PIM-EEC
2564
สารบัญ
หนา้ หนา้
ส่วนท่ี 1: สถาบนั เรา “พี ไอ เอม็ (PIM)” 3 สว่ นท่ี 4 :รรู้ อบ..ขอบชิด PIM EEC 31
ตราสัญลกั ษณ์ 4 ท่ีตัง้ และการเดินทาง 31
สปี ระจำ� สถาบนั 4 อาคาร ห้องเรยี น หอ้ งปฏิบัติการ 32
ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน 4 ปฏทิ ินการศึกษาและรูปแบบการเรียน 35
ปรัชญา 5 เทคโนโลยีและระบบสนับสนนุ นกั ศึกษา 36
วสิ ยั ทศั น์ 5 - Single Sign-On 36
พันธกิจ 5 - PIM Application 37
เอกลักษณ์สถาบนั 5 - Wi-Fi PIMHotspot 39
อัตลกั ษณ์นักศึกษา 6 - e-mail 40
คณะวิชา ส�ำนัก วทิ ยาลัยในสถาบนั 7 - Office 365 41
เพลงสถาบัน 9 บัตรนกั ศกึ ษา 42
การแตง่ กาย 43
สว่ นที่ 2 : รูจ้ กั ส�ำนกั การศกึ ษาทัว่ ไป 10 เมือ่ มาเรยี นท่ี PIM 44
ปรัชญา 10
วิสัยทัศน์ 10 - ดตู ารางเรยี น 44
- ตารางหน้าหอ้ งเรียน 45
พันธกิจ 10 - การยนื ยันการเขา้ เรยี น 46
สญั ลกั ษณ์และสีประจ�ำสำ� นกั 10
บทบาทหน้าท่ี 11 - PIM e-Learning 47
- PIM MOOC 48
ศนู ย์พฒั นาทักษะและภาษา 11 หอ้ งสมดุ PIM และแหล่งเรียนรอู้ อนไลน์ 49
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills วารสารวิชาการของสถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 53
ใกล้สอบแล้ว..ต้องทำ� อยา่ งไร 54
เกรดออกแลว้ 56
ส“คว่ ณนทะก่ี 3าร: จรัด้จู กักคารณธะุรเกราจิ อาหาร” 15 การย่นื แบบค�ำร้องออนไลน์ ลงทะเบยี นเรียน 57
ปรัชญา ปณธิ าน วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจคณะ 15 ประเมินตา่ งๆ และอื่นๆ 59
สญั ลักษณ์ และสปี ระจ�ำคณะ 16 เตรียมตวั อย่างไรเมือ่ ไปฝึกปฏบิ ัติ
หลกั สูตร/ สาขาวิชาทเ่ี ปดิ สอน 16 มปี ัญหา..ปรกึ ษาใคร 60
การเข้าถึงข้อมูลคณะ - อาจารย์ท่ปี รกึ ษา 60
- หลกั สูตรบริหารธุรกิจบณั ฑติ 17 - CCDS 61
18
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กจิ อาหาร - Smile Center 62
- หลักสตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑติ - Friends Care PIM 62
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กจิ อาหาร (ต่อเนือ่ ง) 25 เข้าภาคเรยี นใหม่ตอ้ งทำ� อยา่ งไร 63
- ลงทะเบยี นเรียน 63
- ช�ำระค่าเลา่ เรียนและคา่ ธรรมเนยี มตา่ งๆ 64
เรียนดี ประพฤติดี มที ุน 65
วนิ ัยนกั ศึกษา 66
ทำ� อย่างไรใหไ้ ดเ้ กียรตินยิ ม 67
ทำ� อย่างไรไมใ่ ห้ถูก Retire 68
สวัสดกิ ารสำ� หรบั นกั ศกึ ษา 69
ชมรมและกจิ กรรมต่างๆ 70
องทางการสอ่ื สาร..บรกิ ารนกั ศึกษา 71
สถาบนั เรา
“พี ไอ เอ็ม (PIM)”
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็
(PIM) เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ
ในการจดั ตง้ั จากบรษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน)
ในเครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ โดยไดร้ บั การรบั รองจาก
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวัตกรรม เพื่อใหป้ รญิ ญาในระดับปรญิ ญาตรี
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซงึ่ จดั การเรยี นการ
สอนทง้ั ภาคภาษาไทย ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ
ในฐานะทส่ี ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ป น็
มหาวิทยาลัยแหง่ องคก์ รธุรกิจ (Corporate
University) ทม่ี กี ารเรยี นการสอนแบบ Work-
based Education จงึ แตกตา่ งดว้ ยความเป น็
เลศิ ทางวชิ าการ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรจู้ ากการ
ฝ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ กบั ธรุ กจิ เชน่ กลมุ่ ซพี ี ออลล์
เครอื ซพี ี และพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา
ไดร้ ับประสบการณ์ในการท�ำงานจนเกิดความ
เชย่ี วชาญ ดงั นน้ั บณั ฑติ พไี อเอม็ จงึ เป น็ บคุ ลากร
คณุ ภาพผูม้ คี วามรูท้ างวชิ าการและมคี วามพรอ้ ม
ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมอื อาชพี
นกั ศกึ ษาของสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์
มีการเรียนหรือศึกษาตลอดท้ังหลักสูตรใน
สถานทตี่ า่ งๆ คอื
1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ถนนแจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี
2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วิทยาเขตอีอีซี อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี
(PIM-EEC)
3. หนว่ ยการเรยี นทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ทว่ั ประเทศ
33
ตราสัญลกั ษณ์ ช่อมะกอก โล่ รบิ บิน้
สปี ระจำ� สถาบัน หมายถงึ ความมีชัยชนะเหนือสิง่ อ่นื ใด
มงกุฎ
หมายถงึ การศกึ ษาแสดงถงึ ความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู สดุ และยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความถงึ พรอ้ มดว้ ย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รุง่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบัน
มชี ่อื สถาบันภาษาองั กฤษ และตัวย่ออยูใ่ นโล่
ส่วนชอื่ สถาบนั ภาษาไทยอยูใ่ นริบบ้ิน
สีเขียว
หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความงอกงาม ความสมบรู ณ์
สีเหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและถงึ พรอ้ มด้วยคณุ ธรรม
สีประจำ� สถาบัน
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและความถงึ พร้อมด้วย
คณุ ธรรมเปน็ หนทางแหง่ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งในชีวติ
ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน
ดอกบวั มงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรยี บเสมอื นตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ� เรจ็ อันงดงาม
4
ปรชั ญา
"การศกึ ษาคือบอ่ เกดิ แหง่ ภูมิปัญญา"
(Education is the Matrix of Intellect)
วิสยั ทศั น์
“สร้างมืออาชีพดว้ ยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พนั ธกจิ
“มหาวิทยาลัยแห่งองคก์ รธรุ กจิ (Corporate University)” ท่ีมพี นั ธกจิ ดงั น้ี
1. สร้างคนทมี่ ีคุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของภาคธุรกิจ สงั คมและประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้
จากประสบการณ์จรงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ
และทำ� นุบำ� รุงศิลปะวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ เสริมนวตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative
Organization & Good Governance)
เอกลกั ษณส์ ถาบนั
การเปน็ Corporate University บนพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1. การสอนโดยมืออาชีพ (Work-based Teaching) เป็นการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการเรียนรู้จากกรณี
ศกึ ษา จากผปู้ ฏิบัตงิ านจริงในองค์กร เพื่อเตรยี มความพร้อมทจ่ี ะฝึกปฏิบตั จิ ริง
2. การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Work-based Learning) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั
วางโปรแกรมครฝู ึก และมรี ะบบการติดตามประเมินอยา่ งเปน็ ระบบตามวชิ าชพี ของหลกั สูตร เพื่อท�ำให้มี
การบูรณาการระหวา่ งทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแทจ้ ริง
3. การวจิ ยั สนู่ วตั กรรม (Work-based Researching) เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั ของคณาจารยจ์ ากปญั หาวจิ ยั จรงิ ใน
องค์กรที่น�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติได้โดยตรง และน�ำองค์ความรู้ใหม่ๆ กลับมาสู่การเรียนการสอนใน
หอ้ งเรียน
4. มหาวทิ ยาลัยแหง่ การสรา้ งเครือข่าย (Networking University) เปน็ การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา ภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน
การเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั งิ าน และการวจิ ยั ส่นู วตั กรรม
5
อัตลักษณ์นกั ศึกษา PIM
“READY to WORK.”
