The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 คณะศิลปศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2022-04-12 08:49:42

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 คณะศิลปศาสตร์

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 คณะศิลปศาสตร์

สารบัญั

ระดับั ปริิญญาตรีี “ศิลิ ปศาสตร์์”

หน้้า หน้้า
ส่่วนที่�่ 1: สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” ส่ว่ นที่�่ 4 : รอบรู้้� “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” 4-1
1-1 ที่่�ตั้�งและการเดินิ ทาง 4-2
พีี ไอ เอ็ม็ (PIM) 1-2 รอบบ้้าน PIM : แจ้้งวัฒั นะ 4-4
ตราสััญลักั ษณ์์ 1-3 อาคาร ห้อ้ งเรีียน ห้้องปฏิิบััติิการ 4-5
สีปี ระจำสถาบััน 1-3 ปฏิทิ ิินการศึกึ ษาและรููปแบบการเรียี น 4-11
ดอกไม้้ประจำสถาบััน 1-3 เทคโนโลยีแี ละระบบสนัับสนุนุ นัักศึกึ ษา 4-12
ปรัชั ญา 1-4 - Single Sign-On 4-12
วิสิ ััยทัศั น์์ 1-4 - PIM Application 4-13
พันั ธกิจิ 1-4 - PIM CONNECT (PIM Line Official) 4-15
เอกลัักษณ์์สถาบันั 1-4 - Wi-Fi PIMHotspot 4-16
อัตั ลักั ษณ์น์ ักั ศึกึ ษา 1-5 - e-mail 4-17
คณะวิิชา สำนักั วิทิ ยาลัยั ในสถาบันั 1-6 - Office 365 4-18
เพลงสถาบััน 1-8 บัตั รนักั ศึกึ ษา 4-19

ส่ว่ นที่�่ 2 : รู้จ�้ ัักสำ�ำ นัักการศึกึ ษาทั่่�วไป 2-1 การแต่่งกาย 4-20
2-2 เมื่่�อมาเรียี นที่่� PIM 4-21
ปรััชญา 2-2 - ดูตู ารางเรีียน 4-21
วิสิ ััยทััศน์์ 2-2 - ตารางหน้้าห้้องเรียี น 4-22
พันั ธกิิจ 2-2 - การยืืนยัันการเข้้าเรียี น 4-23
สััญลัักษณ์์และสีปี ระจำสำนััก 2-3 - PIM e-Learning 4-24
บทบาทหน้้าที่่� 2-4 - PIM MOOC 4-25
โครงการ PIM 3L: Lifelong Learner Building your 2-6 - เตรีียมตััวอย่า่ งไรเมื่อ่� ไปฝึึกปฏิิบััติิ 4-26
Future Skills 2-8 แหล่่งเรีียนรู้�นอกห้อ้ งเรีียน 4-27
ศููนย์์พััฒนาทักั ษะและภาษา - ห้้องสมุุด PIM และแหล่ง่ เรีียนรู้�ออนไลน์์ 4-27
ศูนู ย์ร์ ัับรองคุณุ วุุฒิิวิิชาชีีพอุตุ สาหกรรมดิิจิิทััล

ส่ว่ นที่่� 3 : คณะเรา “ศิิลปศาสตร์”์ 3-1 - วารสารวิิชาการ 4-30
3-2 ใกล้้สอบแล้้ว..ต้อ้ งทำอย่่างไร 4-31
ปรัชั ญา ปณิิธาน วิิสััยทัศั น์์ และพัันธกิจิ คณะ 3-3 เกรดออกแล้ว้ 4-33
สัญั ลักั ษณ์์ และสีปี ระจำคณะ 3-3 มีีปััญหา..ปรึึกษาใคร 4-34
หลักั สูตู ร / สาขาวิิชาที่่เ� ปิิดสอน 3-4 - อาจารย์ท์ ี่่ป� รึึกษา 4-34
การเข้า้ ถึงึ ข้้อมูลู คณะ 3-6 - CCDS 4-35
3-11 - Smile Center 4-36
- หลัักสููตรศิิลปศาสตรบัณั ฑิิต 3-17 - Friends Care PIM 4-36
สาขาวิิชาภาษาจีนี ธุุรกิิจ เข้า้ ภาคเรียี นใหม่ต่ ้้องทำอย่่างไร 4-37
- หลัักสููตรศิิลปศาสตรบัณั ฑิติ - ลงทะเบียี นเรีียน 4-37
สาขาวิชิ าภาษาญี่่ป� ุ่่�นธุรุ กิจิ - ชำระค่่าเล่า่ เรียี นและค่่าธรรมเนียี มต่า่ งๆ 4-38
- หลักั สููตรศิลิ ปศาสตรบัณั ฑิติ เรีียนดีี ประพฤติดิ ีี มีที ุุน 4-39
สาขาวิชิ าภาษาอัังกฤษเพื่�อ่ การสื่่�อสารทางธุุรกิิจ

วินิ ัยั นักั ศึึกษา 4-40
ชมรมและกิิจกรรมต่่างๆ 4-41
สวัสั ดิิการนัักศึกึ ษา 4-42
การลาพัักการศึึกษา และการรัักษาสถานภาพนักั ศึึกษา 4-44
ทำอย่่างไรให้ไ้ ด้เ้ กียี รตินิ ิิยม 4-45
ทำอย่่างไร..ไม่่ Retire 4-46
ระบบต่่างๆ ที่่เ� กี่�ยวข้้องกับั นัักศึกึ ษา 4-47
ชิิลล์์ ฟิิน ช๊๊อป ก๊อ๊ ปปี้�้ รีแี ลคซ์์ หอพักั 4-49
ช่อ่ งทางสื่�อ่ สาร .. บริกิ ารนักั ศึึกษา 4-53

ส่ว่ นที่�่ 1

สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)”

1-1

สถาบัันเรา สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิิวััฒน์์ หรืือ พีไี อเอ็ม็ (PIM) เป็น็
สถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�ได้้รัับการสนัับสนุุนในการจััดตั้ �งจากบริิษััทซีีพีี
“พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” ออลล์์ จำกัดั (มหาชน) ในเครืือเจริญิ โภคภัณั ฑ์์ โดยได้ร้ ับั การรับั รอง
จากกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ััยและนวััตกรรม เพื่อ�่
ให้้ปริิญญาในระดัับปริิญญาตรีี ปริิญญาโท และปริิญญาเอก ซึ่�ง
จััดการเรียี นการสอนทั้้�งภาคภาษาไทย ภาษาจีนี และภาษาอัังกฤษ

ในฐานะที่่ส� ถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์เ์ ป็น็ มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่
องค์ก์ รธุรุ กิจิ (Corporate University) ที่่ม� ีีการเรียี นการสอนแบบ
Work-based Education จึงึ แตกต่า่ งด้ว้ ยความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการ
มุ่ง่� เน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาเรียี นรู้�้ จากการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ กับั กลุ่ม่� ธุรุ กิจิ
ซีพี ีี ออลล์์ เครือื ซีพี ีี และพันั ธมิิตรทางธุรุ กิิจ เพื่่อ� ให้้นักั ศึกึ ษาได้้
รัับประสบการณ์์ในการทำงานจนเกิิดความเชี่�่ยวชาญ ดัังนั้้�น
บััณฑิิตพีีไอเอ็็มจึึงเป็็นบุุคลากรคุุณภาพผู้้�มีีความรู้้�ทางวิิชาการและ
มีคี วามพร้อ้ มในการปฏิิบัตั ิงิ านอย่า่ งมืืออาชีพี

ปัจั จุบุ ันั PIM (พีไี อเอ็ม็ ) มีกี ารจัดั การศึกึ ษาในสถานที่่ต� ่า่ ง ๆ คืือ

1. สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ แจ้ง้ วัฒั นะ จ.นนทบุุรีี (PIM)
ตั้�งอยู่่�บนถนนแจ้้งวััฒนะ (ฝั่�งขาออกมุ่�งหน้้าห้้าแยกปากเกร็็ด)
โดยตั้�งอยู่�เลขที่่� 85/1 หมู่� 2 ถนนแจ้้งวััฒนะ ต.บางตลาด
อ.ปากเกร็ด็ จ.นนทบุรุ ีี 11120

2. สถาบัันการจััดการปััญญาภิิวััฒน์์ วิิทยาเขตอีีอีีซีี จ.ชลบุุรีี
(PIM-EEC)
ตั้ง� อยู่�เลขที่่� 1 หมู่� 7 ต.นาจอมเทีียน อ.สัตั หีบี จ.ชลบุรุ ีี 20250

นอกจากนี้้ส� ถาบัันยังั มีีสถานที่่�เพื่่�อใช้ใ้ นการเรียี นรู้� 12 แห่ง่ ดัังนี้้�

ภาคเหนืือ เชีียงใหม่่ ลำปาง

ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือ ขอนแก่น่ นครราชสีีมา อุุดรธานีี

ภาคกลาง พระนครศรีอี ยุธุ ยา นครสวรรค์์
สมุุทรปราการ เพชรบุรุ ีี

ภาคตะวันั ออก ชลบุุรีี

ภาคใต้้ สงขลา สุรุ าษฎร์ธ์ านีี

1-2

ตราสัญั ลักั ษณ์์ ช่่อมะกอก โล่่ ริิบบิ้้น�
สีีประจำ�ำ สถาบััน หมายถึงึ ความมีชี ััยชนะเหนืือสิ่ง� อื่น�่ ใด
ดอกไม้้ประจำำ�สถาบััน มงกุฎุ
หมายถึึง การศึกึ ษาแสดงถึงึ ความสำเร็็จอย่า่ งสููงสุดุ และยิ่�งใหญ่่
สีีเขียี ว/เหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็็นเลิศิ ทางวิิชาการ และความถึึงพร้้อมด้้วย
คุุณธรรม เป็็นหนทางแห่่งความเจริิญรุ่�งเรืืองในชีวี ิิต
ชื่่�อสถาบันั
มีชี ื่อ่� สถาบัันภาษาอังั กฤษ และตััวย่อ่ อยู่�ในโล่่
ส่ว่ นชื่อ�่ สถาบันั ภาษาไทยอยู่�ในริบิ บิ้้น�

สีีเขียี ว
หมายถึึง ความเจริิญรุ่�งเรืือง ความงอกงาม ความสมบูรู ณ์์
สีีเหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็น็ เลิิศทางวิชิ าการและถึึงพร้อ้ มด้้วยคุณุ ธรรม
สีีประจำ�ำ สถาบันั
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิิชาการและความถึงึ พร้อ้ มด้้วย
คุณุ ธรรมเป็็นหนทางแห่่งความเจริิญรุ่�งเรืืองในชีีวิติ

ดอกบััวมังั คลอุุบล (มััง-คะ-ละ-อุบุ ล)
ซึ่ง� เปรีียบเสมืือนตััวแทนของ
1. ความเพียี รพยายาม
2. ความอดทน
3. ความสำเร็็จอัันงดงาม

1-3

ปรัชั ญา

"การศึกึ ษาคือื บ่่อเกิิดแห่ง่ ภููมิิปัญั ญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิิสัยั ทััศน์์

“สร้า้ งมือื อาชีีพด้้วยการเรียี นรู้�้จากประสบการณ์์จริงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันั ธกิจิ

“มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่ องค์ก์ รธุรุ กิจิ (Corporate University)”

1. สร้้างคนที่่�มีีคุุณภาพและตรงกับั ความต้้องการของภาคธุรุ กิิจ สัังคมและประชาคมโลก โดย
เน้้นการเรียี นรู้�จากประสบการณ์จ์ ริิง (Work-based Education)

2. ผสมผสานองค์์ความรู้�เชิิงวิิชาการและองค์์กรธุุรกิิจเพื่่�อการจััดการเรีียนการสอน การวิิจััย
การบริิการวิชิ าการ และทำนุุบำรุงุ ศิลิ ปะวัฒั นธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)

3. สร้า้ งเครืือข่า่ ยความร่ว่ มมืือ เพื่อ�่ พัฒั นาองค์ค์ วามรู้�และส่ง่ เสริมิ นวัตั กรรม (Collaborative
Networking)

4. พััฒนาองค์์กรที่่�พร้้อมรัับความเปลี่�ยนแปลง และมีีระบบการบริิหารจััดการที่่�ดีี
(Transformative Organization & Good Governance)

เอกลักั ษณ์ส์ ถาบันั

การเป็น็ Corporate University บนพื้้น� ฐานของการจัดั การศึกึ ษาแบบ Work-based
Education ประกอบด้้วย

1. การสอนโดยมือื อาชีพี (Work-based Teaching) เป็น็ การเรียี นภาคทฤษฎีคี วบคู่่�กับั การ
เรียี นรู้�จากกรณีศี ึกึ ษา จากผู้ป�้ ฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ ในองค์ก์ ร เพื่อ�่ เตรียี มความพร้อ้ มที่่จ� ะฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ

2. การเรียี นรู้�้ จากการปฏิบิ ัตั ิิ (Work-based Learning) เป็น็ การเรียี นรู้�โดยการลงมืือปฏิบิ ัตั ิิ
งานจริงิ ที่่ม� ีกี ารจัดั วางโปรแกรมครูฝู ึกึ และมีรี ะบบการติดิ ตามประเมินิ อย่า่ งเป็น็ ระบบตาม
วิิชาชีีพของหลัักสููตร เพื่�่อทำให้้มีกี ารบูรู ณาการระหว่า่ งทฤษฎีีกับั ภาคปฏิบิ ััติอิ ย่่างแท้จ้ ริิง

