สารบญั
คู่มอื นักศึกษาใหม่ “วทิ ยาการจดั การ”
หนา้ หนา้
ส่วนท่ี 1: สถาบันเรา “พี ไอ เอ็ม (PIM)” 3 สว่ นท่ี 4 : รอบรู้ “พี ไอ เอ็ม (PIM)” 52
ตราสัญลักษณ ์ 4 52
สีประจำ� สถาบัน 4 ท่ตี ั้งและการเดนิ ทาง 54
ลดั เลาะ..รอบบา้ น PIM : แจง้ วฒั นะ
ดอกไม้ประจำ� สถาบนั 4 อาคาร หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบัตกิ าร 55
ปรัชญา 5 ปฏทิ นิ การศกึ ษาและรูปแบบการเรยี น 61
วิสัยทศั น ์ 5 เทคโนโลยแี ละระบบสนบั สนนุ นักศึกษา 62
พันธกจิ 5 - Single Sign-On 62
เอกลกั ษณส์ ถาบนั 5 - PIM Application 63
อตั ลกั ษณน์ ักศึกษา 6 - Wi-Fi PIMHotspot 65
คณะวิชา ส�ำนัก วิทยาลัยในสถาบนั 7 - e-mail 66
เพลงสถาบัน 9 - Office 365 67
บตั รนักศกึ ษา 68
ส่วนท่ี 2 : รจู้ กั ส�ำนักการศึกษาทว่ั ไป 10 การแตง่ กาย 69
ปรชั ญา 10
วสิ ยั ทัศน์ 10 เมอ่ื มาเรียนที่ PIM 72
- ดูตารางเรยี น 72
พนั ธกิจ 10 - ตารางหน้าหอ้ งเรียน 71
สญั ลักษณ์และสปี ระจำ� ส�ำนกั 10
บทบาทหนา้ ท ี่ 11 - การยนื ยันการเขา้ เรยี น 72
- PIM e-Learning 73
ศูนยพ์ ัฒนาทกั ษะและภาษา 11 - PIM MOOC 74
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills หอ้ งสมุด PIM และแหลง่ เรียนร้อู อนไลน์ 75
วารสารวชิ าการของ 79
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
สว่ นที่ 3 : รจู้ กั คณะเรา “วทิ ยาการจดั การ” 15 ใกล้สอบแลว้ ..ต้องทำ� อยา่ งไร 82
ปรัชญา ปณธิ าน วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจคณะ 15
สัญลักษณ์ และสีประจำ� คณะ 17 เกรดออกแลว้ 82
การยืน่ แบบค�ำรอ้ งออนไลน์ ลงทะเบียนเรียน 83
หลกั สูตร/ สาขาวชิ าทีเ่ ปดิ สอน 18 ประเมนิ ต่างๆ และอื่นๆ
การเขา้ ถงึ ข้อมูลคณะ 18
- หลกั สตู รบริหารธรุ กิจบัณฑติ 19 เตรียมตัวอยา่ งไรเม่ือไปฝึกปฏิบัติ 85
มีปญั หา..ปรึกษาใคร 86
สาขาวชิ าการจดั การอสงั หาริมทรัพย์ - อาจารย์ทีป่ รึกษา 86
และทรัพย์สินอาคาร
- หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ 26 - CCDS 87
- Smile Center 88
สาขาวชิ าการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ - Friends Care PIM 88
และการจัดการองคก์ าร
- หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑิต 33 เข้าภาคเรยี นใหม่ต้องทำ� อยา่ งไร 89
- ลงทะเบียนเรยี น 89
สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ การบนิ - ชำ� ระค่าเล่าเรยี นและคา่ ธรรมเนยี มตา่ งๆ 90
- หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ 40
สาขาวชิ าการจัดการการบริการและการท่องเท่ียว เรียนดี ประพฤติดี มที นุ 91
วินยั นกั ศกึ ษา 92
- หลกั สูตรการจัดการบณั ฑิต 47 ท�ำอยา่ งไรใหไ้ ด้เกยี รตินิยม 93
ท�ำอย่างไรไม่ให้ถกู Retire 94
สวัสดิการสำ� หรับนกั ศกึ ษา 95
ชมรมและกจิ กรรมตา่ งๆ 96
ชลิ ล์ ฟิน ชอ๊ ป กอ๊ ปปี้ รีแลคซ์ หอพัก 97
ช่องทางการสอื่ สาร..บริการนักศึกษา 102
สถาบันเรา
“พี ไอ เอ็ม (PIM)”
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็ รปู แผนที่ประเทศไทยท่แี สดงพนื้ ท่ี
(PIM) เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ 1. วิทยาเขต แจ้งวัฒนะ
ในการจดั ตงั้ จากบรษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน) 2. วิทยาเขตอีอีซี จ.ชลบุรี
ในเครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ โดยไดร้ บั การรบั รองจาก 3. หนว่ ยการเรียนทางไกล
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวัตกรรม เพื่อใหป้ รญิ ญาในระดับปรญิ ญาตรี • จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซง่ึ จดั การเรยี นการ • จงั หวดั ชลบรุ ี
สอนทงั้ ภาคภาษาไทย ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ • จงั หวัดเชียงใหม่
ในฐานะทสี่ ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ป น็ • จังหวดั ขอนแกน่
มหาวิทยาลัยแหง่ องคก์ รธุรกิจ (Corporate • จังหวัดลำ� ปาง
University) ทม่ี กี ารเรยี นการสอนแบบ Work- • จงั หวัดนครราชสีมา
based Education จงึ แตกตา่ งดว้ ยความเป น็ • จังหวัดนครสวรรค์
เลศิ ทางวชิ าการ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรจู้ ากการ • จงั หวัดเพชรบุรี
ฝ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ กบั ธรุ กจิ เชน่ กลมุ่ ซพี ี ออลล์ • จงั หวัดสงขลา
เครอื ซพี ี และพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา • จงั หวัดสมทุ รปราการ
ไดร้ ับประสบการณ์ในการท�ำงานจนเกิดความ • จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
เชย่ี วชาญ ดงั นนั้ บณั ฑติ พไี อเอม็ จงึ เป น็ บคุ ลากร • จังหวดั อุดรธานี
คณุ ภาพผูม้ คี วามรูท้ างวชิ าการและมคี วามพรอ้ ม
ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมอื อาชพี 33
นกั ศกึ ษาของสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์
มีการเรียนหรือศึกษาตลอดท้ังหลักสูตรใน
สถานทต่ี า่ งๆ คอื
1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ถนนแจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี
2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วิทยาเขตอีอีซี อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี
(PIM-EEC)
3. หนว่ ยการเรยี นทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ท่ัวประเทศ
ตราสัญลกั ษณ์ ช่อมะกอก โล่ รบิ บิน้
สปี ระจำ� สถาบัน หมายถงึ ความมีชัยชนะเหนือสิง่ อ่นื ใด
มงกุฎ
หมายถงึ การศกึ ษาแสดงถงึ ความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู สดุ และยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความถงึ พรอ้ มดว้ ย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รุง่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบัน
มชี ่อื สถาบันภาษาองั กฤษ และตัวย่ออยูใ่ นโล่
ส่วนชอื่ สถาบนั ภาษาไทยอยูใ่ นริบบ้ิน
สีเขียว
หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความงอกงาม ความสมบรู ณ์
สีเหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและถงึ พรอ้ มด้วยคณุ ธรรม
สีประจำ� สถาบัน
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและความถงึ พร้อมด้วย
คณุ ธรรมเปน็ หนทางแหง่ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งในชีวติ
ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน
ดอกบวั มงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรยี บเสมอื นตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ� เรจ็ อันงดงาม
4
ปรชั ญา
"การศกึ ษาคือบอ่ เกดิ แหง่ ภูมิปัญญา"
(Education is the Matrix of Intellect)
วิสยั ทศั น์
“สร้างมืออาชีพดว้ ยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พนั ธกจิ
“มหาวิทยาลัยแห่งองคก์ รธรุ กจิ (Corporate University)” ท่ีมพี นั ธกจิ ดงั น้ี
1. สร้างคนทมี่ ีคุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของภาคธุรกิจ สงั คมและประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้
จากประสบการณ์จรงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ
และทำ� นุบำ� รุงศิลปะวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ เสริมนวตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative
Organization & Good Governance)
เอกลกั ษณส์ ถาบนั
การเปน็ Corporate University บนพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1. การสอนโดยมืออาชีพ (Work-based Teaching) เป็นการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการเรียนรู้จากกรณี
ศกึ ษา จากผปู้ ฏิบัตงิ านจริงในองค์กร เพื่อเตรยี มความพร้อมทจ่ี ะฝึกปฏิบตั จิ ริง
2. การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Work-based Learning) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั
วางโปรแกรมครฝู ึก และมรี ะบบการติดตามประเมินอยา่ งเปน็ ระบบตามวชิ าชพี ของหลกั สูตร เพื่อท�ำให้มี
การบูรณาการระหวา่ งทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแทจ้ ริง
3. การวจิ ยั สนู่ วตั กรรม (Work-based Researching) เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั ของคณาจารยจ์ ากปญั หาวจิ ยั จรงิ ใน
องค์กรที่น�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติได้โดยตรง และน�ำองค์ความรู้ใหม่ๆ กลับมาสู่การเรียนการสอนใน
หอ้ งเรียน
4. มหาวทิ ยาลัยแหง่ การสรา้ งเครือข่าย (Networking University) เปน็ การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา ภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน
การเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั งิ าน และการวจิ ยั ส่นู วตั กรรม
5
อัตลักษณ์นกั ศึกษา PIM
“READY to WORK.”
