The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตอีอีซี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2021-05-02 14:40:12

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตอีอีซี

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตอีอีซี

สารบญั

หนา้ หนา้

ส่วนที่ 1: สถาบนั เรา “พี ไอ เอ็ม (PIM)” 3 ส่วนที่ 4 :รู้รอบ..ขอบชดิ PIM EEC 28
ตราสัญลกั ษณ ์ 4 ท่ตี ง้ั และการเดนิ ทาง 28
สปี ระจำ� สถาบัน 4 อาคาร ห้องเรียน หอ้ งปฏิบตั ิการ 29
ดอกไม้ประจำ� สถาบัน 4 ปฏทิ ินการศกึ ษาและรปู แบบการเรยี น 32
ปรชั ญา 5 เทคโนโลยีและระบบสนบั สนุนนกั ศกึ ษา 33
วิสัยทัศน์ 5 - Single Sign-On 33
พนั ธกิจ 5 - PIM Application 34
เอกลกั ษณส์ ถาบัน 5 - Wi-Fi PIMHotspot 36
อตั ลกั ษณน์ ักศกึ ษา 6 - e-mail 37
คณะวชิ า ส�ำนกั วิทยาลยั ในสถาบนั 7 - Office 365 38
เพลงสถาบัน 9 บตั รนักศึกษา 39
การแต่งกาย 40
สว่ นที่ 2 : รูจ้ กั สำ� นักการศกึ ษาท่วั ไป 10 เม่อื มาเรยี นที่ PIM 41
ปรชั ญา 10
วิสัยทัศน ์ 10 - ดตู ารางเรยี น 41
- ตารางหน้าหอ้ งเรียน 42
พนั ธกจิ 10 - การยืนยันการเข้าเรียน 43
สญั ลกั ษณแ์ ละสีประจำ� ส�ำนกั 10
บทบาทหน้าท่ ี 11 - PIM e-Learning 44
- PIM MOOC 45
ศูนยพ์ ฒั นาทักษะและภาษา 11 ห้องสมุด PIM และแหล่งเรยี นรู้ออนไลน์ 46
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills วารสารวชิ าการของสถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์ 50
ใกล้สอบแล้ว..ต้องท�ำอย่างไร 51
ส่วนท่ี 3 : ร้จู ักคณะเรา “บรหิ ารธุรกิจ” เกรดออกแลว้ 53
15 การยนื่ แบบค�ำรอ้ งออนไลน์ ลงทะเบียนเรียน 54
ปรชั ญา ปณิธาน วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ คณะ 15 ประเมินต่างๆ และอน่ื ๆ
สญั ลักษณ์ และสปี ระจ�ำคณะ 16 เตรียมตัวอยา่ งไรเมือ่ ไปฝึกปฏบิ ตั ิ 56
หลกั สตู ร/ สาขาวิชาท่เี ปิดสอน 16 มปี ญั หา..ปรกึ ษาใคร 57
การเข้าถงึ ขอ้ มลู คณะ 17 - อาจารย์ทีป่ รึกษา 57
- หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ 18 - CCDS 58
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การค้าสมยั ใหม่ 23 - Smile Center 59
- หลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบัณฑติ - Friends Care PIM 59
สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการค้าสมัยใหม่ เขา้ ภาคเรยี นใหม่ต้องทำ� อยา่ งไร 60
(ต่อเนอื่ ง) - ลงทะเบยี นเรยี น 60

- ช�ำระค่าเล่าเรยี นและค่าธรรมเนียมตา่ งๆ 61
เรยี นดี ประพฤติดี มที นุ 62
วินัยนักศกึ ษา 63
ท�ำอย่างไรให้ได้เกยี รตนิ ยิ ม 64
ทำ� อย่างไรไม่ให้ถูก Retire 65
สวสั ดกิ ารสำ� หรับนกั ศึกษา 66
ชมรมและกิจกรรมต่างๆ 67
องทางการสอ่ื สาร..บริการนักศกึ ษา 68

สถาบนั เรา
“พี ไอ เอ็ม (PIM)”

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็
(PIM) เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ
ในการจดั ตง้ั จากบรษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน)
ในเครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ โดยไดร้ บั การรบั รองจาก
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวัตกรรม เพื่อใหป้ รญิ ญาในระดับปรญิ ญาตรี
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซงึ่ จดั การเรยี นการ
สอนทง้ั ภาคภาษาไทย ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ
ในฐานะทส่ี ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ป น็
มหาวิทยาลัยแหง่ องคก์ รธุรกิจ (Corporate
University) ทม่ี กี ารเรยี นการสอนแบบ Work-
based Education จงึ แตกตา่ งดว้ ยความเป น็
เลศิ ทางวชิ าการ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรจู้ ากการ
ฝ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ กบั ธรุ กจิ เชน่ กลมุ่ ซพี ี ออลล์
เครอื ซพี ี และพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา
ไดร้ ับประสบการณ์ในการท�ำงานจนเกิดความ
เชย่ี วชาญ ดงั นน้ั บณั ฑติ พไี อเอม็ จงึ เป น็ บคุ ลากร
คณุ ภาพผูม้ คี วามรูท้ างวชิ าการและมคี วามพรอ้ ม
ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมอื อาชพี
นกั ศกึ ษาของสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์
มีการเรียนหรือศึกษาตลอดท้ังหลักสูตรใน
สถานทตี่ า่ งๆ คอื

1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ถนนแจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี

2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วิทยาเขตอีอีซี อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี
(PIM-EEC)

3. หนว่ ยการเรยี นทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ทว่ั ประเทศ

33

ตราสัญลกั ษณ์ ช่อมะกอก โล่ รบิ บิน้
สปี ระจำ� สถาบัน หมายถงึ ความมีชัยชนะเหนือสิง่ อ่นื ใด
มงกุฎ
หมายถงึ การศกึ ษาแสดงถงึ ความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู สดุ และยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความถงึ พรอ้ มดว้ ย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รุง่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบัน
มชี ่อื สถาบันภาษาองั กฤษ และตัวย่ออยูใ่ นโล่
ส่วนชอื่ สถาบนั ภาษาไทยอยูใ่ นริบบ้ิน

สีเขียว
หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความงอกงาม ความสมบรู ณ์
สีเหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและถงึ พรอ้ มด้วยคณุ ธรรม
สีประจำ� สถาบัน
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและความถงึ พร้อมด้วย
คณุ ธรรมเปน็ หนทางแหง่ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งในชีวติ

ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน

ดอกบวั มงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรยี บเสมอื นตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ� เรจ็ อันงดงาม

4

ปรชั ญา

"การศกึ ษาคือบอ่ เกดิ แหง่ ภูมิปัญญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิสยั ทศั น์

“สร้างมืออาชีพดว้ ยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พนั ธกจิ

“มหาวิทยาลัยแห่งองคก์ รธรุ กจิ (Corporate University)” ท่ีมพี นั ธกจิ ดงั น้ี
1. สร้างคนทมี่ ีคุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของภาคธุรกิจ สงั คมและประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้

จากประสบการณ์จรงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ

และทำ� นุบำ� รุงศิลปะวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ เสริมนวตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative

Organization & Good Governance)

เอกลกั ษณส์ ถาบนั

การเปน็ Corporate University บนพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1. การสอนโดยมืออาชีพ (Work-based Teaching) เป็นการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการเรียนรู้จากกรณี

ศกึ ษา จากผปู้ ฏิบัตงิ านจริงในองค์กร เพื่อเตรยี มความพร้อมทจ่ี ะฝึกปฏิบตั จิ ริง
2. การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Work-based Learning) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั

วางโปรแกรมครฝู ึก และมรี ะบบการติดตามประเมินอยา่ งเปน็ ระบบตามวชิ าชพี ของหลกั สูตร เพื่อท�ำให้มี
การบูรณาการระหวา่ งทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแทจ้ ริง
3. การวจิ ยั สนู่ วตั กรรม (Work-based Researching) เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั ของคณาจารยจ์ ากปญั หาวจิ ยั จรงิ ใน
องค์กรที่น�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติได้โดยตรง และน�ำองค์ความรู้ใหม่ๆ กลับมาสู่การเรียนการสอนใน
หอ้ งเรียน
4. มหาวทิ ยาลัยแหง่ การสรา้ งเครือข่าย (Networking University) เปน็ การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา ภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน
การเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั งิ าน และการวจิ ยั ส่นู วตั กรรม

5

อัตลักษณ์นกั ศึกษา PIM

“READY to WORK.”

เรยี นเปน็

1. มีความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. มคี วามรอบรูแ้ ละบรู ณาการในศาสตรส์ าขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. สามารถนำ� เคร่อื งมอื หรอื เทคโนโลยีมาใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการ
(ตามศาสตร์ของตวั เอง)
4. สามารถเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารและลือกใช้ขอ้ มูลความรตู้ า่ งได้อย่างเหมาะสม

คดิ เปน็

1. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) การคดิ วิพากษ์ (Critical thinking) การคิด
เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis thinking) การคดิ เชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)

2. กล้าคิดและสามารถผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้ก่อเกิดเป็นผลงานตามศาสตร์หรือผล
งานเชงิ นวัตกรรมตา่ งๆ ได้

3. มีแนวคดิ การบรหิ ารจดั การอย่างผ้ปู ระกอบการ

ทำ� งานเปน็

1. มีการทำ� งานข้ามสายงานและสามารถจงู ใจผู้อน่ื เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย
2. มีทักษะในการส่อื สารหลากภาษา ทัง้ การฟัง การอ่าน การเขียน การพูด การแปลความ การเลอื กช่องทาง

และเคร่อื งมือในการสอื่ สาร
3. มกี ารตัดสนิ ใจและรับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขึน้
4. สามารถสรา้ งความพอใจระหวา่ งสขุ ภาพ การเรยี น ชวี ติ ส่วนตัว ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลอ่นื

เนน้ วฒั นธรรม

1. สบื สานวัฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มขององคก์ รได้

รกั ความถกู ตอ้ ง

1. ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชีพหรอื จรรยาบรรณในการดำ� เนินธรุ กจิ
2. ยืนหยัดปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง
3. เคารพและชืน่ ชมตอ่ ความดงี ามของผอู้ ่นื

6

สถานท่เี รยี น

คณะ หลกั สตู ร ชื่อยอ่ วิทยาเขต หน่วย
หลกั สตู ร EEC การเรยี น
แจง้ วฒั นะ ทางไกล

จัดการเรียนการสอนในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป -
1) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
3) กลุ่มวชิ าภาษาจนี
4) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
5) กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี

การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ MTM -

การจดั การธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (ตอ่ เนอ่ื ง) CMTM -

การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ (ต่อเน่อื ง) CIMM --
ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอร์เน็ต

การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ DMTM - -
(ระบบการศึกษาทางไกล)

เทคโนโลยีดจิ ิทลั และสารสนเทศ DIT -

วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ CAI --

วศิ วกรรมอตุ สาหการและการผลติ อัจฉรยิ ะ IEM -

วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ AME --
RAE --
วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ BC --
BJ --
ภาษาจีนธรุ กจิ CEB --

ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกจิ RPM --

ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารทางธุรกจิ HROM --
การจัดการอสังหาริมทรัพยแ์ ละ
ทรพั ยส์ ินอาคาร AVI --
การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์คนและ HTM --
การจัดการองค์การ BM --
การจดั การธรุ กจิ การบนิ CB --
การจดั การการบริการและการท่องเท่ียว
การจดั การบณั ฑิต CJ --
วชิ าเอกการส่อื สารองคก์ รและแบรนด์
วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จ้นและ
ส่อื ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์

นวัตกรรมการจดั การเกษตร IAM --

7

สถานท่ีเรียน

คณะ หลักสตู ร ชอื่ ยอ่ วิทยาเขต หนว่ ย
หลักสตู ร แจง้ วฒั นะ EEC การเรยี น
การสอนภาษาจนี (4 ปี) ทางไกล
การสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)
TCL - -

ELT - -

การจดั การเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดการธรุ กิจอาหาร FBM -
การจัดการธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนื่อง) CFBM -
การจดั การธรุ กจิ ภตั ตาคาร RBM --

การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคมขนส่ง LTM --

การจดั การธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสตู ร iMTM --
นานาชาต)ิ

การจดั การธรุ กิจโรงแรมและอาหาร (หลักสูตร iHFM - -
นานาชาติ)

หลักสตู รระดบั ปริญญาโท

การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ MBA-MTM --

วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี MET --
(หลกั สูตรนานาชาต)ิ

การบริหารคนและกลยุทธ์องคก์ าร POS --

การส่ือสารเชงิ นวัตกรรมเพ่อื องคก์ รสมยั ใหม่ MCA --

สาขาวิชาธรุ กิจระหว่างประเทศ iMBA --
(หลกั สตู รนานาชาติ)
--
ภาวะผู้น�ำการบริหารและการจดั การ EML --
การศึกษา --
บริหารธุรกิจ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-MBA
การจัดการทางศลิ ปะ (หลักสูตรภาษาจีน) C-MA --
--
หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก

บริหารธุรกจิ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-PhD

การจัดการการศกึ ษา (หลกั สูตรภาษาจีน) C-PhD-Ed

8

เพลงสถาบนั

เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

เกิดมาเปน็ คน ต้องพรอ้ มจะอดทนทุกเร่ืองราว * มังคลอบุ ล ดั่งพวกเราทุกคน
ไม่วา่ จะดีจะร้ายซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองวา่ เป็นบทเรียน หนักเบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเขม้ แข็ง

ส่งิ ทีเ่ รียนคือความจ�ำ สง่ิ ท่ที ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบมนั่ คง
สงิ่ ทท่ี �ำได้ยากเยน็ นนั้ จะยง่ิ ใหญ่ หยดั ยืนทรนง...ซอ่ื ตรงและแข็งแกรง่

สง่ิ ท่ที ำ� โดยตัวเอง ยิง่ ทำ� จะยิ่งเข้าใจ P (Practicality)
แมน้ านเพียงใดก็ไม่ลืม I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเป็น เรยี นเปน็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเปน็ ธรรมในใจ
(ซ้ำ� *)
ส่ิงทถ่ี ูกรกั ษาไว้ ทผ่ี ดิ เราตอ้ งทิง้ ไป **ในโลกแห่งความจรงิ ตอ้ งเรยี นรูก้ นั จริงๆ
แลว้ เราจะกา้ วไป..ด้วยกนั ต้องออกไปหาความจรงิ ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ รงิ
ตอ้ งเหน่อื ยต้องท้อจรงิ ๆ ตอ้ งเจอผู้คนจรงิ ๆ
***สถาบันปญั ญาภวิ ัฒน์ สถาบนั แห่งปัญญา เรยี นจากคนร้คู วามจรงิ แล้วเราจะเปน็ คนจรงิ
เราจะคอยเป็นผ้สู อน เราจะคอยเปน็ เบา้ หลอม คนเก่งน้นั ยงั ไม่พอ เกง่ จรงิ ต้องจดั การได้

จะหลอ่ และก็หลอมใหท้ กุ คน แคก่ ลา้ กย็ ังไม่พอ กล้าจรงิ ต้องมวี ินัย
ใหพ้ รอ้ มกลายเป็นคนดี (ให้ทกุ คนเปน็ คนด)ี คนฉลาดนั้นยงั ไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไม่โกงใคร
เกิดมาเป็นคน ต้องมุง่ มน่ั ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผ่ี ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แข็งแรงกย็ ังไม่พอ เพราะว่าตอ้ งมีน้�ำใจ
***ธงสเี ขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรอื งรอง
(ซ�ำ้ *, **, ***) บนแผน่ ดนิ สที อง น่คี ือบ้านของเรา
เราก็เหมอื นอิฐคนละก้อนวางซ้อนเรยี งกันจึงแนน่ หนา

กอ่ ดว้ ยความรกั ในปญั ญา
ฉาบด้วยศรทั ธา..ในสถาบัน..ของเรา

(ซำ้� *, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

9

รู้จัก
“ส�ำนกั การศึกษาทวั่ ไป”

ปรชั ญาส�ำนกั การศกึ ษาทวั่ ไป
วชิ าศึกษาทั่วไปสรา้ งความเปน็ มนุษยท์ ่ีมคี ุณภาพในสงั คมโลก มที กั ษะการสื่อสาร
ภาษา ก้าวหน้าเทคโนโลยี มีกระบวนการคิด และมจี ติ สาธารณะ

วสิ ัยทัศน์

“สร้างบัณฑติ มืออาชพี ดว้ ยการเรียนรจู้ ากประสบการณจ์ ริง”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พนั ธกจิ
1) สร้างคนที่มีคุณภาพและตรงกับความต้องการของภาคธุรกิจ สังคม และ

ประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work-based
Education)
2) ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3) สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมนวัตกรรม
(Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรท่พี รอ้ มรบั ความเปลย่ี นแปลง และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีดี
(Transformative Organization & Good Governance)
สญั ลกั ษณ์และสีประจ�ำสำ� นกั

ต้นปญั ญพฤกษ์

หรอื ต้นไมแ้ ห่งปญั ญา
ทแ่ี ผ่ร่มเงาทางการศึกษา
เปรียบเสมือนการเรียนรู้ตลอดชวี ติ

สปี ระจ�ำคณะ สีน�้ำตาลทอง

10

บทบาทหนา้ ที่

ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไปมโี ครงสร้างการทำ� งานประกอบดว้ ย 5 กลุม่ วชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื

1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กล่มุ วชิ าภาษาองั กฤษ 5. กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3. กลมุ่ วชิ าภาษาจนี 6. ศูนย์พฒั นาทกั ษะและภาษา

โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการ
ปัญญาภวิ ัฒน์ และจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาให้เป็นไปตามอตั ลกั ษณ์บัณฑติ ของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ท่ีต้องการ
ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตและสงั คม โดยตลอดปีการศึกษาได้จัดกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาตามกลมุ่ วิชา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรอื CLSD) เปน็ หนว่ ยงาน
ภายใต้ส�ำนักการศึกษาทัว่ ไปทม่ี ีหนา้ ท่เี สรมิ ทักษะ ประเมินทักษะ และออกใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี �ำเป็นตอ่ การท�ำงาน
ของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ
ท้ัง 4 ช้ันปี โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
(Application Program) ช่อื “PIM SMART PASSPORT” ท่ีเปน็ ฐานข้อมูลของนกั ศึกษาส�ำหรบั น�ำไปใช้ประกอบ
การตดั สนิ ใจเลือกพนักงานเข้าทำ� งานของสถานประกอบการต่างๆ

แผนพัฒนาทักษะและภาษา

สำนักการศึกษาทวั่ ไป

ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทักษะช้ันปที่ 1
ทักษะดจิ ทิ ัล (ระบุผลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทกั ษะช้นั ปท ่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบุคะแนนแตละทักษะ) ป 4
e-Leaming score พัฒนาตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทุกที่ ทกุ เวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ตวิ เชม ชน้ั ปท ี่ 3
เพอ่ื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตล ะทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพอ่ื การใชช วี ิต วัดความพรอ มภาษา
รพู ฒั นาการดานดจิ ติ อล
ผลการฝกทกั ษะชั้นปท ี่ 4 ระบุจุดเดนเเละจดุ ท่ี
(ระบุผลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช ีวิต
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบุระดับทักษะ ตลอด 4 ปก ารศึกษา เพือ่ พฒั นา
ทุกทกั ษะ ใหคุณเปนคนที่ “ใช” สำหรับทกุ องคกร

เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป

ป 1 ป 2 ป 2 ป 4

สะทอนศักยภาพและความสามารถ

11

ส�ำนักการศึกษาทั่วไปมีการจัดท�ำชุดฝึกฝน
ทักษะการใช้งานโปรแกรมส�ำนักงาน ผ่านโปรแกรม
ประยุกต์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อให้
นักศึกษาได้ฝึกฝนการใช้เคร่ืองมือในการจัดท�ำเอกสาร
สำ� นกั งาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ งมอื อาชพี ทตี่ อบ
สนองการเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา

12

โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills

โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เปน็ การดำ� เนนิ งานในรปู แบบกิจกรรมเพ่ือพฒั นาทกั ษะและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส�ำหรับนักศึกษา ภายใต้ส�ำนักการศึกษาท่ัวไป เริ่มด�ำเนินการจัดกิจกรรมตั้งแต่ปีการ
ศกึ ษา 2563 ภายใต้คติพจนป์ ระจ�ำโครงการคือ “ไม่มีการลงทุนใด จะได้ผลตอบแทนเท่ากบั การลงทุนเรยี นร้”ู
วตั ถปุ ระสงค์หลักของโครงการ เพอ่ื เสรมิ สร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะชีวติ ใหแ้ กน่ ักศกึ ษา มุ่งเนน้ ให้
นักศกึ ษามี Essential Skills ตอ่ ยอดศักยภาพทม่ี ใี นตัวตนและพฒั นาให้เกดิ ทักษะใหม่พรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มกี ารวางเปา้ หมายไวอ้ ยา่ งชัดเจน คอื การพฒั นาตน พฒั นาคน และนำ� ไปสูก่ ารพัฒนา
สังคมต่อไป