เรยี นเปน็
1. มีความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. มคี วามรอบรูแ้ ละบรู ณาการในศาสตรส์ าขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. สามารถนำ� เคร่อื งมอื หรอื เทคโนโลยีมาใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการ
(ตามศาสตร์ของตวั เอง)
4. สามารถเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารและลือกใช้ขอ้ มูลความรตู้ า่ งได้อย่างเหมาะสม
คดิ เปน็
1. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) การคดิ วิพากษ์ (Critical thinking) การคิด
เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis thinking) การคดิ เชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)
2. กล้าคิดและสามารถผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้ก่อเกิดเป็นผลงานตามศาสตร์หรือผล
งานเชงิ นวัตกรรมตา่ งๆ ได้
3. มีแนวคดิ การบรหิ ารจดั การอย่างผ้ปู ระกอบการ
ทำ� งานเปน็
1. มีการทำ� งานข้ามสายงานและสามารถจงู ใจผู้อน่ื เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย
2. มีทักษะในการส่อื สารหลากภาษา ทัง้ การฟัง การอ่าน การเขียน การพูด การแปลความ การเลอื กช่องทาง
และเคร่อื งมือในการสอื่ สาร
3. มกี ารตัดสนิ ใจและรับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขึน้
4. สามารถสรา้ งความพอใจระหวา่ งสขุ ภาพ การเรยี น ชวี ติ ส่วนตัว ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลอ่นื
เนน้ วฒั นธรรม
1. สบื สานวัฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มขององคก์ รได้
รกั ความถกู ตอ้ ง
1. ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชีพหรอื จรรยาบรรณในการดำ� เนินธรุ กจิ
2. ยืนหยัดปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง
3. เคารพและชืน่ ชมตอ่ ความดงี ามของผอู้ ่นื
6
สถานท่เี รยี น
คณะ หลกั สตู ร ชื่อยอ่ วิทยาเขต หน่วย
หลกั สตู ร EEC การเรยี น
แจง้ วฒั นะ ทางไกล
จัดการเรียนการสอนในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป -
1) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
3) กลุ่มวชิ าภาษาจนี
4) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
5) กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี
การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ MTM -
การจดั การธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (ตอ่ เนอ่ื ง) CMTM -
การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ (ต่อเน่อื ง) CIMM --
ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอร์เน็ต
การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ DMTM - -
(ระบบการศึกษาทางไกล)
เทคโนโลยีดจิ ิทลั และสารสนเทศ DIT -
วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ CAI --
วศิ วกรรมอตุ สาหการและการผลติ อัจฉรยิ ะ IEM -
วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ AME --
RAE --
วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ BC --
BJ --
ภาษาจีนธรุ กจิ CEB --
ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกจิ RPM --
ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารทางธุรกจิ HROM --
การจัดการอสังหาริมทรัพยแ์ ละ
ทรพั ยส์ ินอาคาร AVI --
การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์คนและ HTM --
การจัดการองค์การ BM --
การจดั การธรุ กจิ การบนิ CB --
การจดั การการบริการและการท่องเท่ียว
การจดั การบณั ฑิต CJ --
วชิ าเอกการส่อื สารองคก์ รและแบรนด์
วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จ้นและ
ส่อื ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์
นวัตกรรมการจดั การเกษตร IAM --
7
สถานท่ีเรียน
คณะ หลักสตู ร ชอื่ ยอ่ วิทยาเขต หนว่ ย
หลักสตู ร แจง้ วฒั นะ EEC การเรยี น
การสอนภาษาจนี (4 ปี) ทางไกล
การสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)
TCL - -
ELT - -
การจดั การเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ATM --
การจัดการธรุ กิจอาหาร FBM -
การจัดการธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนื่อง) CFBM -
การจดั การธรุ กจิ ภตั ตาคาร RBM --
การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคมขนส่ง LTM --
การจดั การธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสตู ร iMTM --
นานาชาต)ิ
การจดั การธรุ กิจโรงแรมและอาหาร (หลักสูตร iHFM - -
นานาชาติ)
หลักสตู รระดบั ปริญญาโท
การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ MBA-MTM --
วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี MET --
(หลกั สูตรนานาชาต)ิ
การบริหารคนและกลยุทธ์องคก์ าร POS --
การส่ือสารเชงิ นวัตกรรมเพ่อื องคก์ รสมยั ใหม่ MCA --
สาขาวิชาธรุ กิจระหว่างประเทศ iMBA --
(หลกั สตู รนานาชาติ)
--
ภาวะผู้น�ำการบริหารและการจดั การ EML --
การศึกษา --
บริหารธุรกิจ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-MBA
การจัดการทางศลิ ปะ (หลักสูตรภาษาจีน) C-MA --
--
หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก
บริหารธุรกจิ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-PhD
การจัดการการศกึ ษา (หลกั สูตรภาษาจีน) C-PhD-Ed
8
เพลงสถาบนั
เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล
สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์
เกิดมาเปน็ คน ต้องพรอ้ มจะอดทนทุกเร่ืองราว * มังคลอบุ ล ดั่งพวกเราทุกคน
ไม่วา่ จะดีจะร้ายซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองวา่ เป็นบทเรียน หนักเบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเขม้ แข็ง
ส่งิ ทีเ่ รียนคือความจ�ำ สง่ิ ท่ที ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบมนั่ คง
สงิ่ ทท่ี �ำได้ยากเยน็ นนั้ จะยง่ิ ใหญ่ หยดั ยืนทรนง...ซอ่ื ตรงและแข็งแกรง่
สง่ิ ท่ที ำ� โดยตัวเอง ยิง่ ทำ� จะยิ่งเข้าใจ P (Practicality)
แมน้ านเพียงใดก็ไม่ลืม I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเป็น เรยี นเปน็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเปน็ ธรรมในใจ
(ซ้ำ� *)
ส่ิงทถ่ี ูกรกั ษาไว้ ทผ่ี ดิ เราตอ้ งทิง้ ไป **ในโลกแห่งความจรงิ ตอ้ งเรยี นรูก้ นั จริงๆ
แลว้ เราจะกา้ วไป..ด้วยกนั ต้องออกไปหาความจรงิ ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ รงิ
ตอ้ งเหน่อื ยต้องท้อจรงิ ๆ ตอ้ งเจอผู้คนจรงิ ๆ
***สถาบันปญั ญาภวิ ัฒน์ สถาบนั แห่งปัญญา เรยี นจากคนร้คู วามจรงิ แล้วเราจะเปน็ คนจรงิ
เราจะคอยเป็นผ้สู อน เราจะคอยเปน็ เบา้ หลอม คนเก่งน้นั ยงั ไม่พอ เกง่ จรงิ ต้องจดั การได้
จะหลอ่ และก็หลอมใหท้ กุ คน แคก่ ลา้ กย็ ังไม่พอ กล้าจรงิ ต้องมวี ินัย
ใหพ้ รอ้ มกลายเป็นคนดี (ให้ทกุ คนเปน็ คนด)ี คนฉลาดนั้นยงั ไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไม่โกงใคร
เกิดมาเป็นคน ต้องมุง่ มน่ั ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผ่ี ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แข็งแรงกย็ ังไม่พอ เพราะว่าตอ้ งมีน้�ำใจ
***ธงสเี ขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรอื งรอง
(ซ�ำ้ *, **, ***) บนแผน่ ดนิ สที อง น่คี ือบ้านของเรา
เราก็เหมอื นอิฐคนละก้อนวางซ้อนเรยี งกันจึงแนน่ หนา
กอ่ ดว้ ยความรกั ในปญั ญา
ฉาบด้วยศรทั ธา..ในสถาบัน..ของเรา
(ซำ้� *, **, ***)
https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc
9
รู้จัก
“ส�ำนกั การศึกษาทวั่ ไป”
ปรชั ญาส�ำนกั การศกึ ษาทวั่ ไป
วชิ าศึกษาทั่วไปสรา้ งความเปน็ มนุษยท์ ่ีมคี ุณภาพในสงั คมโลก มที กั ษะการสื่อสาร
ภาษา ก้าวหน้าเทคโนโลยี มีกระบวนการคิด และมจี ติ สาธารณะ
วสิ ัยทัศน์
“สร้างบัณฑติ มืออาชพี ดว้ ยการเรียนรจู้ ากประสบการณจ์ ริง”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พนั ธกจิ
1) สร้างคนที่มีคุณภาพและตรงกับความต้องการของภาคธุรกิจ สังคม และ
ประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work-based
Education)
2) ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3) สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมนวัตกรรม
(Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรท่พี รอ้ มรบั ความเปลย่ี นแปลง และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีดี
(Transformative Organization & Good Governance)
สญั ลกั ษณ์และสีประจ�ำสำ� นกั
ต้นปญั ญพฤกษ์
หรอื ต้นไมแ้ ห่งปญั ญา
ทแ่ี ผ่ร่มเงาทางการศึกษา
เปรียบเสมือนการเรียนรู้ตลอดชวี ติ