เรยี นเปน็
1. มีความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. มคี วามรอบรูแ้ ละบรู ณาการในศาสตรส์ าขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. สามารถนำ� เคร่อื งมอื หรอื เทคโนโลยีมาใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการ
(ตามศาสตร์ของตวั เอง)
4. สามารถเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารและลือกใช้ขอ้ มูลความรตู้ า่ งได้อย่างเหมาะสม
คดิ เปน็
1. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) การคดิ วิพากษ์ (Critical thinking) การคิด
เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis thinking) การคดิ เชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)
2. กล้าคิดและสามารถผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้ก่อเกิดเป็นผลงานตามศาสตร์หรือผล
งานเชงิ นวัตกรรมตา่ งๆ ได้
3. มีแนวคดิ การบรหิ ารจดั การอย่างผ้ปู ระกอบการ
ทำ� งานเปน็
1. มีการทำ� งานข้ามสายงานและสามารถจงู ใจผู้อน่ื เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย
2. มีทักษะในการส่อื สารหลากภาษา ทัง้ การฟัง การอ่าน การเขียน การพูด การแปลความ การเลอื กช่องทาง
และเคร่อื งมือในการสอื่ สาร
3. มกี ารตัดสนิ ใจและรับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขึน้
4. สามารถสรา้ งความพอใจระหวา่ งสขุ ภาพ การเรยี น ชวี ติ ส่วนตัว ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลอ่นื
เนน้ วฒั นธรรม
1. สบื สานวัฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มขององคก์ รได้
รกั ความถกู ตอ้ ง
1. ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชีพหรอื จรรยาบรรณในการดำ� เนินธรุ กจิ
2. ยืนหยัดปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง
3. เคารพและชืน่ ชมตอ่ ความดงี ามของผอู้ ่นื
6
สถานท่เี รยี น
คณะ หลกั สตู ร ชื่อยอ่ วิทยาเขต หน่วย
หลกั สตู ร EEC การเรยี น
แจง้ วฒั นะ ทางไกล
จัดการเรียนการสอนในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป -
1) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
3) กลุ่มวชิ าภาษาจนี
4) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
5) กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี
การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ MTM -
การจดั การธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (ตอ่ เนอ่ื ง) CMTM -
การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ (ต่อเน่อื ง) CIMM --
ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอร์เน็ต
การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ DMTM - -
(ระบบการศึกษาทางไกล)
เทคโนโลยีดจิ ิทลั และสารสนเทศ DIT -
วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ CAI --
วศิ วกรรมอตุ สาหการและการผลติ อัจฉรยิ ะ IEM -
วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ AME --
RAE --
วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ BC --
BJ --
ภาษาจีนธรุ กจิ CEB --
ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกจิ RPM --
ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารทางธุรกจิ HROM --
การจัดการอสังหาริมทรัพยแ์ ละ
ทรพั ยส์ ินอาคาร AVI --
การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์คนและ HTM --
การจัดการองค์การ BM --
การจดั การธรุ กจิ การบนิ CB --
การจดั การการบริการและการท่องเท่ียว
การจดั การบณั ฑิต CJ --
วชิ าเอกการส่อื สารองคก์ รและแบรนด์
วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จ้นและ
ส่อื ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์
นวัตกรรมการจดั การเกษตร IAM --
7
สถานท่ีเรียน
คณะ หลักสตู ร ชอื่ ยอ่ วิทยาเขต หนว่ ย
หลักสตู ร แจง้ วฒั นะ EEC การเรยี น
การสอนภาษาจนี (4 ปี) ทางไกล
การสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)
TCL - -
ELT - -
การจดั การเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ATM --
การจัดการธรุ กิจอาหาร FBM -
การจัดการธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนื่อง) CFBM -
การจดั การธรุ กจิ ภตั ตาคาร RBM --
การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคมขนส่ง LTM --
การจดั การธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสตู ร iMTM --
นานาชาต)ิ
การจดั การธรุ กิจโรงแรมและอาหาร (หลักสูตร iHFM - -
นานาชาติ)
หลักสตู รระดบั ปริญญาโท
การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ MBA-MTM --
วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี MET --
(หลกั สูตรนานาชาต)ิ
การบริหารคนและกลยุทธ์องคก์ าร POS --
การส่ือสารเชงิ นวัตกรรมเพ่อื องคก์ รสมยั ใหม่ MCA --
สาขาวิชาธรุ กิจระหว่างประเทศ iMBA --
(หลกั สตู รนานาชาติ)
--
ภาวะผู้น�ำการบริหารและการจดั การ EML --
การศึกษา --
บริหารธุรกิจ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-MBA
การจัดการทางศลิ ปะ (หลักสูตรภาษาจีน) C-MA --
--
หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก
บริหารธุรกจิ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-PhD
การจัดการการศกึ ษา (หลกั สูตรภาษาจีน) C-PhD-Ed
8
เพลงสถาบนั
เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล
สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์
เกิดมาเปน็ คน ต้องพรอ้ มจะอดทนทุกเร่ืองราว * มังคลอบุ ล ดั่งพวกเราทุกคน
ไม่วา่ จะดีจะร้ายซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองวา่ เป็นบทเรียน หนักเบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเขม้ แข็ง
ส่งิ ทีเ่ รียนคือความจ�ำ สง่ิ ท่ที ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบมนั่ คง
สงิ่ ทท่ี �ำได้ยากเยน็ นนั้ จะยง่ิ ใหญ่ หยดั ยืนทรนง...ซอ่ื ตรงและแข็งแกรง่
สง่ิ ท่ที ำ� โดยตัวเอง ยิง่ ทำ� จะยิ่งเข้าใจ P (Practicality)
แมน้ านเพียงใดก็ไม่ลืม I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเป็น เรยี นเปน็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเปน็ ธรรมในใจ
(ซ้ำ� *)
ส่ิงทถ่ี ูกรกั ษาไว้ ทผ่ี ดิ เราตอ้ งทิง้ ไป **ในโลกแห่งความจรงิ ตอ้ งเรยี นรูก้ นั จริงๆ
แลว้ เราจะกา้ วไป..ด้วยกนั ต้องออกไปหาความจรงิ ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ รงิ
ตอ้ งเหน่อื ยต้องท้อจรงิ ๆ ตอ้ งเจอผู้คนจรงิ ๆ
***สถาบันปญั ญาภวิ ัฒน์ สถาบนั แห่งปัญญา เรยี นจากคนร้คู วามจรงิ แล้วเราจะเปน็ คนจรงิ
เราจะคอยเป็นผ้สู อน เราจะคอยเปน็ เบา้ หลอม คนเก่งน้นั ยงั ไม่พอ เกง่ จรงิ ต้องจดั การได้
จะหลอ่ และก็หลอมใหท้ กุ คน แคก่ ลา้ กย็ ังไม่พอ กล้าจรงิ ต้องมวี ินัย
ใหพ้ รอ้ มกลายเป็นคนดี (ให้ทกุ คนเปน็ คนด)ี คนฉลาดนั้นยงั ไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไม่โกงใคร
เกิดมาเป็นคน ต้องมุง่ มน่ั ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผ่ี ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แข็งแรงกย็ ังไม่พอ เพราะว่าตอ้ งมีน้�ำใจ
***ธงสเี ขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรอื งรอง
(ซ�ำ้ *, **, ***) บนแผน่ ดนิ สที อง น่คี ือบ้านของเรา
เราก็เหมอื นอิฐคนละก้อนวางซ้อนเรยี งกันจึงแนน่ หนา
กอ่ ดว้ ยความรกั ในปญั ญา
ฉาบด้วยศรทั ธา..ในสถาบัน..ของเรา
(ซำ้� *, **, ***)
https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc
9
รู้จกั
“ส�ำนกั การศกึ ษาท่ัวไป”
ปรชั ญาสำ� นกั การศึกษาทวั่ ไป
วชิ าศกึ ษาท่ัวไปสรา้ งความเปน็ มนษุ ย์ทม่ี คี ณุ ภาพในสังคมโลก มีทกั ษะการส่ือสาร
ภาษา ก้าวหน้าเทคโนโลยี มีกระบวนการคดิ และมจี ติ สาธารณะ
วสิ ัยทัศน์
“สร้างบัณฑิตมอื อาชพี ด้วยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พันธกจิ
1. สร้างคนท่ีมีคุณภาพและตรงกับความต้องการของภาคธุรกิจ สังคม และ
ประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work-based
Education)
2. ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมนวัตกรรม
(Collaborative Networking)
4. พฒั นาองค์กรทพี่ ร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีดี
(Transformative Organization & Good Governance)
สัญลกั ษณ์และสีประจำ� ส�ำนัก
ต้นปัญญพฤกษ์
หรอื ต้นไม้แห่งปญั ญา
ทแ่ี ผ่รม่ เงาทางการศึกษา
เปรียบเสมือนการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
สีประจำ� คณะ สนี �้ำตาลทอง
10
บทบาทหนา้ ที่
ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไปมโี ครงสร้างการทำ� งานประกอบดว้ ย 5 กลุม่ วชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื
1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กล่มุ วชิ าภาษาองั กฤษ 5. กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3. กลมุ่ วชิ าภาษาจนี 6. ศูนย์พฒั นาทกั ษะและภาษา
โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการ
ปัญญาภวิ ัฒน์ และจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาให้เป็นไปตามอตั ลกั ษณ์บัณฑติ ของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ท่ีต้องการ
ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตและสงั คม โดยตลอดปีการศึกษาได้จัดกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาตามกลมุ่ วิชา
ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา
ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรอื CLSD) เปน็ หนว่ ยงาน
ภายใต้ส�ำนักการศึกษาทัว่ ไปทม่ี ีหนา้ ท่เี สรมิ ทักษะ ประเมินทักษะ และออกใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี �ำเป็นตอ่ การท�ำงาน
ของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ
ท้ัง 4 ช้ันปี โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
(Application Program) ช่อื “PIM SMART PASSPORT” ท่ีเปน็ ฐานข้อมูลของนกั ศึกษาส�ำหรบั น�ำไปใช้ประกอบ
การตดั สนิ ใจเลือกพนักงานเข้าทำ� งานของสถานประกอบการต่างๆ
แผนพัฒนาทักษะและภาษา
สำนักการศึกษาทวั่ ไป
ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทักษะช้ันปที่ 1
ทักษะดจิ ทิ ัล (ระบุผลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทกั ษะช้นั ปท ่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบุคะแนนแตละทักษะ) ป 4
e-Leaming score พัฒนาตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทุกที่ ทกุ เวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ตวิ เชม ชน้ั ปท ี่ 3
เพอ่ื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตล ะทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพอ่ื การใชช วี ิต วัดความพรอ มภาษา
รพู ฒั นาการดานดจิ ติ อล
ผลการฝกทกั ษะชั้นปท ี่ 4 ระบุจุดเดนเเละจดุ ท่ี
(ระบุผลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช ีวิต
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบุระดับทักษะ ตลอด 4 ปก ารศึกษา เพือ่ พฒั นา
ทุกทกั ษะ ใหคุณเปนคนที่ “ใช” สำหรับทกุ องคกร
เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป
ป 1 ป 2 ป 2 ป 4
สะทอนศักยภาพและความสามารถ
11
ส�ำนักการศึกษาทั่วไปมีการจัดท�ำชุดฝึกฝน
ทักษะการใช้งานโปรแกรมส�ำนักงาน ผ่านโปรแกรม