โครงสรา้ งกิจกรรม
กจิ กรรม PIM 3L จัดแบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่ ดงั น้ี
1. ความชอบและไลฟส์ ไตล์ อาทิ กจิ กรรมปตั ตาเลย่ี นตวั เดยี ว..กเ็ ฟย้ี วได้ กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครวั ..รวั้ หลงั หอ้ ง กจิ กรรม

ท�ำอาหารเพื่อสขุ ภาพ และกจิ กรรมแต่งหน้าสวยดว้ ยแรงบนั ดาลใจ เปน็ ตน้
2. ทักษะอย่างมืออาชีพ อาทิ กิจกรรมพูดอย่างโปร..พูดให้เป็น กิจกรรมขายของออนไลน์..ง่ายนิดเดียว กิจกรรม

Innovative Video Creator กิจกรรมการน�ำเสนอและการอา่ นข่าวภาษาอังกฤษ เปน็ ตน้
3. คณุ ค่าในตวั ตนและสังคม อาทิ กิจกรรมรักอย่างไร..ปลอดภัยในวยั เรา กิจกรรมเข้าสังคม..ใครวา่ ยาก กิจกรรม

สรา้ งแรงบนั ดาลใจใหต้ ัวเรา เป็นต้น
การเรยี นรไู้ มม่ วี นั หยดุ นง่ิ หากเราตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไปใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 การเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม PIM 3L เป็นส่วนหนงึ่ ของการเรียนรตู้ ลอดชีวติ สำ� หรับนักศกึ ษาสถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์

ภาพตวั อยา่ งโปสเตอร์ประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรม

13

เปา้ หมายการเรยี นรู้ผ่านโปรแกรม นอกจากนี้ส�ำนักการศึกษา
ส่งเสริมการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษ ทั่วไปมีการน�ำโปรแกรมประยุกต์ด้าน
Common European Framework of Reference การสอื่ สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบ
for Languages : CEFR กบั การจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์
การประเมินตามกรอบความเช่ียวชาญ
ภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดับ B2 เป็นอย่างน้อย

ID64 (ปีที่ 3)

ID64 (ปีที่ 2)

ID64 (ปที ี่ 1)

ID64 (ปที ี่ 3)

แผนสำ� หรบั นกั ศึกษา 64 (ต่อ Block)

แผนสำหรบั นักศกึ ษารหัส 64 ศกึ ษาวธิ กี ารใชงาน สอบวัดระดับความรู ทำแบบฝก หัด สอบวดั ผลครง้ั ท่ี 1 สอบวดั ผลครัง้ ท่ี 2
(ตอ block) (Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นกั ศกึ ษารหสั 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู น้ั ปท ่ี 1

สอบวดั ระดบั ความรู ทำแบบฝกหดั สอบวัดผลครั้งท่ี 1 สอบวดั ผลครง้ั ท่ี 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยชู ้ันปท ี่ 2 และ 3

14

ร้จู ักคณะเรา
“บริหารธุรกจิ ”

ปรัชญาคณะบริหารธรุ กจิ
“การศึกษาคอื บอ่ เกิดแหง่ ภูมปิ ัญญา”

(Education is the Matrix of Intellect)

ปณิธาน
คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ได้น�ำอักษรย่อของ
สถาบัน (PIM) มาขยายความใหส้ อดคลอ้ งกบั ปรัชญาของสถาบัน ดงั นี้
P : Practicality (ความรสู้ กู่ ารปฏบิ ตั )ิ หมายถงึ ความมงุ่ มน่ั ในการผลติ บณั ฑติ
ให้เป็นผู้มีความรู้ดี น�ำความรู้ท่ีได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติจริง
ได้
I : Innovation (นวตั กรรมและการสรา้ งสรรค)์ หมายถงึ ความมงุ่ มนั่ ในการผลติ
บณั ฑติ ใหเ้ ปน็ ผมู้ ี ภมู ปิ ญั ญาและมคี วามสามารถในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม เทคโนโลยี
และแนวคิดใหม่ใหส้ อดคล้องกบั บริบททางสังคมและวฒั นธรรมตามยุคสมยั
M : Morality (คณุ ธรรม จรยิ ธรรม) หมายถงึ ความมงุ่ มนั่ ในการผลติ บณั ฑติ
ใหเ้ ปน็ ผบู้ รบิ รู ณพ์ รอ้ ม กอปรดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เขา้ ใจศลิ ปะและวฒั นธรรม
ทง้ั ของชาตติ นและของประชาคมนานาชาติ มคี วามมน่ั คงทางอารมณ์ ปรบั ตวั ให้
เขา้ กบั สภาวการณต์ า่ งๆ ได้ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง สว่ นรวม และรกั ความถกู ตอ้ ง

วสิ ัยทัศน์
สรา้ งนกั จัดการมืออาชีพดว้ ย
การเรยี นรู้จากประสบการณจ์ ริง

(Creating Professionals through
Work-based Education)

15

พนั ธกจิ
1. ผลติ บณั ฑติ ท่ีมคี ุณภาพและตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ

โดยเน้นการเรียนรูจ้ ากประสบการณจ์ ริง (Work-based Education)
2. ผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียนการสอน

การวจิ ัย การบริการวชิ าการ และท�ำนบุ �ำรงุ ศิลปะและวัฒนธรรม
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะองค์กรและคุณค่า

ต่อสังคมอยา่ งยง่ั ยืน

สัญลกั ษณ์และสีประจำ� คณะ

พงั งาเรอื และ สีฟา้ น้ำ� ทะเล

แทนการตดิ ตอ่ ซอ้ื ขายของมนุษย์

สปี ระจ�ำคณะ สีฟ้าน�ำ้ ทะเล พังงาเรือ

อยู่ในรูปทรงเรขาคณิต 5 เหลี่ยม ส่ือถึง
คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพี่ งึ ประสงค์ 5 ประการ
ไดแ้ ก่ เรยี นเปน็ คดิ เป็น ทำ� งานเป็น
เนน้ วัฒนธรรม และรกั ความถกู ต้อง

หลักสูตร / สาขาวิชาทเ่ี ปิดสอน

หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี

1. หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการคา้ สมยั ใหม่
2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่

(ตอ่ เนอ่ื ง)
3. หลักสูตรบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจการคา้ สมยั ใหม่

(ต่อเน่ือง) (ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอรเ์ นต็ )
4. หลกั สตู รบริหารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่

(หลกั สูตรระบบการศกึ ษาทางไกล)

หลักสตู รระดับปริญญาโท

1. หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการค้าสมยั ใหม่

ตดิ ตอ่ คณะ
ชัน้ 10 อาคาร 4 หรืออาคาร CP ALL Academy
โทรศพั ท์ 0 2855 0321, 0 2855 0288, 0 2855 031

16

การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู คณะ
1. เว็บไซต์คณะบริหารธุรกิจ: https://ba.pim.ac.th/
2. Facebook Link: เพ่อื ติดตอ่ และรบั ข้อมลู ขา่ วสารตา่ งๆ จากคณะ

17

หลักสตู รบริหารธรุ กจิ บณั ฑติ

สาขาวิชาการจดั การ
ธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่

Bachelor of Business Administration Program
in Modern Trade Business Management

ชอ่ื ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : บรหิ ารธรุ กจิ บัณฑิต
(การจดั การธุรกิจการคา้ สมัยใหม่)
(อักษรยอ่ ) : บธ.บ. (การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม)่
ภาษาอังกฤษ (ชอ่ื เต็ม) : Bachelor of Business Administration
(Modern Trade Business Management)
(อักษรยอ่ ) : B.B.A. (Modern Trade Business Management)

จดุ เดน่ ของสาขาวชิ า / หลักสตู ร

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ที่เปิดด�ำเนินการจัดการเรียน
การสอนหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดว้ ยรปู แบบการเรยี นการสอนทผ่ี เู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรทู้ งั้ ภาคทฤษฎแี ละการฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน
จริง (Work-based Education) เพ่ือผลิตมืออาชีพที่หลากหลาย เปี่ยมไปด้วยทักษะ และมีความเช่ียวชาญในการ
บรหิ ารงานด้านธรุ กิจการค้าสมัยใหมอ่ ย่างแท้จริง

ในส่วนของการศึกษาภาคทฤษฎี นักศึกษาจะได้ศึกษากับคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ในห้องเรียนที่ครบครันด้วย
อุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัย ในส่วนของฝึกปฏิบัติงานจริงนักศึกษาจะได้ฝึกเตรียมเข้าท�ำงานในร้าน
สะดวกซอ้ื เซเว่น อเี ลฟเวน่ ซึ่งเป็นรา้ นคา้ ปลกี สมัยใหม่ (Modern Trade) ในกลุ่มบรษิ ทั ซีพี ออลล์ จ�ำกดั (มหาชน)
ทั้งการจดั การสว่ นหน้ารา้ น การบรหิ ารจดั การร้าน การต้อนรบั และบริการลกู ค้า เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาสามารถปฏบิ ัตงิ าน
ไดท้ ันทหี ลงั สำ� เรจ็ การศึกษาในต�ำแหน่งผู้บริหารระดบั ตน้ และพฒั นาไปสผู่ ูบ้ รหิ ารระดบั สงู ตอ่ ไป โดยนกั ศึกษาจะได้
รับการสนับสนุนทุนการศกึ ษาจาก บรษิ ัท ซีพี ออลล์ จำ� กัด (มหาชน) และในระหวา่ งศึกษานักศึกษาจะมีรายไดจ้ าก
การฝกึ เตรียมเขา้ ทำ� งาน อันเป็นการเปดิ โอกาสใหเ้ ยาวชนไทยไดม้ โี อกาสศกึ ษาและพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง

มไทอื ยอไดาค้มชณีโอีพะกบาดรสว้ิหศายึกรษกธาุราแกรลิจเะรสพยี าัฒขนนารวา้จูิชตานากเกอารปงจอรัดยะก่างสาแรบทธุร้จกกราิจิงรกสณารอคดจ์ ้าครสลิงม้อ”ัยงใกหับมว่ ิสจัยึงทเปัศ็นนร์ขูปอแงบสบถากบารันศทึก่ีวษ่าาท“ี่เสปิดรโ้าองกนาสักใหจ้เัดยากวาชรน