สปี ระจ�ำคณะ สีน�้ำตาลทอง
10
บทบาทหนา้ ที่
ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไปมโี ครงสร้างการทำ� งานประกอบดว้ ย 5 กลุม่ วชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื
1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กล่มุ วชิ าภาษาองั กฤษ 5. กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3. กลมุ่ วชิ าภาษาจนี 6. ศูนย์พฒั นาทกั ษะและภาษา
โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการ
ปัญญาภวิ ัฒน์ และจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาให้เป็นไปตามอตั ลกั ษณ์บัณฑติ ของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ท่ีต้องการ
ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตและสงั คม โดยตลอดปีการศึกษาได้จัดกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาตามกลมุ่ วิชา
ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา
ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรอื CLSD) เปน็ หนว่ ยงาน
ภายใต้ส�ำนักการศึกษาทัว่ ไปทม่ี ีหนา้ ท่เี สรมิ ทักษะ ประเมินทักษะ และออกใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี �ำเป็นตอ่ การท�ำงาน
ของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ
ท้ัง 4 ช้ันปี โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
(Application Program) ช่อื “PIM SMART PASSPORT” ท่ีเปน็ ฐานข้อมูลของนกั ศึกษาส�ำหรบั น�ำไปใช้ประกอบ
การตดั สนิ ใจเลือกพนักงานเข้าทำ� งานของสถานประกอบการต่างๆ
แผนพัฒนาทักษะและภาษา
สำนักการศึกษาทวั่ ไป
ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทักษะช้ันปที่ 1
ทักษะดจิ ทิ ัล (ระบุผลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทกั ษะช้นั ปท ่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบุคะแนนแตละทักษะ) ป 4
e-Leaming score พัฒนาตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทุกที่ ทกุ เวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ตวิ เชม ชน้ั ปท ี่ 3
เพอ่ื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตล ะทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพอ่ื การใชช วี ิต วัดความพรอ มภาษา
รพู ฒั นาการดานดจิ ติ อล
ผลการฝกทกั ษะชั้นปท ี่ 4 ระบุจุดเดนเเละจดุ ท่ี
(ระบุผลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช ีวิต
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบุระดับทักษะ ตลอด 4 ปก ารศึกษา เพือ่ พฒั นา
ทุกทกั ษะ ใหคุณเปนคนที่ “ใช” สำหรับทกุ องคกร
เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป
ป 1 ป 2 ป 2 ป 4
สะทอนศักยภาพและความสามารถ
11
ส�ำนักการศึกษาทั่วไปมีการจัดท�ำชุดฝึกฝน
ทักษะการใช้งานโปรแกรมส�ำนักงาน ผ่านโปรแกรม
ประยุกต์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อให้
นักศึกษาได้ฝึกฝนการใช้เคร่ืองมือในการจัดท�ำเอกสาร
สำ� นกั งาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ งมอื อาชพี ทตี่ อบ
สนองการเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา
12
โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills
โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เปน็ การดำ� เนนิ งานในรปู แบบกิจกรรมเพ่ือพฒั นาทกั ษะและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส�ำหรับนักศึกษา ภายใต้ส�ำนักการศึกษาท่ัวไป เริ่มด�ำเนินการจัดกิจกรรมตั้งแต่ปีการ
ศกึ ษา 2563 ภายใต้คติพจนป์ ระจ�ำโครงการคือ “ไม่มีการลงทุนใด จะได้ผลตอบแทนเท่ากบั การลงทุนเรยี นร้”ู
วตั ถปุ ระสงค์หลักของโครงการ เพอ่ื เสรมิ สร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะชีวติ ใหแ้ กน่ ักศกึ ษา มุ่งเนน้ ให้
นักศกึ ษามี Essential Skills ตอ่ ยอดศักยภาพทม่ี ใี นตัวตนและพฒั นาให้เกดิ ทักษะใหม่พรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มกี ารวางเปา้ หมายไวอ้ ยา่ งชัดเจน คอื การพฒั นาตน พฒั นาคน และนำ� ไปสูก่ ารพัฒนา
สังคมต่อไป
โครงสรา้ งกิจกรรม
กจิ กรรม PIM 3L จัดแบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่ ดงั น้ี
1. ความชอบและไลฟส์ ไตล์ อาทิ กจิ กรรมปตั ตาเลย่ี นตวั เดยี ว..กเ็ ฟย้ี วได้ กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครวั ..รวั้ หลงั หอ้ ง กจิ กรรม
ท�ำอาหารเพื่อสขุ ภาพ และกจิ กรรมแต่งหน้าสวยดว้ ยแรงบนั ดาลใจ เปน็ ตน้
2. ทักษะอย่างมืออาชีพ อาทิ กิจกรรมพูดอย่างโปร..พูดให้เป็น กิจกรรมขายของออนไลน์..ง่ายนิดเดียว กิจกรรม
Innovative Video Creator กิจกรรมการน�ำเสนอและการอา่ นข่าวภาษาอังกฤษ เปน็ ตน้
3. คณุ ค่าในตวั ตนและสังคม อาทิ กิจกรรมรักอย่างไร..ปลอดภัยในวยั เรา กิจกรรมเข้าสังคม..ใครวา่ ยาก กิจกรรม
สรา้ งแรงบนั ดาลใจใหต้ ัวเรา เป็นต้น
การเรยี นรไู้ มม่ วี นั หยดุ นง่ิ หากเราตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไปใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 การเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม PIM 3L เป็นส่วนหนงึ่ ของการเรียนรตู้ ลอดชีวติ สำ� หรับนักศกึ ษาสถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
ภาพตวั อยา่ งโปสเตอร์ประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรม
13
เปา้ หมายการเรยี นรู้ผ่านโปรแกรม นอกจากนี้ส�ำนักการศึกษา
ส่งเสริมการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษ ทั่วไปมีการน�ำโปรแกรมประยุกต์ด้าน
Common European Framework of Reference การสอื่ สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบ
for Languages : CEFR กบั การจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์
การประเมินตามกรอบความเช่ียวชาญ
ภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดับ B2 เป็นอย่างน้อย
ID64 (ปีที่ 3)
ID64 (ปีที่ 2)
ID64 (ปที ี่ 1)
ID64 (ปที ี่ 3)
แผนสำ� หรบั นกั ศึกษา 64 (ต่อ Block)
แผนสำหรบั นักศกึ ษารหัส 64 ศกึ ษาวธิ กี ารใชงาน สอบวัดระดับความรู ทำแบบฝก หัด สอบวดั ผลครง้ั ท่ี 1 สอบวดั ผลครัง้ ท่ี 2
(ตอ block) (Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)
นกั ศกึ ษารหสั 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู น้ั ปท ่ี 1
สอบวดั ระดบั ความรู ทำแบบฝกหดั สอบวัดผลครั้งท่ี 1 สอบวดั ผลครง้ั ท่ี 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)
นักศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยชู ้ันปท ี่ 2 และ 3
14
ร้จู ักคณะ
“คณะการจัดการธรุ กิจอาหาร”
ปรชั ญาคณะการจดั การธรุ กจิ อาหาร
“ผลิตบณั ฑติ ท่ที �ำงานเปน็ โดดเดน่ ดา้ นนวัตกรรม
มีคุณธรรมสูง มงุ่ สู่สากล”
ปณธิ าน
คณะการจัดการธุรกิจอาหาร ได้น�ำอักษรย่อของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
(PIM) มาขยายความเพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางผลิตบณั ฑติ คือ
P: Practicality (ความรู้สกู่ ารปฏิบตั ิ)
หมายถึง ความมงุ่ มน่ั ในการผลติ บณั ฑิตใหเ้ ป็นผูม้ ีความรดู้ ี น�ำความรู้ที่ไดจ้ ากการ
ศกึ ษาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั จิ รงิ ได้ ทงั้ ในการประกอบอาชพี การดำ� รงชวี ติ รวมทง้ั
การพัฒนาและขยายองคค์ วามรู้ และการวางแผนเพ่ืออนาคตได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
I: Innovation (นวตั กรรมและการสรา้ งสรรค)์
หมายถงึ ความมงุ่ มน่ั ในการผลิตบัณฑิตให้เป็นผมู้ ภี ูมปิ ัญญา และมคี วามสามารถ
ในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม เทคโนโลยแี ละแนวคดิ ใหม่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ททางสงั คม
และวฒั นธรรมตามยคุ สมยั และสอดรับกับความเปลย่ี นแปลงต่างๆ ในอนาคต เปน็ ผมู้ ี
ศักยภาพในการผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจ อันเป็นนามธรรมให้ก่อเกิดเป็นรูป
ธรรมอยา่ งกลมกลืนทัง้ ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ เพ่อื พัฒนาวิถีชวี ิตและสงั คม
M: Morality (คณุ ธรรมจริยธรรม)
หมายถงึ ความมงุ่ มน่ั ในการผลติ บณั ฑติ ใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามบรบิ รู ณพ์ รอ้ มดว้ ยคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม เข้าใจในศลิ ปะและวัฒนธรรมท้งั ของชาตติ นและของประชาคมนานาชาติ มี
ความม่นั คงทางอารมณ์ ปรบั ตัวให้เขา้ กับสภาวการณ์ตา่ งๆ ได้
วสิ ัยทัศน์
“สร้างนกั จัดการธรุ กจิ อาหารและภัตตาคารมืออาชพี
ดว้ ยการเรียนรู้จากประสบการณ์จรงิ ”
15
พ นั ธกจิ