3. การวิจิ ัยั สู่น� วัตั กรรม (Work-based Researching) เป็น็ การศึกึ ษาวิจิ ัยั ของคณาจารย์์
จากปัญั หาวิจิ ัยั จริงิ ในองค์ก์ รที่่น� ำผลการวิจิ ัยั ไปใช้ป้ ฏิบิ ัตั ิไิ ด้โ้ ดยตรง และนำองค์ค์ วามรู้�ใหม่ๆ่
กลัับมาสู่�การเรีียนการสอนในห้อ้ งเรียี น

4. มหาวิทิ ยาลัยั แห่่งการสร้า้ งเครือื ข่่าย (Networking University) เป็น็ การสร้า้ งเครืือข่า่ ย
ความร่ว่ มมืือกับั สถาบันั การศึึกษา ภาครััฐและเอกชน ทั้้�งในและต่า่ งประเทศเพื่่�อสร้า้ งการ
มีีส่่วนร่ว่ มในกระบวนการสอน การเรีียนรู้�จากการปฏิิบััติงิ าน และการวิิจัยั สู่�นวััตกรรม

1-4

อัตั ลักั ษณ์น์ ักั ศึึกษา PIM

“READY to WORK”

เรีียนเป็น็

1. มีีความใฝ่รู้� ใฝ่่เรียี น สามารถแสวงหาความรู้�ได้ด้ ้้วยตัวั เอง
2. มีคี วามรอบรู้้�และบููรณาการในศาสตร์ส์ าขาวิิชาที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง
3. สามารถนำเครื่่อ� งมืือ หรืือ เทคโนโลยีมี าใช้ง้ านได้อ้ ย่่างเหมาะสมกับั ผลลัพั ธ์์ที่่�ต้อ้ งการ

(ตามศาสตร์์ของตัวั เอง)
4. สามารถเข้า้ ถึึงแหล่ง่ ข้้อมูลู ข่า่ วสารและเลืือกใช้ข้ ้้อมููลความรู้้�ต่า่ งๆ ได้อ้ ย่่างเหมาะสม

คิดิ เป็น็

1. มีคี วามสามารถในการคิดิ วิเิ คราะห์์ (Analytical Thinking) การคิดิ วิพิ ากษ์์ (Critical Thinking)
การคิดิ เชิงิ สังั เคราะห์์ (Synthesis Thinking) การคิดิ เชิิงนวัตั กรรม (Innovative Thinking)

2. กล้า้ คิดิ และสามารถผลักั ดันั ความคิดิ และแรงบันั ดาลใจของตนให้ก้ ่อ่ เกิดิ เป็น็ ผลงานตามศาสตร์์
หรืือผลงานเชิงิ นวัตั กรรมต่่างๆ ได้้

3. มีแี นวคิดิ การบริหิ ารจััดการอย่า่ งผู้ป้� ระกอบการ

ทำำ�งานเป็น็

1. มีกี ารทำงานข้้ามสายงานและสามารถจูงู ใจผู้้�อื่น� เพื่่อ� ให้้บรรลุเุ ป้้าหมาย
2. มีีทัักษะในกรสื่�่อสารหลากภาษา ทั้้�งการฟััง การอ่่าน การเขีียน การพููด การแปลความ

การเลืือกช่่องทางและเครื่่อ� งมืือในการสื่่�อสาร
3. มีกี ารตัดั สิินใจและรัับผิิดชอบต่่อผลที่่เ� กิดิ ขึ้น�
4. สามารถสร้้างความพอใจระหว่า่ งสุขุ ภาพ การเรีียน ชีวี ิติ ส่่วนตััว ความสัมั พันั ธ์์กับั บุุคคลอื่่น�

เน้้นวัฒั นธรรม

1. สืืบสานวัฒั นธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับั ตััวเข้า้ กับั สภาพแวดล้้อมขององค์ก์ รได้้

รักั ความถููกต้้อง

1. ยึึดมั่่�นในจรรยาบรรณวิชิ าชีีพหรืือจรรยาบรรณในการดำเนินิ ธุรุ กิิจ
2. ยืืนหยััดปกป้อ้ งในความถููกต้้อง
3. เคารพและชื่�่นชมต่่อความดีีงามของผู้้�อื่�น

1-5

คณะวิชิ าใน PIM ชื่่อ� ย่่อ สถานที่่เ� รีียน
หลักั สููตร
คณะ หลักั สููตร แจ้้งวัฒั นะ วิิทยาเขต เครือื ข่่าย
GE EEC Internet
จััดการเรีียนการสอนในหมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป
สำหรับั นักั ศึกึ ษาระดับั ปริญิ ญาตรีีทุุกหลักั สููตร
1) กลุ่�มวิชิ าภาษาไทย
2) กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ
3) กลุ่�มวิิชาภาษาจีนี
4) กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์
5) กลุ่�มวิิชาวิิทยาศาสตร์แ์ ละคณิิตศาสตร์์

หลัักสููตรระดับั ปริญิ ญาตรีี

การจัดั การธุรุ กิจิ การค้า้ สมัยั ใหม่่ MTM -
-
การจััดการธุรุ กิจิ การค้้าสมัยั ใหม่่ (ต่่อเนื่�อ่ ง) CMTM
-
การจัดั การธุรุ กิจิ การค้า้ สมัยั ใหม่่ IMM -
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ) CIMM - -
การจััดการธุรุ กิจิ การค้า้ สมััยใหม่่ (ต่อ่ เนื่่�อง)
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอินิ เทอร์์เน็ต็ ) -
--
เทคโนโลยีีดิิจิทิ ัลั และสารสนเทศ DIT
-
วิศิ วกรรมคอมพิวิ เตอร์์และปัญั ญาประดิษิ ฐ์์ CAI --
วิิศวกรรมอุุตสาหการและการผลิติ อััจฉริยิ ะ IEM --
--
วิศิ วกรรมการผลิติ ยานยนต์์ AME --
วิิศวกรรมหุ่�นยนต์์และระบบอัตั โนมัตั ิิ RAE --
ภาษาจีีนธุรุ กิิจ BC --

ภาษาญี่่ป� ุ่่�นธุุรกิจิ BJ --

ภาษาอัังกฤษเพื่อ่� การสื่่�อสารทางธุุรกิิจ CEB --
--
การจััดการอสัังหาริิมทรััพย์์และทรัพั ย์ส์ ิินอาคาร RPM --

การบริิหารทรััพยากรมนุษุ ย์์ HROM --
และการจััดการองค์์การ
การจััดการธุุรกิจิ การบินิ AVI
อุุตสาหกรรมการบริกิ ารและการท่่องเที่่ย� ว HTM

วิชิ าเอกการสื่�่อสารองค์ก์ รและแบรนด์์ CB

วิชิ าเอกวารสารศาสตร์์คอนเวอร์เ์ จ้้นและ CJ
สื่�อ่ ดิิจิิทััลสร้า้ งสรรค์์

นวััตกรรมการจััดการเกษตร IAM --

การสอนภาษาจีีน TCL
การสอนภาษาอังั กฤษ ELT - -

1-6

ชื่่�อย่อ่ สถานที่เ�่ รีียน
หลักั สููตร
คณะ หลักั สููตร แจ้้งวััฒนะ วิทิ ยาเขต เครือื ข่่าย
EEC Internet

การจัดั การเทคโนโลยีอี ุุตสาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดั การธุรุ กิิจอาหาร FBM -
การจัดั การธุุรกิิจอาหาร (ต่่อเนื่�่อง) CFBM -
การจัดั การธุรุ กิิจภััตตาคาร RBM --

การจััดการโลจิิสติิกส์แ์ ละการคมนาคมขนส่่ง LTM --

พยาบาลศาสตร์์ NS - -
พยาบาลศาสตร์์ NS - --
(สำหรัับผู้้�สำเร็จ็ ปริิญญาตรีีสาขาอื่�่น)
การจััดการธุุรกิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ iMTM --
(หลักั สูตู รนานาชาติ)ิ

หลัักสููตรประกาศนีียบััตรบััณฑิิต

ประกาศนียี บัตั รบััณฑิิต สาขาวิชิ าชีีพครูู ป.บัณั ฑิติ

หลัักสููตรระดับั ปริิญญาโท

การจััดการธุุรกิิจการค้า้ สมััยใหม่่ MBA-MTM --
--
วิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี MET --
(หลัักสููตรนานาชาติ)ิ

การบริหิ ารคนและกลยุุทธ์์องค์ก์ าร POS

การสื่อ�่ สารเชิงิ นวััตกรรมเพื่อ�่ องค์ก์ รสมัยั ใหม่่ MCA --

ภาวะผู้�้นำการบริหิ ารและการจัดั การการศึึกษา EML --

ธุรุ กิจิ ระหว่า่ งประเทศ (หลัักสูตู รนานาชาติ)ิ iMBA --
--
บริหิ ารธุุรกิิจ (หลักั สููตรภาษาจีีน) C-MBA --
การจัดั การทางศิิลปะ (หลักั สููตรภาษาจีีน) C-MA
--
หลักั สููตรระดัับปริญิ ญาเอก --

บริหิ ารธุรุ กิจิ (หลักั สููตรภาษาจีีน) C-PhD

การจัดั การการศึกึ ษา (หลัักสููตรภาษาจีีน) C-PhD-Ed

1-7

เพลงสถาบันั

เพลงประจำำ� เพลงมัังคลอุุบล

สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิิวัฒั น์์

เกิดิ มาเป็น็ คน ต้อ้ งพร้อ้ มจะอดทนทุกุ เรื่่อ� งราว * มังั คลอุุบล ดั่ง� พวกเราทุกุ คน
ไม่ว่ ่่าจะดีีจะร้้ายซักั เท่า่ ไหร่่ ต้อ้ งมองว่่าเป็น็ บทเรีียน หนัักเบาพร้อ้ มผจญ งดงามปนเข้ม้ แข็ง็

สิ่ง� ที่่�เรีียนคืือความจำ สิ่�งที่่�ทำคืือความจริงิ ใต้้เงาหูกู ระจง แผ่่กิ่ง� ใบมั่่�นคง
สิ่�งที่่�ทำได้ย้ ากเย็็นนั้้น� จะยิ่ง� ใหญ่่ หยััดยืืนทรนง...ซื่�อ่ ตรงและแข็ง็ แกร่่ง

สิ่ง� ที่่�ทำโดยตััวเอง ยิ่ง� ทำจะยิ่�งเข้้าใจ P (Practicality)
แม้้นานเพียี งใดก็ไ็ ม่ล่ ืืม I (Innovation)
M (Morality)
**ต้อ้ งคิดิ เป็็น ทำเป็น็ เรียี นเป็น็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้้นความเป็น็ ธรรมในใจ
(ซ้้ำ*)
สิ่ง� ที่่ถ� ููกรักั ษาไว้้ ที่่ผ� ิิดเราต้อ้ งทิ้้�งไป **ในโลกแห่่งความจริิง ต้อ้ งเรียี นรู้้�กันั จริงิ ๆ
แล้้วเราจะก้้าวไป..ด้้วยกััน ต้อ้ งออกไปหาความจริิง วิ่ง� ชนเรื่�อ่ งราวแท้้จริิง
ต้้องเหนื่�อ่ ยต้อ้ งท้้อจริงิ ๆ ต้้องเจอผู้�ค้ นจริิงๆ
***สถาบัันปัญั ญาภิวิ ััฒน์์ สถาบัันแห่ง่ ปัญั ญา เรียี นจากคนรู้�ความจริิง แล้้วเราจะเป็น็ คนจริิง
เราจะคอยเป็น็ ผู้้�สอน เราจะคอยเป็น็ เบ้า้ หลอม คนเก่่งนั้้น� ยัังไม่่พอ เก่ง่ จริงิ ต้อ้ งจััดการได้้

จะหล่่อและก็ห็ ลอมให้ท้ ุกุ คน แค่ก่ ล้า้ ก็็ยัังไม่่พอ กล้้าจริิงต้้องมีวี ิินัยั
ให้้พร้อ้ มกลายเป็็นคนดีี (ให้ท้ ุกุ คนเป็น็ คนดีี) คนฉลาดนั้้น� ยัังไม่่พอ คนฉลาดต้้องไม่โ่ กงใคร
เกิดิ มาเป็็นคน ต้้องมุ่�งมั่�นฝึกึ ฝนประสบการณ์์
ค่า่ ความเป็น็ คนอยู่�ที่ใ� จวัดั กันั ที่่ผ� ลงาน อันั มีคี ่า่ ควรจดจำ แข็็งแรงก็็ยัังไม่่พอ เพราะว่่าต้อ้ งมีีน้้ำใจ
***ธงสีีเขียี วขจีี ฉาบสีีเหลืืองเรืืองรอง
(ซ้้ำ *, **, ***) บนแผ่น่ ดินิ สีีทอง นี่่�คืือบ้้านของเรา
เราก็เ็ หมืือนอิฐิ คนละก้้อนวางซ้อ้ นเรีียงกัันจึึงแน่น่ หนา

ก่อ่ ด้้วยความรักั ในปัญั ญา
ฉาบด้ว้ ยศรัทั ธา..ในสถาบันั ..ของเรา

(ซ้้ำ*, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

1-8

ส่่วนที่�่ 2

รู้้จ� ักั “สำ�ำ นัักการศึึกษาทั่่�วไป”

2-1

รู้้�จักั

“สำ�ำ นักั การศึึกษาทั่่�วไป”

ปรัชั ญาสำ�ำ นักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไป

วิิชาศึึกษาทั่่�วไปสร้้างความเป็็นมนุุษย์์ที่่�มีีคุุณภาพในสัังคมโลก มีีทัักษะการสื่�่อสารภาษา
ก้า้ วหน้้าเทคโนโลยีี มีีกระบวนการคิดิ และมีจี ิติ สาธารณะ

วิสิ ัยั ทัศั น์์

“สร้้างบัณั ฑิติ มือื อาชีพี ด้้วยการเรีียนรู้้จ� ากประสบการณ์จ์ ริงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันั ธกิจิ