ประยุกต์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อให้
นักศึกษาได้ฝึกฝนการใช้เคร่ืองมือในการจัดท�ำเอกสาร
สำ� นกั งาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ งมอื อาชพี ทตี่ อบ
สนองการเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา
12
โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills
โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เปน็ การด�ำเนินงานในรปู แบบกิจกรรมเพ่ือพฒั นาทกั ษะและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส�ำหรับนักศึกษา ภายใต้ส�ำนักการศึกษาท่ัวไป เร่ิมด�ำเนินการจัดกิจกรรมต้ังแต่ปีการ
ศึกษา 2563 ภายใตค้ ติพจนป์ ระจ�ำโครงการคือ “ ไม่มกี ารลงทุนใด จะได้ผลตอบแทนเทา่ กับการลงทนุ เรียนร้”ู
วตั ถุประสงคห์ ลักของโครงการ เพอื่ เสริมสรา้ งการเรียนรู้ และพฒั นาทักษะชวี ิตให้แกน่ ักศึกษา มุง่ เน้นให้
นกั ศึกษามี Essential Skills ต่อยอดศักยภาพที่มีในตัวตนและพฒั นาใหเ้ กิดทกั ษะใหม่พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มกี ารวางเปา้ หมายไวอ้ ย่างชดั เจน คือ การพฒั นาตน พัฒนาคน และน�ำไปสู่การพฒั นา
สังคมต่อไป
โครงสร้างกจิ กรรม
กจิ กรรม PIM 3L จดั แบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่ ดังนี้
1. ความชอบและไลฟส์ ไตล์ อาทิ กจิ กรรมปตั ตาเลย่ี นตวั เดยี ว..กเ็ ฟย้ี วได้ กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครวั ..รวั้ หลงั หอ้ ง กจิ กรรม
ท�ำอาหารเพอ่ื สขุ ภาพ และกิจกรรมแต่งหนา้ สวยด้วยแรงบนั ดาลใจ เป็นต้น
2. ทักษะอย่างมืออาชีพ อาทิ กิจกรรมพูดอย่างโปร..พูดให้เป็น กิจกรรมขายของออนไลน์..ง่ายนิดเดียว กิจกรรม
Innovative Video Creator กจิ กรรมการน�ำเสนอและการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ เปน็ ต้น
3. คณุ ค่าในตัวตนและสังคม อาทิ กจิ กรรมรกั อย่างไร..ปลอดภัยในวยั เรา กิจกรรมเขา้ สงั คม..ใครว่ายาก กิจกรรม
สร้างแรงบันดาลใจใหต้ ัวเรา เปน็ ต้น
การเรยี นรไู้ มม่ วี นั หยดุ นงิ่ หากเราตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไปใหท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 การเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม PIM 3L เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ส�ำหรับนักศึกษาสถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์
ภาพตวั อย่างโปสเตอรป์ ระชาสัมพนั ธ์กิจกรรม
13
เปา้ หมายการเรยี นรู้ผ่านโปรแกรม นอกจากนี้ส�ำนักการศึกษา
ส่งเสริมการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ ทั่วไปมีการน�ำโปรแกรมประยุกต์ด้าน
Common European Framework of Reference การสอื่ สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบ
for Languages : CEFR กบั การจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์
การประเมินตามกรอบความเชี่ยวชาญ
ภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดบั B2 เป็นอยา่ งน้อย
ID64 (ปที ่ี 3)
ID64 (ปที ่ี 2)
ID64 (ปที ่ี 1)
ID64 (ปที ี่ 3)
แผนส�ำหรับนักศึกษารหสั 64 (ตอ่ Block)
ศึกษาวธิ ีการใชง าน สอบวดั ระดับความรู ทำแบบฝกหดั สอบวดั ผลคร้ังท่ี 1 สอบวัดผลคร้ังที่ 2
(Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)
นกั ศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู น้ั ปที่ 1
สอบวัดระดบั ความรู ทำแบบฝกหดั สอบวัดผลครั้งท่ี 1 สอบวดั ผลคร้งั ท่ี 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)
นักศกึ ษารหสั 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู ัน้ ปท ี่ 2 และ 3
14
รจู้ กั คณะเรา
“วิทยาการจดั การ”
ปรชั ญาคณะวทิ ยาการจดั การ
“เป็นผ้รู อบรู้เชิงบรู ณาการ
บนพ้ืนฐานความรบั ผดิ ชอบต่อสาธารณชน”
ปณธิ าน
“ม่งุ ผลิตบัณฑติ ทีม่ ีแนวคิดเชิงบูรณาการอยา่ งสร้างสรรค์
เป็นก�ำลังสำ� คัญของสงั คมไทย
ยึดมัน่ ในอดุ มการณ์ และจรรยาบรรณแห่งวิชาชพี ”
วสิ ัยทศั น์
คณะวทิ ยาการจดั การ มคี วามมงุ่ มน่ั ทจี่ ะสรา้ งและพฒั นาคณุ ภาพการ
ศกึ ษาดา้ นการจดั การใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั อยา่ งกวา้ งขวาง จงึ กำ� หนดวสิ ยั ทศั นว์ า่
ในเวลา 5 ปี จะเป็นคณะวิชาที่รวมศาสตร์ และสาขาวิชาด้านการ
จดั การเชงิ บูรณาการทห่ี ลากหลาย ในทุกระดบั การศึกษา ตลอดจนการผลิต
บัณฑิตทม่ี คี ณุ ภาพเปน็ ทยี่ อมรับในระดับสากล
15
พนั ธกจิ
สอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา 4 ดา้ น คอื การเรยี นการสอน
การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ และการทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม รวมทง้ั การประกนั
คุณภาพการศึกษา ดังน้ี
1. จดั และพฒั นาการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาดา้ นการจดั การทที่ นั สมยั และเทา่ ทนั
กระแสพลวตั ต่างๆ ของโลก
2. ผลิตบัณฑิตคณะวิทยาการจัดการ ตามแบบผลการเรียนรู้ใหม่ของสถาบันฯ
คือ DJT Model (Deutsche Japan Thailand Business Model) ซ่ึง
ประกอบด้วย การคิดค้นนวัตกรรม (Innovation) ความคิดสร้างสรรค์
(Creative) ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy Skills) และ
เทคโนโลยี (Technology skill) มคี วามยดื หยนุ่ (Flexibility) และความเรยี บ
ง่าย (Relaxation)
3. สง่ เสริมให้มีการวิจยั ในลกั ษณะการจดั การต่างๆ เพ่ือน�ำองคค์ วามรไู้ ปพฒั นา
นวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ สังคม
4. บริการวิชาการ โดยประสานความคิดและความร่วมมือกับเครือข่ายวิชาการ
และวชิ าชพี ตา่ งๆ
5. เสริมสร้างและพัฒนาคนรุ่นใหม่ที่มีคุณธรรม จริยธรรมและอุดมการณ์ใน
วิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคม และมีจิตส�ำนึกในการท�ำนุบ�ำรุงศิลป
วัฒนธรรมของชาติ
6. เสริมสรา้ งระบบและกลไกในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาทีม่ ีประสิทธภิ าพ
16
สญั ลกั ษณ์และสีประจ�ำคณะ
สีประจำ� คณะ สีสม้ หยินและหยาง
คอื การผสมผสานศาสตรแ์ ละศลิ ปเ์ ขา้ ดว้ ย
กันอย่างสมดุล สื่อถึงวิทยาการจัดการท่ีมี
การผสมผสานองค์ความรู้และการจัดการ
ทรัพยากรต่างๆ ให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์
สูงสุด
โดยตดั ทอนเปน็ รปู ทรงเรขาคณติ ใหม้ คี วาม
รว่ มสมยั วางอยใู่ นรปู ทรง 5 เหลยี่ ม อนั สอ่ื
ถึง คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5
ประการ ได้แก่ เรยี นเป็น คดิ เป็น ท�ำงาน
เปน็ เน้นวัฒนธรรม และรกั ความถูกต้อง
สีส้ม
เป็นสีที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง สี
แดง และสเี หลือง
สแี ดง
เป็นสัญลักษณ์ของศาสตร์ท่ีมีพลังความ
เขม้ แขง็ ความกระตอื รอื ร้น ความโดดเด่น
เชน่ วิศวกรรมและเทคโนโลยี
สปี ระจ�ำคณะ
สีเหลือง หรือสีทอง เป็นสัญลักษณ์ของ
ศาสตร์ท่ีแสดงถงึ ความมงั่ คัง่ ม่ังมี รงุ่ เรอื ง
สรา้ งสรรค์ หรอื นกั คดิ คน้ ประดษิ ฐส์ งิ่ ใหมๆ่
การมองโลกในแง่ดี
ดงั นั้น สสี ้ม จึงเป็นสีท่ีแสดงถงึ แรงบันดาล
ใจเตม็ เปย่ี ม พลงั ความสำ� คญั ความอบอนุ่
และความกรุณา ซึ่งเหมาะสมท่ีจะเป็นสี
ประจำ� คณะวิทยาการจัดการ
17
หลักสูตร / สาขาวชิ าท่เี ปดิ สอน
หลกั สตู รระดับปริญญาตรี
1. หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การอสงั หาริมทรพั ย์และ
ทรัพยส์ ินอาคาร
2. หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารทรพั ยากรมนุษยแ์ ละการ
จดั การองคก์ าร
3. หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการบนิ
4. หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการการบรกิ ารและการทอ่ งเท่ียว
5. หลกั สตู รการจัดการบัณฑติ
หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโท
1. หลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารคนและกลยทุ ธอ์ งค์การ
ตดิ ตอ่ คณะ
ช้นั 10 อาคาร 4 หรืออาคาร CP ALL Academy
โทรศพั ท์ 0 2855 1524, 0 2855 0322, 0 2855 1089,
0 2855 0904, 0 2855 1406
การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู คณะ
1. เว็บไซต์คณะวทิ ยาการจดั การ: https://ms.pim.ac.th/
18
หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการอสงั หา
ริมทรพั ยแ์ ละทรัพย์สนิ อาคาร
Bachelor of Business Administration Program in
Real Estate and Property Management
ชอ่ื ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชอื่ เต็ม) : บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ (การจดั การอสงั หารมิ ทรพั ย์
และทรพั ย์สนิ อาคาร)
(อกั ษรยอ่ ) : บธ.บ. (การจัดการอสงั หาริมทรัพยแ์ ละทรพั ย์สิน
อาคาร)
ภาษาองั กฤษ (ช่ือเตม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Real Estate and Property Management)
(อักษรย่อ) : R.P.M. (Real Estate and Property
Management)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวัตกรรม (สป.อว.) รบั ทราบหลักสตู รเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563
จดุ เดน่ ของสาขาวิชา / หลักสูตร
เม่ือเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามภาวะการณ์และท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ
ยคุ สมยั ทำ� ใหธ้ รุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ยต์ อ้ งปรบั ตวั การพฒั นาของเทคโนโลยเี ปน็ ตวั กำ� หนด ทสี่ ะทอ้ นความตอ้ งการ
ของกลมุ่ ลกู คา้ หลกั สตู รฯ จงึ มกี ารปรบั เปลย่ี นรายวชิ าและรปู แบบการเรยี นการสอนใหท้ นั สมยั และสอดคลอ้ ง
กบั สภาวการณท์ เี่ ปลยี่ นแปลง เพอ่ื ใหส้ ามารถผลติ บณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ลกั ษณะและความรคู้ วามสามารถตรงกบั ความ
ต้องการของสถานประกอบการ การจัดการอสังหาริมทรัพย์และทรัพย์สินอาคาร ไม่เป็นเพียงแต่การบริหาร
จัดการอาคารให้สามารถตอบสนองต่อการใช้งานอาคาร ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้ใช้งานอาคาร
เท่าน้ัน แต่ยังต้องค�ำนึงถึงในแง่มุมของเจ้าของอาคารหรือผู้ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในด้านของผลตอบแทน
จากการลงทุน การสร้างภาพลักษณ์ที่ดี การเพิ่มมูลค่าและคุณค่าให้กับอาคาร และการตอบแทนสังคมด้วย
การจดั การแบบยั่งยนื เปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม อนรุ กั ษ์และใชพ้ ลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ สรา้ งสภาพ
ชมุ ชนและสงั คมทน่ี า่ อยู่ โดยเรยี นรผู้ า่ นการเรยี นในหอ้ งเรยี น การฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน การบรรยายพเิ ศษ รวมถงึ การ
ระดมความคดิ ในรปู แบบตา่ งๆ เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ การสบื คน้ ขอ้ มลู คดิ วเิ คราะห์ วางแผน หาแนวทางปอ้ งกนั
และแกไ้ ขปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาทงั้ ทางด้านทกั ษะและความรู้จากการนำ� หลกั
การและทฤษฎมี าประยุกตใ์ ช้กับการท�ำงานจริง
19
ผลลพั ธ์การเรียนรขู้ องหลกั สูตร
• ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. มีวินยั ตรงเวลา 1. มีวินัย ตรงเวลา
2. มคี วามซื่อสตั ยส์ จุ ริต 2. มคี วามซือ่ สตั ย์สุจริต
3. มีความรับผดิ ชอบทง้ั ตอ่ ตนเอง สงั คมและการ 3. มคี วามรับผดิ ชอบทงั้ ต่อตนเอง สงั คมและการ
ประกอบอาชพี ประกอบอาชพี
4. ปฏิบัติหน้าทด่ี ้วยคณุ ธรรม จริยธรรม และม ี 4. ปฏิบัตหิ น้าท่ีดว้ ยคุณธรรม จริยธรรม และม ี