1) จดั และพฒั นาการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาดา้ นการจดั การธรุ กจิ อาหารทท่ี นั สมยั และเทา่ ทนั กระแสพลวตั
ตา่ งๆ ของโลก
2) ผลิตบัณฑิตคณะการจัดการธุรกิจอาหารตามปณิธานของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ โดยมุ่งเน้น
ใน 3 ด้านหลัก ดงั ตอ่ ไปนี้
- ความรู้สูก่ ารปฏิบัตกิ าร (Practicality)
- นวัตกรรมและประยกุ ต์ใช้ (Innovation)
- คุณธรรมจรยิ ธรรม (Morality)
3) สง่ เสรมิ ใหม้ ีการวจิ ยั ค้นคว้าทางดา้ นการจัดการธุรกจิ อาหาร เพ่ือนำ� องค์ความร้ไู ปพัฒนานวตั กรรมหรอื
งานสรา้ งสรรคท์ ี่เป็นประโยชน์ตอ่ สังคม และภาคธรุ กจิ
4) บริการวิชาการ โดยประสานความคดิ และความร่วมมือกบั เครือข่ายวชิ าการและอาชีพต่าง ๆ
5) เสริมสร้างและพฒั นาบุคลากรร่นุ ใหม่ทีม่ ีคุณธรรม จริยธรรม อดุ มการณ์ ในอาชีพ มคี วามรบั ผิดชอบต่อ
สงั คม และมจี ิตสำ� นึกในการทำ� นุบ�ำรุงศลิ ปวฒั นธรรมอาหารของชาติ
6) เสรมิ สรา้ งระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาท่มี ปี ระสิทธิภาพ
สัญลักษณ์และสปี ระจ�ำคณะ
สปี ระจำ� คณะ สีเขียว มงกฎุ หมายถึง ความเป็นเลิศ
ต้นอ่อนข้าว หมายถึง ตัวแทนผลผลิต
ทางการเกษตร
ฟันเฟือง หมายถึง การแปรรูปผลผลิต
การจัดการห่วงโซ่คุณค่าอาหารเพ่ือขับ
เคล่ือนทางเศรษฐกจิ
สีเขียว เป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ
งอกงามและความอุดมสมบูรณ์ เป็น
ตัวแทนของอาหารธรรมชาติ อาหารออร์
แกนิคและผลิตภัณฑ์อาหารเพ่ือสุขภาพ
แสดงถึงการจัดการห่วงโซ่คุณค่าอาหารที่
มปี ระสทิ ธิภาพได้มาตรฐานและปลอดภยั
16
หลักสตู ร / สาขาวิชาท่ีเปดิ สอน
หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี
1. หลักสตู รบริหารธรุ กิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ อาหาร
2. หลกั สูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การธุรกิจอาหาร (ตอ่ เน่อื ง)
3. หลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ ภตั ตาคาร
ตดิ ตอ่ คณะ
ชั้น 9 อาคาร 4 หรอื อาคาร CP ALL Academy
โทรศพั ท์ 0 2855 0917
การเขา้ ถงึ ข้อมลู คณะ
1. เวบ็ ไซต์คณะการจดั การธุรกิจอาหาร: https://fbm.pim.ac.th/
17
หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต
สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ อาหาร
Bachelor of Business Administration Program
in Food Business Management
ชอื่ ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชือ่ เต็ม) : บรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต (การจัดการธุรกิจอาหาร)
(อักษรย่อ) : บธ.บ. (การจดั การธุรกจิ อาหาร)
ภาษาองั กฤษ (ช่ือเตม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Food Business Management)
(อักษรย่อ) : B.B.A. (Food Business Management)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
(สป.อว.) รบั ทราบหลักสูตรเม่อื XXXXX
จดุ เด่นของสาขาวิชา / หลักสูตร
หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ อาหาร มกี ารจดั การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรคู้ วบคกู่ ารฝกึ
ปฏบิ ัตใิ นสถานประกอบการจริง (Work–based Education: WBE) การจดั การเรียนการสอนของหลักสูตรเน้นใหผ้ ู้
เรยี นมอี งคค์ วามรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การบรหิ ารจดั การธรุ กจิ อาหาร ความรเู้ บอื้ งตน้ ของหว่ งโซอ่ าหาร ตงั้ แตว่ ตั ถดุ บิ
กระบวนการผลิต จนถึงผลิตภัณฑ์อาหาร การควบคุมคุณภาพ การให้บริการด้านอาหารและเคร่ืองด่ืม การจัดการ
เชิงกลยุทธ์และการตลาด เพื่อตอบสนองกลุ่มผู้ประกอบการด้านธุรกิจอาหารและเคร่ืองดื่มที่ต้องการกลุ่มบุคลากรที่
มีความรู้และประสิทธิภาพในการท�ำงานไปเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร รวมถึงให้สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของภาค
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มในประเทศไทย
18
ผลลัพธก ารเรยี นรขู องหลกั สูตร
• ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ
หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป
1. แสดงออกถึงความมวี ินัย ตรงต่อเวลา และมคี วาม
1. แสดงออกถึงความมีวินัย และตรงต่อเวลา รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี
2. ปฏิบตั ิหนา้ ทดี่ ้วยความซื่อสตั ย์สจุ รติ มีคณุ ธรรม 2. แสดงออกถึงความซือ่ สัตย์ สุจรติ ยึดม่นั ในความ
จริยธรรม และจติ สาธารณะ ถกู ตอ้ ง
3. มคี วามรบั ผิดชอบทง้ั ต่อตนเอง สงั คมและการ 3. แสดงออกถงึ การมจี ติ สาธารณะ มคี วามรบั ผดิ ชอบ
ประกอบอาชพี ตอ่ สังคม ดำ� รงชวี ติ แบบพอเพยี ง
4. แสดงออกซง่ึ ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย 4. แสดงออกถึงการรบั รู้ ยอมรบั และปฏบิ ตั ิตาม
กฎหมาย ขอ้ บงั คบั และจรยิ ธรรมดา้ นการประกอบ
5. ปฏิบตั ิตามระเบียบและกฎเกณฑข์ ององคก์ รและ ธุรกจิ อาหาร
สังคม
• ด้านความรู้
หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถอธิบาย ใชท้ ฤษฎี หลักการพ้นื ฐานทเี่ รียนรู้ 1. สามารถศกึ ษาและติดตามความกา้ วหน้าทางวิชาการ
และน�ำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจ�ำวันและศาสตร์ ลว่ งหนา้ ในรายวิชาท่ีเรยี นและในสาขาวิชาการ
ทเี่ ก่ียวขอ้ ง จัดการธุรกจิ อาหาร
2. สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลกั การของศาสตรท์ ่ี 2. ใชค้ วามรอบรู้ในการจัดการเรียนรศู้ าสตร์ดา้ น
เกยี่ วขอ้ ง และสามารถนำ� มาประยกุ ต์หรอื เป็น บรหิ ารธุรกิจและดา้ นอาหารท่เี รยี นไปประยกุ ต์กับ
พื้นฐานในการเรยี นและการทำ� งาน การด�ำรงชวี ิตประจ�ำวนั และการท�ำงาน
3. สามารถวเิ คราะหแ์ ละเลือกใช้ความรู้ในศาสตรท์ ี่ 3. สามารถบรู ณาการความรู้และทกั ษะปฏิบัตกิ ารพื้น
เรยี น ฐานในรายวชิ าต่าง ๆ ทเี่ รยี นกับการเรียนในสาขา
วิชาการจัดการธุรกจิ อาหาร
เพื่อการวางแผนการเรยี นและการทำ� งาน
• ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมินสถานการณ์โดยใช้ 1. สามารถน�ำเสนอแนวทาง หรอื วธิ ีการใหมๆ่ เพอ่ื น�ำ
ศาสตรท์ เี่ รยี น เพอื่ ใชใ้ นการวางแผนการทำ� งาน และ ไปส่กู ารสร้างสรรคน์ วตั กรรมในธุรกจิ อาหาร
ปฏิบตั งิ านจรงิ
2. สามารถจัดระบบและสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ โดยน�ำ 2. สามารถวเิ คราะห์ข้อมูลอยา่ งเป็นระบบ และ
ศาสตร์ทีเ่ รียนมาเช่ือมโยง ต่อยอดความรู้ และ เช่อื มโยงความร้อู ยา่ งเปน็ องคร์ วม
พัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน
3. มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการใฝห่ าความรู้ ในศาสตร์ 3. แสดงออกถึงความกระตอื รอื รน้ ในการแสวงหาค�ำ
ทเ่ี รยี นและศาสตร์ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตอบดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง กลา้ คิดและสามารถ
ผลกั ดันความคิดให้เกิดเป็นผลงานเพือ่ น�ำไปสู่การ
สร้างสรรคน์ วัตกรรมด้านการจัดการธรุ กิจอาหาร
19
หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
4. มีแนวคดิ ในการเป็นผูป้ ระกอบการธรุ กิจอาหาร โดย
มองหาโอกาสในการพัฒนาและสร้างมูลคา่ เพมิ่ ใหแ้ ก่
ธุรกิจอาหาร
5. สามารถวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่ง
ต่างๆ และน�ำไปประยุกต์ใช้กับสถานการณต์ ่างๆ ได้
อย่างถกู ต้องและเหมาะสม
• ด้านทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ
หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถปฏบิ ัติตามกฏระเบยี บ ปรับตัวเขา้ กับ 1. สามารถปรบั ตัวเข้ากับสถานการณ์และวฒั นธรรม
สถานการณ์และวฒั นธรรมองค์กร องคก์ ร
2. มมี นุษยสมั พันธท์ ี่ดี มคี วามรบั ผิดชอบ มีภาวะผู้น�ำ 2. เปน็ ผู้น�ำและผู้ตามทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม
และท�ำงานร่วมกบั ผ้อู ืน่ ไดเ้ ปน็ อย่างดี มคี วามพร้อมทจ่ี ะแข่งขนั
3. พัฒนาตนเองต่อหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบและงาน 3. แสดงทัศนคติเชงิ บวกและสามารถสรา้ งความ
ท่ีไดร้ บั มอบหมาย สมั พันธ์ที่ดกี ับผู้ร่วมงานและลูกค้า
4. จัดสรรเวลาการท�ำงาน การดแู ลสขุ ภาพชีวติ ส่วนตัว 4. สามารถสรา้ งความสมดลุ ในการเรยี นและ
และการสร้างความสัมพันธก์ ับผรู้ ่วมงาน การดำ� เนินชวี ิต
• ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิตใิ นการ 1. สามารถใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์และสถิติ ส�ำหรบั
วเิ คราะห์ และน�ำเสนอข้อมูลในการเรยี นและการ วิเคราะห์ขอ้ มลู เพอื่ การแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
ท�ำงาน ด้านธุรกจิ อาหาร
2. สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธิบายหลักการและ 2. สามารถใชภ้ าษาในการสอื่ สารได้อย่างเหมาะสมกับ