1. สร้้างคนที่่�มีีคุุณภาพและตรงกัับความต้้องการของภาคธุุรกิิจ สัังคม และประชาคมโลก โดย
เน้น้ การเรียี นรู้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ (Work-based Education)

2. ผสมผสานองค์ค์ วามรู้�เชิงิ วิชิ าการและองค์ก์ รธุรุ กิจิ เพื่อ�่ การจัดั การเรียี นการสอนการวิจิ ัยั การ
บริิการวิิชาการและทำนุุบำรุุงศิิลปะวััฒนธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)

3. สร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือ เพื่่�อพััฒนาองค์์ความรู้�และส่่งเสริิมนวััตกรรม (Collaborative
Networking)

4. พัฒั นาองค์ก์ รที่่พ� ร้อ้ มรับั ความเปลี่ย� นแปลง และมีรี ะบบการบริหิ ารจัดั การที่่ด� ีี (Transformative
Organization & Good Governance)

สัญั ลักั ษณ์แ์ ละสีีประจำำ�สำำ�นักั

ต้้นปัญั ญพฤกษ์์

หรืือต้้นไม้แ้ ห่ง่ ปัญั ญาที่่�แผ่่ร่่มเงาทางการศึึกษา เปรียี บเสมืือนการเรีียนรู้�ตลอดชีีวิติ

สีีประจำ�ำ คณะ / สีนี ้ำ�ำ�ตาลทอง

2-2

บทบาทหน้้าที่่�

สำนักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไป มีโี ครงสร้้างการทำงานประกอบด้ว้ ย 5 กลุ่�มวิิชา และ 2 ศูนู ย์์ คืือ
1. กลุ่�มวิชิ าภาษาไทย
2. กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ
3. กลุ่�มวิชิ าภาษาจีีน
4. กลุ่�มวิิชามนุุษยศาสตร์์และสังั คมศาสตร์์
5. กลุ่�มวิิชาวิิทยาศาสตร์์และคณิติ ศาสตร์์
6. ศูนู ย์พ์ ัฒั นาทัักษะและภาษา
7. ศูนู ย์์รัับรองคุุณวุฒุ ิวิ ิิชาชีพี อุตุ สาหกรรมดิิจิทิ ัลั

สำำ�นักั การศึกึ ษาทั่่�วไปจัดั การเรีียนการสอนหมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่ว� ไปให้้แก่่

“นักั ศึกึ ษาทุุกหลักั สููตรของ PIM”

และจัดั กิจิ กรรมเพื่่อ� พัฒั นานักั ศึกึ ษาให้เ้ ป็น็ ไปตามอัตั ลักั ษณ์บ์ ัณั ฑิติ ของ PIM
ตลอดจนเป็น็ ที่่�ต้้องการของผู้ใ�้ ช้บ้ ััณฑิติ และสัังคม

2-3

โครงการ PIM 3L: Lifelong Learners Building your Future Skills

โครงการ PIM 3L: Lifelong Learners ของสำนักั การศึกึ ษา กิจิ กรรม PIM 3L แบ่่งเป็น็ 3 หมวดหมู่� คืือ
ทั่่ว� ไป เป็น็ การดำเนินิ งานในรูปู แบบกิจิ กรรม เพื่อ�่ พัฒั นาทักั ษะและ
ส่ง่ เสริมิ การเรียี นรู้�ตลอดชีวี ิติ สำหรับั นักั ศึกึ ษา ภายใต้ค้ ติพิ จน์ป์ ระจำ 1. ความชอบและไลฟ์์สไตล์์
โครงการคืือ “ไม่่มีกี ารลงทุุนใด จะได้ผ้ ลตอบแทนเท่่ากับั การลงทุุน 2. ทักั ษะอย่่างมือื อาชีพี
เรียี นรู้”�้ 3. คุุณค่่าในตััวตนและสังั คม

วัตั ถุปุ ระสงค์ห์ ลักั ของโครงการ เพื่อ่� เสริมิ สร้า้ งการเรียี นรู้� และ เพราะการเรียี นรู้�ไม่ม่ ีวี ันั หยุดุ นิ่่ง� หากเราต้อ้ งก้า้ วเดินิ ต่อ่ ไป ให้้
พัฒั นาทัักษะชีวี ิติ ให้แ้ ก่่นักั ศึกึ ษา มุ่�งเน้น้ ให้น้ ัักศึึกษามีี Essential ทัันต่่อการเปลี่ย� นแปลงในศตวรรษที่่� 21 การเข้า้ ร่่วมกิจิ กรรม PIM
Skills ต่่อยอดศัักยภาพที่่�มีีในตััวตนและพััฒนาให้้เกิิดทัักษะใหม่่ 3L จึงึ เป็น็ ส่่วนหนึ่่ง� ของการเรียี นรู้�ตลอดชีีวิติ สำหรัับนัักศึึกษา PIM
พร้้อมรัับการเปลี่�ยนแปลงในอนาคต โครงการ PIM 3L มีีการวาง
เป้้าหมายไว้้อย่า่ งชััดเจน คืือ “การพัฒั นาตน พัฒั นาคน และนำไป
สู่ก� ารพัฒั นาสังั คมต่่อไป”

ภาพตัวั อย่า่ งโปสเตอร์ป์ ระชาสัมั พันั ธ์ก์ ิจิ กรรม

2-4

สำนักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไปมีกี ารนำโปรแกรมประยุกุ ต์ด์ ้า้ นการสื่อ่� สารภาษาอังั กฤษ มาใช้้
ประกอบการจัดั การเรียี นการสอนในห้อ้ งเรียี น โดยมีจี ุดุ มุ่�งหมายให้น้ ักั ศึกึ ษาผ่า่ นเกณฑ์ก์ าร
ประเมิินตามกรอบความเชี่�ยวชาญภาษาอัังกฤษอ้้างอิิงของยุุโรป หรืือ Common
European Framework of Reference for Languages (CEFR) ในระดับั B2 เป็็น
อย่่างน้้อย

2-5

ศููนย์พ์ ัฒั นาทัักษะและภาษา

ศูนู ย์พ์ ััฒนาทักั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development
หรืือ CLSD) เป็น็ หน่ว่ ยงานภายใต้ส้ ำนักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไปที่่ม� ีหี น้า้ ที่่เ� สริมิ ทักั ษะ ประเมินิ ทักั ษะ
และออกใบรัับรองมาตรฐานที่่จ� ำเป็น็ ต่่อการทำงานของนักั ศึกึ ษา ได้แ้ ก่่ ทัักษะการสื่�อ่ สาร
ภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศ ทักั ษะชีีวิติ และทักั ษะดิจิ ิิทััล ตามแผนการดำเนินิ ทั้้ง� 4
ชั้�นปีี โดยมีีการบัันทึึกผลการประเมิิน และผลการเข้้าร่่วมกิิจกรรมของนัักศึึกษาเป็็น
โปรแกรมประยุกุ ต์์ (Application Program) ชื่อ�่ “PIM SMART PASSPORT” ที่่เ� ป็น็ ฐาน
ข้อ้ มูลู ของนักั ศึกึ ษาสำหรับั นำไปใช้ป้ ระกอบการตัดั สินิ ใจเลืือกพนักั งานเข้า้ ทำงานของสถาน
ประกอบการต่่าง ๆ

2-6

สำนัักการศึึกษาทั่่�วไปมีีการจััดทำชุุดฝึึกฝน
ทักั ษะการใช้ง้ านโปรแกรมสำนักั งาน ผ่า่ นโปรแกรม
ประยุกุ ต์์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อ�่
ให้้นัักศึึกษาได้้ฝึึกฝนการใช้้เครื่�่องมืือในการจััดทำ
เอกสารสำนักั งาน ตลอดจนการนำเสนองานอย่่าง
มืืออาชีพี ที่่�ตอบสนองการเรีียนรู้�ได้ท้ ุุกที่่� ทุุกเวลา

2-7

ศููนย์์รับั รองคุุณวุฒุ ิิวิิชาชีีพอุุตสาหกรรมดิจิ ิทิ ัลั
(Digital Industry Certification Center)

ศููนย์์รัับรองคุุณวุุฒิิวิิชาชีีพอุุตสาหกรรม
ดิจิ ิทิ ัลั มีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่อ�่ การรับั รองสมรรถนะ
บุคุ คลด้ว้ ยมาตรฐานคุณุ วุฒุ ิวิ ิชิ าชีพี อุตุ สาหกรรม
ดิจิ ิทิ ััลของนัักศึึกษา บุคุ ลากร และบุคุ คลทั่่ว� ไป
ตลอดจนเห็็นถึึงความสำคััญของการสนัับสนุุน
และสร้า้ งโอกาสการเรียี นรู้้�ด้า้ นดิจิ ิทิ ัลั ที่่เ� ป็น็ ไป
ตามแนวทางการพัฒั นานักั ศึกึ ษา และบุคุ ลากร
ของสถาบัันการจัดั การปัญั ญาภิิวััฒน์์

โดยสาขาวิิชาชีีพอุุตสาหกรรมดิิจิิทััล
ประกอบด้้วย
1. สาขาแอนิเิ มชันั อาชีพี นักั Concept/Visual

Artist ระดับั 4
2. สาขาเครืือข่า่ ยและความปลอดภัยั อาชีพี นักั

บริิหารจััดการระบบเครืือข่่ายคอมพิิวเตอร์์
ระดับั 4
3. สาขาธุรุ กิจิ ดิจิ ิทิ ัลั และพาณิชิ ย์อ์ ิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์
อาชีีพนัักพาณิิชย์อ์ ิิเล็็กทรอนิิกส์์ ระดัับ 4

2-8

ส่่วนที่�่ 3

คณะเรา “ศิิลปศาสตร์์”

3-1

คณะเรา

“ศิลิ ปศาสตร์์”

ปรัชั ญาคณะศิิลปศาสตร์์

“การศึกึ ษาคือื บ่อ่ เกิิดแห่ง่ ภููมิิปััญญา
Education is the matrix of intellect”

教育乃智慧之源泉
教育は知性の源である

ปณิธิ าน

มุ่�่งผลิติ บััณฑิติ ที่่�มีีความเชี่่ย� วชาญด้้านภาษา
ให้ส้ ามารถทำำ�งานได้อ้ ย่่างมืืออาชีีพและเป็น็ กำำ�ลังั สำำ�คัญั ในการพััฒนาประเทศ

To produce graduates with high-level language proficiency
and capability to work as professionals and
catalysts for national development.
旨在培育语言精通、工作专业之毕业生,

并使之成为发展国家、奉献社会之中坚力量。
専門的な仕事をこなし、 国家の発展に貢献できるような

言語能力のある卒業 生を送り出すことを目指す。

วิสิ ัยั ทัศั น์์

สร้้างบััณฑิิตมือื อาชีีพด้ว้ ยการเรีียนรู้้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ
Creating Professionals through Work-based Education.

以工作本位教育模式培养专业人才。
実際の経験を通して得た専門的な知識を持つ
プロフェッショナルな卒業生を育成する。

3-2

พันั ธกิจิ

1. ผลิติ บัณั ฑิติ ที่่ม� ีคี ุณุ ภาพ และตรงกับั ความต้อ้ งการของสถานประกอบการ โดยเน้น้ การเรียี น
รู้�จากประสบการณ์์จริงิ (Work-based Education)

2. ผสมองค์์ความรู้�เชิงิ วิิชาการและองค์์กรธุรุ กิจิ เพื่�อ่ การจัดั การเรีียนการสอน การวิจิ ััย การ
บริกิ ารวิชิ าการ และการทำนุุบำรุงุ ศิิลปวััฒนธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)

3. สร้า้ งเครืือข่า่ ยความร่ว่ มมืือ เพื่อ่� เสริมิ สร้า้ งสมรรถนะองค์ก์ รและคุณุ ค่า่ ต่อ่ สังั คมอย่า่ งยั่ง� ยืืน
(Collaborative Networking)

1. To produce quality graduates with requisite knowledge in line with business
establishments through work-based education.

2. To promote the combination of academic and professional expertise for
instruction, research, academic services, and cultural preservation.