18

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ

หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 1. แสดงออกถงึ ความมวี นิ ัยและตรงต่อเวลา
2. ปฏิบัติหน้าที่ดว้ ยความซื่อสตั ยส์ ุจริต
1. แสดงออกถึงความมวี ินยั และตรงตอ่ เวลา มีคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ
2. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีด่ ว้ ยความซื่อสตั ย์สุจริต 3. มคี วามรับผดิ ชอบทงั้ ต่อตนเอง สังคม
มีคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ และการประกอบอาชีพ
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบทงั้ ต่อตนเอง สงั คม 4. แสดงออกซงึ่ ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย
และการประกอบอาชพี
4. แสดงออกซงึ่ ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย 5. ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บและกฎเกณฑข์ ององค์กร
และสงั คม
5. ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององค์กร
และสังคม

• ด้านความรู้

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถอธบิ าย ใช้ทฤษฎี หลกั การพื้นฐานทีเ่ รยี นร ู้ 1. สามารถอธบิ าย ใชท้ ฤษฎี หลักการพื้นฐานทเ่ี รียนรู้
และน�ำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจ�ำวันและศาสตร์ และนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั และศาสตร์
ท่เี กีย่ วขอ้ ง ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
2. สามารถอธบิ าย ใช้ทฤษฎี หลกั การของศาสตร์ที่ 2. สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลกั การของศาสตร์ท่ี
เกยี่ วขอ้ ง และสามารถน�ำมาประยกุ ต์หรือเปน็ เกีย่ วข้อง และสามารถน�ำมาประยุกตห์ รือเปน็
พนื้ ฐานในการเรยี นและการท�ำงาน พื้นฐานในการเรยี นและการทำ� งาน
3. สามารถวเิ คราะห์และเลอื กใช้ความรู้ในศาสตรท์ ่ี 3. สามารถวเิ คราะห์และเลอื กใชค้ วามรใู้ นศาสตร์ที่
เรยี น เรยี น
เพ่ือการวางแผนการเรยี นและการทำ� งาน เพอ่ื การวางแผนการเรียนและการทำ� งาน

• ดา้ นทกั ษะทางปัญญา

หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถวเิ คราะห์และประเมินสถานการณ์ 1. สามารถวเิ คราะห์และประเมนิ สถานการณ์
โดยใชศ้ าสตรท์ ี่เรยี น เพื่อใช้ในการวางแผนการ โดยใช้ศาสตรท์ ่เี รียน เพือ่ ใชใ้ นการวางแผนการ
ทำ� งาน ทำ� งาน
และปฏิบัตงิ านจริง และปฏบิ ตั งิ านจรงิ
2. สามารถจัดระบบและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ 2. สามารถจดั ระบบและสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่
โดยน�ำศาสตร์ทเ่ี รยี นมาเช่ือมโยง ตอ่ ยอดความรู้ โดยนำ� ศาสตร์ทเ่ี รยี นมาเช่ือมโยง ต่อยอดความรู้
และพฒั นาทกั ษะการปฏิบตั งิ าน และพฒั นาทักษะการปฏบิ ัติงาน

3. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการใฝ่หาความรใู้ นศาสตร์ 3. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการใฝห่ าความรู้ในศาสตร์
ที่เรยี นและศาสตร์ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ทเี่ รยี นและศาสตรท์ ีเ่ กย่ี วข้อง

19

• ด้านทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ

หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปฏิบตั ติ ามกฏระเบยี บ ปรบั ตัวเขา้ กับ 1. สามารถปฏิบตั ิตามกฏระเบยี บ ปรับตัวเขา้ กับ
สถานการณ์และวฒั นธรรมองคก์ ร สถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองค์กร

2. มมี นุษยสัมพนั ธ์ทดี่ ี มีความรบั ผดิ ชอบ มภี าวะผ้นู �ำ 2. มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ทีด่ ี มคี วามรบั ผิดชอบ มีภาวะผนู้ ำ�
และท�ำงานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้เป็นอยา่ งดี และทำ� งานร่วมกับผู้อืน่ ได้เปน็ อยา่ งดี

3. พัฒนาตนเองตอ่ หน้าทค่ี วามรับผิดชอบและ 3. พฒั นาตนเองตอ่ หน้าที่ความรับผดิ ชอบและ
งานที่ได้รับมอบหมาย งานที่ไดร้ ับมอบหมาย

4. จดั สรรเวลาการทำ� งาน การดแู ลสุขภาพชวี ิตสว่ นตวั 4. จดั สรรเวลาการทำ� งาน การดูแลสขุ ภาพชวี ติ สว่ นตวั
และการสร้างความสมั พนั ธ์กับผรู้ ว่ มงานในองคก์ ร และการสร้างความสมั พนั ธ์กบั ผู้รว่ มงานในองคก์ ร
และบุคคลทวั่ ไป และบุคคลท่ัวไป

• ดา้ นทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถใช้ความรทู้ างคณิตศาสตร์และสถิติในการ 1. สามารถใชค้ วามรูท้ างคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ใิ นการ
วิเคราะห์ และนำ� เสนอขอ้ มลู ในการเรยี นและ วิเคราะห์ และนำ� เสนอขอ้ มูลในการเรียนและ
การท�ำงาน การทำ� งาน

2. สามารถใช้ภาษาไทยในการอธบิ ายหลักการและ 2. สามารถใช้ภาษาไทยในการอธิบายหลกั การและ
สถานการณ์ รวมถงึ การสอ่ื สารความหมา สถานการณ์ รวมถงึ การสอ่ื สารความหมาย
ยได้อย่างถกู ต้องและตรงประเด็น ได้อยา่ งถูกตอ้ งและตรงประเด็น

3. สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศเพอ่ื การตดิ ต่อส่ือสาร 3. สามารถใช้ภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการตดิ ตอ่ สอื่ สาร
อย่างนอ้ ยหนง่ึ ภาษา อยา่ งน้อยหน่ึงภาษา

4. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ในการสบื ค้น 4. สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการสบื ค้น
เกบ็ รวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ น�ำเสนอผลงาน เกบ็ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ นำ� เสนอผลงาน
และการฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน และการฝึกปฏิบัติงาน

แนวทางการประกอบอาชพี
1. ผบู้ ริหารองคก์ ร
2. ผู้ประกอบการร้าน Modern Trade
3. พนกั งานบริษทั
4. พนกั งานในธุรกิจการคา้ สมยั ใหม่ เชน่ ฝ่ายปฏิบตั ิการร้านสะดวกซือ้

ห้างสรรพสินคา้
5. ผปู้ ระกอบการเพอ่ื ผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารทงั้ online และ offline

20

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปีการศกึ ษาท่ี 1

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต

10xxxxx หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 2 10xxxxx หมวดอัตลักษณ์ของสถาบัน PIM 2
10xxxxx หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบัน PIM 3
1101101 หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 3 10xxxxx หมวดศาสตร์แห่งชวี ิต 3
1101102 การขายและมาตรฐานการบริการ 3
การตลาดเพือ่ การจดั การธุรกิจ 3 10xxxxx
1112101
1112151 การจัดการองค์การและทรพั ยากร 3 1112102
มนษุ ยใ์ นยุคดจิ ิทลั

การจดั การธุรกจิ การค้าสมัยใหม่ 3 1112103 การจดั การสินค้าและบรกิ าร 3
การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ิดา้ น 3
การเรียนรู้ภาคปฏิบัติดา้ น 3 1112152 การจดั การธรุ กิจการค้าสมัยใหม่ 2
การจัดการธุรกจิ การค้าสมยั ใหม่ 1 17
รวม
รวม 17

ปกี ารศกึ ษาท่ี 2

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกติ รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ

10xxxxx หมวดอัตลักษณข์ องสถาบนั PIM 3 10xxxxx หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 2
10xxxxx หมวดศาสตรแ์ ห่งชีวิต 3
1101103 หมวดศาสตร์แห่งชวี ติ 3 10xxxxx กฎหมายธรุ กิจ 3

1101204 การจัดการโลจิสตกิ สแ์ ละ 3 1101205
ซัพพลายเชน
1112204
การบญั ชบี รหิ ารเพื่อการจดั การ 3 1101206 การจดั การนวัตกรรมธรุ กจิ 3
1112253 ธรุ กิจ

การวิจัยและวเิ คราะห์พฤตกิ รรม 3 1112205 กลยุทธก์ ารตลาดดิจทิ ัล 3
ผูบ้ รโิ ภค

การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ิด้าน 3 1112254 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัตดิ า้ น 3
การจัดการธรุ กิจการคา้ สมยั ใหม่ 3 การจดั การธรุ กิจการค้าสมัยใหม่ 4 17

รวม 18 รวม

21

ปีการศกึ ษาท่ี 3

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกิต

10xxxxx หมวดอัตลกั ษณ์ของสถาบัน PIM 3 1101308 การจดั การการปฏบิ ตั กิ ารทางธรุ กจิ 3

10xxxxx หมวดศาสตร์แหง่ ชีวติ 3 1112306 สัมมนาการจดั การธุรกิจการค้าสมัย 3
ใหม่

1101307 เศรษฐศาสตร์และการเงนิ 3 1103xxx กลุ่มวิชาเลอื ก (2) 3
เพือ่ การจัดการธรุกจิ

1103xxx กลมุ่ วชิ าเลอื ก (1) 3 1103xxx กล่มุ วิชาเลอื ก (3) 3

1112355 การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ัติด้าน 3 1112356 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัตดิ ้าน 3
การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ 5 การจัดการธุรกิจการคา้ สมยั ใหม่ 6

รวม 15 รวม 15

ปีการศึกษาท่ี 4

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกิต

1103xxx กลมุ่ วชิ าเลอื ก (4) 3 1103xxx กลมุ่ วชิ าเลือก (6) 3
1103xxx กลุม่ วชิ าเลือก (5) 3 xxxxxxx กลมุ่ วชิ าเลือกเสรี (2) 3
xxxxxxx กลมุ่ วิชาเลือกเสรี (1) 3 1112458 การเรยี นรูภ้ าคปฏบิ ตั ดิ ้าน 3
การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ 8
1112457
การเรียนรภู้ าคปฏิบัติด้าน 3
การจดั การธุรกจิ การคา้ สมยั ใหม่ 7 12 รวม 9

รวม

22

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวชิ าการจัดการ
ธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ (ตอ่ เน่อื ง)

Bachelor of Business Administration Program in
Modern Trade Business Management (Continuting Program)

ชอื่ ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชอ่ื เต็ม) : บริหารธุรกจิ บณั ฑิต
(การจดั การธุรกจิ การค้าสมัยใหม)่
(อกั ษรย่อ) : บธ.บ. (การจดั การธุรกิจการคา้ สมยั ใหม)่
ภาษาองั กฤษ (ช่ือเตม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Modern Trade Business Management)
(อกั ษรยอ่ ) : B.B.A. (Modern Trade Business Management)