สถานการณ์ รวมถึงการสื่อสารความหมายไดอ้ ยา่ ง สถานการณ์ มีประสิทธภิ าพและบรรลุเปา้ หมาย
ถูกต้องและตรงประเด็น
3. สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ ขอ้ มลู
3. สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอื่ การตดิ ต่อส่ือสาร เก็บรวบรวมขอ้ มูลและประมวลผล ตลอดจนการน�ำ
อยา่ งนอ้ ยหน่ึงภาษา เสนอขอ้ มูลเก่ียวกับการบรหิ ารจัดการธรุ กิจอาหาร
4. สามารถเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการสืบคน้ เก็บ
รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ น�ำเสนอผลงาน และ
การฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน
20
แนวทางการประกอบอาชพี
1. ผจู้ ดั การในธรุ กจิ อาหารและเคร่อื งดม่ื
2. หวั หน้าแผนกอาหารและเคร่อื งดืม่
3. เจ้าหน้าทฝ่ี า่ ยปฏิบัติการร้านเบเกอร่ี กาแฟ และรา้ นอาหาร
4. เจา้ หนา้ ทก่ี ารตลาด เจา้ หนา้ ทเี่ ทคนคิ การอาหาร และเจา้ หนา้ ทพ่ี ฒั นาผลติ ภณั ฑ์
ในธรุ กจิ อาหารและเครือ่ งดมื่
5. เจา้ ของกิจการธุรกจิ อาหารและเคร่ืองดม่ื
6. ผปู้ ระกอบการธรุ กิจอาหารสมัยใหม่
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 300,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทีส่ ถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรียนปกติ 8 ภาคการศึกษา ดงั น้ี
ภาคการศึกษาที่ ค่าเลา่ เรียนสำ� หรับนกั ศึกษา คา่ เล่าเรียนส�ำหรบั นักศกึ ษา
คร้ังท่ี 1 ทีเ่ ข้าเรียนในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ทเ่ี ขา้ เรียนในภาคปกติ
ครั้งที่ 2 – 7
ครั้งท่ี 8 20,000 40,000
40,000 40,000
40,000 20,000
2. อตั ราค่าเลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศึกษา ไมร่ วมคา่ ใช้จา่ ย ดงั ต่อไปนี้
- ค่าหนังสอื เอกสารประกอบวิชาเรยี น
- คา่ ชุดปฏบิ ัตกิ าร วัตถดุ ิบและอุปกรณ์อน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง
- คา่ รายวชิ าปรบั พ้นื ฐาน
- ค่าใชจ้ ่ายในการสอบขึน้ ทะเบียนการประเมินสมรรถนะบคุ คลตามมาตรฐานอาชีพ
- คา่ ธรรมเนียมอื่นๆ และค่าเบ็ดเตลด็ นอกเหนืออตั ราค่าเลา่ เรียนแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา
21
ตวั อยา่ งสถานประกอบการทน่ี กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ
22
ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ปีการศกึ ษาที่ 1
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต
10xxxxx หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั PIM 3 10xxxxx หมวดอัตลกั ษณข์ องสถาบนั PIM 2
10xxxxx หมวดอัตลักษณข์ องสถาบนั PIM 3
1101101 หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบนั PIM 2 10xxxxx หมวดศาสตรแ์ ห่งชีวติ 3
1101102 การจัดการโลจิสตกิ ส์และ 3
การตลาดเพ่ือการจดั การธุรกิจ 3 10xxxxx ซพั พลายเชน
2312102 การจดั การโภชนาการ 3
การจัดการองค์การและทรัพยากร 3 1101103 เพือ่ ธุรกจิ อาหาร
2312151 มนษุ ย์ในยคุ ดิจิทลั การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ตั ิ 3
ดา้ นการจดั การธรุ กิจอาหาร 2
การจัดการระบบคณุ ภาพอาหาร 3 2312101 17
และความปลอดภัยด้านอาหาร รวม
การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติ 3 2312152
ดา้ นการจดั การธรุ กจิ อาหาร 1
รวม 17
ปกี ารศกึ ษาที่ 2
รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกติ รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต
10xxxxx รายวิชา 2 10xxxxx รายวชิ า 3
10xxxxx 3 10xxxxx 3
1101204 หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 3 1101206 หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 3
หมวดศาสตร์แห่งชวี ิต หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบนั PIM
1101205 การบัญชีบรหิ ารเพ่อื การจดั การ การจดั การนวตั กรรมธรุ กิจ
ธุรกิจ
2312203 กฏหมายธุรกิจ 3 2312204 กฎหมายและขอ้ บังคบั สาหรบั 3
ธุรกจิ อาหาร 3
2312253 การจดั การวัตถุดบิ และเทคโนโลยี 3 2313xxx วชิ าเลือก FB (1)
การแปรรปู อาหาร
การเรยี นรูภ้ าคปฏิบตั ิ 3 2312254 การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั ิ 3
ด้านการจัดการธรุ กจิ อาหาร 3 ดา้ นการจัดการธรุ กจิ อาหาร 4 18
รวม 17 รวม
23
ปีการศกึ ษาที่ 3
รหัสวชิ า ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกิต
10xxxxx รายวชิ า 3 10xxxxx รายวิชา 3
1101307 3 1101308 3
หมวดศาสตรแ์ หง่ ชวี ิต หมวดศาสตรแ์ ห่งชีวิต
2312305 เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงนิ เพอื่ 3 xxxxxxxx การจัดการการปฏบิ ตั ิการทางธุรกจิ 3
2312355 การจดั การธุรกิจ 3 2312306 3
การจดั การอาหารเชิงนวัตกรรม วชิ าเลอื กเสรี FB (1)
2313xxx การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัติ 3 2312356 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร 3
ด้านการจัดการธรุ กิจอาหาร 5
2313xxx วชิ าเลอื ก FB (2) 3 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ตั ิ
18 ดา้ นการจดั การธรุ กจิ อาหาร 6
วิชาเลอื ก FB (3)
รวม รวม 15
ปกี ารศึกษาที่ 4
รหสั วิชา ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกติ
2312407 รายวิชา 3 2312458 รายวชิ า 3
2312457 การบูรณาการการวิจยั ใน 3 xxxxxxxx การเรียนร้ภู าคปฏิบตั ิ 3
ธุรกจิ อาหาร ด้านการจดั การธรุ กิจอาหาร 8
2313xxx การเรียนร้ภู าคปฏบิ ัติ 3 2313xxx วชิ าเลอื กเสรี FB (2)
ดา้ นการจดั การธุรกิจอาหาร 7 9
วิชาเลือก FB (4) วชิ าเลือก FB (5) 3
รวม 9
รวม
24
หลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจอาหาร
(ต่อเนอื่ ง)
Bachelor of Business Administration Program
in Food Business Management
ชอื่ ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่อเตม็ ) : บริหารธุรกจิ บณั ฑติ (การจดั การธรุ กิจอาหาร)
(อักษรยอ่ ) : บธ.บ. (การจัดการธรุ กิจอาหาร)
ภาษาองั กฤษ (ชอ่ื เตม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Food Business Management)
(อักษรย่อ) : B.Eng. (Food Business Management)
หมายเหต:ุ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวทิ ยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
(สป.อว.) รับทราบหลกั สตู รเมื่อ XXXX
จดุ เด่นของสาขาวชิ า / หลกั สตู ร
ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการจัดการธุรกิจอาหารตลอดห่วงโซ่อาหาร และมีองค์ความรู้ด้าน
การประกันคุณภาพ ความปลอดภัยอาหารและนวัตกรรมอาหาร ซึ่งบัณฑิตสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ จากการใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การน�ำเสนอ และการสื่อสารอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม ธรรมมาภิบาล
จรรยาบรรณทางวชิ าการและอาชีพ
25
ผลลพั ธก ารเรยี นรขู องหลักสตู ร
• ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป
1. แสดงออกถงึ ความมีวนิ ัย ตรงตอ่ เวลา และมคี วาม
1. แสดงออกถึงความมวี นิ ัย และตรงต่อเวลา รบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่
2. ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีดว้ ยความซอื่ สตั ยส์ ุจริต มคี ุณธรรม 2. แสดงออกถึงความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ยึดมนั่ ในความ
จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ ถูกตอ้ ง
3. มีความรบั ผดิ ชอบทง้ั ต่อตนเอง สงั คมและการ 3. แสดงออกถงึ พฤติกรรมการมีจติ สาธารณะ มคี วาม
ประกอบอาชพี รับผดิ ชอบต่อสังคม ด�ำรงชวี ติ แบบพอเพียง และเห็น
คณุ ค่าวฒั นธรรมไทย
4. แสดงออกซ่งึ ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย
4. แสดงออกถึงการรับรู้ ยอมรับ และปฏิบตั ติ าม
5. ปฏิบตั ิตามระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและ กฎหมาย ข้อบังคบั และจรยิ ธรรมด้านการประกอบ
สังคม ธุรกิจอาหาร
• ดา้ นความรู้ หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป 1. สามารถศกึ ษาและตดิ ตามความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ
ลว่ งหน้าในรายวิชาที่เรียน และในสาขาวิชา การ
1. สามารถอธบิ าย ใช้ทฤษฎี หลกั การพน้ื ฐานที่เรยี นรู้ จดั การธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนือ่ ง)
และนำ� ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวนั และศาสตร์
ท่เี กยี่ วข้อง 2. ใช้ความรอบรูใ้ นการจัดการเรยี นรู้ศาสตรด์ ้าน
บริหารธรุ กิจและดา้ นอาหารที่เรยี นไปประยกุ ต์กบั
2. สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลักการของศาสตรท์ ี่ การด�ำรงชวี ิตประจ�ำวนั และการท�ำงาน