3. To encourage collaborative networking for organization competency and
values integral to social sustainability.

1. 通过工作本位教育模式为企业培育高质量的专业人才。
2. 将学术知识与企业组织相融合,以用于教学、研究、学术服务及保护推广

艺术文化。

3. 广泛建立合作网络,持续增强组织能力与社会价值。
1. 実際の経験から得た知識を強化することによって勤務先の機関の需要に

合致した質の高い卒業生を送り出す。

2. 教育、学術研究と芸術文化を守るためにアカデミズムとビジネスを融合

させる。

3. 継続的な社会的価値感と組織能力の高揚のために協力関係のネットワー クを

構築する。

3-3

สัญั ลักั ษณ์แ์ ละสีีประจำ�ำ คณะ

ลีลี าวดีี

คืือ ดอกไม้้ที่่ม� ีกี ลิ่�นหอม กลีีบดอกมีีความอ่่อนช้อ้ ยสวยงาม เป็น็ ศิลิ ปะที่่�งดงาม เปรียี บได้้
กับั คณะศิลิ ปศาสตร์ท์ ี่่�ประสิทิ ธิ์์�ประสาทศาสตร์แ์ ห่ง่ ภาษา ศิลิ ปวััฒนธรรมอันั งดงาม
กลิ่น� หอมของดอกลีลี าวดีี สื่่�อถึึงชื่อ่� เสียี งดีี เป็น็ ที่่เ� ลื่่อ� งลืือ

กลีีบดอกทั้้ง� 5 แทนพัันธกิจิ ในด้้านต่่างๆ ของคณะ

ห้้าเหลี่�ยมซึ่�งล้้อมรอบดอกลีลี าวดีี แสดงถึงึ ความเคลื่อ�่ นไหวที่่�คงความอ่่อนน้้อม มีีความ
สามารถในการปรับั ตัวั แต่่ยัังคงเอกลักั ษณ์์ของตนเอาไว้ไ้ ด้้

สีปี ระจำำ�คณะ / สีชี มพููบานเย็น็

หลักั สููตร / สาขาวิิชาที่เ�่ ปิดิ สอน

หลัักสููตรระดัับปริิญญาตรีี

1. หลัักสููตรศิลิ ปศาสตรบััณฑิิต สาขาวิชิ าภาษาจีีนธุุรกิิจ
2. หลักั สููตรศิิลปศาสตรบััณฑิติ สาขาวิิชาภาษาญี่่�ปุ่่น� ธุรุ กิิจ
3. หลักั สูตู รศิิลปศาสตรบัณั ฑิิต สาขาวิิชาภาษาอัังกฤษเพื่อ�่ การสื่�อ่ สารทางธุรุ กิิจ

ติิดต่่อคณะ

ชั้้น� 11 อาคาร 4 หรือื อาคาร CP ALL Academy
โทรศััพท์์ 0 2855 0344

3-4

การเข้้าถึงึ ข้้อมููลคณะ

1. เว็็บไซต์์คณะศิิลปศาสตร์:์ https://la.pim.ac.th/

3-5

หลักั สููตรศิิลปศาสตรบัณั ฑิติ

สาขาวิิชาภาษาจีนี ธุุรกิิจ

Bachelor of Arts Program in Business Chinese

ชื่่อ� ปริญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่่�อเต็ม็ ) : ศิลิ ปศาสตรบััณฑิติ (ภาษาจีนี ธุรุ กิจิ )
(อัักษรย่่อ) : ศศ.บ. (ภาษาจีีนธุุรกิจิ )
ภาษาอัังกฤษ (ชื่่อ� เต็็ม) : Bachelor of Arts (Business Chinese)
(อัักษรย่่อ) : B.A. (Business Chinese)
หมายเหตุุ: สำนักั งานปลัดั กระทรวงการอุุดมศึกึ ษาวิทิ ยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม (สป.อว.)

รัับทราบหลักั สูตู รเมื่�่อวัันที่่� 1 มีีนาคม พ.ศ. 2565

จุดุ เด่่นของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร

1. พััฒนาความสามารถด้้านการสื่่�อสารด้้วยภาษาจีีนควบคู่่�กัับความรู้ �เบื้้�องต้้นเกี่ �ยวกัับธุุรกิิจ
ทำให้น้ ัักศึกึ ษามีีความรู้้�พร้้อมสำหรัับการทำงานจริิง

2. การจัดั การเรีียนการสอนรูปู แบบ Work–based Education (WBE) ที่่�ให้น้ ักั ศึกึ ษาได้เ้ รียี น
รู้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ นักั ศึกึ ษาจะได้ฝ้ ึกึ งานทุกุ ปีีตามเป้า้ หมายการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ านในแต่ล่ ะ
ครั้ �งที่่�พิิจารณาให้้สอดคล้้องกัับศัักยภาพของนัักศึึกษาในแต่่ละชั้ �นปีีและคุุณลัักษณะเป้้า
หมายทางวิิชาชีพี เพื่�อ่ ให้้นัักศึกึ ษาได้พ้ ััฒนาทัักษะต่่างๆ ที่่�จำเป็น็ ต่่อการประกอบวิชิ าชีพี

3. โครงการ 1+1+2 ส่ง่ เสริมิ นักั ศึกึ ษาให้พ้ ัฒั นาทักั ษะภาษาในสภาพแวดล้อ้ มของเจ้า้ ของภาษา
โดยศึกึ ษาภาษาจีนี เป็น็ เวลา 1 ปีี ในมหาวิทิ ยาลัยั ชั้น� นำของจีนี ที่่ม� ีคี วามร่ว่ มมืือทางวิชิ าการ
(MOU) กัับสถาบันั

4. เครืือข่่ายความร่่วมมืือด้้านวิิชาการกัับมหาวิิทยาลััยชั้�นนำในสาธารณรััฐประชาชนจีีนและ
ไต้ห้ วันั เพิ่่ม� โอกาสการแลกเปลี่�ยนเรีียนรู้�และฝึึกประสบการณ์์การทำงานให้ก้ ับั นักั ศึกึ ษา

3-6

ผลลัพั ธ์์การเรีียนรู้�ข้ องหลัักสููตร

1. ประยุุกต์ใ์ ช้ค้ วามรู้�และทักั ษะการสื่่อ� สารภาษาจีีนด้า้ นการฟััง การพููด การอ่า่ น การเขียี น และ การแปล
ในบริบิ ทต่่าง ๆ รวมทั้้ง� การฝึกึ ปฏิบิ ััติิงาน

2. อธิบิ ายสถานการณ์์ในปััจจุุบันั ของประเทศจีนี ด้า้ นสังั คม เศรษฐกิจิ และการค้า้ ได้้
3. ประยุกุ ต์ใ์ ช้้ความรู้�และทักั ษะการสื่�อ่ สารภาษาอังั กฤษด้้านการฟังั การพูดู การอ่า่ น การเขีียน ในบริิบทต่า่ ง ๆ
4. อธิบิ ายหลักั การพื้้�นฐานในการดำเนิินธุุรกิจิ ได้้
5. ประยุกุ ต์์ใช้ค้ วามรู้�และทัักษะด้้านเทคโนโลยีีสารสนเทศในการค้น้ คว้า้ หาความรู้�และปฏิิบััติิงานได้้อย่า่ ง

เหมาะสม
6. สามารถระบุุปััญหา เสนอแนวทางแก้้ไข และวิธิ ีีการจััดการอย่า่ งมีีประสิิทธิภิ าพ
7. ทำงานร่ว่ มกับั ผู้้�อื่น� ได้้
8. แสดงออกถึึงความมีวี ินิ ัยั ความซื่่�อสััตย์์ ความมีีจิติ สาธารณะ การเคารพระเบียี บและกฎเกณฑ์ข์ ององค์์กร

และสังั คม และการมีจี รรยาบรรณวิชิ าชีีพ
9. แสดงออกถึงึ พฤติิกรรมการเรีียนรู้�ตลอดชีีวิติ

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. ทำงานในตำแหน่่งระดัับเจ้้าหน้้าที่่� ได้้แก่่ พนัักงานโรงแรม พนัักงานสายการบิิน
มััคคุุเทศก์์ พนักั งานบริิษัทั ท่่องเที่่�ยว ล่า่ ม แปลเอกสาร ข่่าว นิิยาย โฆษณา พนักั งาน
ฝ่่ายทรััพยากรมนุุษย์์ เลขานุุการผู้้�บริหิ าร พนักั งานขาย เจ้า้ หน้้าที่่ด� ้า้ นการตลาดและ
การตลาดออนไลน์์ พนัักงานบริิการหน้้าเคาน์์เตอร์์ พนัักงานลููกค้้าสััมพัันธ์์ พนัักงาน
ประสานงาน พนักั งานต้อ้ นรับั พนักั งานจัดั ซื้อ� พนักั งานแผนกนำเข้า้ และส่ง่ ออก ผู้้�ช่วย
ส่ว่ นตััว พนักั งานจัดั งานอีีเวนต์์

2. ทำงานในตำแหน่ง่ ระดับั หัวั หน้้างาน ได้้แก่่ ผู้้�ช่วยผู้้�บริิหารชาวจีนี หััวหน้า้ งานในแผนก
งานขาย งานบริกิ าร

3. เป็น็ ผู้ป�้ ระกอบการที่่�เกี่ย� วข้อ้ งกับั การทำธุุรกิจิ กัับประเทศจีนี

3-7

รายละเอีียดค่า่ เล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 300,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตราที่่ส� ถาบัันกำหนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 8 ภาคการศึึกษา ดัังนี้้�

ภาคการศึกึ ษาที่่� ค่่าเล่า่ เรีียนสำำ�หรัับนักั ศึึกษา ค่า่ เล่า่ เรีียนสำ�ำ หรัับนักั ศึกึ ษา
ที่่�เข้้าเรียี นในภาคการศึกึ ษาพิิเศษ ที่่เ� ข้า้ เรียี นในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 1
ครั้ง� ที่่� 2 – 7 20,000 40,000
ครั้ง� ที่่� 8 40,000 40,000
40,000 20,000

2. อัตั ราค่่าเล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่อ่ ภาคการศึึกษา ไม่ร่ วมค่่าใช้้จ่า่ ย ดังั ต่่อไปนี้้�
- ค่า่ หนัังสืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรียี น
- ค่า่ ชุุดปฏิิบัตั ิกิ าร วััตถุดุ ิิบและอุุปกรณ์อ์ ื่่�นๆ ที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง
- ค่่ารายวิชิ าปรัับพื้้�นฐาน
- ค่่าธรรมเนีียมอื่่�นๆ และค่่าเบ็็ดเตล็ด็ นอกเหนืืออัตั ราค่า่ เล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่อ่ ภาคการศึกึ ษา

ตัวั อย่า่ งสถานประกอบการที่น�่ ักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

3-8

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีีการศึึกษาที่่� 1

รหัสั วิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่ว่ ยกิติ รหัสั วิิชา ภาคการศึกึ ษาที่�่ 2 หน่่วยกิติ

1511101 รายวิชิ า 2 1511103 รายวิิชา 2

1511102 แนวคิดิ ทางธุุรกิจิ และ 2 การผลิติ สื่่�อดิิจิทิ ัลั 2
การเป็็นผู้ป้� ระกอบการ
1512101 กระบวนการคิิดเชิิงออกแบบและ 3 1511104 ภาษาอัังกฤษเพื่่อ� การสื่�่อสาร 2
นวัตั กรรม
ภาษาจีนี 1 3 1511105 ความรู้�เบื้้อ� งต้น้ เกี่ย� วกัับ 3
3 เศรษฐศาสตร์์และการเงินิ 2
1512103 จีนี ปััจจุบุ ันั 3 3
1512104 การฟังั และการพููดภาษาจีีนเชิิงธุุรกิิจ 2 1512102 ภาษาจีนี 2 3
10XXXXX หมวดอัตั ลักั ษณ์ข์ องสถาบััน PIM 10XXXXX หมวดอััตลักั ษณ์ข์ องสถาบััน PIM 3
10XXXXX กลุ่�มภาษาเพื่อ�่ การสื่่อ� สาร 1 18 10XXXXX หมวดอััตลักั ษณ์ข์ องสถาบันั PIM
10XXXXX กลุ่�มชีวี ิิตและสังั คมแห่่งความสุขุ 20
รวม 1512151 การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบััติดิ ้า้ นภาษาจีนี

ธุุรกิจิ 1
รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่่วยกิิต รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิติ

1512205 ภาษาจีนี 3 3 1512206 ภาษาจีนี 4 3
1512207 การสนทนาภาษาจีีนธุรุ กิจิ 1 3 3
1512209 ไวยากรณ์จ์ ีนี เพื่อ่� การประยุกุ ต์์ใช้้ 3 1512208 การสนทนาภาษาจีีนธุรุ กิจิ 2 3
1512210 การอ่่านภาษาจีีนเชิิงธุุรกิิจ 1 3 3
151XXXX กลุ่�มวิชิ าเลืือก 1 3 1512211 การอ่า่ นภาษาจีีนเชิิงธุรุ กิิจ 2 3
10XXXXX หมวดอััตลักั ษณ์ข์ องสถาบันั PIM 2 2
1512312 ภาษาจีีนเพื่่อ� อุุตสาหกรรมบริกิ าร 3
17
151XXXX กลุ่�มวิชิ าเลืือก 2 20

10XXXXX หมวดอััตลัักษณ์ข์ องสถาบััน PIM

1512252 การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้้านภาษาจีนี
ธุุรกิจิ 2

รวม รวม

3-9

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 3

ภาคการศึึกษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหัสั วิชิ า รายวิชิ า หน่่วยกิิต รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

1513106 การจัดั การธุุรกิิจดิจิ ิิทัลั 2 1512314 การเขียี นภาษาจีนี เชิงิ ธุรุ กิจิ 2 3
1512313 การเขียี นภาษาจีนี เชิงิ ธุรุ กิิจ 1 3 1512316 การล่า่ มภาษาจีีนเชิิงธุรุ กิจิ 3
1512315 การแปลภาษาจีีนเชิงิ ธุุรกิิจ 3 1512318 การจัดั ทำโครงงานนวัตั กรรมด้้วย 1

1512317 การนำเสนอเชิงิ ธุุรกิิจด้้วยภาษาจีนี 3 ภาษาจีีน 3
10XXXXX หมวดอััตลัักษณ์์ของสถาบันั PIM 3 10XXXXX หมวดอัตั ลักั ษณ์ข์ องสถาบันั PIM 2
10XXXXX กลุ่�มภาษาเพื่อ่� การสื่อ่� สาร 2 2 10XXXXX กลุ่�มภาษาเพื่่�อการสื่อ่� สาร 3 3
1512353 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบััติดิ ้า้ นภาษาจีีน 3 10XXXXX กลุ่�มการจััดการและนวััตกรรม
15
ธุุรกิจิ 3 19 รวม
รวม

ปีีการศึกึ ษาที่่� 4

ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิติ รหััสวิชิ า รายวิชิ า หน่่วยกิิต

1512454 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบััติิด้า้ นภาษาจีนี 3 1512455 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้านภาษาจีนี 3
ธุุรกิจิ 4 ธุรุ กิจิ 5
3 3
XXXXXXX หมวดวิิชาเลืือกเสรีี 1 3 XXXXXXX หมวดวิชิ าเลืือกเสรีี 2 3
151XXXX กลุ่�มวิชิ าเลืือก 3 9 151XXXX กลุ่�มวิชิ าเลืือก 4 9