จติ สาธารณะ จติ สาธารณะ
5. เคารพในระเบยี บและกฎเกณฑข์ ององคก์ รและสงั คม 5. เคารพในระเบยี บและกฎเกณฑข์ ององคก์ รและสังคม
• ดา้ นความรู้
หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. มีความรูอ้ ย่างกวา้ งขวางและสามารถนำ� ความรู้นัน้ ไป 1. มคี วามร้รู อบตวั ในศาสตร์ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการจดั การ
ใช้ในชีวติ ประจ�ำวนั อสงั หาริมทรัพยแ์ ละทรัพยส์ ินอาคารและสามารถนำ�
ความรนู้ ้นั ไปปรบั ใชก้ ับชีวิตประจ�ำวันได้
2. เขา้ ใจและวิเคราะหห์ ลกั การของศาสตรอ์ ่ืนที่ 2. เขา้ ใจและสามารถวเิ คราะหห์ ลกั การของศาสตร์อนื่ ๆ
เก่ยี วข้องและน�ำมาใช้เปน็ พน้ื ฐานของศาสตร์เฉพาะ ท่เี ก่ยี วข้อง เพื่อน�ำมาเปน็ พื้นฐานของการจดั การ
นน้ั ๆ (เฉพาะสาขาวิชา) อสงั หารมิ ทรพั ย์และทรัพย์สินอาคารได้
3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลกั การและทฤษฎีในศาสตร์ 3. มีความร้คู วามเข้าใจในหลักการและทฤษฎีในศาสตร์
เฉพาะนน้ั ๆ และสามารถน�ำไปประยุกต์ใชแ้ กไ้ ข ด้านการจัดการอสังหารมิ ทรัพย์และทรพั ยส์ ินอาคาร
ปัญหาในการปฏบิ ตั ิงานจริงได้ และสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้แกไ้ ขปัญหาในการ
ปฏิบัตงิ านจรงิ ได้
• ด้านทักษะทางปญั ญา
หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. มคี วามคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดกรอบความรูเ้ ดมิ 1. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรเู้ ดิม
สามารถบรู ณาการความรใู้ นสาขาวิชาทีศ่ กึ ษาและ สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวิชาทศ่ี ึกษาและ
ประสบการณเ์ พ่ือให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรมหรอื ประสบการณ์เพ่ือให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรมหรือ
แนวทางในศาสตรเ์ ฉพาะนัน้ ๆ แนวทางในศาสตรเ์ ฉพาะนั้นๆ
2. สามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละเชือ่ มโยงความรู้อย่างเป็น 2. สามารถคิดวิเคราะห์ เชอ่ื มโยงความรู้อยา่ งเป็นองค์
องคร์ วม รวม และสามารถแกไ้ ขปัญหาดา้ นการจัดการ
อสงั หารมิ ทรพั ย์และทรัพยส์ นิ อาคารได้ โดยการน�ำ
3. มคี วามกระตอื รือร้นในการใฝ่หาความรู้ หลักการตา่ ง ๆ มาอ้างองิ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. มีความกระตอื รอื ร้นในการใฝห่ าความรู้
20
• ดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบ
หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สถานการณ์และวัฒนธรรม 1. สามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สถานการณ์และวฒั นธรรม
องค์กร องค์กร
2. สามารถท�ำงานกบั ผอู้ ื่นได้เปน็ อยา่ งดแี ละมภี าวะผู้นำ� 2. สามารถท�ำงานกบั ผอู้ ่ืนได้เปน็ อยา่ งดีและมภี าวะผูน้ �ำ
3. มีความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่แี ละงานท่ีไดร้ บั 3. มีความรับผิดชอบต่อหน้าทแี่ ละงานทไี่ ดร้ ับ
มอบหมาย มอบหมาย
4. มมี นุษยสมั พันธท์ ี่ดีกบั ผูร้ ่วมงานในองค์กรและ 4. มมี นุษยสัมพนั ธท์ ่ีดีกับผู้รว่ มงานในองคก์ รและ
บุคคลท่วั ไป บุคคลทวั่ ไป
• ด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. ใชค้ วามรทู้ างคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ใิ นการวิเคราะห์ 1. ใช้ความร้ทู างคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ใิ นการวิเคราะห์
และนำ� เสนอ และน�ำเสนอ
2. มีทักษะการใช้ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. มที กั ษะการใช้ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
3. มีทักษะการใช้ภาษาตา่ งประเทศเพื่อการตดิ ตอ่
3. สามารถใชค้ �ำศัพท์ภาษาองั กฤษในวิชาชีพได้อยา่
สอื่ สารอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ภาษา งถกู ตอ้ ง หรอื มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพื่อ
การติดต่อสอ่ื สารอยา่ งนอ้ ยหน่ึงภาษา
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้น
เก็บรวบรวมขอ้ มูลตลอดจนการน�ำเสนอ 4. สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบค้น
เก็บรวบรวมขอ้ มลู ตลอดจนการนำ� เสนอ
21
แนวทางการประกอบอาชพี
1. เจ้าหนา้ ทอ่ี าคาร/ผู้ดแู ลอาคาร (Building Officer/Building Attendance)
2. เจ้าหน้าที่ประสานงานอาคาร/เจ้าหน้าท่ีประสานงานโครงการก่อสร้างหรือ
โครงการปรบั ปรุงอาคาร (Project Coordinator)
3. เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภยั (Safety Officer)
4. เจ้าหน้าที่ดูแลลูกค้า/ลูกค้าสัมพันธ์ (Personal Assistant/Customer
Service)
5. เจ้าหน้าที่ด้านการตลาด การขายและการให้เช่าพื้นท่ี (Marketing/Sales/
Leasing) ในธุรกิจอสังหารมิ ทรัพย์
6. เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบคุณภาพ (Quality Assurance Specialist/Quality
Management)
7. เจา้ หนา้ ทอ่ี อกแบบ/บรหิ ารจดั การพน้ื ทที่ ำ� งาน (Workplace Management)
8. ผู้จัดการอาคาร/ผู้ช่วยผู้จัดการอาคาร (Building Manager/Assistant
Building Manager)
โดยสามารถปฏิบัติงานท้ังในสถานประกอบการท่ีเป็นเจ้าของกิจการ
(Landlord) กลมุ่ พัฒนาอาคาร/ธรุ กิจอสงั หาริมทรัพย์ (Developer) และกล่มุ
ผใู้ หบ้ รกิ ารงานบรหิ ารจดั การอาคาร (Service Provider) โดยสามารถปฏบิ ตั งิ าน
ไดใ้ นอาคารประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่ อาคารสำ� นกั งาน อาคารศนู ยก์ ารคา้ คอนโดมเิ นยี ม
หม่บู ้าน โรงพยาบาล โรงแรม ศูนยป์ ระชมุ สถานศึกษา สถานทรี่ าชการ เป็นต้น
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 295,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทีส่ ถาบันก�ำหนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดังนี้
ภาคการศกึ ษาที่ ค่าเลา่ เรยี นส�ำหรบั นักศกึ ษา ค่าเลา่ เรยี นสำ� หรบั นักศกึ ษา
ทเ่ี ขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ท่ีเขา้ เรยี นในภาคปกติ
ครง้ั ท่ี 1
ครง้ั ท่ี 2 – 7 18,500 39,500
ครั้งท่ี 8 39,500 39,500
39,500 18,500
2. อัตราคา่ เล่าเรียนแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษา ไมร่ วมค่าใช้จ่าย ดงั ตอ่ ไปนี้
- คา่ หนงั สือ เอกสารประกอบวชิ าเรยี น
- ค่าชดุ ปฏิบัตกิ าร วัตถุดิบและอปุ กรณอ์ ่ืนๆ ท่ีเก่ยี วข้อง
- ค่ารายวชิ าปรบั พืน้ ฐาน
- คา่ ธรรมเนยี มอ่นื ๆ และคา่ เบด็ เตล็ดนอกเหนอื อตั ราค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา
22
ตวั อยา่ งสถานประกอบการทน่ี กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ
23
ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ปีการศกึ ษาท่ี 1
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต
TH xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาไทย 3 SO xxxxx กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ 3
EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาองั กฤษ 2 BA 60203 การบัญชบี ริหารเพ่ือการจัดการ 3
ธรุ กิจ
SC xxxxx กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 3 1911101 การตลาดเพอ่ื การจัดการ 3
อสังหารมิ ทรัพย์และทรัพย์สนิ อาคาร
BA 60102 การจดั การองคก์ ารและทรัพยากร 3 1912102 ธรุ กิจอสังหารมิ ทรพั ย์ 3
มนษุ ยใ์ นยุคดจิ ิทัล
1912101 การจดั การอสังหาริมทรพั ยแ์ ละ 3 1912103 การจัดการอาคารพกั อาศยั 3
ทรัพยส์ ินอาคาร
1912104 สถาปตั ยกรรมและวิศวกรรมส�ำหรับ 3 1912105 ดิจิทัลเทคโนโลยีสำ� หรับการจดั การ 3
ธุรกจิ อสงั หารมิ ทรพั ย์ อสงั หาริมทรพั ย์และทรพั ย์สินอาคาร
1912151 การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั ดิ า้ นการจัดการ 3
อสังหาริมทรพั ยแ์ ละทรัพย์สนิ อาคาร
1
รวม 20 รวม 18
ปกี ารศึกษาท่ี 2
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกติ รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต
EN xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาอังกฤษ 2 10xxxxx กลมุ่ วิชาภาษาอังกฤษ 2
HM xxxxx กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 3 10xxxxx กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์และ 3
คณิตศาสตร์
BA 60205 การจัดการโลจิสตกิ สแ์ ละซพั พลายเชน 3 BA 60307 เศรษฐศาสตร์เพ่อื การจัดการธุรกิจ 3
การบริหารความเสีย่ งในงาน 3
BA 60306 การวเิ คราะหเ์ ชงิ ปริมาณและสถติ ิ 3 1912208 อสังหาริมทรพั ยแ์ ละทรพั ย์สินอาคาร
ประยกุ ตท์ างธรุ กิจ การจดั การพลังงานและสิง่ แวดล้อม 3
การเรียนรูภ้ าคปฏิบตั ิด้านการ 3
1912206 การจัดการอาคารเชงิ พาณชิ ย์ 3 1912209 จดั การอสงั หาริมทรัพย์และ
ทรพั ย์สนิ อาคาร 3
1912207 การดูแลและบำ� รุงรักษาระบบ 3 1912253
วิศวกรรมอาคาร
1912252 การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ัตดิ ้านการจัดการ 3 รวม 17
อสังหารมิ ทรพั ย์และทรพั ยส์ นิ อาคาร 2 20
รวม
24
ปีการศกึ ษาท่ี 3
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกติ รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต
EN xxxxx กลุม่ วชิ าภาษาอังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2
CN xxxxx กลมุ่ วิชาภาษาจีน 3 CN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาจีน 3
BA 60308 การจดั การการปฏบิ ตั กิ ารทางธุรกิจ 3 1912310 การบรหิ ารทรัพย์สินและการ 3
1911302 เจรจาต่อรอง 3
การเงนิ เพ่ือการจดั การ 3 1912311 ความช�ำนาญการทางวชิ าชีพด้าน
1913xxx อสังหารมิ ทรพั ย์และทรัพยส์ นิ 3 1912354 การจัดการอสังหารมิ ทรพั ยแ์ ละ 3
อาคาร ทรพั ย์สนิ อาคาร
รหัสวชิ า กลุ่มวิชาเลอื ก 1 การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ตั ดิ ้านการ 14
จัดการอสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละ
1913xxx รวม 14 ทรพั ยส์ ินอาคาร 4
ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น รวม
รายวชิ า หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเลอื ก 2 3
รวม 3
ปกี ารศกึ ษาที่ 4
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต
1912455 การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ิด้านการ 3 1913xxx กลุ่มวิชาเลอื ก 3 3
จดั การอสังหารมิ ทรพั ย์และ
1912456 ทรัพย์สินอาคาร 5
การเรยี นรูภ้ าคปฏบิ ัติด้านการ 6 XX xxxxx กลุ่มวิชาเลอื กเสรี 1 3
จัดการอสงั หาริมทรพั ยแ์ ละ
ทรพั ย์สนิ อาคาร 6
XX xxxxx กลุ่มวิชาเลอื กเสรี 2 3
รวม 9
รวม 9
สามารถศึกษาขอ้ มลู หลักสูตรไดท้ ี่ :
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25542501101278_2101_IP&b=0&u=25000&y=
25
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารทรัพยากร
มนษุ ยแ์ ละการจดั การองคก์ าร
Bachelor of Business Administration Program in
Human Resource and Organization Management
ชอ่ื ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชือ่ เตม็ ) : บรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ
(การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละการจดั การองคก์ าร)
(อักษรยอ่ ) : บธ.บ. (การบริหารทรพั ยากรมนุษยแ์ ละ
การจัดการองคก์ าร)
ภาษาอังกฤษ (ช่ือเตม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Human Resource and Organization
Management)
(อกั ษรย่อ) : B.B.A. (People and Organization
Management)