เกยี่ วขอ้ ง และสามารถนำ� มาประยกุ ตห์ รอื เป็น
พื้นฐานในการเรียนและการทำ� งาน 3. สามารถบรู ณาการความรูแ้ ละทกั ษะปฏิบัตกิ ารพน้ื
ฐานในรายวิชาตา่ งๆ ท่เี รยี นกับการเรียนในสาขา
3. สามารถวิเคราะหแ์ ละเลือกใช้ความรูใ้ นศาสตร์ท่ี วิชาการจดั การธุรกิจอาหาร (ต่อเนอ่ื ง)
เรียนเพอ่ื การวางแผนการเรียนและการทำ� งาน
• ด้านทักษะทางปัญญา
หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ สถานการณ์โดยใช้ 1. สามารถน�ำเสนอแนวทาง หรอื วธิ ีการใหมๆ่ เพอ่ื นำ�
ศาสตร์ทีเ่ รยี น เพื่อใช้ในการวางแผนการทำ� งาน และ ไปสู่การสร้างสรรคน์ วัตกรรมในธุรกิจอาหาร
ปฏิบัติงานจรงิ
2. สามารถจัดระบบและสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ โดยนำ� 2. สามารถวเิ คราะห์ แนวโน้มและสถานการณท์ าง
ศาสตร์ทีเ่ รยี นมาเช่อื มโยง ตอ่ ยอดความรู้ และ อาหารและธรุ กจิ อาหาร อย่างเป็นระบบมเี หตุผล
พฒั นาทกั ษะการปฏิบตั ิงาน และเชอื่ มโยงความรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. มีความกระตือรือรน้ ในการใฝ่หาความรู้ ในศาสตร์ 3. แสดงออกถงึ ความกระตอื รือร้น เพ่อื แสวงหาค�ำตอบ
ทเ่ี รยี นและศาสตรท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง ดว้ ยตนเองได้อยา่ งถกู ต้อง กลา้ คดิ และสามารถผลัก
ดนั ความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้กอ่ เกิดเป็น
ผลงานเพ่อื น�ำไปส่กู ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมด้านการ
จดั การธุรกจิ อาหารและน่าเชอ่ื ถือ
26
หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป หมวดวิชาเฉพาะ
4. มแี นวคิดการบรหิ ารจดั การอยา่ งผปู้ ระกอบการ
ธรุ กจิ อาหาร โดยมองหาโอกาสในการพัฒนาและ
สรา้ งมลู คา่ เพ่ิมใหแ้ กธ่ รุ กิจอาหาร วเิ คราะห์และ
จดั การกบั ความเสีย่ ง และการควบคุมคุณภาพ
อาหาร
5. สามารถวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ความรจู้ ากแหล่ง
ต่างๆ ท่หี ลากหลายและน�ำไปประยุกต์ใช้กบั
สถานการณ์ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม
• ดา้ นทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ
หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถปฏบิ ัติตามกฏระเบียบ ปรบั ตัวเข้ากบั 1. สามารถปรับตัวเขา้ กบั สถานการณแ์ ละวัฒนธรรม
สถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองค์กร องคก์ ร
2. มมี นุษยสมั พันธท์ ดี่ ี มคี วามรับผิดชอบ มภี าวะผู้นำ� 2. เป็นผ้นู ำ� และผตู้ ามท่มี ีความรับผดิ ชอบต่อส่วนรวม
และท�ำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื ไดเ้ ปน็ อย่างดี พรอ้ มทั้งส้งู านและกลา้ ทีจ่ ะแข่งขัน
3. พฒั นาตนเองตอ่ หนา้ ที่ความรบั ผิดชอบและงาน 3. แสดงทศั นคติเชงิ บวกและสามารถสรา้ ง มีความ
ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย สัมพนั ธท์ ด่ี ีกับผูร้ ว่ มงานและลูกค้า
4. จดั สรรเวลาการท�ำงาน การดูแลสขุ ภาพชวี ติ สว่ นตัว 4. สามารถสร้างความสมดุลระหวา่ งการจัดการสขุ ภาพ
และการสร้างความสมั พันธก์ บั ผรู้ ่วมงานในองคก์ ร การเรยี นรู้ ชวี ติ ส่วนตวั และบคุ คลอนื่
และบุคคลท่ัวไป
• ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถใชค้ วามร้ทู างคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิในการ 1. สามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิตวิ ิเคราะห์
วเิ คราะห์ และน�ำเสนอข้อมูลในการเรียนและการ ขอ้ มูลเพอ่ื การแก้ปัญหาหรือพฒั นางานดา้ นธรุ กจิ
ท�ำงาน อาหาร
2. สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธบิ ายหลกั การและ 2. สามารถใชภ้ าษาในการส่อื สารไดอ้ ย่างมี
สถานการณ์ รวมถงึ การสอื่ สารความหมายไดอ้ ยา่ ง ประสทิ ธภิ าพและบรรลเุ ปา้ หมาย ทั้งการพดู การ
ถกู ตอ้ งและตรงประเด็น เขยี น และการนำ� เสนออยา่ งเหมาะสมกบั
สถานการณ์
3. สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอื่ การตดิ ตอ่ ส่อื สาร
อยา่ งน้อยหนงึ่ ภาษา 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้น เก็บ
รวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล ตลอดจนการน�ำเสนอใน
4. สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลในการสบื คน้ เกบ็ การบริหารจดั การธุรกจิ อาหารในยุคปจั จุบนั
รวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ นำ� เสนอผลงาน และ
การฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน
27
แนวทางการประกอบอาชพี
1. ผ้จู ดั การในธรุ กิจอาหารและเครอื่ งดืม่
2. หวั หนา้ แผนกอาหารและเคร่อื งดม่ื
3. เจา้ หนา้ ที่ฝา่ ยปฏิบตั ิการรา้ นเบเกอรี่ กาแฟ และร้านอาหาร
4. เจา้ หนา้ ทกี่ ารตลาด เจา้ หนา้ ทเี่ ทคนคิ การอาหาร และเจา้ หนา้ ทพ่ี ฒั นาผลติ ภณั ฑ์
ในธรุ กจิ อาหารและเครือ่ งดื่ม
5. เจ้าของกจิ การธุรกิจอาหารและเคร่อื งด่มื
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 165,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทส่ี ถาบนั ก�ำหนด ตามแผนการเรยี นปกติ 5 ภาคการศึกษา ดังน้ี
ภาคการศกึ ษาท่ี คา่ เลา่ เรยี นสำ� หรบั นักศกึ ษา ค่าเลา่ เรียนส�ำหรับนักศึกษา
คร้งั ท่ี 1 ทีเ่ ข้าเรยี นในภาคการศกึ ษาพิเศษ ทเี่ ข้าเรียนในภาคปกติ
คร้งั ที่ 2 – 4
ครง้ั ที่ 5 17,000 37,000
37,000 37,000
37,000 17,000
2. อตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา ไม่รวมค่าใชจ้ า่ ย ดังตอ่ ไปน้ี
- คา่ หนังสือ เอกสารประกอบวิชาเรยี น
- ค่าชดุ ปฏบิ ัตกิ าร วตั ถุดบิ และอุปกรณอ์ ื่นๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
- คา่ รายวิชาปรับพนื้ ฐาน
- ค่าใชจ้ า่ ยในการสอบขึ้นทะเบยี นการประเมนิ สมรรถนะบคุ คลตามมาตรฐานอาชีพ
- ค่าธรรมเนียมอนื่ ๆ และค่าเบด็ เตลด็ นอกเหนอื อตั ราคา่ เล่าเรียนแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา
28
ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ
29
ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ปกี ารศกึ ษาท่ี 1
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกติ รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต
10xxxxx หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบนั PIM 3 10xxxxx หมวดศาสตร์แหง่ ชีวติ 2
10xxxxx หมวดศาสตรแ์ หง่ ชวี ติ 3
1101101 หมวดศาสตรแ์ หง่ ชีวิต 2 10xxxxx หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 2
1101102 การจัดการองค์การและ 3 10xxxxx
ทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นยคุ ดจิ ทิ ลั
2332101
การจัดการโลจสิ ติกส์ 3 1101103 การบัญชบี ริหารเพ่อื การจดั การ 3
2332151 และซพั พลายเชน ธรุ กิจ 3
การจัดการนวัตกรรมธุรกิจ
การจดั การวตั ถุดิบและเทคโนโลยี 3 1101204
การแปรรูปอาหาร
การเรียนรู้ภาคปฏบิ ตั ิ 3 2332102 กฎหมายและขอ้ บังคบั ส�ำหรับ 3
ด้านการจดั การธรุ กิจอาหาร 1 ธรุ กิจอาหาร 3
การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัติ 19
2332152 ด้านการจดั การธรุ กจิ อาหาร 2
รวม 17 รวม
ปกี ารศกึ ษาที่ 2
รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกิต รหสั วชิ า ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกิต
10xxxxx รายวิชา 3 2332205 รายวชิ า 3
1101205 หมวดศาสตร์แห่งชวี ิต การจัดการเพือ่ เป็นผปู้ ระกอบการ 3
2332203 ธรุ กิจอาหาร 3
การจัดการการปฏบิ ตั ิการทางธรุ กจิ 3 2333xxx กลมุ่ วชิ าเลือก (2)
2332204 กลุ่มวชิ าเลือก (3)
2333xxx การจัดการธุรกจิ อาหารเชงิ 3 2333xxx
2332253 นวัตกรรม
การวจิ ยั ในธรุ กจิ อาหาร 3 2333xxx กลุ่มวชิ าเลือก (4) 3
3
กลมุ่ วิชาเลอื ก (1) 3 xxxxxxx กลมุ่ วชิ าเลอื กเสร ี 3
การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัติ
การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ิ 3 2332254 ดา้ นการจดั การธรุ กจิ อาหาร 4 18
ดา้ นการจัดการธุรกจิ อาหาร 3
รวม
รวม 18
30
รรู้ อบ..ขอบชดิ ท่ตี ้ังและการเดนิ ทาง
PIM : วิทยาเขตออี ีซี
พทั ยา
สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์
วทิ ยาเขตออี ซี ี
สัตหบี
ท่มี ารูปภาพ : https://www.nongnoochpattaya.com/
สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ วิทยาเขตอีอีซี โทรศัพท ์ : 0 2855 0000
หรือ พีไอเอม็ อีอซี ี (PIM-EEC) โทรสาร : 0 2855 0391
ตง้ั อยูเ่ ลขท่ี 1 หมู่ 7 ต.นาจอมเทยี น อ.สตั หบี จ.ชลบุรี 20250 อีเมล : [email protected]
เฟสบ๊คุ : www.facebook.com/pimfanpage
เดนิ ทางมา PIM-EEC
รถประจ�ำทาง รถตู้โดยสารประจ�ำทาง
สาย 57 (หมอชิต – ระยอง) สายสตั หบี – กทม.