รวม รวม

สามารถศึกึ ษาข้อ้ มููลหลักั สููตรเพิ่่ม� เติิมได้ท้ ี่่�
http://202.28.55.154/checo/UnivSummary2.aspx?id=25522501103651_2157_IP&b=0&u=25000&y=

3-10

หลัักสููตรศิลิ ปศาสตรบััณฑิติ

สาขาวิิชาภาษาญี่่ป� ุ่น�่ ธุุรกิิจ

Bachelor of Arts Program in Business Japanese

ชื่่อ� ปริญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่่อ� เต็ม็ ) : ศิลิ ปศาสตรบัณั ฑิิต (ภาษาญี่่�ปุ่น�่ ธุรุ กิจิ )
(อัักษรย่่อ) : ศศ.บ. (ภาษาญี่่ป� ุ่�่นธุรุ กิจิ )
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่�อเต็ม็ ) : Bachelor of Arts (Business Japanese)
(อักั ษรย่่อ) : B.A. (Business Japanese)
หมายเหตุุ: สำนัักงานปลััดกระทรวงการอุดุ มศึึกษาวิิทยาศาสตร์์ วิจิ ััย และนวัตั กรรม
(สป.อว.) รับั ทราบหลักั สููตรเมื่อ�่ 4 ตุุลาคม พ.ศ. 2563

จุุดเด่่นของสาขาวิิชา / หลัักสููตร

1. พัฒั นาความสามารถด้า้ นการสื่อ่� สารด้ว้ ยภาษาญี่่ป� ุ่่น� ควบคู่่�กับั ความรู้�เบื้้อ� งต้น้ เกี่ย� วกับั ธุรุ กิจิ
ทำให้้นักั ศึึกษามีคี วามรู้้�พร้อ้ มสำหรัับการทำงานจริิง

2. จัดั การเรียี นการสอนรูปู แบบ Work–based Education (WBE) เพื่อ่� ให้ผ้ ู้เ�้ รียี นได้เ้ รียี นรู้�จาก
ประสบการณ์์จริิง โดยนัักศึึกษาจะได้้ฝึึกงานทุุกปีีตามเป้้าหมายการฝึึกปฏิิบััติิงานในแต่่
ละครั้ง� ที่่พ� ิจิ ารณาให้ส้ อดคล้อ้ งกับั ศักั ยภาพนักั ศึกึ ษาในแต่ล่ ะชั้น� ปีีและคุณุ ลักั ษณะเป้า้ หมาย
ทางวิิชาชีีพ เพื่อ�่ ให้้นักั ศึึกษาได้พ้ ััฒนาทัักษะต่า่ งๆ ที่่จ� ำเป็น็ ต่อ่ การประกอบวิชิ าชีพี

3. จัดั โครงการแลกเปลี่ย� นระยะสั้น� (2 สััปดาห์์) และระยะยาว (1-2 ปีี) เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ นัักศึึกษา
ให้พ้ ัฒั นาทักั ษะภาษาในสภาพแวดล้อ้ มของเจ้า้ ของภาษากับั มหาวิทิ ยาลัยั ในประเทศญี่่ป� ุ่่น�
ที่่�มีีการทำความร่่วมมืือทางวิิชาการ (MOU) กับั สถาบััน

4. สร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือกัับสถานประกอบการญี่่�ปุ่่�นเพื่่�อฝึึกประสบการณ์์การทำงาน
ให้ก้ ัับนักั ศึกึ ษา

3-11

ผลลัพั ธ์ก์ ารเรีียนรู้ข�้ องหลักั สููตร

• ด้้านคุุณธรรม จริยิ ธรรม หมวดวิิชาเฉพาะ

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่�วไป 1. วิินััย ตรงเวลา
2. มีีความซื่อ�่ สััตย์์สุจุ ริติ
1. วิินัยั ตรงเวลา 3. มีคี วามรับั ผิิดชอบทั้้ง� ต่อ่ ตนเอง
2. มีคี วามซื่่อ� สััตย์์สุจุ ริิต
3. มีคี วามรับั ผิดิ ชอบทั้้�งต่่อตนเอง สัังคมและการประกอบอาชีีพ
4. ปฏิิบััติิหน้า้ ที่่�ด้้วยคุุณธรรม จริิยธรรม
สัังคมและการประกอบอาชีพี
4. ปฏิิบััติหิ น้า้ ที่่�ด้ว้ ยคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม และมีีจิติ สาธารณะ
5. เคารพในระเบีียบและกฎเกณฑ์ข์ ององค์์กร
และมีจี ิิตสาธารณะ
5. เคารพในระเบียี บและกฎเกณฑ์ข์ ององค์์กร และสังั คม

และสังั คม

• ด้้านความรู้�้

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีีความรู้�อย่า่ งกว้า้ งขวางและสามารถนำความรู้�นั้�น 1. มีที ัักษะการใช้ภ้ าษาญี่่�ปุ่่�นในการสื่อ�่ สาร
ไปใช้ใ้ นชีีวิิตประจำวััน และนำไปประกอบอาชีพี ได้้

2. เข้้าใจและวิิเคราะห์ห์ ลักั การของศาสตร์อ์ ื่�่นที่่� 2. สามารถนำความรู้�เกี่ย� วกับั สังั คม เศรษฐกิิจ
เกี่�ยวข้้องและนำมาใช้้เป็็นพื้้น� ฐานของศาสตร์์ และวััฒนธรรมญี่่�ปุ่่�นไปประยุกุ ต์ใ์ ช้ใ้ นการประกอบ
เฉพาะนั้้น� ๆ (เฉพาะสาขาวิชิ า) อาชีพี

3. มีีความรู้�ความเข้า้ ใจในหลัักการและทฤษฎีี 3. มีีความรู้�พื้น� ฐานทางธุรุ กิจิ สามารถนำหลัักการ
ในศาสตร์เ์ ฉพาะนั้้น� ๆ และสามารถนำไปประยุุกต์์ และทฤษฎีไี ปใช้้ได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม
ใช้แ้ ก้้ไขปััญหาในการปฏิบิ ััติงิ านจริิงได้้

• ด้้านทักั ษะทางปััญญา

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. มีีความคิดิ ริเิ ริ่�มสร้า้ งสรรค์์ ต่่อยอดกรอบความรู้� 1. มีีวิธิ ีกี ารคิิดอย่่างเป็็นระบบและมีวี ิิจารณญาณ
เดิมิ สามารถบูรู ณาการความรู้�ในสาขาวิิชาที่่�ศึึกษา
และประสบการณ์เ์ พื่อ่� ให้้เกิิดนวััตกรรม กิิจกรรม
หรืือแนวทางในศาสตร์เ์ ฉพาะนั้้�นๆ

2. สามารถคิิดวิเิ คราะห์์และเชื่อ�่ มโยงความรู้� 2. มีคี วามสามารถในการบูรู ณาการหลักั การ ทฤษฎีี
อย่่างเป็น็ องค์์รวม ตลอดจนสามารถนำความรู้�ไปประยุุกต์์ใช้ไ้ ด้้

3. มีคี วามกระตืือรืือร้น้ ในการใฝ่่หาความรู้� 3. มีีความสามารถในการวิเิ คราะห์ป์ ััญหา
และเสนอแนะแนวทางในการแก้้ปััญหา

3-12

• ด้้านทักั ษะความสัมั พันั ธ์์ระหว่่างบุุคคลและความรับั ผิดิ ชอบ

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. สามารถปรับั ตัวั เข้้ากับั สถานการณ์์ 1. สามารถปรับั ตัวั เข้้ากับั สถานการณ์แ์ ละวััฒนธรรม
และวัฒั นธรรมองค์ก์ ร องค์ก์ ร

2. สามารถทำงานกัับผู้้�อื่�นได้เ้ ป็็นอย่า่ งดีี 2. มีคี วามรัับผิิดชอบต่อ่ หน้้าที่่�
และมีภี าวะผู้น�้ ำ และงานที่่ไ� ด้ร้ ัับมอบหมาย

3. มีคี วามรัับผิดิ ชอบต่อ่ หน้า้ ที่่� 3. มีมี นุษุ ยสัมั พัันธ์์ที่่ด� ีีกับั ผู้้�ร่วมงานในองค์์กร
และงานที่่ไ� ด้้รับั มอบหมาย และบุคุ คลทั่่�วไป

4. มีมี นุษุ ยสัมั พัันธ์์ที่่ด� ีีกับั ผู้้�ร่วมงานในองค์์กร 4. มีีความรู้�และศิิลปะในการเป็น็ ผู้น้� ำและผู้้�ตาม
และบุคุ คลทั่่ว� ไป

• ด้า้ นทัักษะการวิิเคราะห์์เชิิงตัวั เลข การสื่่�อสาร
และการใช้เ้ ทคโนโลยีีสารสนเทศ

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. ใช้ค้ วามรู้้�ทางคณิติ ศาสตร์แ์ ละสถิติ ิิในการวิิเคราะห์์ 1. ใช้้ความรู้้�ทางคณิิตศาสตร์์และสถิิติิในการวิเิ คราะห์์
และนำเสนอ และนำเสนอ

2. มีีทักั ษะการใช้ภ้ าษาไทยได้้อย่า่ งมีปี ระสิิทธิิภาพ 2. มีที ักั ษะการใช้ภ้ าษาไทยในการสื่อ่� สารได้้อย่า่ ง
มีปี ระสิทิ ธิภิ าพ

3. มีีทักั ษะการใช้้ภาษาต่่างประเทศเพื่�อ่ การติดิ ต่อ่ 3. มีีทักั ษะการใช้้ภาษาญี่่ป� ุ่่�นเพื่อ�่ การสื่่�อสารได้้อย่า่ ง
สื่อ�่ สารอย่า่ งน้้อยหนึ่่ง� ภาษา มีปี ระสิิทธิิภาพ

4. สามารถใช้เ้ ทคโนโลยีสี ารสนเทศในการสืืบค้น้ 4. สามารถใช้้เทคโนโลยีสี ารสนเทศในการสืืบค้้น
เก็บ็ รวบรวมข้อ้ มููลตลอดจนการนำเสนอ เก็บ็ รวบรวมข้้อมูลู ตลอดจนการนำเสนอ

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. ประกอบอาชีพี ตามสถานประกอบการหรืือหน่ว่ ยงานที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั ญี่่ป� ุ่่น� ด้า้ นอุตุ สาหกรรม
การผลิติ และการบริกิ าร

2. ประกอบอาชีีพอิสิ ระด้า้ นภาษาญี่่ป� ุ่่น� เช่่น ล่า่ ม นักั แปล อาจารย์ส์ อนพิเิ ศษ เป็็นต้น้
3. ผู้้�ประกอบการที่่ส� ามารถเข้้าใจธุรุ กิิจญี่่�ปุ่่น�
4. ประกอบอาชีพี ตามสถานประกอบการหรืือหน่ว่ ยงานที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั ญี่่ป� ุ่่น� ในตำแหน่ง่ ต่า่ งๆ

เช่่น เลขานุุการ พนักั งานฝ่่ายขาย พนัักงานฝ่่ายการตลาด ผู้้�บริิหาร

3-13

รายละเอีียดค่า่ เล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 280,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตราที่่ส� ถาบัันกำหนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 8 ภาคการศึึกษา ดัังนี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่่าเล่่าเรียี นสำ�ำ หรัับนัักศึกึ ษา ค่า่ เล่่าเรีียนสำ�ำ หรับั นัักศึกึ ษา
ที่่�เข้้าเรีียนในภาคการศึึกษาพิเิ ศษ ที่่�เข้า้ เรียี นในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 1
ครั้ง� ที่่� 2 – 7 18,900 37,300
ครั้ง� ที่่� 8 37,300 37,300
37,300 18,900

2. อัตั ราค่่าเล่า่ เรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา ไม่ร่ วมค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดังั ต่อ่ ไปนี้้�
- ค่่าหนัังสืือ เอกสารประกอบวิิชาเรีียน
- ค่า่ ชุุดปฏิิบััติิการ วััตถุดุ ิบิ และอุปุ กรณ์อ์ ื่�น่ ๆ ที่่เ� กี่ย� วข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรัับพื้้น� ฐาน
- ค่่าธรรมเนียี มอื่�่นๆ และค่่าเบ็็ดเตล็็ดนอกเหนืืออััตราค่่าเล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่า่ ยต่อ่ ภาคการศึกึ ษา

ตัวั อย่า่ งสถานประกอบการที่น�่ ักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

3-14

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีีการศึึกษาที่่� 1

ภาคการศึึกษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต

TH xxxxx กลุ่�มวิชิ าภาษาไทย 3 EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอัังกฤษ 2
EN xxxxx กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ 2 3
SC xxxxx กลุ่�มวิิชาวิิทยาศาสตร์์และ
3 คณิติ ศาสตร์์ 3
3 3
SO xxxxx กลุ่�มวิชิ าสัังคมศาสตร์์ BJ 61104 ความรู้�เกี่ย� วกับั ประเทศญี่่�ปุ่่�น
HM xxxxx กลุ่�มวิชิ ามนุษุ ยศาสตร์์ 3 3
LA 61101 ความรู้�เบื้้อ� งต้น้ เกี่ย� วกัับธุรุ กิิจและ
3 การเป็็นผู้ป�้ ระกอบการ 3
3 3
SC xxxxx กลุ่ �มวิิชาวิิทยาศาสตร์์และ BJ 61141 ภาษาญี่่�ปุ่่�น 2
คณิติ ศาสตร์์ 20 20
BJ 61140 ภาษาญี่่ป� ุ่่�น 1 BJ 61143 การอ่า่ นภาษาญี่่ป� ุ่่น�
BJ 61142 การฟัังและการพููดภาษาญี่่ป� ุ่่น� BJ 61190 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิดิ ้า้ นภาษา
ญี่่�ปุ่่�นธุุรกิจิ 1
รวม
รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหััสวิิชา รายวิิชา หนว่ ยกติ รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต

EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ 2 EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอัังกฤษ 2

SO xxxxx กลุ่�มวิชิ าสังั คมศาสตร์์ 3 LA 61203 ความรู้�เบื้้อ� งต้้นเกี่�ยวกัับเศรษฐศาสตร์์ 3
การเงินิ และการบัญั ชีี

LA 61202 ความรู้�เบื้้�องต้น้ เกี่�ยวกัับการจัดั การ 3 BJ 61245 ภาษาญี่่ป� ุ่่น� 4 3
ธุุรกิิจดิจิ ิทิ ััล

BJ 61244 ภาษาญี่่�ปุ่่�น 3 3 BJ 61248 การเขีียนภาษาญี่่�ปุ่่�น 3

BJ 61246 การฟังั และการพููดภาษาญี่่�ปุ่่�นธุรุ กิจิ 3 BJ 61291 การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้านภาษาญี่่ป� ุ่่�น 3
ธุุรกิจิ 2

BJ 61247 การอ่า่ นภาษาญี่่ป� ุ่่�นเชิงิ วิเิ คราะห์์ 3 BJ xxxxx วิชิ าเอกเลืือก 2 3

BJ xxxxx วิชิ าเอกเลืือก 1 3

รวม 20 รวม 17

3-15

ปีีการศึกึ ษาที่่� 3

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต

EN xxxxx กลุ่�มวิชิ าภาษาอัังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่ �มวิิชาภาษาอัังกฤษ 2
BJ 61349 การอ่่านภาษาญี่่�ปุ่่น� ธุรุ กิิจ 3 BJ 61352 สััมมนาภาษาญี่่�ปุ่่�นธุรุ กิจิ 3
BJ 61350 การเขียี นภาษาญี่่�ปุ่่�นธุรุ กิจิ 3 BJ 61392 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิ 3
ด้้านภาษาญี่่�ปุ่่�นธุรุ กิจิ 3
BJ 61351 การนำเสนอเชิิงธุุรกิิจด้้วยภาษาญี่่ป� ุ่่น� 3 BJ xxxxx วิชิ าเอกเลืือก 4 3
BJ xxxxx วิชิ าเอกเลืือก 3 3 BJ xxxxx วิิชาเอกเลืือก 5 3
14 14
รวม รวม

ปีกี ารศึึกษาที่่� 4

รหััสวิชิ า ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 หน่่วยกิิต รหัสั วิิชา ภาคการศึกึ ษาที่่� 2 หน่ว่ ยกิิต

BJ 61493 รายวิชิ า 6 BJ 61494 รายวิชิ า 6

XX xxxxx การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้า้ นภาษาญี่่ป� ุ่่น� 3 XX xxxxx การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิดิ ้า้ นภาษา 3
ธุุรกิจิ 4 9 ญี่่ป� ุ่่น� ธุรุ กิจิ 5 9
วิชิ าเลืือกเสรีี วิิชาเลืือกเสรีี

รวม รวม

สามารถศึึกษาข้อ้ มููลหลัักสููตรเพิ่่ม� เติิมได้้ที่่�
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25562501100213_2135_IP&b=0&u=25000&y=

3-16

หลัักสููตรศิลิ ปศาสตรบัณั ฑิิต

สาขาวิชิ าภาษาอัังกฤษเพื่่อ� การสื่่�อสารทางธุุรกิิจ

Bachelor of Arts Program in Communicative English for Business

ชื่่อ� ปริญิ ญา

ภาษาไทย (ชื่่�อเต็็ม) : ศิิลปศาสตรบััณฑิติ
(ภาษาอัังกฤษเพื่่�อการสื่�อสารทางธุรุ กิจิ )
(อัักษรย่่อ) : ศศ.บ. (ภาษาอัังกฤษเพื่่อ� การสื่อ� สารทางธุุรกิิจ)
ภาษาอัังกฤษ (ชื่่อ� เต็ม็ ) : Bachelor of Arts
(Communicative English for Business)
(อักั ษรย่่อ) : B.A. (Communicative English for Business)

หมายเหตุุ: สำนัักงานปลััดกระทรวงการอุดุ มศึกึ ษาวิทิ ยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม
(สป.อว.) รัับทราบหลัักสูตู รเมื่อ่� 2 มีีนาคม พ.ศ. 2563

จุดุ เด่่นของสาขาวิิชา / หลักั สููตร

1. สอนภาษาอัังกฤษเพื่�่อตอบสนองความต้้องการของ 3 ประเภทธุุรกิิจหลััก คืือ ธุุรกิิจด้้าน
การค้้าสมััยใหม่่ ธุรุ กิิจด้้านการบริกิ าร และธุุรกิจิ ด้้านสุขุ ภาพและการแพทย์์

2. พััฒนาความสามารถด้้านการสื่่�อสารด้้วยภาษาอัังกฤษควบคู่่�กัับความรู้ �เบื้้�องต้้นเกี่ �ยวกัับ
ธุรุ กิิจ ทำให้้นัักศึกึ ษามีีความรู้้�พร้้อมสำหรัับการทำงานจริงิ

3. จััดการเรีียนการสอนในรููปแบบ Work–based Education (WBE) โดยมีีโครงการพัฒั นา
นักั ศึกึ ษา (Career Development) เพื่อ�่ เตรียี มความพร้อ้ มก่อ่ นลงฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ านที่่ใ� ห้ผ้ ู้เ้� รียี น
ได้เ้ รียี นรู้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ นักั ศึกึ ษาจะได้ฝ้ ึกึ งานทุกุ ปีีตามเป้า้ หมายการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ าน
ในแต่ล่ ะครั้ง� ที่่พ� ิจิ ารณาให้ส้ อดคล้อ้ งกับั ศักั ยภาพของนักั ศึกึ ษาในแต่ล่ ะชั้น� ปีีและคุณุ ลักั ษณะ
เป้า้ หมายทางวิิชาชีีพ เพื่อ่� ให้้นัักศึกึ ษาได้พ้ ัฒั นาทักั ษะต่า่ ง ๆ ที่่จ� ำเป็น็

4. มีีแหล่่งฝึึกปฏิิบััติิงานจากองค์์กรระดัับนานาชาติิและบริิษััทในเครืือข่่าย ที่่�สนัับสนุุน
การจััดการเรียี นการสอนในรููปแบบ Work–based Education

5. หลัักสููตรมีีเส้้นทางอาชีีพที่่�ชััดเจน ทำให้้นัักศึึกษาเห็็นแนวทางในการเลืือกประกอบอาชีีพ
ตามความถนััดของตนเอง

3-17

ผลลััพธ์ก์ ารเรีียนรู้ข้� องหลักั สููตร

• ด้้านคุุณธรรม จริยิ ธรรม หมวดวิชิ าเฉพาะ

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป 1. วินิ ััย ตรงเวลา
2. มีคี วามซื่่�อสััตย์ส์ ุจุ ริิต
1. วิินััย ตรงเวลา 3. มีีความรัับผิิดชอบทั้้�งต่อ่ ตนเอง
2. มีคี วามซื่อ่� สัตั ย์์สุุจริติ
3. มีคี วามรับั ผิดิ ชอบทั้้�งต่่อตนเอง สังั คมและการประกอบอาชีพี
4. ปฏิบิ ััติิหน้้าที่่ด� ้ว้ ยคุณุ ธรรม จริิยธรรม
สังั คมและการประกอบอาชีพี
4. ปฏิบิ ััติิหน้้าที่่ด� ้ว้ ยคุุณธรรม จริยิ ธรรม และมีจี ิติ สาธารณะ
5. เคารพในระเบีียบและกฎเกณฑ์ข์ ององค์์กร
และมีีจิติ สาธารณะ
5. เคารพในระเบียี บและกฎเกณฑ์ข์ ององค์ก์ ร และสังั คม

และสังั คม

• ด้า้ นความรู้�้

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีคี วามรู้�อย่า่ งกว้า้ งขวางและสามารถนำความรู้�นั้�น 1. มีที ักั ษะการใช้ภ้ าษาอัังกฤษในการสื่อ่� สาร
ไปใช้ใ้ นชีีวิติ ประจำวันั และนำไปประกอบอาชีีพได้้

2. เข้า้ ใจและวิิเคราะห์์หลักั การของศาสตร์อ์ ื่่น� 2. สามารถนำความรู้�เกี่�ยวกัับสัังคม เศรษฐกิิจ
ที่่�เกี่�ยวข้อ้ งและนำมาใช้เ้ ป็็นพื้้�นฐานของศาสตร์์ และความแตกต่า่ งระหว่า่ งวััฒนธรรมไปประยุุกต์ใ์ ช้้
เฉพาะนั้้�นๆ (เฉพาะสาขาวิชิ า) ในการประกอบอาชีีพ

3. มีีความรู้�ความเข้้าใจในหลัักการและทฤษฎีี 3. มีคี วามรู้�พื้�นฐานทางธุรุ กิจิ สามารถนำหลัักการ
ในศาสตร์์เฉพาะนั้้น� ๆ และสามารถนำไปประยุุกต์์ และทฤษฎีไี ปใช้้ได้้อย่่างเหมาะสม
ใช้้แก้ไ้ ขปัญั หาในการปฏิิบััติงิ านจริิงได้้

• ด้้านทัักษะทางปััญญา

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีคี วามคิดิ ริิเริ่ม� สร้้างสรรค์์ ต่อ่ ยอดกรอบความรู้� 1. มีีวิธิ ีกี ารคิิดอย่่างเป็น็ ระบบและมีีวิจิ ารณญาณ
เดิิม สามารถบููรณาการความรู้�ในสาขาวิิชาที่่ศ� ึึกษา
และประสบการณ์์เพื่อ�่ ให้เ้ กิดิ นวัตั กรรม กิจิ กรรม
หรืือแนวทางในศาสตร์์เฉพาะนั้้น� ๆ

2. สามารถคิิดวิเิ คราะห์แ์ ละเชื่่อ� มโยงความรู้� 2. มีีความสามารถในการบูรู ณาการหลัักการ ทฤษฎีี
อย่่างเป็น็ องค์์รวม ตลอดจนสามารถนำความรู้�ไปประยุุกต์ใ์ ช้ไ้ ด้้

3. มีีความกระตืือรืือร้น้ ในการใฝ่่หาความรู้� 3. มีีความสามารถในการวิเิ คราะห์์ปััญหา
และเสนอแนะแนวทางในการแก้ป้ ัญั หา

3-18

• ด้้านทัักษะความสัมั พัันธ์ร์ ะหว่า่ งบุุคคลและความรัับผิดิ ชอบ

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรัับตัวั เข้้ากัับสถานการณ์์ 1. สามารถปรัับตัวั เข้า้ กัับสถานการณ์์
และวัฒั นธรรมองค์์กร และวัฒั นธรรมองค์์กร

2. สามารถทำงานกับั ผู้้�อื่น� ได้้เป็น็ อย่่างดีี 2. มีคี วามรับั ผิดิ ชอบต่่อหน้า้ ที่่�
และมีภี าวะผู้้น� ำ และงานที่่�ได้้รับั มอบหมาย

3. มีคี วามรับั ผิิดชอบต่่อหน้า้ ที่่� 3. มีีมนุษุ ยสัมั พันั ธ์์ที่่�ดีกี ับั ผู้้�ร่วมงานในองค์์กร
และงานที่่�ได้้รับั มอบหมาย และบุคุ คลทั่่�วไป

4. มีีมนุุษยสัมั พันั ธ์ท์ ี่่ด� ีีกัับผู้้�ร่วมงานในองค์ก์ ร 4. มีีความรู้�และศิิลปะในการเป็น็ ผู้�น้ ำและผู้�ต้ าม
และบุคุ คลทั่่ว� ไป

• ด้า้ นทัักษะการวิเิ คราะห์์เชิิงตััวเลข การสื่่อ� สาร
และการใช้้เทคโนโลยีสี ารสนเทศ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. ใช้ค้ วามรู้้�ทางคณิิตศาสตร์แ์ ละสถิติ ิใิ นการวิเิ คราะห์์ 1. ใช้้ความรู้้�ทางคณิิตศาสตร์์และสถิิติิในการวิิเคราะห์์
และนำเสนอ และนำเสนอ

2. มีที ัักษะการใช้ภ้ าษาไทยได้้อย่า่ งมีปี ระสิิทธิภิ าพ 2. มีที ักั ษะการใช้้ภาษาไทยในการสื่่�อสาร
ได้อ้ ย่่างมีีประสิทิ ธิิภาพ

3. มีที ักั ษะการใช้้ภาษาต่่างประเทศเพื่่อ� การติดิ ต่อ่ 3. มีที ักั ษะการใช้ภ้ าษาอัังกฤษเพื่อ�่ การสื่่อ� สาร
สื่่�อสารอย่า่ งน้้อยหนึ่่ง� ภาษา ได้้อย่่างมีีประสิทิ ธิภิ าพ

4. สามารถใช้เ้ ทคโนโลยีสี ารสนเทศในการสืืบค้น้ 4. สามารถใช้เ้ ทคโนโลยีีสารสนเทศในการสืืบค้น้
เก็็บรวบรวมข้อ้ มููลตลอดจนการนำเสนอ เก็็บรวบรวมข้อ้ มููล ตลอดจนการนำเสนอ