หมายเหตุ : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
(สป.อว.) รับทราบหลกั สูตรเมื่อ 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563
จุดเดน่ ของสาขาวิชา / หลกั สูตร
คน (People) หรอื ทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource) เป็นทรัพยากรทางการบริหารทีม่ ีค่าอยา่ งย่ิง
ในทุกๆ สว่ นขององคก์ าร คนเปน็ ผ้ขู ับเคลอ่ื นใหเ้ กดิ ระบบการบริหารจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพประสทิ ธผิ ล คนที่
มคี วามสามารถมบี ทบาทหนา้ ทส่ี ร้างคุณค่า (Value Creation) และส่งมอบคณุ ค่า (Value Delivery) ทด่ี ที ่สี ุด
เปน็ ผผู้ ลกั ดนั ใหอ้ งคก์ ารไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั ผา่ นกลยทุ ธห์ ลากหลายรปู แบบ คนมสี ว่ นสำ� คญั สงู สดุ ทจี่ ะทำ� ให้
องค์การปรับตัวได้และอยู่รอดในทุกสภาพแวดล้อม กล่าวได้ว่าคนเป็นผู้สร้างคุณค่าให้กับองค์การเพื่อเติบโต
อยา่ งย่ังยืน
เม่ือคนมีความส�ำคัญอย่างสูงสุด สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์จึงเล็งเห็นประโยชน์อย่างยิ่งยวดที่จะ
เปน็ ผสู้ ร้างนกั บริหารคนและองคก์ าร ภายใตป้ รัชญาการศกึ ษาแบบ Work Based Education นักศกึ ษาท่ีจบ
การศกึ ษามคี วามพรอ้ มทำ� งานไดท้ นั ที Ready to Work โดยผ่านการฝกึ ฝนทง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ใิ น
สายงานการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตลอดหลักสูตร 4 ปี เพื่อสร้างให้บัณฑิตท่ีจบมาเป็นต้นกล้าท่ีแข็งแกร่งมี
ความสามารถโดดเด่นด้านการบริหารคนและองค์การ หรอื เรยี กวา่ เป็น Young Talent
26
หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารคนและองคก์ าร ไดพ้ ฒั นาหลกั สตู รใหม้ คี วามสอดคลอ้ ง
กับสถานการณ์และแนวโน้มการบริหารคนในปัจจุบันและอนาคต ด้วยปรัชญาของหลักสูตรท่ีสะท้อนความ
สำ� คญั ของคนอยา่ งแทจ้ รงิ คอื “People Value Creation สรา้ งคณุ คา่ ดว้ ยคน” จงึ ไดก้ ำ� หนดสาระสำ� คญั ของ
หลักสตู รท่มี ีจุดเนน้ ทง้ั 3 สว่ นของการบริหารจัดการ (Triangle of Management) ดงั น้ี
SelfพMัฒaนnาaตgวั eตmนent Peoplจeดั กMาaรnคaนgไeดm้ ent เข้าBใจuธsiุรnกeMจิ sเasเลn&ะaกgOาeรrmgบaeรnหิnitาzรaอtiงoคn์การ
รกั การเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง เขา้ ใจในศาสตรแ์ ละศลิ ปด์ า้ นการบรหิ ารคน มมี มุ มองดา้ นบรหิ ารองคก์ าร
และธรุ กจิ 3 ความสามารถหลกั เหลา่ นี้ จะสง่ ผลใหเ้ ปน็ คนทมี่ คี ณุ คา่ ในองคก์ าร และคนทมี่ คี ณุ คา่ กจ็ ะสรา้ งสรรค์
ความไดเ้ ปรยี บท่ยี ั่งยนื ให้กบั องค์การอยา่ งไมส่ ้ินสดุ
27
ผลลพั ธก์ ารเรยี นร้ขู องหลักสูตร
• ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ
หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 1. แสดงออกถงึ ความมีวินัย และตรงต่อเวลา
2. ปฏบิ ัติหนา้ ทดี่ ว้ ยความซื่อสตั ย์สุจริต มีคณุ ธรรม
1. แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั และตรงตอ่ เวลา
2. ปฏิบตั ิหนา้ ที่ดว้ ยความซื่อสตั ย์สุจรติ มคี ุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ
3. มีความรบั ผดิ ชอบทัง้ ต่อตนเอง สังคมและ
จริยธรรม และจติ สาธารณะ
3. มีความรับผิดชอบทง้ั ต่อตนเอง สังคมและ การประกอบอาชีพ
4. แสดงออกซึง่ ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
การประกอบอาชีพ 5. ปฏบิ ัติตามระเบยี บและกฎเกณฑข์ ององคก์ รและ
4. แสดงออกซึ่งประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย
5. ปฏิบตั ติ ามระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององคก์ รและ สังคม
สงั คม
• ดา้ นความรู้
หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถอธบิ าย ใชท้ ฤษฎี หลักการพน้ื ฐาน ทีเ่ รยี นรู้ 1. สามารถอธบิ าย ใชท้ ฤษฎี หลกั การพน้ื ฐาน ที่เรียนรู้
และนำ� ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจ�ำวนั และศาสตร ์ และน�ำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั และศาสตร ์
ทีเ่ ก่ียวข้อง ที่เก่ยี วข้อง
2. สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลักการของศาสตร์ท่ี 2. สามารถอธิบาย ใชท้ ฤษฎี หลกั การของศาสตร์ที่
เก่ยี วข้อง และสามารถนำ� มาประยกุ ต์หรอื เปน็ เก่ยี วข้อง และสามารถนำ� มาประยุกต์หรอื เปน็
พื้นฐานในการเรยี นและการท�ำงาน พน้ื ฐานในการเรยี นและการท�ำงาน
3. สามารถวิเคราะห์และเลอื กใช้ความรใู้ นศาสตร์ที่ 3. สามารถวเิ คราะหแ์ ละเลือกใชค้ วามรใู้ นศาสตร์ท่ี
เรียน เพอ่ื การวางแผน การเรยี นและการทำ� งาน เรยี น เพ่อื การวางแผน การเรยี นและการท�ำงาน
• ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถวเิ คราะห์และประเมนิ สถานการณ์โดยใช้ 1. สามารถวเิ คราะห์และประเมนิ สถานการณ์โดยใช้
ศาสตรท์ ีเ่ รยี น เพ่ือใช้ในการวางแผนการท�ำงานและ ศาสตรท์ ีเ่ รยี น เพ่ือใชใ้ นการวางแผนการทำ� งานและ
ปฏิบตั งิ านจรงิ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ
2. สามารถจัดระบบและสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ โดยนำ� 2. สามารถจดั ระบบและสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ โดยน�ำ
ศาสตร์ทีเ่ รยี นมาเชือ่ มโยง ต่อยอดความรู้ และ ศาสตรท์ เ่ี รียนมาเชือ่ มโยง ตอ่ ยอดความรู้ และ
พัฒนาทกั ษะการปฏิบัติงาน พัฒนาทักษะการปฏบิ ัติงาน
3. มีความกระตือรอื ร้นในการใฝ่หาความรู้ ในศาสตร ์ 3. มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการใฝ่หาความรู้ ในศาสตร ์
ทเี่ รยี นและศาสตร์ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ท่เี รียนและศาสตรท์ เ่ี ก่ยี วข้อง
28
• ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ
หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บ ปรับตัวเขา้ กับ 1. สามารถปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ ปรบั ตัวเข้ากบั
สถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองค์กร สถานการณแ์ ละวัฒนธรรมองค์กร
2. มีมนษุ ยสมั พันธท์ ี่ดี มคี วามรับผดิ ชอบ มภี าวะผู้น�ำ 2. มีมนษุ ยสัมพันธท์ ี่ดี มีความรบั ผดิ ชอบ มีภาวะผู้นำ�
และทำ� งานร่วมกับผอู้ ่นื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี และท�ำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้เป็นอยา่ งดี
3. พัฒนาตนเองต่อหน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบและงาน 3. พัฒนาตนเองต่อหนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบและงาน
ท่ไี ด้รับมอบหมาย ที่ได้รบั มอบหมาย
4. จดั สรรเวลาการท�ำงาน การดูแลสขุ ภาพชีวิตสว่ นตวั 4. จัดสรรเวลาการท�ำงาน การดูแลสขุ ภาพชวี ติ ส่วนตวั
และการสร้างความสัมพนั ธ์กับผู้รว่ มงานในองคก์ ร และการสร้างความสมั พันธ์กบั ผู้ร่วมงานในองคก์ ร
และบุคคลท่ัวไป และบคุ คลทวั่ ไป
• ด้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติในการ 1. สามารถใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิในการ
วิเคราะห์ และน�ำเสนอข้อมลู ในการเรยี นและ วเิ คราะห์ และน�ำเสนอขอ้ มูลในการเรียนและ
การทำ� งาน การทำ� งาน
2. สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธิบายหลกั การและ 2. สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธบิ ายหลักการและ
สถานการณ์ รวมถึงการสอ่ื สารความหมาย สถานการณ์ รวมถงึ การสอ่ื สารความหมาย
ได้อยา่ งถกู ตอ้ งและตรงประเดน็ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและตรงประเดน็
3. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศเพอื่ การติดต่อสื่อสาร 3. สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอ่ื การติดต่อสือ่ สาร
อยา่ งนอ้ ยหนึง่ ภาษา อยา่ งนอ้ ยหนงึ่ ภาษา
4. สามารถเลือกใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการสบื ค้น 4. สามารถเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการสบื ค้น
เก็บรวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะห์ นำ� เสนอผลงาน เก็บรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์ นำ� เสนอผลงาน
และการฝึกปฏิบตั งิ าน และการฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน
แนวทางการประกอบอาชพี
1. นักทรพั ยากรมนษุ ย์ (ราชการ/รฐั วิสาหกจิ )
2. เจา้ หนา้ ท่ีบรหิ ารงานทว่ั ไป
3. เจา้ หน้าท่ีสรรหาคัดเลอื กบคุ ลากร
4. เจ้าหนา้ ทบี่ รหิ ารคา่ ตอบแทนและสวสั ดกิ าร
5. เจา้ หน้าทฝี่ ึกอบรมและพฒั นาบคุ ลากร
6. เจ้าหนา้ ทป่ี ระสานงานพฒั นาองค์กร
7. เจ้าหน้าทป่ี ระสานงานประเมนิ ผลงาน
8. พนกั งานแรงงานสัมพนั ธ์
9. ผู้ประกอบการอิสระด้านการบริหารทรพั ยากรมนุษย์ (Freelance)
10. เจ้าหน้าท่ีประสานงานตรวจประเมนิ หน่วยงาน
11. ผชู้ ว่ ยทปี่ รกึ ษาดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ (Assistant HR Consultant)
29
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 272,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ที่สถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดังน้ี
ภาคการศึกษาที่ คา่ เล่าเรียนส�ำหรับนักศึกษา คา่ เล่าเรยี นส�ำหรับนักศึกษา
คร้งั ท่ี 1 ท่เี ข้าเรยี นในภาคการศึกษาพิเศษ ทเี่ ขา้ เรยี นในภาคปกติ
ครง้ั ท่ี 2 – 7
คร้ังท่ี 8 18,600 36,200
36,200 36,200
36,200 18,600
2. อตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา ไมร่ วมคา่ ใช้จา่ ย ดังตอ่ ไปนี้
- ค่าหนังสือ เอกสารประกอบวชิ าเรียน
- คา่ ชุดปฏิบตั ิการ วัตถดุ ิบและอุปกรณ์อ่นื ๆ ท่เี กย่ี วข้อง
- ค่ารายวชิ าปรบั พนื้ ฐาน
- คา่ ธรรมเนียมอน่ื ๆ และคา่ เบ็ดเตล็ดนอกเหนืออตั ราคา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษา
ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ
30
ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ปีการศกึ ษาท่ี 1
ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวชิ า รายวิชา หน่วยกติ รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต
10xxxxx หมวดอัตลกั ษณข์ องสถาบัน PIM 3 10xxxxx หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบัน PIM 2
10xxxxx หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 3
10xxxxx หมวดอัตลกั ษณ์ของสถาบัน PIM 3 10xxxxx หมวดอัตลักษณข์ องสถาบัน PIM 3
1101102 การจัดการโลจสิ ติกส์และ 3
หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั PIM 2 10xxxxx ซัพพลายเชน
1101101 หลกั การจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ 3
1922101 การจดั การองค์การและทรัพยากร 3 1101103 การวางแผนก�ำลังคน และสรรหา 3
มนษุ ยใ์ นยคุ ดจิ ิทลั คัดเลือก
1922151 การเรียนรภู้ าคปฏิบัตดิ ้านการ 3
การตลาดเพอื่ การจัดการธรุ กิจ 3 1922102 บริหารทรัพยากรมนุษย์และการ
จดั การองคก์ าร 2 20
จติ วิทยาการจดั การและพฤตกิ รรม 3 1922103
องคก์ าร รวม
การเรียนรู้ภาคปฏบิ ัตดิ า้ นการ 3 1922152
บรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์และการ
จัดการองคก์ าร 1
รวม 20
ปกี ารศึกษาท่ี 2
รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกติ รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกติ
10xxxxx รายวชิ า 2 10xxxxx รายวิชา 2
10xxxxx 2 10xxxxx 3
1101307 หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบัน PIM 3 1922206 กลุ่มภาษาเพื่อการสอ่ื สาร 3