จุดเดน่ ของสาขาวชิ า / หลักสตู ร

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ เปน็ สถาบันอดุ มศกึ ษาในเครอื บรษิ ทั ซีพี ออลล์ จ�ำกดั (มหาชน) ท่มี อี งค์ความ
รแู้ ละความเชยี่ วชาญดา้ นธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ เปน็ ทย่ี อมรบั อยา่ งกวา้ งขวางทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ จงึ มคี วาม
พร้อมท้ังทรัพยากรบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถเชิงธุรกิจ และสถานที่ฝึกปฏิบัติงานท่ีพร้อมจะรองรับรูปแบบการ
ศึกษาบนพื้นฐานของการท�ำงานจริง (Work-based Education) โดยนักศึกษาจะต้องเรียนรู้ภาคทฤษฎีและภาคฝึก
ปฏิบัตดิ า้ นการจัดการธุรกิจการค้าสมยั ใหมใ่ นสถานประกอบการ นอกจากนีห้ ลกั สตู รการจดั การธรุ กิจการค้าสมยั ใหม่
หลักสูตร (ตอ่ เนื่อง) ยังรองรบั นโยบายภาครฐั ทส่ี นบั สนนุ ใหม้ กี ารจดั การศึกษาหลักสูตรตอ่ เนื่องระดับปรญิ ญาตรี เพอื่
เปดิ โอกาสให้การศึกษาต่อระดับปรญิ ญาตรีของนักศกึ ษาสายอาชีวศึกษา ทีเ่ ปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจในการเลือกเส้นทาง
สู่สายอาชีพใหเ้ พ่ิมมากข้ึน

นกั ศกึ ษาจะไดศ้ กึ ษากบั คณาจารยผ์ ทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นหอ้ งเรยี นทค่ี รบครนั ดว้ ยอปุ กรณแ์ ละสอื่ การเรยี นการสอนทที่ นั
สมยั ในสว่ นของการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ นกั ศกึ ษาจะไดฝ้ กึ เตรยี มเขา้ ทำ� งานในรา้ นสะดวกซอื้ เซเวน่ อเี ลฟเวน่ ซงึ่ เปน็ รา้ น
ค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ในกลุ่มบริษัท ซี พี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) นับเป็นห้องเรียนอีกรูปแบบหน่ึงที่
นักศึกษาจะได้เรียนรู้และฝึกฝนทักษะท่ีต่างจากการเรียนในห้องเรียน ทั้งการจัดการส่วนหน้าร้าน การบริหารจัดการ
ร้าน การต้อนรับและการบริการลูกค้า โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ ท้ังนี้เพ่ือให้
นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้ทันทีหลังส�ำเร็จการศึกษาในต�ำแหน่งผู้บริหารระดับต้น และพัฒนาไปสู่ผู้บริหารระดับ
สูง และเปน็ ผู้ประกอบการในธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ต่อไป

ไอดา้มชีโอีพคกณาดสะ้วศบยึกรษกหิ าาาแรรธลเรุะรกพียจิ ัฒนสนาราข้จูตาวานชิเกอาปกงอารรยะจ่าสดังแกบทากร้จธรารุ ิงรกณจิสกอจ์าดรรคคลงิ า้ ้อ”สงมกยั ับใหวมิสจั่ยงึทเัศปนน็ ์ขรปูอแงสบถบากบาันรศทกึี่วษ่าา“ทเ่ีสปรดิ ้าโองกนาสักใจหเ้ัดยากวาชรนมไทือย

23

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ

หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 1. แสดงออกถงึ ความมีวนิ ัยและตรงตอ่ เวลา
2. ปฏิบตั หิ น้าที่ด้วยความซอื่ สัตยส์ ุจรติ
1. แสดงออกถึงความมีวนิ ัยและตรงต่อเวลา มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ
2. ปฏบิ ัติหนา้ ที่ดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต 3. มคี วามรบั ผิดชอบทงั้ ต่อตนเอง สังคม
มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ และการประกอบอาชพี
3. มคี วามรับผิดชอบทัง้ ต่อตนเอง สังคม 4. แสดงออกซ่ึงประเพณีและวฒั นธรรมไทย
และการประกอบอาชพี
4. แสดงออกซึ่งประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย 5. ปฏิบตั ติ ามระเบียบและกฎเกณฑข์ ององคก์ ร
และสงั คม
5. ปฏิบัตติ ามระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององค์กร
และสงั คม

• ดา้ นความรู้

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. สามารถอธิบาย ใชท้ ฤษฎี หลกั การพน้ื ฐานทเี่ รียนร ู้ 1. สามารถอธิบาย ใชท้ ฤษฎี หลกั การพน้ื ฐานทเี่ รียนรู้
และน�ำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำ� วนั และศาสตร์ และนำ� ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำ� วนั และศาสตร์
ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
2. สามารถอธบิ าย ใชท้ ฤษฎี หลักการของศาสตรท์ ่ี 2. สามารถอธบิ าย ใชท้ ฤษฎี หลักการของศาสตร์ท่ี
เกี่ยวขอ้ ง และสามารถนำ� มาประยุกตห์ รือเปน็ เกี่ยวขอ้ ง และสามารถนำ� มาประยกุ ต์หรือเป็น
พืน้ ฐานในการเรียนและการทำ� งาน พื้นฐานในการเรียนและการท�ำงาน
3. สามารถวเิ คราะหแ์ ละเลือกใช้ความรู้ในศาสตร์ท่ี 3. สามารถวเิ คราะหแ์ ละเลือกใชค้ วามรู้ในศาสตรท์ ี่
เรยี น เรียน
เพ่อื การวางแผนการเรียนและการท�ำงาน เพ่อื การวางแผนการเรียนและการท�ำงาน

• ดา้ นทกั ษะทางปัญญา

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ สถานการณ์ 1. สามารถวิเคราะหแ์ ละประเมินสถานการณ์
โดยใชศ้ าสตรท์ ีเ่ รียน เพ่อื ใชใ้ นการวางแผนการ โดยใชศ้ าสตร์ทเี่ รยี น เพ่ือใชใ้ นการวางแผนการ
ท�ำงาน ทำ� งาน
และปฏิบัติงานจริง และปฏบิ ัติงานจรงิ
2. สามารถจดั ระบบและสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ 2. สามารถจัดระบบและสร้างสรรค์สิง่ ใหม่
โดยน�ำศาสตร์ทเี่ รียนมาเชอื่ มโยง ตอ่ ยอดความรู้ โดยนำ� ศาสตร์ทเ่ี รียนมาเชอ่ื มโยง ต่อยอดความรู้
และพฒั นาทกั ษะการปฏบิ ัตงิ าน และพฒั นาทักษะการปฏิบัตงิ าน

3. มีความกระตอื รือรน้ ในการใฝ่หาความรูใ้ นศาสตร์ 3. มีความกระตอื รอื รน้ ในการใฝ่หาความรใู้ นศาสตร์
ที่เรียนและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ทเี่ รยี นและศาสตร์ที่เก่ยี วข้อง

24

• ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ

หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปฏิบตั ิตามกฏระเบียบ ปรบั ตวั เข้ากับ 1. สามารถปฏบิ ัติตามกฏระเบียบ ปรับตวั เข้ากบั
สถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองคก์ ร สถานการณ์และวฒั นธรรมองคก์ ร

2. มีมนษุ ยสมั พันธท์ ด่ี ี มคี วามรับผิดชอบ มภี าวะผู้น�ำ 2. มมี นุษยสัมพันธท์ ดี่ ี มคี วามรบั ผิดชอบ มีภาวะผนู้ ำ�
และท�ำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดี และท�ำงานร่วมกับผ้อู ่ืนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

3. พัฒนาตนเองตอ่ หนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบและ 3. พฒั นาตนเองต่อหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบและ
งานท่ีได้รับมอบหมาย งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

4. จัดสรรเวลาการทำ� งาน การดูแลสขุ ภาพชวี ิตสว่ นตัว 4. จัดสรรเวลาการท�ำงาน การดแู ลสขุ ภาพชวี ติ ส่วนตัว
และการสรา้ งความสมั พันธ์กบั ผ้รู ว่ มงานในองค์กร และการสรา้ งความสัมพนั ธ์กับผรู้ ่วมงานในองคก์ ร
และบุคคลทว่ั ไป และบคุ คลทวั่ ไป

• ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. สามารถใชค้ วามรทู้ างคณติ ศาสตร์และสถิติในการ 1. สามารถใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์และสถติ ใิ นการ
วเิ คราะห์ และนำ� เสนอขอ้ มูลในการเรียนและ วเิ คราะห์ และน�ำเสนอข้อมูลในการเรียนและ
การท�ำงาน การท�ำงาน

2. สามารถใช้ภาษาไทยในการอธบิ ายหลกั การและ 2. สามารถใชภ้ าษาไทยในการอธิบายหลกั การและ
สถานการณ์ รวมถงึ การสอื่ สารความหมา สถานการณ์ รวมถงึ การสือ่ สารความหมาย
ยได้อย่างถูกตอ้ งและตรงประเดน็ ได้อยา่ งถกู ตอ้ งและตรงประเด็น

3. สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศเพือ่ การตดิ ต่อส่อื สาร 3. สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศเพอ่ื การติดตอ่ สอ่ื สาร
อย่างน้อยหนึง่ ภาษา อยา่ งน้อยหนงึ่ ภาษา

4. สามารถเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ในการสบื ค้น 4. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ในการสบื คน้
เก็บรวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ น�ำเสนอผลงาน เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ นำ� เสนอผลงาน
และการฝึกปฏบิ ตั งิ าน และการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน

แนวทางการประกอบอาชพี
1. พนกั งานในธุรกิจการค้าสมยั ใหม่ เช่น ฝา่ ยปฏิบตั กิ ารรา้ นสะดวกซอื้

ห้างสรรพสินค้า
2. พนักงานบริษัท
3. ผูบ้ รหิ ารองค์กร
4. ผู้ประกอบการร้าน Modern Trade
5. ผปู้ ระกอบการผลติ สนิ ค้าและบริการท้ัง online และ offline

25

ปีการศึกษาที่ 1

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหัสวชิ า รายวิชา หน่วยกติ รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต

10xxxxx หมวดอัตลักษณข์ องสถาบัน PIM 2 10xxxxx หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบนั PIM 2

10xxxxx หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบัน PIM 3 10xxxxx หมวดศาสตรแ์ ห่งชีวิต 3

1101101 การตลาดเพื่อการจัดการธุรกจิ 3 1101103 การจัดการโลจิสติกส์และซพั พลายเชน 3