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. ผู้�้ประกอบการที่่ม� ีแี นวคิดิ เชิิงนวััตกรรม ดำเนินิ ธุรุ กิจิ กัับชาวต่่างชาติิ
2. เจ้้าหน้า้ ที่่บ� ริิการสุุขภาพที่่เ� น้น้ ผู้้�สูงอายุชุ าวต่่างชาติิ
3. เจ้้าหน้า้ ที่่ฝ� ่่ายบริกิ ารลููกค้า้ ในธุรุ กิิจการโรงแรม การท่่องเที่่�ยว การพยาบาลและสุขุ ภาพ
4. พนักั งานฝ่่ายขาย พนักั งานฝ่่ายการตลาด และเจ้า้ หน้า้ ที่่ป� ระสานงานฝ่่ายต่า่ งประเทศ
5. พนักั งานต้้อนรัับบนเครื่อ่� งบิิน และพนักั งานสายการบิิน
6. ล่า่ ม นัักแปลภาษาอังั กฤษ

3-19

รายละเอีียดค่่าเล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 300,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตราที่่ส� ถาบัันกำหนด ตามแผนการเรีียน ปกติิ 8 ภาคการศึกึ ษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่า่ เล่่าเรีียนสำำ�หรัับนัักศึึกษา ค่า่ เล่่าเรียี นสำ�ำ หรับั นักั ศึึกษา
ที่่เ� ข้้าเรีียนในภาคการศึกึ ษาพิิเศษ ที่่�เข้า้ เรีียนในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 1
ครั้ง� ที่่� 2 – 7 20,000 40,000
ครั้ง� ที่่� 8 40,000 40,000
40,000 20,000

2. อัตั ราค่่าเล่า่ เรียี นแบบเหมาจ่่ายต่อ่ ภาคการศึึกษา ไม่่รวมค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย ดัังต่อ่ ไปนี้้�
- ค่่าหนัังสืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรีียน
- ค่า่ ชุุดปฏิิบััติิการ วััตถุดุ ิบิ และอุุปกรณ์์อื่น่� ๆ ที่่เ� กี่ย� วข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรัับพื้้น� ฐาน
- ค่่าธรรมเนียี มอื่�่นๆ และค่่าเบ็ด็ เตล็็ดนอกเหนืืออัตั ราค่า่ เล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่อ่ ภาคการศึกึ ษา

ตัวั อย่า่ งสถานประกอบการที่น�่ ักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

3-20

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 1

ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิติ รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิติ

CN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาจีีน (1) 3 TH xxxxx กลุ่ �มวิิชาภาษาไทย 3
EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ (1) 2 SC xxxxx กลุ่�มวิิชาวิทิ ยาศาสตร์์และ 3
1532101 คณิิตศาสตร์์ 3
1532102 การออกเสียี งภาษาอังั กฤษเพื่อ�่ 3 1501101 การตลาดและการจัดั การธุรุ กิิจ 3
1532103 การสื่�อ่ สารในอาชีพี ดิิจิทิ ััล 3
1532105 ไวยากรณ์์และโครงสร้า้ งภาษา 3 1532104 กลยุทุ ธ์ก์ ารพูดู ภาษาอังั กฤษ 3
1533xxx อังั กฤษในบริบิ ททางธุุรกิจิ ในบริบิ ททางธุุรกิิจ
กลยุทุ ธ์์การฟัังภาษาอัังกฤษเพื่่อ� 3 1532106 การสื่่�อสารระหว่า่ งวัฒั นธรรม 18
รหััสวิชิ า ความเข้้าใจในบริบิ ททางธุุรกิิจ ในโลกธุุรกิจิ
กลยุทุ ธ์ก์ ารอ่า่ นภาษาอัังกฤษ 3 1533xxxx กลุ่�มวิิชาเลืือก (2)
1532151 ในบริิบททางธุุรกิจิ
กลุ่�มวิิชาเลืือก (1) 3 รวม
20
รวม
หน่ว่ ยกิิต
ภาคการศึกึ ษาฤดููร้้อน
3
รายวิิชา
3
การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้้านภาษา
อัังกฤษเพื่่อ� การสื่�่อสารทางธุรุ กิจิ 1

รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิติ รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

HM xxxxx กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์์ 3 EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ (2) 2
CN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาจีีน (2) 3 1501202 เศรษฐศาสตร์์ การเงิินและการบััญชีี 3
1501203 นวััตกรรมพื้้น� ฐานเพื่�อ่ ธุรุ กิิจ 3 1501204 คอมพิวิ เตอร์์ธุุรกิจิ ดิจิ ิิทััล 3
1533xxx กลุ่�มวิิชาเลืือก (3) 3 1532207 กลยุุทธ์์การเขียี นภาษาอัังกฤษในบริิบท 3
ทางธุุรกิจิ
1532252 การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิด้า้ นภาษา 3 1532208 การแปลในบริบิ ททางธุรุ กิิจ 3
อัังกฤษเพื่่�อการสื่�อ่ สารทางธุรุ กิิจ 2

1533xxx กลุ่�มวิิชาเลืือก (4) 3
กลุ่�มวิชิ าเลืือก (5) 3
1533xxx รวม 20

รวม 15

3-21

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 3

ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิชิ า รายวิชิ า หน่ว่ ยกิติ รหััสวิชิ า รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต

EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ (3) 2 1501305 การจัดั การองค์ก์ ารและทรััพยากรมนุษุ ย์์ 3
SO xxxxx กลุ่�มวิิชาสังั คมศาสตร์์ 3 1532310 สััมมนาภาษาอังั กฤษเพื่อ�่ การสื่อ่� สาร 3
ทางธุรุ กิจิ
1532309 การเขีียนภาษาอัังกฤษขั้น� สูงู สำหรับั 3 1533xxx กลุ่�มวิิชาเลืือก (7) 3
ธุุรกิิจ
1533xxx
1532353 กลุ่�มวิิชาเลืือก (6) 3 1533xxx กลุ่�มวิิชาเลืือก (8) 3
กลุ่�มวิิชาเลืือก (9) 3
การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิด้้านภาษา 3 1533xxx
อัังกฤษเพื่�่อการสื่่�อสารทางธุุรกิจิ 3

รวม 14 รวม 15

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 4

ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่�่ 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิติ รหัสั วิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต

CN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาจีีน (3) 3 CN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาจีีน (4) 3
XXxxxxx วิชิ าเลืือกเสรีี (2) 3
1532454 วิิชาเลืือกเสรีี (1) 3 XXxxxxx การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ััติิด้้านภาษา 3
อัังกฤษเพื่�่อการสื่่อ� สารทางธุรุ กิิจ 5
การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้านภาษา 3 1532455 9
อัังกฤษเพื่อ่� การสื่่�อสารทางธุุรกิจิ 4 รวม

รวม 9

สามารถศึกึ ษาข้อ้ มููลหลักั สููตรเพิ่่ม� เติมิ ได้้ที่่�
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25582501100068_2094_IP&b=0&u=25000&y=

3-22

ส่ว่ นที่่� 4

รอบรู้�้ “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)”

4-1

รู้ร้� อบ..ขอบชิิด
PIM : แจ้ง้ วััฒนะ

ที่ต�่ ั้้ง� สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์

โทรศััพท์์ : 02-855-0000
โทรสาร : 02-855-0391
อีีเมล์์ : [email protected]
เว็บ็ ไซต์์ : https://www.pim.ac.th/
เฟซบุ๊๊ค� : www.facebook.com/pimfanpage

การเดินิ ทาง

PIM (พีีไอเอ็็ม) ตั้�งอยู่่�บนถนนแจ้้งวััฒนะ (ฝั่�งขาออก มุ่�งหน้้า
ไปยัังห้้าแยกปากเกร็็ด) การเดินิ ทางมายััง PIM ทำได้้โดย

รถสองแถวนนทบุุรีี
สายท่า่ น้ำ้ นนท์์ - หน้้าเมืืองทองธานีี –
วััดสาลีีโข

รถตู้�โ้ ดยสารประจำ�ำ ทาง รถประจำำ�ทาง
สายมีนี บุุรีี-ปากเกร็็ด สาย 166 (อนุสุ าวรียี ์ช์ ัยั สมรภูมู ิิ - เมือื งทองธานี)ี
สายอนุุสาวรียี ์์ชัยั สมรภูมู ิิ – ปากเกร็ด็ สาย 356
สายรังั สิิต – ปากเกร็ด็
สายจตุุจัักร – ปากเกร็็ด • สายปากเกร็็ด – สะพานใหม่่
สายบางกะปิิ – ปากเกร็็ด • สายปากเกร็ด็ – ดอนเมือื ง – สะพานใหม่่
สาย ม.รามคำแหง – ปากเกร็ด็ สาย 51 (ปากเกร็ด็ – ม.เกษตรศาสตร์์)
สาย 52 (ปากเกร็็ด – จตุุจัักร)
สาย 150 (ปากเกร็็ด – Happy Land)
สาย 391 (ลาดหลุุมแก้ว้ – เมือื งทองธานีี)

4-2

รถไฟฟ้้าสายสีีชมพูู สถานีีศููนย์ร์ าชการนนทบุรุ ีี – เชื่�อมรถไฟฟ้้าสายสีีม่ว่ ง (บางใหญ่-่ เตาปููน-ราษฎร์์บูรู ณะ)
** มีีแผนเปิิดให้้บริกิ าร ...
สถานีกี รมชลประธาน
พ.ศ.2565 สถานีปี ากเกร็็ด
สถานีีเลี่ย� งเมืืองปากเกร็ด็
โครงข่่ายระบบรถไฟฟ้า้ สถานีแี จ้ง้ วััฒนะ – ปากเกร็ด็ 28 (เดินิ มา PIM เพีียง 300 เมตร)
ขนส่ง่ มวลชน สถานีีเมืืองทองธานีี (เดิินมา PIM ประมาณ 500 เมตร)
สถานีีศรีีรัชั (ส่่วนขยายรถไฟฟ้้าสีชี มพููเชื่�อมต่อ่ เข้้าเมือื งทองธานีี: ให้บ้ ริกิ าร พ.ย. 2565)
ในเขตกรุงุ เทพและปริมิ ณฑล : สถานีีแจ้ง้ วัฒั นะ 14
สถานีีศููนย์์ราชการเฉลิิมพระเกียี รติิ
https://cdn-cms.pgimgs.com/ สถานีีทีโี อทีี
static/2019/07/map-bangkok- สถานีีหลัักสี่� – เชื่่�อมรถไฟฟ้้าสายสีีแดง (บางซื่�อ่ – รัังสิิต)
สถานีรี าชภััฐพระนคร
metro-system.pdf สถานีวี ัดั พระศรีมี หาธาตุุ – เชื่่อ� มรถไฟฟ้า้ สายสีเี ขียี ว (สยาม - หมอชิติ – สะพานใหม่่ – คูคู ต)

สถานีีมีีนบุุรีี

หมายเหตุุ: รถไฟฟ้้าสายสีชี มพูใู ห้้บริิการ : เฟสแรกเดืือนมิิถุนุ ายน 2565 >> สถานีีมีนี บุุรีี – สถานีีศูนู ย์ร์ าชการเฉลิิมพระเกียี รติิ
เฟสสองเดืือนสิิงหาคม 2565 (ให้้บริิการผ่่านหน้้า PIM) >> สถานีีมีีนบุุรีี – สถานีีกรมชลประทาน
เฟสสาม (เต็ม็ รููปแบบ) เดือื นกรกฎาคม 2566 (ให้บ้ ริกิ ารผ่่านหน้า้ PIM) >> สถานีมี ีนี บุรุ ีี – สถานีศี ูนู ย์ร์ าชการนนทบุรุ ีี

4-3

รอบบ้้าน PIM : แจ้้งวััฒนะ

ในรั้้�ว PIM แจ้้งวัฒั นะ นัักศึึกษาจะเห็น็ พื้้�นที่่แ� ละอาคารมากมาย เราเรีียกพื้้�นที่่น� ี้้�ว่่า “ธาราพาร์ค์ ” ซึ่ง�่ มีบี ริษิ ััท
องค์ก์ รต่า่ งๆ ทำงานอยู่�ในพื้้�นที่่น�ี้� เช่น่ บริษิ ััท ซีีพีี ออลล์์ จำกััด (มหาชน) บริษิ ัทั ปัญั ญธารา จำกัดั บริษิ ััท ออลล์์ เทรน
นิ่่ง� จำกัดั โรงเรียี นสาธิติ สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ และสถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ เรามาทำความรู้�จักพื้้�นที่่�
ธาราพาร์ค์ และอาคารต่่างๆ กััน

1 อาคาร The TARA อาคารสำนักั งานของบริษิ ััท ซีพี ีี ออลล์์ จำกัดั (มหาชน)

2 อาคาร ธารา 1 อาคารสำนัักงานของ บริษิ ัทั โกซอฟท์์ (ประเทศไทย) จำกัดั
และหน่ว่ ยงาน Call Center

3 อาคาร ปััญญธารา 1 อาคารสำนักั งานและศููนย์์ฝึึกอบรมบริิษััท ปััญญธารา จำกัดั
บริิษัทั ออลล์์ เทรนนิ่่ง� จำกััด
ร้า้ น Bellinee’s Bake & Brew และ Co-Working Space

4 อาคาร ปัญั ญธารา 2 บอราิคษิ ัาทั รสอำอนลักัล์ง์ เาทนรนแนิล่่ะง� ศูจูนำย์กั์ฝดัึึกรอ้า้ บนรม7-บEริLิษEััทVEปnััญแญลธะาร้รา้ านจSำhกัoัดp at 24

5 อาคาร The Park อาคารจอดรถ 1,000 คััน (มีคี ่่าบริกิ าร)
ภายในมีศี ูนู ย์์อาหาร Food World

6 โรงเรีียนสาธิติ สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิิวััฒน์์ โรงเรีียนระดัับมัธั ยมศึกึ ษาตอนต้น้ และตอนปลาย
(สาธิิตพีีไอเอ็ม็ )