กลุม่ ภาษาเพ่อื การสื่อสาร กลุ่มชีวิตและสังคมแห่งความสขุ
1101308 เศรษฐศาสตร์และการเงนิ เพื่อ 3 1922307 กฎหมายแรงงานและ 3
การจัดการธรุ กจิ แรงงานสัมพันธ์
1922204 การจัดการการปฏิบตั ิการทางธรุ กจิ ระบบสารสนเทศและดิจทิ ัล 3
เพ่ือการบริหารทรพั ยากรมนุษย์
1922205 การฝกึ อบรมและการพฒั นา 3 1923xxx กลุ่มวชิ าเลอื ก (2)
1923xxx ทรพั ยากรมนษุ ย์
การบริหารผลงานและสมรรถนะ 3 xxxxxxx หมวดวชิ าเลอื กเสรี (1) 3
กลมุ่ วชิ าเลอื ก (1) 3 1922253 3
การเรียนรภู้ าคปฏบิ ตั ิดา้ นการ
รวม 19 บรหิ ารทรัพยากรมนุษย์และการ 20
จัดการองค์การ 3
รวม
31
ปกี ารศึกษาท่ี 3
รหัสวชิ า ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกติ รหสั วชิ า ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกติ
10xxxxx รายวชิ า 2 10xxxxx รายวิชา 3
1101204 3 1101205 3
1923xxx กล่มุ ภาษาเพ่ือการส่อื สาร กลมุ่ การจดั การและนวัตกรรม
1101206 การบญั ชบี ริหารเพือ่ การจดั การ กฎหมายธรุ กิจ
ธุรกจิ
1922354 กลุ่มวชิ าเลอื ก (3) 3 1922308 การพฒั นาองคก์ ารและการจดั การ 3
องคก์ ารสมรรถนะสงู 3
การจัดการนวัตกรรมธุรกจิ 3 1922355 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัตดิ ้านการ
บรหิ ารทรัพยากรมนุษย์และการ
จัดการองคก์ าร 5
การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัตดิ ้านการ 3 รวม 12
บริหารทรัพยากรมนษุ ย์และการ 14
จดั การองค์การ 4
รวม
ปีการศึกษาที่ 4
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกติ
1922309 การวิเคราะห์ขอ้ มลู เพ่อื การจดั การ 3 1923xxx กลมุ่ วิชาเลอื ก (5) 3
องค์กรธุรกิจ
1923xxx
1922456 กลุ่มวชิ าเลือก (4) 3 xxxxxxx หมวดวชิ าเลือกเสรี (2) 3
3
การเรียนรภู้ าคปฏบิ ัตดิ า้ นการ 3 1922457 การเรยี นรูภ้ าคปฏิบตั ิด้านการ
บรหิ ารทรพั ยากรมนุษยแ์ ละการ บริหารทรพั ยากรมนษุ ย์และการ 9
จดั การองคก์ าร 6 จัดการองค์การ 7
รวม 9 รวม
สามารถศึกษาข้อมลู หลกั สตู รเพม่ิ เตมิ ได้ที่
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25552501101011_2120_IP&b=0&u=25000&y=
32
หลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ การบนิ
Bachelor of Business Administration Program in
Aviation Business Management
ชอ่ื ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ช่อื เตม็ ) : บรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต (การจดั การธุรกิจการบนิ )
(อักษรยอ่ ) : บธ.บ. (การจัดการธุรกิจการบิน)
ภาษาองั กฤษ (ชอื่ เต็ม) : Bachelor of Business Administration
(Aviation Business Management)
(อกั ษรย่อ) : B.B.A. (Aviation Business Management)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวตั กรรม (สป.อว.) รบั ทราบหลกั สตู รเมอ่ื 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
จดุ เดน่ ของสาขาวิชา / หลักสูตร
อุตสาหกรรมการบิน เป็นอุตสาหกรรมสาขาหนึ่งของกระบวนการงานด้านโลจิสตกิ ส์และการขนส่ง ซึ่ง
ปัจจุบนั อตุ สาหกรรมการบิน มีความส�ำคัญและขยายตวั อย่างต่อเนื่อง อันเนอ่ื งมาจากภาวะความตอ้ งการใน
การเดินทางท่ีสะดวกรวดเร็วข้ึน การตอบสนองด้านการท่องเท่ียว การประกอบธุรกิจด้านการค้าระหว่าง
ประเทศ ซึ่งน่ันหมายถงึ การติดต่อคา้ ขาย การเจรจา การศกึ ษา แรงงาน การดำ� เนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ระหวา่ ง
ประเทศทว่ั โลกจะเกดิ ขน้ึ อยา่ งมากมาย ซงึ่ ประเทศไทยนบั วา่ เปน็ ศนู ยก์ ลางของอาเซยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เนอื่ งจาก
ประเทศไทยมขี อ้ ไดเ้ ปรยี บในแงข่ องชยั ภมู ทิ ตี่ ง้ั และประเทศไทยไดม้ คี วามคาดหวงั วา่ จะเปน็ ประเทศศนู ยก์ ลาง
ด้านการขนสง่ ทางอากาศ หรือท่ีเรียกว่า ฮบั การขนสง่ ทางอากาศ
ดังน้ัน ประเทศไทยจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อจะก้าวเข้าสู่ความเป็น ศูนย์กลาง
ดา้ นการขนสง่ ทางอากาศ ทงั้ ในดา้ นสนามบนิ เคร่ืองมอื และองคป์ ระกอบด้านการบนิ และบคุ ลากรดา้ นธรุ กจิ
การบนิ ซงึ่ มสี ว่ นสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในการนำ� พาธรุ กจิ ดา้ นการบนิ และการขนสง่ ทางอากาศของประเทศไทยพฒั นา
ให้ก้าวหน้าและทนั สมยั เพอ่ื รองรบั การเปิดประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
33
สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวัฒน์ ซงึ่ เป็นสถาบนั การศึกษาในระดบั อดุ มศึกษา ท่ตี ้งั อยใู่ นเขตกรงุ เทพฯ-
ปริมณฑล ท่ีเป็นแหล่งความต้องการแรงงานและแหล่งกระจายสินค้า คน และการบริการ ไปยังท่ัวทุกภาค
ของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน และยังต้ังอยู่ในเขตพื้นท่ีที่มีการพัฒนาระบบขนส่งและโลจิสติกส์เพ่ือ
ตอบสนองตอ่ ธรุ กจิ การค้า การท่องเทย่ี ว อยา่ งต่อเนอ่ื งโดยสามารถใช้เขตพนื้ ที่ให้เกิดประโยชนต์ อ่ หลักสูตร
และเชิญผู้มีประสบการณ์ในสายงาน มาบรรยายเสริมให้หลักสูตรมีความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพของ
บณั ฑติ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อกี ทง้ั ยงั มกี ารศกึ ษาดงู านจากสภาพการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในสถานประกอบการตา่ ง ๆ และ
การฝึกงานภาคสนามในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลเพ่ือให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติงานจริง จึง
เป็นโอกาสที่ดีในการท่ีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์จะร่วมเป็นส่วนหน่ึงในการเตรียมความพร้อมด้าน
บคุ ลากรของประเทศ เพอื่ ตอบสนองตอ่ การเปดิ เสรที างการคา้ และการกา้ วเขา้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
34
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสตู ร
• ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 1. มีวินยั ตรงเวลาในการเรยี นและการฝึกปฏบิ ตั ิงาน
1. มีวินัย ตรงเวลา 2. มีความซอ่ื สตั ย์สจุ ริต
3. มคี วามรบั ผิดชอบทง้ั ต่อตนเอง สังคม
2. มคี วามซ่อื สัตย์สุจรติ
3. มีความรับผิดชอบทง้ั ตอ่ ตนเอง สังคมและการ การฝึกปฏบิ ตั ิงาน และการประกอบอาชีพ
4. ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีด้วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ประกอบอาชพี
4. ปฏิบตั ิหนา้ ที่ดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิต และมีจติ สาธารณะ
สาธารณะ
5. เคารพในระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององค์กรและ
สงั คม
• ด้านความรู้
หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. มคี วามรูอ้ ย่างกวา้ งขวางและสามารถนำ� ความรู้นน้ั 1. เข้าใจ และวเิ คราะห์หลักการและทฤษฎพี ้นื ฐาน
ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวัน ด้านการบริหารการจดั การ
2. เขา้ ใจและวเิ คราะห์หลกั การของศาสตรอ์ นื่ 2. สามารถนำ� ไปประยุกต์ในการฝึกปฏิบัติงานดา้ น
ทเี่ กี่ยวข้องและน�ำมาใชเ้ ป็นพ้นื ฐานของศาสตร์ การบริหารการจัดการ
เฉพาะน้ัน ๆ (เฉพาะสาขาวิชา)
3. มีความรคู้ วามเข้าใจในหลักการและทฤษฎใี นศาสตร์ 3. เขา้ ใจ และวิเคราะห์หลกั การของศาสตรอ์ ่นื ที่
เฉพาะนั้น ๆ และสามารถน�ำไปประยกุ ต์ใช้แกไ้ ข เกี่ยวขอ้ งกับดา้ นการบริหารการจัดการ โดยสามารถ
ปัญหาในการปฏบิ ตั ิงานจริงได้ นำ� มาประยุกตห์ รือเป็นพ้ืนฐานในการฝึกปฏบิ ตั งิ าน
ของการจดั การธุรกจิ ได้
• ดา้ นทักษะทางปญั ญา
หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. มีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดมิ 1. มีความสามารถในการวเิ คราะหส์ ถานการณโ์ ดยใช้
สามารถบูรณาการความรใู้ นสาขาวิชาทีศ่ กึ ษาและ หลักการที่ไดเ้ รียนมา รวมถึงการน�ำไปประยกุ ต ์
ประสบการณ์เพ่อื ใหเ้ กิดนวตั กรรม กิจกรรมหรือ ในการฝึกปฏบิ ัติงานจริง
แนวทางในศาสตร์เฉพาะน้นั ๆ
2. สามารถแก้ปัญหาทางการบริหารจดั การได้ โดยน�ำ
2. สามารถคดิ วิเคราะห์และเช่อื มโยงความรอู้ ย่างเป็น หลกั การตา่ งๆ มาอ้างองิ อยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ ง
องคร์ วม กับการฝึกปฏบิ ตั ิงาน
3. มีความกระตือรือร้นในการใฝห่ าความรู้ 3. มคี วามใฝห่ าความรู้
35
• ดา้ นทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ
หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถปรับตวั เขา้ กับสถานการณ์และวัฒนธรรม 1. สามารถทำ� งานกับผ้อู ่ืนได้เป็นอย่างดี
องค์กร
2. สามารถทำ� งานกับผู้อ่นื ไดเ้ ปน็ อย่างดีและมีภาวะผูน้ ำ� 2. มีความรับผิดชอบต่องานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
3. มคี วามรับผิดชอบตอ่ หนา้ ทแ่ี ละงานทีไ่ ด้รบั 3. สามารถปรบั ตัวเข้ากบั สถานการณแ์ ละวฒั นธรรม
มอบหมาย องคก์ รทไ่ี ปปฏิบัติงานไดเ้ ป็นอย่างดี
4. มมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี ีกบั ผรู้ ว่ มงานในองค์กรและ 4. มมี นุษยสัมพนั ธ์ทด่ี กี บั ผูร้ ่วมงานในองคก์ รกับบคุ คล
บุคคลทว่ั ไป ท่ีไปฝึกปฏบิ ัตงิ านได้
5. มภี าวะผู้นำ� ในการเรียนและการฝึกปฏิบตั งิ าน
• ดา้ นทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. ใช้ความร้ทู างคณติ ศาสตร์และสถิตใิ นการวิเคราะห์ 1. มที กั ษะการใช้ภาษาในการอธิบายหลกั การและ
และน�ำเสนอ สถานการณ์ รวมถึงการสอ่ื สารความหมายได ้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
2. มีทกั ษะการใช้ภาษาไทยไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
3. มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพ่อื การติดต่อ 2. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูล นำ� เสนอรายงาน และการฝกึ ปฏิบตั งิ านได้
สื่อสารอยา่ งน้อยหนง่ึ ภาษา
3. มีความรู้พ้นื ฐานทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิในอนั ทีจ่ ะ
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ เก็บ วิเคราะหส์ ถานการณ์ รวมถึงน�ำเสนอขอ้ มลู โดยใช้
รวบรวมข้อมูลตลอดจนการน�ำเสนอ คณติ ศาสตรห์ รอื สถิตมิ าใช้ให้เป็นประโยชน์กบั การ
ฝกึ ปฏิบตั ิงานได้
4. สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศส่อื สารได้
แนวทางการประกอบอาชพี
1. เจา้ หน้าท่ีบรกิ ารและต้อนรับภาคพน้ื
2. เจ้าหน้าท่ีในองค์การและธุรกิจอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่น
การท่าอากาศยานแหง่ ประเทศไทย กรมการบนิ พลเรือน
3. พนักงานต้อนรบั บนเคร่อื งบิน
4. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ เจ้าหน้าที่แผนกคลังสินค้าทางอากาศ
(Air Cargo)
5. เจ้าหนา้ ท่ีอำ� นวยการบิน
6. เจ้าหน้าท่ีแผนกส�ำรองท่ีนั่งและจัดจ�ำหน่ายบัตรโดยสารของบริษัท ตัวแทน
การทอ่ งเท่ียวตวั แทนสง่ เสริม การตลาดสายการบิน
7. ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ เพอ่ื เปน็ อาจารยส์ ถาบนั การศกึ ษา วทิ ยากรบรรยาย
ฯลฯ
36
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 280,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทีส่ ถาบนั กำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา
2. นักศึกษาเข้าเรียนภาคเรียนปกติ ช�ำระค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษาเท่ากันทุกภาคการศึกษา ภาค
การศกึ ษาละ 35,000 บาท
3. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศกึ ษา ไม่รวมค่าใชจ้ ่าย ดังตอ่ ไปน้ี