1101102 การจดั การองค์การและทรัพยากร 3 1132102 กลยทุ ธก์ ารขายและเอกลักษณ์ 3
มนษุ ยใ์ นยคุ ดจิ ิทัล การบรกิ าร

1132101 การจดั การร้านค้าคณุ ภาพ 3 1132103 การจัดการธุรกจิ ดจิ ิทัล 3

1132151 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัติด้านการจดั การ 3 1132152 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติดา้ นการจัดการ 3
ธรุ กิจการค้าสมัยใหม่ 1 ธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ 2

รวม 17 รวม 17

ปกี ารศึกษาที่ 2

รหัสวชิ า ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกิต

10xxxxx รายวิชา 2 10xxxxx รายวิชา 3
1101204 3 1101205 3
หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบนั PIM หมวดศาสตรแ์ หง่ ชวี ติ
1132204 การบญั ชีบริหารเพอ่ื การจดั การ กฎหมายธุรกจิ
ธุรกจิ
1103xxx การจัดการผลติ ภณั ฑ์ส�ำหรับธุรกิจ 3 1132205 การวิเคราะห์ข้อมลู ธุรกจิ 3
การค้าสมัยใหม่
1103xxx กลุม่ วชิ าชพี เลอื ก (1) 3 1132206 สมั มนาการจดั การธุรกจิ 3
1132253 การคา้ สมยั ใหม่
กลมุ่ วชิ าชพี เลือก (2) 3 1103xxx กลุม่ วชิ าชีพเลอื ก (3) 3
การเรยี นรูภ้ าคปฏิบตั ดิ า้ น 3 xxxxxxx กลมุ่ วชิ าเลอื กเสรี 3
การจัดการธรุ กิจการคา้ สมยั ใหม่ 3
1132254
การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั ิดา้ น 3
รวม 17 การจดั การธรุ กจิ การค้าสมยั ใหม่ 4 21

รวม

26

27

รู้รอบ..ขอบชิด ทตี่ ั้งและการเดินทาง

PIM : วทิ ยาเขตออี ซี ี

พัทยา

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
วิทยาเขตอีอซี ี

สัตหีบ

ที่มารปู ภาพ : https://www.nongnoochpattaya.com/

สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์ วิทยาเขตออี ซี ี โทรศพั ท ์ : 0 2855 0000
หรอื พีไอเอ็ม ออี ซี ี (PIM-EEC) โทรสาร : 0 2855 0391
ต้ังอยเู่ ลขที่ 1 หมู่ 7 ต.นาจอมเทยี น อ.สตั หีบ จ.ชลบรุ ี 20250 อีเมล : [email protected]
เฟสบคุ๊ : www.facebook.com/pimfanpage

เดินทางมา PIM-EEC

รถประจำ� ทาง รถตโู้ ดยสารประจำ� ทาง

สาย 57 (หมอชติ – ระยอง) สายสัตหีบ – กทม.
สาย 46 (เอกมัย – ระยอง) (หมอชิต – สายใตใ้ หม่ – เอกมยั – ฟวิ เจอรพ์ ารค์ รงั สิต)
สาย 163 จ. (ชลบรุ ี – สตั หบี )
สาย 303 (ชลบุรี – ระยอง)

แนะนำ� การเดินทางจากสถานีขนส่งเอกมยั กรงุ เทพ – PIM-EEC
>> https://fb.watch/2XKrqOKeNl/

28

อาคารเรยี น หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบัติการ
และหอพกั นกั ศึกษาใน PIM-EEC

อาคารอ�ำนวยการ
(Central Administration Building)

ท�ำความรูจ้ ักอาคารเรียน หอ้ งเรียน ใน PIM-EEC
CLICK >> https://www.youtube.com/watch?v=dQagjD2-2D0

ชน้ั 1 :

งานรับสมคั รนกั ศึกษา
ส�ำนักสง่ เสริมวิชาการ
ส�ำนกั บญั ชแี ละการเงนิ งานจดั ซื้อและพัสดุ

ห้องพยาบาล
หอ้ งละหมาด
ห้องปฏบิ ัติการไฟฟ้า-ฟิสิกส์
ห้องปฏิบตั กิ ารเคมี
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารการโรงแรม อาหารและเครื่องดื่ม
Smart Farming & Digital Campus
ศนู ย์ข้อมูลธุรกจิ

ชน้ั 2 :

ห้องเรียน
หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพิวเตอรแ์ ละภาษา

ช้ัน 3 :

สำ� นกั งานคณบดี
คณะนวัตกรรมการจดั การ
ห้องประชุม และส�ำนกั งาน

29

อาคารแคนทีน
(Canteen Building)

ชน้ั 1 :

พ้นื ทนี่ ่งั เลน่ สันทนาการ
รา้ นอาหาร

ชน้ั 2 :

ห้องสมุด

หอพักนักศกึ ษา PIM-EEC A
CB
อาคาร A: อพาร์ทเม้นท์สำ� หรับบุคลากร
อาคาร B: หอพกั ส�ำหรบั นกั ศึกษา ED
อาคาร C: หอพกั ส�ำหรับนกั ศกึ ษา

หมายเหต:ุ อาคาร D และ E อยรู่ ะหว่างการดำ� เนินการ

Review ชีวิตนักศกึ ษาในหอพกั และรวั้ PIM-EEC
CLICK >> https://www.youtube.com/watch?v=oSbYGIRbLLc

30

หอ้ งพกั

น้องๆ จะมี Roommate หรอื เพอ่ื นร่วมหอ้ งพกั โดย
ในห้องหนึ่งจะมีนักศึกษาเข้าพัก 2 คน ภายในห้องพัก
ประกอบด้วย

• เตยี งเดยี่ ว จ�ำนวน 2 เตียง
• โต๊ะส�ำหรบั อา่ นหนงั สือ จำ� นวน 2 โตะ๊
• ตเู้ ส้อื ผ้าจ�ำนวน 2 ตู้
• หอ้ งน�ำ้ 1 หอ้ ง และห้องสขุ า 1 ห้อง
• อ่างสำ� หรบั ล้างมอื ลา้ งหนา้
• ชนั้ วางรองเท้า
• ระเบยี งสำ� หรบั ตากผ้า
• ระบบปรบั อากาศ

• ส่งิ อ�ำนวยความสะดวกในหอพัก

ตบู้ รกิ ารสนิ คา้ 7-11 และมวลชน หนา้ หอพกั

หิวเม่ือไหร่ก็แวะมา ท่ีหน้าหอพักจะมีสินค้าต่างๆ
บริการน้องๆ ผ่านตู้บริการสินค้า 7-11 และตู้บริการ
สนิ ค้าของมวลชน

หอ้ ง Co-Working Space

จะนั่งพกั ผ่อน ทานอาหาร และพดู คยุ กบั เพอ่ื นรว่ ม
หอพักต้องที่น่ีเลย แถมยังมีเครื่องท�ำน�้ำร้อน น�้ำเย็น
ตู้เย็น ไมโครเวฟ และจุดส�ำหรับล้างจานชามบริการ
น้องๆ ในหอพักอีกดว้ ย

น้องๆ สามารถมานั่งพักผ่อนท่ีห้อง Co-Working
Space ได้ทีช่ ั้น 1 และ ชนั้ 3 ของอาคารหอพัก

ห้องซกั อบ

หากตอ้ งการ ซกั และอบแหง้ เสอ้ื ผา้ นอ้ งๆ นกั ศกึ ษา
สามารถมาใชบ้ รกิ ารไดท้ ห่ี อ้ งซกั อบ บรเิ วณชนั้ 1 อาคาร
หอพกั (มคี ่าบริการ) แถมยงั มีบรกิ ารอปุ กรณส์ �ำหรับรดี
ผ้าฟรี ไม่มีคา่ ใชจ้ า่ ยที่ช้นั 2 และ 4 ของอาคารหอพกั
อีกดว้ ย

31

ปฏทิ นิ การศกึ ษาและรปู แบบการเรยี น

สถาบนั มกี ารจดั การเรยี นการสอนผา่ นการเรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ (Work-based Education) ทม่ี งุ่ เนน้ การปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา
ไดร้ ับความร้แู ละทกั ษะ (Knowledge & Skill) จากในห้องเรยี นและสถานประกอบการ ดังนั้นในหน่ึงภาคการศกึ ษาจะแบง่ การจัดการ
เรยี นการสอนออกเปน็ 2 ชว่ ง ชว่ งละ 3 เดอื น โดยมรี ายละเอียดของการเรยี นในช้ันเรียน และการฝกึ ปฏิบตั ิในสถานประกอบการตา่ งๆ
แตกตา่ งกันตามแผนการเรยี นของแตล่ ะหลักสตู ร ทง้ั นี้สามารถศกึ ษาขอ้ มูลเพิ่มเติมไดท้ ่คี ่มู ือนกั ศกึ ษาและสอบถามเพม่ิ เตมิ จากคณะวิชา

ปฏิทนิ การศกึ ษาสำ� หรบั นกั ศึกษาคณะบริหารธุรกิจ
คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และคณะการจดั การธรุ กจิ อาหาร

กจิ กรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
2.1 2.2
ปฐมนเิ ทศ/ประชมุ ผ้ปู กครอง/ 0.1 0.2 1.1 1.2
พบอาจารย์ท่ปี รึกษา/ --
ลงทะเบยี นอตั โนมตั ิ ตามประกาศ ตามประกาศ -
วนั สดุ ท้าย ของการชำ� ระเงนิ สถาบันฯ สถาบันฯ *** 14 ก.พ. 65
คา่ เลา่ เรยี นคา้ งชำ� ระเทอมปจั จบุ นั 7 - 15 ก.พ. 65
พบอาจารยท์ ีป่ รึกษา/ 16 ส.ค. 64 7 ก.พ. – 10 มี.ค. 65
ลงทะเบยี นเรยี น Online*
ชำ� ระเงินคา่ เลา่ เรยี น* 9 – 17 ส.ค. 64
9 ส.ค. – 10 ก.ย. 64

ระยะเวลาฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน 16 ม.ี ค. - 31 พ.ค. 64 1 มิ.ย. – 31 ส.ค. 64 1 ก.ย. – 30 พ.ย. 64 1 ธ.ค. 64 – 28 ก.พ. 65 1 ม.ี ค. – 31 พ.ค. 65 1 มิ.ย. – 31 ส.ค. 65

ระยะเวลาเรยี น 16 ม.ี ค .- 9 พ.ค. 64 7 ม.ิ ย. – 15 ส.ค. 64 6 ก.ย. – 14 พ.ย. 64 6 ธ.ค. 64 – 13 ก.พ. 65 7 มี.ค. – 15 พ.ค. 65 6 ม.ิ ย. – 14 ส.ค. 65