สาย 46 (เอกมัย – ระยอง) (หมอชิต – สายใต้ใหม่ – เอกมยั – ฟิวเจอร์พาร์ครงั สิต)
สาย 163 จ. (ชลบุรี – สตั หบี )
สาย 303 (ชลบรุ ี – ระยอง)
แนะน�ำการเดนิ ทางจากสถานีขนสง่ เอกมัย กรุงเทพ – PIM-EEC
>> https://fb.watch/2XKrqOKeNl/
31
อาคารเรียน ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ัตกิ าร
และหอพกั นักศึกษาใน PIM-EEC
อาคารอำ� นวยการ
(Central Administration Building)
ทำ� ความรู้จกั อาคารเรยี น ห้องเรียน ใน PIM-EEC
CLICK >> https://www.youtube.com/watch?v=dQagjD2-2D0
ชน้ั 1 :
งานรบั สมัครนักศกึ ษา
ส�ำนกั ส่งเสรมิ วชิ าการ
สำ� นกั บัญชีและการเงิน งานจดั ซื้อและพัสดุ
หอ้ งพยาบาล
ห้องละหมาด
ห้องปฏิบตั ิการไฟฟ้า-ฟสิ กิ ส์
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเคมี
ห้องปฏบิ ัตกิ ารการโรงแรม อาหารและเคร่ืองด่ืม
Smart Farming & Digital Campus
ศูนย์ข้อมลู ธุรกจิ
ชัน้ 2 :
หอ้ งเรยี น
ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์และภาษา
ชั้น 3 :
สำ� นกั งานคณบดี
คณะนวตั กรรมการจดั การ
หอ้ งประชมุ และส�ำนกั งาน
32
อาคารแคนทีน
(Canteen Building)
ชัน้ 1 :
พื้นที่นง่ั เลน่ สนั ทนาการ
ร้านอาหาร
ช้ัน 2 :
ห้องสมดุ
หอพักนักศกึ ษา PIM-EEC A
CB
อาคาร A: อพาร์ทเมน้ ทส์ ำ� หรบั บุคลากร
อาคาร B: หอพักสำ� หรับนกั ศกึ ษา ED
อาคาร C: หอพักสำ� หรบั นกั ศกึ ษา
หมายเหตุ: อาคาร D และ E อยู่ระหวา่ งการดำ� เนนิ การ
Review ชวี ติ นกั ศึกษาในหอพักและร้วั PIM-EEC
CLICK >> https://www.youtube.com/watch?v=oSbYGIRbLLc
33
ห้องพัก
นอ้ งๆ จะมี Roommate หรอื เพ่อื นร่วมห้องพัก โดย
ในห้องหนึ่งจะมีนักศึกษาเข้าพัก 2 คน ภายในห้องพัก
ประกอบด้วย
• เตยี งเด่ยี ว จ�ำนวน 2 เตยี ง
• โตะ๊ ส�ำหรบั อ่านหนงั สือ จำ� นวน 2 โต๊ะ
• ตู้เสื้อผา้ จำ� นวน 2 ตู้
• ห้องน�ำ้ 1 หอ้ ง และหอ้ งสุขา 1 ห้อง
• อ่างส�ำหรบั ลา้ งมือ ล้างหนา้
• ช้ันวางรองเท้า
• ระเบียงสำ� หรับตากผ้า
• ระบบปรบั อากาศ
• สงิ่ อ�ำนวยความสะดวกในหอพัก
ตบู้ รกิ ารสนิ คา้ 7-11 และมวลชน หนา้ หอพกั
หิวเมื่อไหร่ก็แวะมา ท่ีหน้าหอพักจะมีสินค้าต่างๆ
บริการน้องๆ ผ่านตู้บริการสินค้า 7-11 และตู้บริการ
สนิ คา้ ของมวลชน
ห้อง Co-Working Space
จะน่ังพักผอ่ น ทานอาหาร และพดู คยุ กับเพ่อื นร่วม
หอพักต้องท่ีนี่เลย แถมยังมีเคร่ืองท�ำน�้ำร้อน น�้ำเย็น
ตู้เย็น ไมโครเวฟ และจุดส�ำหรับล้างจานชามบริการ
น้องๆ ในหอพักอกี ดว้ ย
น้องๆ สามารถมาน่ังพักผ่อนท่ีห้อง Co-Working
Space ไดท้ ี่ช้นั 1 และ ชัน้ 3 ของอาคารหอพัก
หอ้ งซกั อบ
หากตอ้ งการ ซกั และอบแหง้ เสอ้ื ผา้ นอ้ งๆ นกั ศกึ ษา
สามารถมาใชบ้ รกิ ารไดท้ ห่ี อ้ งซกั อบ บรเิ วณชนั้ 1 อาคาร
หอพกั (มคี ่าบริการ) แถมยังมีบรกิ ารอปุ กรณ์ส�ำหรบั รีด
ผา้ ฟรี ไมม่ คี ่าใชจ้ ่ายที่ชั้น 2 และ 4 ของอาคารหอพกั
อีกดว้ ย
34
ปฏทิ นิ การศกึ ษาและรปู แบบการเรยี น
สถาบนั มกี ารจดั การเรยี นการสอนผา่ นการเรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ (Work-based Education) ทม่ี งุ่ เนน้ การปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหน้ กั ศกึ ษา
ไดร้ ับความรู้และทักษะ (Knowledge & Skill) จากในหอ้ งเรียนและสถานประกอบการ ดังนัน้ ในหนง่ึ ภาคการศกึ ษาจะแบง่ การจัดการ
เรยี นการสอนออกเป็น 2 ชว่ ง ชว่ งละ 3 เดือน โดยมรี ายละเอียดของการเรียนในชั้นเรียน และการฝกึ ปฏิบัตใิ นสถานประกอบการตา่ งๆ
แตกตา่ งกันตามแผนการเรยี นของแตล่ ะหลกั สูตร ทั้งนี้สามารถศกึ ษาขอ้ มูลเพ่มิ เติมได้ที่คูม่ อื นักศกึ ษาและสอบถามเพิ่มเตมิ จากคณะวชิ า
ปฏทิ นิ การศึกษาสำ� หรบั นักศกึ ษาคณะบริหารธุรกจิ
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะการจัดการธรุ กจิ อาหาร
กิจกรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
2.1 2.2
ปฐมนเิ ทศ/ประชมุ ผูป้ กครอง/ 0.1 0.2 1.1 1.2
พบอาจารย์ท่ีปรึกษา/ --
ลงทะเบียนอตั โนมัติ ตามประกาศ ตามประกาศ -
วันสดุ ทา้ ย ของการช�ำระเงนิ สถาบันฯ สถาบันฯ *** 14 ก.พ. 65
คา่ เลา่ เรยี นคา้ งชำ� ระเทอมปจั จบุ นั 7 - 15 ก.พ. 65
พบอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา/ 16 ส.ค. 64 7 ก.พ. – 10 มี.ค. 65
ลงทะเบยี นเรียน Online*
ชำ� ระเงนิ ค่าเล่าเรียน* 9 – 17 ส.ค. 64
9 ส.ค. – 10 ก.ย. 64
ระยะเวลาฝึกปฏิบัติงาน 16 ม.ี ค. - 31 พ.ค. 64 1 ม.ิ ย. – 31 ส.ค. 64 1 ก.ย. – 30 พ.ย. 64 1 ธ.ค. 64 – 28 ก.พ. 65 1 มี.ค. – 31 พ.ค. 65 1 ม.ิ ย. – 31 ส.ค. 65
ระยะเวลาเรียน 16 ม.ี ค .- 9 พ.ค. 64 7 ม.ิ ย. – 15 ส.ค. 64 6 ก.ย. – 14 พ.ย. 64 6 ธ.ค. 64 – 13 ก.พ. 65 7 มี.ค. – 15 พ.ค. 65 6 ม.ิ ย. – 14 ส.ค. 65
ระยะเวลาลาพกั / 1 ก.ย. – 1 ต.ค. 64 1 มี.ค. – 1 เม.ย. 65
รกั ษาสภาพการเป็นนักศึกษา
ลงทะเบยี นลา่ ชา้ Online 30 ส.ค. – 6 ก.ย. 64 28 ก.พ. – 7 ม.ี ค. 65
นศ.ทกุ ชั้นปี และชำ� ระเงนิ *
เพ่ิม/ถอนรายวชิ า (ไม่ติด W) 16 - 28 ม.ี ค. 64 8 – 20 มิ.ย. 64 7 – 19 ก.ย. 64 7 – 19 ธ.ค. 64 8 – 20 มี.ค.65 7 – 19 ม.ิ ย. 65
และชำ� ระเงนิ กรณเี พ่ิมรายวิชา*
29 มี.ค. - 23 เม.ย. 64 21 มิ.ย. – 6 ส.ค. 64 20 ก.ย. – 29 ต.ค. 64 20 ธ.ค. 64 – 4 ก.พ. 65 21 มี.ค. – 6 พ.ค. 65 20 ม.ิ ย. – 5 ส.ค. 65
ถอนรายวชิ า (ติด W)
10 – 16 พ.ค. 64 18 – 25 ส.ค. 64 17 – 24 พ.ย. 64 16 – 23 ก.พ. 65 18 – 25 พ.ค. 65 17 – 24 ส.ค. 65
สอบปลายภาค
“แจ้งวัฒนะ หน่วยการเรียน 17 มิ.ย. 64 9 ก.ย. 64 9 ธ.ค. 64 10 มี.ค. 65 9 มิ.ย. 65 8 ก.ย. 65
ทางไกล และวทิ ยาเขตอีอีซ”ี 19 ก.ค. 64 11 ต.ค. 64 10 ม.ค. 65 11 เม.ย. 65 11 ก.ค. 65 10 ตุ.ค. 65
ประกาศผลการเรยี น/ 16 มี.ค. 65 1 ม.ิ ย.65 1 ก.ย. 65 1 ธ.ค. 65 1 ม.ี ค. 66 1 ม.ิ ย. 66
ผลการฝึกปฏบิ ตั ิงาน Online
วันสุดทา้ ย การแก้ไขเกรด “I”
วันเปดิ ภาคการศกึ ษา
ปีการศึกษา 2565
หมายเหตุ : * หากพ้นกำ� หนด มีคา่ ปรับตามประกาศสถาบันฯ
ขอ้ มลู ปฏทิ นิ การศกึ ษา >>
https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-undergraduate-th
35
เทคโนโลยแี ละระบบสนบั สนนุ นกั ศกึ ษา
ข้อแนะน�ำการใช้งานเทคโนโลยีและระบบบริการ • Single Sign-On
สารสนเทศส�ำหรับนักศึกษาของสถาบัน เพ่ือให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ นกั ศกึ ษาควรมอี ปุ กรณ์ Smart Devices
ทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ เี่ หมาะสมทเ่ี พยี งพอกบั การใชง้ านในปจั จบุ นั นักศึกษาสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ที่จุดบริการ
ภายในสถาบันและระบบบริการสารสนเทศส�ำหรับ
นกั ศึกษา เช่น เว็บไซต์บริการการศึกษา ระบบการเรียน
การสอนออนไลน์ PIM Application และระบบอน่ื ๆ โดย
ใช้ชือ่ ผู้ใชง้ าน (Username) และรหสั ผ่าน (Password)
เดยี วกนั ในทุกระบบ (Single Sign-On)
36
• PIM Application