- ค่าหนงั สอื เอกสารประกอบวชิ าเรยี น
- คา่ ชดุ ปฏิบัติการ วตั ถุดิบและอุปกรณอ์ ืน่ ๆ ที่เก่ยี วข้อง
- คา่ รายวิชาปรบั พน้ื ฐาน
- คา่ ธรรมเนียมอน่ื ๆ และค่าเบด็ เตลด็ นอกเหนืออัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา
ตวั อยา่ งสถานประกอบการทน่ี กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ
37
ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ปีการศกึ ษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ
TH xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาไทย 3 EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2
EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2 3
SO xxxxx กลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์ 3 SO xxxxx กลุ่มวชิ าสงั คมศาสตร์ 3
HM xxxxx กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 3 3
HM xxxxx กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์
SC xxxxx กล่มุ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 3 3
AV 62190 การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ดิ ้านธรุ กจิ
การบนิ 1
BA 60101 การตลาดเพือ่ การจดั การธรุ กิจ
AV 62101 วา่ ยนำ้� และพลศึกษา 3 BA 60102 การจัดการองคก์ าร 3
(ไม่นับ และทรพั ยากรมนุษย์ในยุคดจิ ทิ ลั
หนว่ ยกติ )
AV 62102 ภาษาองั กฤษพืน้ ฐานเพือ่ การส่อื สาร 3
AV 62140 ในธรุ กิจการบิน (ไม่นับ
หนว่ ยกติ )
อภธิ านศพั ทก์ ารบิน
2
รวม 16 รวม 17
ปีการศกึ ษาท่ี 2
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
รหัสวชิ า รายวิชา หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกติ
EN xxxxx กลมุ่ วิชาภาษาอังกฤษ 2 EN xxxxx กลมุ่ วิชาภาษาองั กฤษ 2
3 3
AV 62203 หลักการจัดการธุรกิจการบิน BA 60205 การจดั การโลจิสติกส์และซพั พลาย
3 เชน 3
AV 62204 การจดั การองคก์ ารด้านการบริการ 2 AV 62242 การฟงั และพูดภาษาจนี สำ� หรับธุรกจิ 3
และการทอ่ งเทีย่ ว 3 การบนิ 3
AV 62241 พนื้ ฐานภาษาองั กฤษเพ่ือธุรกิจการบนิ 3 AV 62206 การจัดการงานคลังสินค้าทางอากาศ 3
BA 60203 การบัญชบี รหิ ารเพื่อการจัดการธรุ กจิ 3
19 AV 62291 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ตั ิดา้ นธรุ กิจ 17
การบิน 2
BA 60204 การเงินเพอื่ การจัดการธรุ กจิ xx xxxxx กลุ่มวิชาเลอื ก 1
AV 62205 การตลาดในกจิ การสายการบิน
รวม
รวม
38
ปกี ารศึกษาที่ 3
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกิต รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ
EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาองั กฤษ 2 AV 62310 การจดั การงานบรกิ าร 3
ผู้โดยสารภาคพน้ื
BA 60306 การวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณและสถติ ิ 3 AV 62311 การจดั การควบคมุ จราจร 3
ประยุกต์ทางธรุ กจิ ทางอากาศ
BA 60307 เศรษฐศาสตร์เพือ่ การจดั การธุรกิจ 3 AV 62343 การวิจัยสาหรับธุรกิจการบิน 2
AV 62307 การจดั การทา่ อากาศยาน 3 AV 62392 การเรยี นรู้ภาคปฏิบตั ิ 3
ด้านธุรกจิ การบิน 3
AV 62308 ความปลอดภัยทางการบิน 3 BA 60308 การจดั การการปฎิบตั กิ าร 3
ทางธุรกิจ
AV 62309 การจดั การงานบรกิ ารบนเครอ่ื งบิน 3 xx xxxxx กลุ่มวชิ าเลอื ก 2 3
รวม 17 17
รวม
ปกี ารศกึ ษาท่ี 4
ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกิต รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกิต
EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาองั กฤษ 2 AV 62493 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัติด้านธุรกจิ 3
การบิน 4
AV 62412 การพฒั นาบุคลิกภาพในงานการบนิ 3 xx xxxxx กลมุ่ วชิ าเลือก 4 3
AV 62413 กฎหมายและระเบียบการบิน 3 xx xxxxx กล่มุ วิชาเลอื กเสรี 2 3
พลเรอื น
AV 62444 ภาษาองั กฤษข้นั สูงเพ่ือธุรกจิ การบนิ 2
AV 62470 สมั มนาธุรกิจการบิน 1
xxx xxxx กลุ่มวชิ าเลอื ก 3 3
xxx xxxx กลมุ่ วิชาเลอื กเสรี 1 3
รวม 17 รวม 9
สามารถศกึ ษาข้อมลู หลักสตู รเพ่มิ เติมไดท้ ่ี :
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25572501100495_2139_IP&b=0&u=25000&y=
39
หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การการบริการ
และการทอ่ งเทย่ี ว
Bachelor of Art Program in Hospitality and Tourism Management
ชอื่ ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชอื่ เต็ม) : ศิลปศาสตรบัณฑิต
(การจดั การการบรกิ ารและการท่องเที่ยว)
(อักษรยอ่ ) : ศศ.บ.
(การจัดการการบรกิ ารและการทอ่ งเทย่ี ว)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเตม็ ) : Bachelor of Arts (Hospitality and Tourism
Management)
(อกั ษรยอ่ ) : B.A. (Hospitality and Tourism
Management)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวัตกรรม (สป.อว.) รบั ทราบหลกั สตู รเม่อื 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
จดุ เดน่ ของสาขาวิชา / หลักสตู ร
1. มงุ่ พัฒนาทกั ษะตามศกั ยภาพและความถนัดรว่ มกบั การเรียนการสอนแบบ Work – based Education
เพือ่ เป็นนักบริการมอื อาชพี
2. มีระบบจัดการศึกษาตามมาตรฐานและระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนแบบ TSR (Teacher-Student
Relationship) สูส่ ายอาชีพแห่งอนาคต
3. มีหอ้ งปฏิบตั กิ ารทันสมยั พร้อมคณาจารยท์ ่ีเชีย่ วชาญทง้ั ดา้ นวิชาการและดา้ นวชิ าชพี
4. ฝกึ ปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการชน้ั น�ำระดบั สากลท้งั ภาครฐั ภาคเอกชน และตา่ งประเทศ
5. มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาชั้นน�ำระหว่างประเทศ เช่น สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย
แคนาดา เวยี ดนาม ไตห้ วัน และประเทศจีน
6. หลกั สตู รอยใู่ นสถาบนั อดุ มศกึ ษาแหง่ องคก์ รธรุ กจิ (Corporate University) ภายใตบ้ รษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั
มหาชน จงึ มีเครือข่ายความรว่ มมอื และพนั ธมิตรทางธรุ กจิ ท่ีเขม้ แขง็ และย่งั ยืน
40
ผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สูตร
• ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ
หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป
1. มีความซ่ือสัตย สจุ รติ และสามารถจัดการปญั หา
1. มวี นิ ัย ตรงเวลา ความขดั แยงระหวางผลประโยชนทีไ่ ดรบั
กบั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี
2. มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ ริต
2. มีทศั นคตทิ ่ดี ีต่ออาชีพและแสดงออกซง่ึ คณุ ธรร
3. มีความรบั ผดิ ชอบท้ังต่อตนเอง สังคมและการ มและจรยิ ธรรมในการปฏิบตั ิงานและการปฏบิ ตั ิ
ประกอบอาชีพ ตนตอ่ ผอู ืน่ อยา งสม�่ำเสมอ
4. ปฏิบัตหิ น้าทด่ี ้วยคณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ติ 3. มีความรับผิดชอบในหนาที่ เป็นสมาชิกที่ดี และ
สาธารณะ มสี ่วนร่วมในกิจกรรมเพ่อื การพฒั นามภี าวะผนู าํ
และเป็นแบบอยา่ งที่ดีต่อผู้อืน่
5. เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององคก์ รและ
สงั คม 4. มวี ินยั ในการทํางานและปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ
และข้อบังคบั ขององคก รและสังคม
• ดา้ นความรู้
หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. มคี วามรู้อย่างกว้างขวางและสามารถนำ� ความรู้นน้ั ไป 1. มีความรใู นสาขาวชิ าการทอ งเทยี่ วและสาขาวชิ าการ
ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั โรงแรมท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิอย่างกวาง
ขวาง เป็นระบบ เปน็ สากลและและทันสมยั ตอ
สถานการณโลก
2. เข้าใจและวเิ คราะหห์ ลักการของศาสตรอ์ น่ื ท่ี 2. มีความรทู้ ี่เกิดจากการบูรณาการความร ู้
เกย่ี วขอ้ งและนำ� มาใชเ้ ปน็ พืน้ ฐานของศาสตร ์ ในศาสตรต์ ่างๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
เฉพาะนน้ั ๆ (เฉพาะสาขาวชิ า)
3. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎใี นศาสตร์ 3. มคี วามรูในกระบวนการ และเทคนคิ การวจิ ัยเพอ่ื
เฉพาะนนั้ ๆ และสามารถน�ำไปประยกุ ต์ใช้แกไ้ ข แกไ ขปญหาและตอ่ ยอดองคความรูใ นงานอาชพี
ปญั หาในการปฏิบตั ิงานจรงิ ได้
41
• ดา้ นทักษะทางปญั ญา
หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ตอ่ ยอดกรอบความรเู้ ดิม 1. มคี วามสามารถประมวลและศกึ ษาขอ มลู เพอื่
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาท่ศี ึกษาและ วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญ หาและความขดั แยง้ รวมท้งั
ประสบการณ์เพ่อื ให้เกดิ นวตั กรรม กจิ กรรมหรือ หาแนวทางป้องกันและแกไขปัญหาได้อย่างเหมาะ
แนวทางในศาสตรเ์ ฉพาะนนั้ ๆ สม ท้ังเชงิ กวา งและเชิงลกึ
2. สามารถคิดวเิ คราะห์และเช่อื มโยงความรู้อยา่ งเปน็ 2. มีความสามารถประยกุ ตใช้ความรภู้ าคทฤษฎีและ
องคร์ วม ภาคปฏบิ ัติ น�ำไปใชป ระโยชนในการฝกึ
ประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏบิ ัติงานจรงิ ตาม
3. มีความกระตือรือรน้ ในการใฝห่ าความรู้ สถานการณไดอ ยา งเหมาะสม
3. มีความสามารถประยกุ ตใชน วัตกรรมจากภาคธรุ กิจ
และจากศาสตรอน่ื ๆ ที่เกยี่ วของเพื่อพัฒนาทกั ษะ
การทํางานใหเ กิดประสทิ ธผิ ล
• ดา้ นทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถปรับตวั เข้ากบั สถานการณแ์ ละวฒั นธรรม 1. ความสามารถในการปฏิบัตแิ ละรบั ผิดชอบงาน
องคก์ ร ทไี่ ดร ับมอบหมายตามหนาทแี่ ละบทบาทของตน
ในกลุ่มงานไดอยา งเหมาะสมรวมทง้ั มสี ว นรว ม
ในการชว ยเหลือผูรวมงานและแกไ ขปัญหากลุม
2. สามารถทำ� งานกับผูอ้ ่ืนได้เป็นอย่างดแี ละมภี าวะผ้นู �ำ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนา
วิชาชพี ใหทันสมยั อยา งตอ เนอ่ื ง และตรงตาม
มาตรฐานสากล
3. มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่แี ละงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
4. มีมนุษยส์ มั พันธท์ ดี่ ีกบั ผ้รู ่วมงานในองค์กรและบคุ คล
ทว่ั ไป
• ดา้ นทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. ใชค้ วามรทู้ างคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์ 1. มีความสามารถในการใชภาษาไทยและภาษา
และน�ำเสนอ ตา งประเทศในการฟง การพูด การอาน การเขียน
และการสรปุ ประเดน็ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. มีทกั ษะการใช้ภาษาไทยไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
3. มที กั ษะการใช้ภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การตดิ ตอ่ 2. มคี วามสามารถในการส่ือสารกับชาวตา งชาติได
อยางเหมาะสมตามสถานการณ และวัฒนธรรม
ส่อื สารอย่างนอ้ ยหน่ึงภาษา
3. มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้น ในการติดตอ สอ่ื สาร รจู ักเลือกรูปแบบของการ
เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตลอดจนการน�ำเสนอ นําเสนอท่เี หมาะสมสาํ หรบั เรอื่ ง และผฟู ง
ทแ่ี ตกตา งกนั ไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ
4. มคี วามสามารถในการใชเทคนคิ พ้ืนฐานทาง
คณิตศาสตรแ ละสถิติในการประมวลการแปลความ
หมายและการวเิ คราะหข์ ้อมูล
42
แนวทางการประกอบอาชพี
1. อาชีพด้านธรุ กจิ โรงแรม เช่น ผู้ปฏิบัตงิ าน แผนกต้อนรบั ( Front Office)
แผนกแมบ่ า้ น (Housekeeping) แผนกประกอบอาหาร (Food Production)
แผนกอาหารและเครอื่ ง ดมื่ (Food and Beverage Service) ผบู้ รหิ ารธรุ กจิ