ระยะเวลาลาพัก/ 1 ก.ย. – 1 ต.ค. 64 1 มี.ค. – 1 เม.ย. 65
รกั ษาสภาพการเป็นนกั ศึกษา
ลงทะเบียนล่าชา้ Online 30 ส.ค. – 6 ก.ย. 64 28 ก.พ. – 7 มี.ค. 65
นศ.ทกุ ชนั้ ปี และชำ� ระเงิน*
เพิม่ /ถอนรายวชิ า (ไม่ติด W) 16 - 28 มี.ค. 64 8 – 20 มิ.ย. 64 7 – 19 ก.ย. 64 7 – 19 ธ.ค. 64 8 – 20 ม.ี ค.65 7 – 19 มิ.ย. 65
และช�ำระเงนิ กรณเี พ่มิ รายวิชา*
29 มี.ค. - 23 เม.ย. 64 21 ม.ิ ย. – 6 ส.ค. 64 20 ก.ย. – 29 ต.ค. 64 20 ธ.ค. 64 – 4 ก.พ. 65 21 ม.ี ค. – 6 พ.ค. 65 20 มิ.ย. – 5 ส.ค. 65
ถอนรายวิชา (ตดิ W)
10 – 16 พ.ค. 64 18 – 25 ส.ค. 64 17 – 24 พ.ย. 64 16 – 23 ก.พ. 65 18 – 25 พ.ค. 65 17 – 24 ส.ค. 65
สอบปลายภาค
“แจ้งวัฒนะ หนว่ ยการเรียน 17 มิ.ย. 64 9 ก.ย. 64 9 ธ.ค. 64 10 มี.ค. 65 9 ม.ิ ย. 65 8 ก.ย. 65
ทางไกล และวทิ ยาเขตอีอซี ี” 19 ก.ค. 64 11 ต.ค. 64 10 ม.ค. 65 11 เม.ย. 65 11 ก.ค. 65 10 ตุ.ค. 65
ประกาศผลการเรยี น/ 16 ม.ี ค. 65 1 ม.ิ ย.65 1 ก.ย. 65 1 ธ.ค. 65 1 ม.ี ค. 66 1 มิ.ย. 66
ผลการฝึกปฏิบตั ิงาน Online
วนั สุดท้าย การแก้ไขเกรด “I”
วันเปดิ ภาคการศึกษา
ปกี ารศึกษา 2565

หมายเหตุ : * หากพ้นกำ� หนด มีคา่ ปรบั ตามประกาศสถาบันฯ

ขอ้ มลู ปฏทิ ินการศกึ ษา >>
https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-undergraduate-th

32

เทคโนโลยแี ละระบบสนบั สนนุ นกั ศกึ ษา

ข้อแนะน�ำการใช้งานเทคโนโลยีและระบบบริการ • Single Sign-On
สารสนเทศส�ำหรับนักศึกษาของสถาบัน เพ่ือให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ นกั ศกึ ษาควรมอี ปุ กรณ์ Smart Devices
ทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ เ่ี หมาะสมทเี่ พยี งพอกบั การใชง้ านในปจั จบุ นั นักศึกษาสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ที่จุดบริการ
ภายในสถาบันและระบบบริการสารสนเทศส�ำหรับ
นักศกึ ษา เช่น เวบ็ ไซต์บริการการศกึ ษา ระบบการเรยี น
การสอนออนไลน์ PIM Application และระบบอน่ื ๆ โดย
ใช้ชอื่ ผ้ใู ช้งาน (Username) และรหสั ผา่ น (Password)
เดยี วกันในทุกระบบ (Single Sign-On)

33

• PIM Application

PIM Application เปน็ แอปพลเิ คชนั ทน่ี กั ศกึ ษาควรตดิ ตง้ั ในอปุ กรณ์ Smart Devices ของตนเอง เพอื่ เปน็ ประโยชน์
และอ�ำนวยความสะดวกในด้านตา่ งๆ ของนกั ศกึ ษา

ตัวอยา่ งฟังกช์ ัน่ ของ PIM Application
เพ่ืออำ� นวยความสะดวกแกน่ ักศึกษา

1. แสดงตวั ตนการเปน็ นักศึกษา 5. ตรวจสอบช่ืออาจารยท์ ป่ี รกึ ษา

>> ผา่ นเมนบู ตั รนักศึกษาอเิ ล็กทรอนิกส์ >> ผ่านเมนู Advisor

2. ยืนยนั การเข้าเรียนผ่านเมนใู นแตล่ ะรายวิชา 6. รบั การแจง้ เตือนต่างๆ จากสถาบัน

>> ผา่ นเมนู Check Room Tracking >> ผ่านเมนู Notifications

3. ดตู ารางเรยี น หอ้ งเรยี น หอ้ งสอบ ผลการเรยี น 7. เขา้ ลงิ ค์ URL ทส่ี ำ� คญั เชน่ e-Learning, REG
(ระบบบริการการศึกษา), แบบค�ำร้องออนไลน,์
>> ผา่ นเมนู Academic บรกิ ารยมื -คนื หนังสอื หอ้ งสมุด เป็นต้น

4. ตรวจสอบปฏทิ นิ การศกึ ษาและกจิ กรรมตา่ งๆ

>> ผา่ นปฏทิ นิ กจิ กรรม

34

หมายเหตุ :

กรณีนักศกึ ษาเปล่ียน Smart Devices ทีใ่ ช้งาน และตอ้ งการลง PIM Application ใน Smart
Devices ใหม่ ให้ตดิ ตอ่ สำ� นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ช้ัน 12 อาคาร CP ALL Academy หรอื
ตดิ ตอ่ ผา่ นทาง Facebook: ส�ำนักเทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

35

36

37

38

บตั รนกั ศกึ ษา

บตั รนกั ศกึ ษาของสถาบันฯ อย่ใู นรูปแบบของ บัตรอเิ ล็กทรอนิกส์ โดยการเปิดผา่ น PIM Application
ซ่งึ สามารถนำ� ไปใชใ้ นกิจกรรมต่างๆ ทัง้ ในและนอกสถาบนั ดังน้ี

1. ใชแ้ สดงตนเมอ่ื ตดิ ต่อกบั สถาบันฯ หรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งนี้หากนักศึกษามีปัญหาในการแสดง
ผลบตั รอเิ ลก็ ทรอนกิ สผ์ า่ น PIM Application
2. ใชแ้ สดงตนในการเขา้ สอบ กรณุ าตดิ ตอ่ สำ� นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนั้
12 อาคาร CP ALL Academy หรอื ตดิ ต่อ
3. ขอใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ เชน่ ยืม – คนื หนังสอื และ ผ่านทาง Facebook: ส�ำนักเทคโนโลยี
ทรพั ยากรในหอ้ งสมดุ PIM และ PIM-EEC สารสนเทศ สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

4. ใช้สำ� หรบั การเข้า-ออก อาคารหอพักนกั ศึกษา อย่างไรก็ตามหากนักศึกษาต้องการใช้
งานบัตรนักศึกษาในรูปแบบการ์ดแข็ง
5. ใชแ้ สดงตน เพือ่ เขา้ ชมสวนนงนุชฟรี ไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย สามารถท�ำได้โดยติดต่อส�ำนักส่งเสริม
วิชาการและไม่เสียค่าธรรมเนียมในการท�ำ
6. ใชเ้ ป็นหลักฐาน (ตวั จรงิ หรอื ส�ำเนาบตั รนกั ศกึ ษา) ครัง้ แรก
ในการขอรบั บรกิ ารอ่ืนๆ หรอื เบกิ ค่าใช้จ่ายของสถาบนั

บตั รนกั ศกึ ษาอเิ ลกทรอนกิ ส์
0 2855 0269
บัตรนกั ศึกษาแบบการด์ แขง็
0 2855 1140, 0 2855 1436

39

การแตง่ กาย
• เคร่อื งแบบทว่ั ไป

การสวมใส่เครื่องแบบนักศึกษาเป็นการแสดงถึงความ
ภูมิใจต่อการเป็นนักศึกษาสถาบัน และเพ่ือความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยในการมาเรียน มาสอบ หรือติดต่อกับ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ภายในสถาบัน นักศกึ ษาควรแต่งกายด้วย
ชดุ นักศึกษาทกุ คร้ังท่ีเขา้ มาในสถาบนั และ “ต้องแต่งกาย
ดว้ ยชดุ สทู PIM ในวันทีม่ กี ารสอบหรือมงี านพิธ”ี

• เคร่ืองแบบเฉพาะของคณะ / สาขาวชิ า

40

เม่อื มาเรียนที่ PIM-EEC
• ดตู ารางเรยี น

นกั ศึกษาสามารถดตู ารางเรียนไดด้ ว้ ยตนเอง ผา่ น PIM Application โดยเลือกเมนู REG (ระบบบริการการศึกษา)
เพอ่ื เข้าระบบบริการการศกึ ษา (http://reg.pim.ac.th) และมีข้ันตอนดงั น้ี

1. Login เขา้ สรู่ ะบบ
2. คลิกปุ่ม “ตารางเรยี น/สอบ” ทเ่ี มนดู ้านซ้าย
3. คลิกลงิ ค์ท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ ปกี ารศกึ ษาและภาคการศึกษาเพ่ือดตู ารางเรียน
ทั้งน้ีระบบจะสง่ e-mail แจ้งเตือนใน PIM Application โดยอัตโนมตั ิ (กอ่ นถึงเวลาเริ่มเรียน 30 นาที) เพอื่ แจง้ เตือน
แกน่ กั ศึกษา

EXAMPLE

ชอ่ื วิชา กลมุ่ ที่เรียน
ห้องและเวลาทเ่ี รียน

มขี ้อสงสยั เกยี่ วกับ “ตารางเรียน”
กรณุ าตดิ ตอ่ ส�ำนกั ส่งเสรมิ วชิ าการ

ส�ำนักสง่ เสริมวิชาการ : PIM-EEC
0 2855 1913

41

• ตารางหน้าห้องเรียน

เมื่อนักศึกษาไปถึงห้องเรียน ท่ีหน้าห้องเรียนจะมี QR Code
ให้นักศึกษา Scan เพ่ือดูตารางการใช้งานของห้องน้ันๆ ในแต่ละ
ชว่ งเวลา นกั ศกึ ษาสามารถตรวจสอบเพอื่ ปอ้ งกนั การเขา้ ใชง้ านหรอื
เข้าเรยี นผดิ หอ้ งในแต่ละคาบการเรียนได้

