปน็ ใคร มีเพศ
ฐานะ ภาวะ กาลงั ความรู้ ความสามารถอยา่ งไร

๔) ความเป็นผ้รู ้จู กั ประมาณ (มตั ตัญญตุ า) คือ รูจ้ ักความพอดี
ทาสิ่งต่าง ๆ อยา่ งเปน็ กลาง ไม่มากไปหรือน้อยไป

๕) ความเปน็ ผรู้ ้จู กั กาล (กาลญั ญุตา) คือ รเู้ วลาอันเหมาะสม
วา่ เวลาไหนควรทาส่งิ ใด และเวลาไหนไม่ควรทาส่ิงใด แลว้ ทาใหต้ รงเวลา
ให้เปน็ เวลา ให้ทันเวลา ใหพ้ อเวลาและให้เหมาะเวลา

๖) ความเป็นผ้รู ู้จกั ชมุ ชนหรอื ทป่ี ระชมุ ชน (ปริสัญญตุ า) คอื

รจู้ กั เทศะหรอื สถานที่ รู้วา่ สถานที่ไหนควรปฏบิ ตั ติ นเชน่ ใด และสถานท่ี
ไหนไมค่ วรปฏิบัติตนเชน่ ใด หรอื รูว้ ่าเขา้ ไปในกลุม่ ชนใดควรพดู หรือปฏบิ ัติ
ตนตอ่ กลุม่ ชนน้นั อยา่ งไร

๗) ความเปน็ ผ้รู ู้จกั บคุ คล (ปุคคลญั ญตุ า หรือปุคคลป
โรปรัญญตุ า) คอื รจู้ ักความแตกตา่ งของบคุ คล ทัง้ นสิ ยั ความรู้

ความสามารถ รวู้ ่าคนไหนเป็นคนดี คนไหนเปน็ คนไมด่ ี รวู้ า่ ควรคบหา
หรอื ไม่ รวู้ า่ ควรยกยอ่ งหรอื ตาหนิ

ทฏิ ฐธมั มิกัตถสงั ธรรมท่ีเป็ นไปเพื่อประโยชน์
วัตตนิกธรรม ๔ ปจั จบุ ัน

อฏุ ฐำนสมั ปทำ • ขยนั หม่นั เพยี รในกำรปฏบิ ัตหิ น้ำท่กี ำรงำน

อำรักขสมั ปทำ • รู้จกั ค้มุ ครองเก็บรักษำโภคทรัพย์

กลั ยำณมติ ตตำ • คบคนดีเป็ นมติ ร

สมชวี ติ ำ • มคี วำมเป็ นอยู่เหมำะสม

อธิปไตย ๓ ความเป็ นใหญ่

๑. อตั ตำธิปไตย คอื ควำมมตี นเป็นใหญ่ ถอื ตนเป็นใหญ่

๒. โลกำธิปไตย คอื ควำมมีโลกเป็นใหญ่ ถือโลกเป็นใหญ่
๓. ธมั มำธปิ ไตย คอื กำรถือธรรมเป็นใหญ่ ทำกำรด้วยควำมถกู ต้อง

อิทธบิ าท 4

หลกั ธรรมท่ีนำไปส่คู วำมสำเร็จ

ฉนั ทะ : ควำมพงึ พอใจมีใจรักในงำนท่ีทำ

วิริยะ : เพยี รพยำยำม ม่งุ ม่นั ท่มุ เทกับงำนท่ที ำ

จติ ตะ : มสี มำธแิ ละจดจ่อกับงำนท่ที ำอยู่

วิมังสำ : ไตร่ตรอง ทบทวนในงำนท่ีทำ

และพฒั นำต่อยอด

พรหมวหิ าร 4 เมตตำ คอื ควำมรักใคร่ ปรำรถนำดี

อยำกให้เขำมคี วำมสขุ

ธรรมของผปู้ กครอง กรุณำ คอื ควำมสงสำร

คดิ ชว่ ยให้พ้นทกุ ข์

มุทิตำ คอื ควำมยินดี เม่ือผ้อู ่ืน

อย่ดู มี ีสขุ

อุเบกขำ คอื กำรวำงเฉย ควำมวำงใจเป็นกลำง

สงั คหวตั ถุ 4

ธรรมทเ่ี ป็นเคร่อื งยดึ เหน่ยี วจติ ใจคน

ทำน ปิ ยวำจำ อัตถจริยำ สมำนัตตตำ

กำรให้ กำร กำรพดู จำ ช่วยเหลอื กัน กำรเป็ นผ้มู ี
เสียสละ กำร ด้วยถ้อยคำ ทำประโยชน์ ควำมสม่ำเสมอ
แบ่ งปั นเพ่อื เพอ่ื ส่วนรวม โดยประพฤตติ วั
ประโยชน์แก่ ไพเรำะ ให้มคี วำมเสมอ
อ่อนหวำน ต้นเสมอปลำย
คนอ่นื
จริงใจ

พุทธศาสนสภุ าษิต

คอื ถอ้ ยคาท่มี คี วามหมายในเชิงใหแ้ งค่ ิด เปน็ คติสอนใจ เปน็ สิง่ ท่ี
พระพทุ ธเจา้ สาวก หรอื เทวดาทงั้ หลายตรสั สั่งสอนสาวก ซงึ่ มี
มากมายและครอบคลมุ หลายเรอื่ ง พทุ ธศาสนสุภาษิตทส่ี าคญั ทีค่ วร
เรยี นรไู้ ว้ มดี ังนี้

อตฺตา หเว ชติ เสยโฺ ย
ชนะตนนน่ั แลดกี ว่า

ธมฺมจารี สขุ เสติ
ผู้ประพฤตธิ รรมย่อมอยู่เป็นสุข

ปมาโท มจฺจุโน ปท
ความประมาทเปน็ ทางแหง่ ความตาย

สสุ ฺสสู ลภเต ปญฺญ
ผู้ฟังดว้ ยดยี อ่ มได้ปัญญา

และหลกั ธรรมในพทุ ธสาสนา

By นามปากกา


Click to View FlipBook Version