PIM Application เปน็ แอปพลเิ คชนั ทน่ี กั ศกึ ษาควรตดิ ตงั้ ในอปุ กรณ์ Smart Devices ของตนเอง เพอ่ื เปน็ ประโยชน์
และอำ� นวยความสะดวกในด้านตา่ งๆ ของนักศึกษา
ตัวอยา่ งฟังก์ชนั่ ของ PIM Application
เพือ่ อำ� นวยความสะดวกแก่นักศึกษา
1. แสดงตัวตนการเปน็ นกั ศึกษา 5. ตรวจสอบชอ่ื อาจารย์ทีป่ รกึ ษา
>> ผา่ นเมนูบัตรนกั ศกึ ษาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ >> ผา่ นเมนู Advisor
2. ยืนยันการเข้าเรยี นผ่านเมนใู นแต่ละรายวิชา 6. รับการแจ้งเตอื นต่างๆ จากสถาบัน
>> ผ่านเมนู Check Room Tracking >> ผา่ นเมนู Notifications
3. ดตู ารางเรยี น หอ้ งเรยี น หอ้ งสอบ ผลการเรยี น 7. เขา้ ลงิ ค์ URL ทสี่ ำ� คญั เชน่ e-Learning, REG
(ระบบบรกิ ารการศกึ ษา), แบบคำ� ร้องออนไลน์,
>> ผ่านเมนู Academic บรกิ ารยืม-คืนหนังสือห้องสมดุ เป็นต้น
4. ตรวจสอบปฏทิ นิ การศกึ ษาและกจิ กรรมตา่ งๆ
>> ผ่านปฏทิ นิ กจิ กรรม
37
หมายเหตุ :
กรณีนกั ศึกษาเปลี่ยน Smart Devices ทใ่ี ช้งาน และต้องการลง PIM Application ใน Smart
Devices ใหม่ ให้ติดต่อส�ำนกั เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 12 อาคาร CP ALL Academy หรือ
ตดิ ต่อผ่านทาง Facebook: สำ� นักเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการจัดการปญั ญาภิวัฒน์
38
39
40
41
บตั รนกั ศกึ ษา
บัตรนักศกึ ษาของสถาบันฯ อยู่ในรปู แบบของ บัตรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยการเปิดผา่ น PIM Application
ซึ่งสามารถนำ� ไปใช้ในกิจกรรมตา่ งๆ ทงั้ ในและนอกสถาบนั ดงั นี้
1. ใชแ้ สดงตนเมอื่ ตดิ ตอ่ กบั สถาบนั ฯ หรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ ทั้งนี้หากนักศึกษามีปัญหาในการแสดง
ผลบตั รอเิ ลก็ ทรอนกิ สผ์ า่ น PIM Application
2. ใช้แสดงตนในการเข้าสอบ กรณุ าตดิ ตอ่ สำ� นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนั้
12 อาคาร CP ALL Academy หรอื ติดต่อ
3. ขอใชบ้ ริการห้องสมุด เชน่ ยืม – คนื หนังสือและ ผ่านทาง Facebook: ส�ำนักเทคโนโลยี
ทรัพยากรในหอ้ งสมดุ PIM และ PIM-EEC สารสนเทศ สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
4. ใช้สำ� หรับการเขา้ -ออก อาคารหอพกั นักศึกษา อย่างไรก็ตามหากนักศึกษาต้องการใช้
งานบัตรนักศึกษาในรูปแบบการ์ดแข็ง
5. ใชแ้ สดงตน เพ่อื เขา้ ชมสวนนงนชุ ฟรี ไมม่ คี า่ ใช้จ่าย สามารถท�ำได้โดยติดต่อส�ำนักส่งเสริม
วิชาการและไม่เสียค่าธรรมเนียมในการท�ำ
6. ใชเ้ ป็นหลักฐาน (ตวั จรงิ หรอื สำ� เนาบตั รนกั ศึกษา) คร้ังแรก
ในการขอรับบริการอน่ื ๆ หรือเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยของสถาบัน
บตั รนกั ศึกษาอเิ ลกทรอนกิ ส์
0 2855 0269
บัตรนกั ศกึ ษาแบบการด์ แข็ง
0 2855 1140, 0 2855 1436
42
การแตง่ กาย
• เครื่องแบบทวั่ ไป
การสวมใส่เคร่ืองแบบนักศึกษาเป็นการแสดงถึงความ
ภูมิใจต่อการเป็นนักศึกษาสถาบัน และเพ่ือความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยในการมาเรียน มาสอบ หรือติดต่อกับ
หน่วยงานตา่ งๆ ภายในสถาบัน นักศึกษาควรแตง่ กายด้วย
ชุดนักศึกษาทุกครงั้ ทเ่ี ข้ามาในสถาบัน และ “ต้องแต่งกาย
ดว้ ยชุดสทู PIM ในวันที่มีการสอบหรือมงี านพธิ ”ี
• เคร่อื งแบบเฉพาะของคณะ / สาขาวชิ า
43
เมอ่ื มาเรียนที่ PIM-EEC
• ดูตารางเรียน
นกั ศึกษาสามารถดูตารางเรียนไดด้ ้วยตนเอง ผา่ น PIM Application โดยเลือกเมนู REG (ระบบบรกิ ารการศึกษา)
เพ่อื เขา้ ระบบบรกิ ารการศกึ ษา (http://reg.pim.ac.th) และมีขน้ั ตอนดงั นี้
1. Login เขา้ สรู่ ะบบ
2. คลิกปุ่ม “ตารางเรยี น/สอบ” ทเี่ มนดู ้านซ้าย
3. คลกิ ลิงคท์ เ่ี กย่ี วข้อง เชน่ ปกี ารศกึ ษาและภาคการศึกษาเพ่ือดตู ารางเรยี น
ทง้ั น้ีระบบจะส่ง e-mail แจ้งเตือนใน PIM Application โดยอตั โนมัติ (ก่อนถึงเวลาเร่ิมเรยี น 30 นาท)ี เพื่อแจ้งเตอื น
แกน่ ักศึกษา
EXAMPLE
ชอื่ วิชา กลมุ่ ที่เรียน
ห้องและเวลาที่เรียน
มีข้อสงสยั เกี่ยวกบั “ตารางเรียน”
กรุณาตดิ ต่อสำ� นกั สง่ เสรมิ วิชาการ
ส�ำนกั ส่งเสรมิ วชิ าการ : PIM-EEC
0 2855 1913
44
• ตารางหน้าห้องเรียน
เม่ือนักศึกษาไปถึงห้องเรียน ท่ีหน้าห้องเรียนจะมี QR Code
ให้นักศึกษา Scan เพื่อดูตารางการใช้งานของห้องนั้นๆ ในแต่ละ
ชว่ งเวลา นกั ศกึ ษาสามารถตรวจสอบเพอ่ื ปอ้ งกนั การเขา้ ใชง้ านหรอื
เข้าเรยี นผดิ ห้องในแต่ละคาบการเรยี นได้
EXAMPLE
ชือ่ วชิ า (กลมุ่ เรียน)
และช่ืออาจารย์ผู้สอน
45
46
47
48
ห้องสมุด PIM และแหล่งเรียนรู้ออนไลน์
หอ้ งสมุด PIM-EEC อย่ทู ชี่ ้นั 2 อาคารโรงอาหาร เป็นพน้ื ทแี่ หง่ การเรียนรู้ ที่
ให้บรกิ ารหนังสอื และแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยและหลากหลาย เชน่
หนงั สอื วารสาร e-Book e-Journal e-Research e-Project ฐานขอ้ มลู ออนไลน์
รวมถงึ Knowledge Bank แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลนข์ องหอ้ งสมดุ เพอื่ เออ้ื ประโยชน์
ในการคน้ ควา้ ขอ้ มลู หรอื หาความรนู้ อกหอ้ งเรยี นเพมิ่ เตมิ ตามทน่ี กั ศกึ ษาใหค้ วาม
สนใจ โดยให้บริการท้ังแบบเคาน์เตอร์และแบบออนไลน์ และหากนักศึกษา
ต้องการยมื หนังสือท่ีห้องสมดุ PIM แจ้งวฒั นะ ก็สามารถยืมได้เช่นกนั โดยจะได้
รบั หนังสือในวันทำ� การถัดไป
• บรกิ ารหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : e-Books
e-Books ฉบบั ภาษาองั กฤษทีม่ ีเนื้อหา e-Books ฉบับภาษาไทยท่ีมีเน้ือหาทาง e-Books และบทความทางดา้ นการเงนิ
ทางด้านบริหารธุรกิจ การจัดการ ด้านการจัดการ เทคโนโลยี จิตวทิ ยา การ และการลงทุน
เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม และภาษา พัฒนาตนเอง การท่องเทย่ี ว และอาหาร เขา้ ใชบ้ รกิ ารได้ที่
สมคั รและเขา้ ใช้บรกิ ารได้ท่ี สมคั รและเขา้ ใชบ้ รกิ ารผา่ น Application https://elibrary.maruey.com/login
https://ebookcentral.proquest.
com/lib/pimth
สอบถามข้อมลู เพิม่ เตมิ
และสามารถขอ Username และ Password
เพอื่ เข้าใช้งานได้ท่ีห้องสมดุ
งานห้องสมดุ
0 2855 1914, 0 2855 1915
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY
49
• บริการคลังความรู้ PIM Library :
Knowledge Bank
Knowledge Bank แหล่งเรยี นรอู้ อนไลนข์ องหอ้ งสมุดส�ำหรบั นกั ศกึ ษา
ที่สนใจองค์ความรู้ตา่ งๆ สามารถศกึ ษาขอ้ มลู ผ่านเว็บไซต์ https://lib.pim.
ac.th/wp/knowledge-bank
บรกิ ารข่าวสาร ส่ือการเรียนรูแ้ ละบริการออนไลน์อื่นๆ
ผา่ นช่องทางต่างๆ ของหอ้ งสมุด PIM
• เว็บไซตห์ อ้ งสมุด : lib.p im.ac.th
หอ้ งสมดุ PIM มีบรกิ ารต่างๆ ผ่านเวบ็ ไซต์ห้องสมุด (https://lib.pim.ac.th) อาทิ การจองหอ้ งศกึ ษากล่มุ แนะนำ� ทรพั ยากร
สารสนเทศ บริการรบั -ส่งหนังสือ บรกิ ารคลังความรู้ วารสารต่างๆ และแหล่งเรยี นรูอ้ อนไลน์ทห่ี อ้ งสมุดออนไลน์ เปน็ ตน้
งานหอ้ งสมุด : PIM
0 2855 0381, 0 2855 0382
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY
50