EXAMPLE

ชอ่ื วิชา (กลมุ่ เรียน)
และชือ่ อาจารย์ผูส้ อน

42

43

44

45

หอ้ งสมุด PIM และแหล่งเรียนรู้ออนไลน์

ห้องสมดุ PIM-EEC อยทู่ ช่ี ัน้ 2 อาคารโรงอาหาร เปน็ พนื้ ทีแ่ หง่ การเรยี นรู้ ที่
ให้บริการหนงั สอื และแหลง่ ทรพั ยากรสารสนเทศทท่ี ันสมัยและหลากหลาย เช่น
หนงั สอื วารสาร e-Book e-Journal e-Research e-Project ฐานขอ้ มลู ออนไลน์
รวมถงึ Knowledge Bank แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลนข์ องหอ้ งสมดุ เพอ่ื เออื้ ประโยชน์
ในการคน้ ควา้ ขอ้ มลู หรอื หาความรนู้ อกหอ้ งเรยี นเพม่ิ เตมิ ตามทนี่ กั ศกึ ษาใหค้ วาม
สนใจ โดยให้บริการทั้งแบบเคาน์เตอร์และแบบออนไลน์ และหากนักศึกษา
ตอ้ งการยมื หนังสือที่ห้องสมุด PIM แจง้ วฒั นะ กส็ ามารถยืมได้เชน่ กนั โดยจะได้
รบั หนงั สือในวนั ทำ� การถัดไป

• บรกิ ารหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : e-Books

e-Books ฉบับภาษาอังกฤษท่ีมเี น้ือหา e-Books ฉบับภาษาไทยที่มีเนื้อหาทาง e-Books และบทความทางดา้ นการเงนิ
ทางด้านบริหารธุรกิจ การจัดการ ดา้ นการจัดการ เทคโนโลยี จติ วิทยา การ และการลงทุน
เทคโนโลยี สังคม วฒั นธรรม และภาษา พฒั นาตนเอง การท่องเท่ียว และอาหาร เขา้ ใชบ้ ริการได้ท่ี
สมัครและเขา้ ใช้บรกิ ารได้ท่ี สมคั รและเขา้ ใชบ้ รกิ ารผา่ น Application https://elibrary.maruey.com/login
https://ebookcentral.proquest.
com/lib/pimth

สอบถามขอ้ มูลเพิ่มเตมิ
และสามารถขอ Username และ Password
เพ่อื เข้าใชง้ านไดท้ ่หี อ้ งสมดุ
งานห้องสมดุ
0 2855 1914, 0 2855 1915
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY

46

• บรกิ ารคลงั ความรู้ PIM Library :
Knowledge Bank

Knowledge Bank แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลนข์ องหอ้ งสมดุ สำ� หรบั นกั ศึกษา
ทส่ี นใจองค์ความรตู้ า่ งๆ สามารถศกึ ษาขอ้ มลู ผ่านเว็บไซต์ https://lib.pim.
ac.th/wp/knowledge-bank

บรกิ ารข่าวสาร สื่อการเรยี นรแู้ ละบริการออนไลนอ์ ่นื ๆ
ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ ของห้องสมุด PIM

• เวบ็ ไซต์ห้องสมดุ : lib.p im.ac.th

ห้องสมุด PIM มีบรกิ ารตา่ งๆ ผา่ นเวบ็ ไซตห์ อ้ งสมดุ (https://lib.pim.ac.th) อาทิ การจองห้องศึกษากลมุ่ แนะน�ำทรัพยากร
สารสนเทศ บริการรบั -สง่ หนังสือ บรกิ ารคลงั ความรู้ วารสารต่างๆ และแหลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์ที่ห้องสมดุ ออนไลน์ เป็นตน้

งานห้องสมุด : PIM
0 2855 0381, 0 2855 0382
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY

47

• elibrary.pim.ac.th

นกั ศกึ ษาสามารถใชบ้ รกิ ารออนไลนข์ อง
หอ้ งสมดุ ผา่ นเวบ็ ไซต์ http://elibrary.pim.
ac.th เพื่อสืบค้นหนังสือท่ีสนใจและมีให้
บริการในห้องสมุด PIM รวมถึงการจอง
หนังสือจากผู้ที่ยืมก่อนหน้า หรือยืมต่อที่
ตนเองไดย้ มื ไว้ โดยสามารถมารับหนังสอื ท่ี
ห้องสมดุ PIM ตามวันเวลาที่ระบบแจ้งผา่ น
e-mail ของนักศึกษา รวมถงึ มบี ริการส่งไป
ยังวิทยาเขตอีอีซี และหน่วยการเรียนทาง
ไกลอีกด้วย นักศึกษาสามารถเข้าใช้งานได้
จากทุกที่ ทกุ เวลา เพียงใชป้ ลายนิ้วมอื ผ่าน
PIM Application (เลือกเมนู PIM
e-Library) หรือ การเข้าเว็บไซต์ http://
elibrary.pim.ac.th

48

บริการทรพั ยากรห้องสมดุ อื่นๆ
จากความรว่ มมือทางวิชาการของสถาบัน

นักศึกษาสามารถเข้าใช้บริการทรัพยากรของห้องสมุดของมหาวิทยาลัยหรือองค์กรอื่นๆ
ได้ เนอ่ื งจากสถาบนั มกี ารทำ� ความรว่ มมอื ทางวชิ าการระหวา่ งหอ้ งสมดุ รว่ มกนั ประกอบดว้ ย

สำ� นกั วทิ ยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
(หอสมดุ กลาง)

นกั ศกึ ษาสามารถใชบ้ รกิ ารยมื -คนื หนงั สอื และทรพั ยากรสารสนเทศ
ตา่ งๆ ของสำ� นกั วทิ ยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั หรอื หอสมดุ
กลาง เพยี งแคแ่ สดงบตั รประจำ� ตวั นกั ศกึ ษาของ PIM กอ่ นเขา้ ใชบ้ รกิ าร
และปฏิบัติตามกฎระเบียบของหอสมดุ กลางอยา่ งเครง่ ครดั

หอ้ งสมดุ พิทยาลงกรณ
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

นักศึกษาสามารถเข้าไปค้นคว้าหนังสือและบริการที่สนใจในห้อง
สมุดพิทยาลงกรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ เพียงเพียงแค่แสดง
บัตรประจ�ำตวั นกั ศกึ ษาของ PIM ก่อนเข้าใช้บรกิ ารและปฏบิ ัติตามกฎ
ระเบียบของห้องสมุดอย่างเคร่งครัดท้ังนี้หากสนใจหนังสือเล่มใด
นกั ศึกษาสามารถขอถา่ ยเอกสารได้

ห้องสมุดมารวย
ตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย

นักศึกษาสามารถค้นคว้าหนังสือและบริการที่สนใจท่ีห้องสมุดมา
รวย ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย ซง่ึ ตง้ั อยทู่ อี่ าคารตลาดหลกั ทรพั ย์
แหง่ ประเทศไทย (ขา้ งสถานฑตู จนี ) เพยี งแสดงบตั รประจำ� ตวั นกั ศกึ ษา
ของ PIM กอ่ นเขา้ ใชบ้ รกิ ารและปฏบิ ตั ติ ามกฏระเบยี บของหอ้ งสมดุ มา
รวย นอกจากน้ีนักศึกษาสามารถใช้บริการ e-book ผ่าน Maruay
elibrary โดยขอ Username และ Password เพอ่ื เขา้ สบื คน้ ขอ้ มลู ไดท้ ี่
หอ้ งสมุดของสถาบนั

49

• วารสารวชิ าการของสถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

วารสารวิชาการ คือ วารสารท่ีผ่านการตรวจคุณภาพของบทความที่ตีพิมพ์จากผู้ท่ีมีความรู้ในศาสตร์
สาขาวชิ านน้ั ๆ โดยวารสารวชิ าการของสถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นม์ จี ำ� นวน 4 วารสาร ในศาสตรส์ าขา
และภาษาตา่ งๆ ในการตพี มิ พ์ หากนกั ศกึ ษาสนใจค้นคว้าสามารถสืบค้นไดด้ งั น้ี

วารสารปัญญาภวิ ัฒน์
วารสารวิชาการของสถาบันทางด้านมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในสาขาทางด้าน

บรหิ ารธรุ กจิ การจดั การ ศลิ ปศาสตร์ ศกึ ษาศาสตร์ นเิ ทศศาสตรแ์ ละสาขาอื่นท่เี ก่ียวข้อง โดย
วารสารดังกล่าวมกี ารตพี มิ พบ์ ทความท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

เป็นวารสารที่ผ่านการรบั รองคณุ ภาพโดยอยใู่ นฐาน TCI (Thai-Journal Citation Index)
กลุม่ ที่ 1 และฐาน ACI (ASEAN Citation Index) ทั้งน้ีนักศึกษาสามารถสบื คน้ บทความได้ท่ี
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/index

วารสาร International Scientific Journal
of Engineering and Technology

วารสารวิชาการของสถาบันทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในสาขาทางด้าน
วศิ วกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ การจัดการ ระบบขอ้ มูล โลจิสติ
กสแ์ ละการขนส่ง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการเกษตร วทิ ยาศาสตร์การอาหาร และสาขา
อ่ืนท่ีเกี่ยวข้องทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยวารสารดังกล่าวมีการตีพิมพ์บทความ
เป็นภาษาอังกฤษ

เปน็ วารสารที่ผา่ นการรบั รองคุณภาพโดยอยใู่ นฐาน TCI (Thai-Journal Citation Index)
กลุ่มที่ 2 ทั้งนน้ี กั ศึกษาสามารถสบื คน้ บทความได้ที่

https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/isjet/index

วารสาร Chinese Journal

of Social Science and Management

วารสารวิชาการของสถาบันทางด้านมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในสาขาทางด้าน
บริหารธุรกิจ การจดั การ ศลิ ปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์และสาขาอน่ื ทเี่ กี่ยวข้อง โดย
วารสารดังกลา่ วมีการตีพมิ พบ์ ทความเปน็ ภาษาจนี

เปน็ วารสารทีผ่ า่ นการรบั รองคุณภาพโดยอยู่ในฐาน TCI (Thai-Journal Citation Index)
กลมุ่ ที่ 2 ท้ังนน้ี กั ศึกษาสามารถสืบคน้ บทความไดท้ ี่

https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CJSSM/index

วารสาร Journal of ASEAN PLUS+ Studies
วารสารวชิ าการของสถาบนั ทางดา้ นมนษุ ศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ในสาขาทางดา้ นนโยบาย

รฐั บาล การดำ� เนนิ ธรุ กจิ การพฒั นาวฒั นธรรมในภมู ภิ าคอาเซยี น และสาขาอน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดย
วารสารดังกลา่ วมีการตีพมิ พ์บทความเปน็ ภาษาอังกฤษ ทง้ั นนี้ ักศกึ ษาสามารถสืบค้นบทความ
ไดท้ ี่ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/aseanplus

50


Click to View FlipBook Version