7 อาคาร Food Technology อาคารสำนัักงานของบริษิ ััท ซีพี ีี ออลล์์ จำกัดั (มหาชน)
และ Food Academy สถาบัันสอนทำอาหารครบวงจร
8 Chef’s Kitchen และร้า้ น 7-ELEVEn
ร้า้ นอาหารและร้้าน 7-ELEVEn

9 สถาบัันการจััดการปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ อาคารสำหรัับการเรียี น การฝึกึ ปฏิิบัตั ิิ การทำกิจิ กรรม
คณะวิชิ าและหน่ว่ ยงานต่า่ งๆ ใน PIM

10 ลานธาราสแควร์์ ลานอเนกประสงค์์
และสามารถจอดรถยนต์แ์ ละรถจัักรยานยนต์์ (มีีค่่าบริิการ)

4-4

อาคารเรีียน ห้้องเรีียน และห้้องปฏิิบััติิการ ใน PIM : แจ้้งวััฒนะ

อาคาร 1 (อาคารอำ�ำ นวยการ) อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy)

ชั้�น 1 : ห้้องปฏิิบััติิการคณะวิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี ชั้�น 7 : ห้อ้ งเรีียน สำนัักกิจิ การนักั ศึึกษา
ห้อ้ งรับั ฟัังและให้้คำปรึึกษาโดยนัักจิิตวิทิ ยา และสำนัักพััฒนานัักศึึกษา
(Friends Care PIM) ชั้น� 8 : หห้้้ออ้ งงเปรีฏียินบิ ััติหิก้้อางรเหรีียมนากอัลจั ้้อฉรมิิยแะลSะmร้า้ aนrt7C-lEaLsEsrVoEonm
ชั้น� 2 : ห้้องปฏิิบััติิการต่า่ งๆ
ชั้น� 3 : ห้้องละหมาด และห้้องปฏิิบัตั ิกิ ารต่่างๆ (PIM Store Model)
ชั้น� 9 : ห้้องพัักอาจารย์์คณะอุตุ สาหกรรมเกษตร
คณะนิเิ ทศศาสตร์์ คณะการจัดั การการศึึกษา
อาคาร 2 (อาคาร Convention Hall) เชิงิ สร้า้ งสรรค์์ คณะเกษตรนวััตและการจััดการ
และคณะการจัดั การธุุรกิจิ อาหาร
ชั้น� 1 : โถงกิิจกรรม ร้้านค้า้ จำหน่า่ ยอาหารและสินิ ค้า้ ทั่่�วไป ชั้�น 10 : ห้อ้ งพักั อาจารย์ค์ ณะบริหิ ารธุรุ กิิจ คณะวิิทยาการ
PIM Smart Shop และ PIM Souvenir Shop จััดการ คณะการจััดการโลจิสิ ติิกส์์และ
การคมนาคมขนส่ง่ วิทิ ยาลัยั นานาชาติิ
ชั้น� 2 : ห้้องเรีียน
ชั้�น 3 : ห้อ้ งละหมาด และห้อ้ งประชุมุ /สัมั มนา

อาคาร 3 (อาคารอเนกประสงค์)์ และวิิทยาลัยั บััณฑิิตศึึกษาจีีน
ชั้�น 11 : ห้้องพักั อาจารย์์คณะศิลิ ปศาสตร์์
ชั้�น 1 : ห้้องปฏิิบัตั ิกิ ารต่่างๆ คณะวิิศวกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี
ชั้�น 2 : ห้อ้ งพยาบาล และสำนักั งานต่า่ งๆ และสำนักั การศึึกษาทั่่ว� ไป
ชั้�น 3 : ห้้องเรียี น และห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ าร ชั้�น 12 : ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการต่า่ งๆ สำนักั เทคโนโลยีีสารสนเทศ

และห้้องพัักอาจารย์์คณะวิทิ ยาการจัดั การ
อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy) สาขาวิิชาการจัดั การการบริกิ ารและการท่อ่ งเที่่�ยว
ชั้น� 12A : ห้้องสมุุด (PIM Creative Learning Space)
ชั้น� G : ร้า้ นถ่า่ ยเอกสาร ร้า้ น 7-ELEVEn ชั้�น 14 : สำนัักส่ง่ เสริิมวิิชาการ สำนักั บัญั ชีีและการเงิิน
ชั้�น L : ศููนย์์รับั สมััครนักั ศึกึ ษา และพื้้�นที่่อ� ่่านหนัังสืือ
ชั้�น M : ศูนู ย์์ปฏิบิ ัตั ิิการธุรุ กิิจการบินิ (PIM AIR) ชั้�น 16 : ห้อ้ งประชุมุ Auditorium
ชั้�น 3 : ศููนย์์อาหาร Food World
ชั้�น 4 : ห้อ้ งเรียี น และห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ ารภาคพื้้�น
ชั้�น 5-6 : ห้อ้ งเรีียน

4-5

ห้้องเรีียน และห้้องปฎิบิ ัตั ิิการต่่างๆ
ห้อ้ งเรีียนอัจั ฉริยิ ะ Smart Classroom

ห้อ้ ง 4-0806
ห้้องเรีียนในยุุคใหม่่ ที่่ส� ่่งเสริิมกิจิ กรรมการเรียี นการสอนด้้วย
เทคโนโลยีี ให้้เป็น็ มากกว่า่ ห้้องเรีียนทั่่ว� ไป

ห้อ้ งหมากล้อ้ ม GO Classroom

ห้อ้ ง 4-0808
พััฒนาเชาว์ป์ ัญั ญา ฝึึกทัักษะการบริิหารและวางกลยุุทธ์ผ์ ่่าน
การเล่่นหมากล้อ้ ม (โกะ)

ห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิิการด้้านภาษาและคอมพิิวเตอร์์

Computer & Sound Lab
ห้้อง 1-0301, 1-0303, 3-0309, 3-0310,

4-1204, 4-1205, 4-1209 และ 4-1210
เรีียนรู้�การใช้เ้ ทคโนโลยีี ทักั ษะทางคอมพิิวเตอร์แ์ ละภาษาต่า่ งประเทศ

ร้้าน 7- ELEVEn (PIM Store Model)
แ7ห้-ลอ้ EะงLนEั4กัV-ศE0ึกึn8ษ0จา7สำลามอางรหถ้อ้ซื้งอ� เสรีิยีนิ นค้ราู้้�กในาร7จั-ดัEกLาEรVธEุรุ nกิจิ นีก้้ไ� าด้รจ้ ค้ริา้ งิ สอมีกีัยั ด้ใว้หยม่่

Distance Learning Studio

ห้้อง 4-1208
ห้อ้ งสตูดู ิโิ อสำหรับั ถ่า่ ยทำวิดิ ีโี อ จัดั กิจิ กรรมสัมั มนาออนไลน์์
หรืือฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิใิ นการเป็น็ ผู้ด�้ ำเนินิ รายการ

4-6

PIM AIR
ศููนย์ฝ์ ึกึ ปฏิบิ ัตั ิิการธุุรกิิจการบิิน

Sky Terminal ห้อ้ ง 4-M001
AIRCRAFT ห้้อง 4-M002
ศูนู ย์์ฝึกึ การบริิการภาคพื้้�นและบนเครื่่อ� งบิิน

ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการภาคพื้้�น

ห้้อง 4-0408
เรียี นรู้�การจัดั การจราจรทางอากาศ การจััดการสนามบินิ
การจัดั การอำนวยการบิิน และการขนส่่งสินิ ค้้า (Cargo)

ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการด้า้ นสื่่อ� และมััลติมิ ีเี ดียี

Convergent Media Studio
ห้้อง 4-1206
เรียี นรู้�การปฏิิบัตั ิิการข่า่ ว ผลิติ ข่า่ วตอบโจทย์ท์ ุุก Platform
ครบเครื่อ�่ งผู้�น้ ำ Convergent Media

Mac Lab

ห้้อง 4-1207
เรีียนรู้�ปฏิบิ ััติิการสื่่อ� กราฟิิกและมััลติมิ ีีเดียี เติมิ ทักั ษะ ตอบโจทย์์
Multi Skill

ห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารกลยุุทธ์ก์ ารจัดั การโลจิสิ ติกิ ส์์

Logistic Strategic Management Lab
ห้อ้ ง 1-0201
เรีียนรู้�การใช้โ้ ปรแกรมคอมพิิวเตอร์ใ์ นการจัดั การคลัังสิินค้้า การจัดั การขนส่ง่
และจำลองสถานการณ์ต์ ่า่ งๆ ผ่า่ นระบบสารสนเทศภููมิิศาสตร์์ (GIS)

4-7

ห้้องปฏิิบััติิการด้้านการโรงแรม (Hospitality Lab)

Deluxe Room Mock-up

ห้้อง 1-0204
เรีียนรู้�เทคนิคิ ปฏิบิ ััติกิ ารด้้าน Housekeeping
สำหรัับโรงแรมระดัับ 5 ดาว

Culinary and Restaurant Mock-up

ห้้อง 1-0204
เรีียนรู้�ปฏิบิ ัตั ิิการด้า้ นการครัวั

Mixology Mock-up

ห้อ้ ง 1-0206
เรีียนรู้�การปฏิบิ ััติกิ ารและการตกแต่่งเครื่่อ� งดื่�่มประเภทต่่างๆ
เช่่น Cocktail, Mocktail

ห้้องปฏิบิ ััติกิ ารด้้านอาหาร เบเกอรี่�่และเครื่่อ� งดื่่ม�

นำความรู้�ภาคทฤษฎีีด้้านการจััดการธุุรกิิจอาหารมาฝึึกปฏิิบัตั ิิ
(Work-base Education : WBE) เพื่อ�่ สร้้างทัักษะ (Skill)
ให้้พร้อ้ มสำหรับั การทำงานจริิง

Cooking Lab

ห้้อง 3-0112

Coffee and Beverage Lab

ห้อ้ ง 3-0113

Bakery Lab

ห้้อง 3-0114

Sensory Evaluation and Consumer Research Center

ห้้อง 2-0238

4-8

ห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ ารทางวิทิ ยาศาสตร์์

Physical and
Innovative Agricultural Lab

ห้อ้ ง 3-0101
ปฏิบิ ััติกิ ารทดลองทางด้้านชีีววิทิ ยา จุลุ ชีีววิทิ ยา และสุุขภาพพืืช

Chemical Lab

ห้อ้ ง 3-0111
ปฏิบิ ััติกิ ารทดลองเกี่�ยวกัับกลไกของปฏิกิ ิิริิยาเคมีีที่่�บููรณาการศาสตร์์
ทางด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์์ อาทิิ ศาสตร์ท์ างด้า้ นการเกษตรและวิศิ วกรรม

ห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ ารทางวิิศวกรรมศาสตร์์

Microprocessor and Embedded System Lab
ห้้อง 1-0302
ปฏิบิ ััติิการทดลองผ่า่ นโปรแกรมและวงจรต่า่ งๆ เพื่่�อปูพู ื้้น� ฐานกระบวนการคิดิ ที่่�
เป็น็ ระบบและมีเี หตุผุ ล เพื่�่อสร้้างสมองกลหรืือคอมพิิวเตอร์ข์ นาดเล็็ก
Advanced Research Lab
ห้อ้ ง 1-0308
Research Factory: Experimenting, Sharing and Learning

Mechanical Engineering Lab
ห้อ้ ง 3-0105 และ 3-0106
เรียี นรู้�การคำนวณด้า้ นเครื่่�องกล เพื่่อ� นำไปใช้ใ้ นชีวี ิิตประจำวััน
Industrial Engineering Lab
ห้อ้ ง 3-0107
เรียี นรู้�การเคลื่อ�่ นไหวของร่า่ งกายในขณะทำงาน การหาเวลามาตรฐานในการ
ทำงาน และศึกึ ษาคุณุ ลักั ษณะของวัสั ดุวุ ิศิ วกรรม
Industrial Automation System Lab
ห้อ้ ง 3-0108
ฝีีกปฏิบิ ััติิการเขียี นโปรแกรมควบคุมุ เครื่่อ� งจักั รแบบอััตโนมัตั ิใิ นโรงงานอุุตสาหกรรม ด้้วยชุดุ ระบบควบคุุมอัตั โนมััติิ
Programmable Logic Control

4-9

Automotive Information Lab

ห้อ้ ง 3-0102
ปฏิบิ ััติิการเครื่อ�่ ง 3D Scanner และ 3D Printer
และการใช้โ้ ปรแกรม SolidWork และ CATIA ในการออกแบบ

Automotive Electronics Lab

ห้้อง 3-0103
เรียี นรู้�องค์ป์ ระกอบและกลไกของเครื่่อ� งยนต์์ประเภทต่่างๆ

Electronics and Digital Lab

ห้้อง 1-0304
เรียี นรู้�การปฏิิบัตั ิกิ ารวงจรไฟฟ้้า ไฟฟ้า้ สามเฟสและมอเตอร์์
รวมถึงึ วงจรดิิจิิทััลพื้้�นฐาน
Network Lab
ห้้อง 1-0307
เรีียนรู้�การจััดเก็็บข้อ้ มูลู บน Storage ของ Cloud และระบบเครืือข่่ายต่่างๆ
Physics Lab
ห้อ้ ง 1-0305
ปฏิบิ ัตั ิกิ ารทดลองเกี่�ยวกัับพื้้�นฐานทางฟิสิ ิกิ ส์ก์ ลศาสตร์์และฟิิสิกิ ส์์ไฟฟ้้า

Innovation Center for Robotics
and Automation Systems (iCRAS)

ห้อ้ ง 1-0101
เรีียนรู้�การใช้้งานหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมัตั ิิ
รวมถึงึ การใช้้เครื่�อ่ งมืือในการสร้้างชิ้�นส่่วนต่า่ งๆ ของหุ่�นยนต์์

4-10


Click to View FlipBook Version