โรงแรม เปน็ ต้น
2. อาชพี ดา้ นธรุ กจิ การจดั การประชมุ สมั มนา นทิ รรศการและการทอ่ งเทยี่ วเพอื่
เปน็ รางวลั ธุรกิจไมซ์ (MICE)
3. อาชพี ดา้ นธรุ กจิ อาหาร ภตั ตาคาร และงานจดั เลย้ี ง เชน่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ผจู้ ดั การ
ร้านอาหาร นักออกแบบเมนอู าหารและนกั วางแผนงานจัดเล้ียง เชน่ อาหาร
ยโุ รป อาหารอบ (Bakery) อาหารไทยและอาหารรว่ มสมยั การบรกิ ารอาหาร
และเคร่ืองดืม่ บาร์ การจัดเล้ียง และการจัดการธุรกิจภตั ตาคาร
4. อาชีพในธุรกิจจัดนำ� เทย่ี วและการเดินทาง (Tour and Travel Business)
เช่น มัคคุเทศก์ (Domestic & Inbound) ผนู้ ำ� เที่ยว (Outbound) นกั การ
ตลาดการทอ่ งเทยี่ วและธรุ กิจบรกิ าร
5. เจา้ หนา้ ทหี่ นว่ ยงานภาครฐั และเอกชนทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การวางแผนและพฒั นา
โรงแรมธรุ กิจอาหาร ภัตตาคาร อีเวน้ ท์และงานจดั เลยี้ ง
6. พนกั งานธุรกจิ บริการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ ธุรกิจการบิน ธุรกจิ บรกิ ารเชิงสขุ ภาพ
สปาและความงาม ธรุ กิจบริการเชิงกฬี าและการออกก�ำลังกาย ธรุ กจิ บันเทิง
และสันทนาการ เปน็ ต้น
7. นกั วิชาการและนกั วจิ ยั ดา้ นการบรกิ ารและการทอ่ งเท่ียว
43
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 280,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทสี่ ถาบนั กำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศึกษา ดงั น้ี
ภาคการศกึ ษาท่ี คา่ เลา่ เรียนสำ� หรับนกั ศกึ ษา ค่าเล่าเรียนสำ� หรับนักศกึ ษา
ท่เี ข้าเรียนในภาคการศกึ ษาพิเศษ ทเ่ี ข้าเรยี นในภาคปกติ
คร้งั ท่ี 1
คร้งั ท่ี 2 – 7 18,900 37,300
ครั้งท่ี 8
37,300 37,300
37,300 18,900
2. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา ไม่รวมคา่ ใช้จ่าย ดงั ตอ่ ไปนี้
- ค่าหนงั สอื เอกสารประกอบวิชาเรยี น
- คา่ ชุดปฏบิ ัติการ วัตถุดิบและอปุ กรณ์อืน่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง
- คา่ รายวิชาปรบั พื้นฐาน
- คา่ ธรรมเนียมอืน่ ๆ และค่าเบ็ดเตลด็ นอกเหนอื อตั ราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศกึ ษา
ตวั อยา่ งสถานประกอบการทน่ี กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ
1. กลมุ่ ธุรกิจโรงแรม
2. กลมุ่ ธุรกิจทวั รแ์ ละการท่องเท่ียว
3. กล่มุ ธุรกิจ Mice
44
ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ปีการศึกษาที่ 1
รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 1 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกิต
EN xxxxx รายวชิ า 2 TH xxxxx รายวิชา 3
EN xxxxx 2 HT 62105 3
กลมุ่ วิชาภาษาองั กฤษ กลุ่มวิชาภาษาไทย
TH xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ โลจิสตกิ ส์สำ� หรับธุรกจิ บรกิ าร 3
และการท่องเทย่ี ว
HT 62101 กลุ่มวชิ าภาษาไทย 3 HT 62140 การด�ำเนนิ งานและการจดั การ 3
อาหารและเครอ่ื งด่ืม
HT 62102 ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การจัดการ 3 HT 62141 การด�ำเนินงานและการจดั การ 3
HT 62103 ธุรกิจบริการ งานแม่บ้าน 3
HT 62104 จิตวทิ ยาการบรกิ าร 3 HT xxxxx กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะ 3
พฤติกรรมนกั ทอ่ งเทย่ี ว 3 HT xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาตา่ งประเทศ 1
HT xxxxx การจัดการคณุ ภาพการบรกิ าร 3 HT 62190 การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ดิ า้ นธุรกิจ
บริการและการท่องเทย่ี ว 1
กลมุ่ วชิ าความสนใจเฉพาะ 3
รวม 22 รวม 21
ปกี ารศึกษาที่ 2
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ
SC xxxxx กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์ 3 SO xxxxx กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ 3
HT 62206 และคณติ ศาสตร์
HT 62207 จรรยาบรรณวชิ าชีพและกฎหมาย 3 HT 62209 การดำ� เนนิ งานและการจัดการ 3
HT 62242 สำ� หรับธุรกิจบริการและ ตวั แทนทอ่ งเทีย่ ว
HT xxxxx การท่องเท่ยี ว
HT 62291
เทคโนโลยสี ารสนเทศส�ำหรับ 3 HT 62210 การพัฒนาการท่องเทย่ี ว 3
ธรุ กจิ บริการและการท่องเท่ยี ว อย่างย่งั ยนื
การตลาดสำ� หรบั ธุรกิจบรกิ าร 3
การด�ำเนินงานและจัดการ 3 HT 62211 และการทอ่ งเท่ยี ว
บรกิ ารสว่ นหน้า หลกั การมคั คเุ ทศก์ 3
กลุม่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ 2 3
กลุ่มวชิ าความสนใจเฉพาะ 3 HT 62243
การเรยี นรภู้ าคปฏิบัตดิ า้ น 3 HT xxxxx
ธรุ กจิ บรกิ ารและการท่องเที่ยว 2
รวม 18 รวม 18
45
ปีการศึกษาท่ี 3
รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกติ รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต
SO xxxxx รายวิชา 3 EN xxxxx รายวชิ า 2
HM xxxxx 3 CN xxxxx 3
HT 62312 กลมุ่ วชิ าสังคมศาสตร์ 3 HM xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาองั กฤษ 3
HT xxxxx กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ กลมุ่ วชิ าภาษาจนี
การเงินและบัญชสี ำ� หรบั กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์
HT xxxxx ธุรกจิ บรกิ ารและการทอ่ งเที่ยว
กลุ่มวชิ าความสนใจเฉพาะ 3 HT 62308 การจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ 3
รหสั วชิ า สำ� หรับธุรกจิ บรกิ ารและ
กลมุ่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ 3 3 HT 62313 การทอ่ งเทย่ี ว 3
HT 62392 สัมมนาดา้ นธรุ กจิ บริการ 3
HT 62314 และการท่องเทย่ี ว 3
การสำ� รวจและวิจัยสำ� หรับ 20
HT xxxxx ธรุ กจิ บริการและการทอ่ งเทย่ี ว
รวม 15 กลุม่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ 4
รวม
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
รายวชิ า หน่วยกิต
การเรียนรภู้ าคปฏบิ ตั ิดา้ น 3
ธุรกจิ บริการและการทอ่ งเที่ยว 3 3
รวม
ปีการศึกษาที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกติ รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกติ
HT xxxxx กลุม่ วชิ าความสนใจเฉพาะ 3 HT xxxxx วชิ าเลอื กเสรี 1 3
HT xxxxx
HT 62493 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 5 3 HT xxxxx วชิ าเลอื กเสรี 2 3
3
การเรยี นรูภ้ าคปฏิบตั ิดา้ น 3 HT 62494 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติด้าน
ธรุ กิจบริการและการท่องเท่ยี ว 4 ธุรกิจบรกิ ารและการทอ่ งเทยี่ ว 5 9
รวม 9 รวม
สามารถศึกษาขอ้ มลู หลักสูตรเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี :
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25572501100506_2091_IP&b=0&u=25000&y=
46
หลักสตู รการจดั การบณั ฑติ
Bachelor of Management
ชอ่ื ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : การจัดการบัณฑิต
(อกั ษรย่อ) : กจ.บ. (การจัดการบณั ฑติ )
ภาษาองั กฤษ (ช่อื เต็ม) : Bachelor of Management
(อักษรยอ่ ) : B.M. (Bachelor of Management)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวตั กรรม (สป.อว.) รับทราบหลกั สตู รเมื่อ XXXXX
จุดเดน่ ของสาขาวิชา / หลกั สูตร
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานและคุณภาพ พร้อมบูรณาการในศาสตร์สาขา
วชิ าการตา่ ง ๆ เพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพในการเรยี นรขู้ องแตล่ ะบคุ คลและแตล่ ะอาชพี อนั จะนำ� ไปสกู่ ารขบั เคลอ่ื นให้
เกิดประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการศึกษา เพ่ือความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงและการ
แข่งขันในระดับประเทศและระดบั สากล
ดังน้ัน หลกั สตู รการจัดการบัณฑิต จงึ เป็นหลกั สตู รเฉพาะบคุ คลทเ่ี ปิดกวา้ งให้นักศึกษาได้พัฒนาความ
สามารถได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมีการออกแบบและวางแผนการจัดการเรียนการสอนระหว่างนักศึกษา
ผู้ปกครอง นักวิชาการ นักวิชาชีพ ภาคอตุ สาหกรรม อนั จะส่งผลทีท่ �ำใหผ้ ู้เรยี นมที ิศทางการพัฒนาตนเองได้
อย่างชัดเจน ต่อเนอ่ื ง และยังสร้างให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตใหก้ ับผเู้ รยี น
47
ผลลัพธก์ ารเรยี นรูข้ องหลักสตู ร
• ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ
หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป 1. แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ตรงตอ่ เวลา และมีความ
รบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่
1. แสดงออกถงึ ความมวี ินยั และตรงตอ่ เวลา
2. แสดงออกถงึ ความซ่ือสัตย์ สุจรติ ยึดม่นั ใน
2. ปฏบิ ัติหน้าทดี่ ้วยความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ มคี ณุ ธรรม ความถูกต้อง
จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ
3. แสดงออกถงึ การมจี ิตสาธารณะ มคี วามรับผดิ ชอบ
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบท้ังตอ่ ตนเอง สงั คมและการ ต่อสงั คม
ประกอบอาชพี
4. แสดงออกถึงการรบั รู้ ยอมรับ ในขอ้ บงั คับและ
4. แสดงออกซง่ึ ประเพณีและวฒั นธรรมไทย จรยิ ธรรมในการทำ� งาน รวมท้งั ปฏิบัตติ ามกฎหมาย
5. ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบและกฎเกณฑข์ ององค์กรและ
สังคม
• ดา้ นความรู้
หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลักการพืน้ ฐานที่เรยี นรู้ 1. สามารถบูรณาการความรู้และทกั ษะดา้ นการจัดการ
และนำ� ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั และศาสตร ์ พ้ืนฐานในรายวชิ าต่างๆ ที่เรียนได้
ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
2. ศกึ ษาและติดตามความกา้ วหนา้ ในความรูด้ า้ นตา่ งๆ
2. สามารถอธบิ าย ใช้ทฤษฎี หลักการของศาสตร ์ ท่เี กย่ี วข้องกบั การท�ำงานและสามารถประยกุ ต์กับ
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง และสามารถน�ำมาประยุกตห์ รอื เปน็ การด�ำรงชีวิตประจำ� วัน และการทำ� งาน
พนื้ ฐานในการเรียนและการทำ� งาน
3. สามารถเป็นผทู้ ่ีเรียนรู้ได้ด้วยตวั เองและเรียนร ู้
3. สามารถวเิ คราะห์และเลือกใชค้ วามรใู้ นศาสตร์ท่ี ตลอดชวี ิต
เรยี นเพ่อื การวางแผน การเรยี นและการท�ำงาน
48
• ดา้ นทักษะทางปัญญา
หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมินสถานการณ์โดยใช้ 1. สามารถน�ำเสนอแนวทาง หรือวธิ ีการจดั การใหม่ๆ
ศาสตร์ท่ีเรียน เพอื่ ใชใ้ นการวางแผนการทำ� งาน เพื่อนำ� ไปส่กู ารสรา้ งสรรค์นวตั กรรม
และปฏิบัตงิ านจรงิ
2. สามารถจดั ระบบและสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ 2. สามารถวเิ คราะห์ข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ และ
โดยน�ำศาสตรท์ ี่เรยี นมาเชื่อมโยง ต่อยอดความรู้ เชอื่ มโยงความรู้อยา่ งเป็นองค์รวม
และพฒั นาทกั ษะการปฏิบตั ิงาน
3. มีความกระตอื รอื รน้ ในการใฝ่หาความรู้ ในศาสตร ์ 3. แสดงออกถงึ ความกระตอื รอื ร้นในการแสวงหา
ทเ่ี รยี นและศาสตร์ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ค�ำตอบด้วยตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง กลา้ คดิ และ
สามารถผลกั ดนั ความคดิ ใหเ้ กิดเปน็ ผลงานเพอ่ื
นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งสรรค์นวัตกรรมด้านการจดั การ
4. มแี นวคดิ ในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ และมองหา
โอกาสในการพฒั นาและสรา้ งมลู ค่าเพ่มิ ให้แก่ธรุ กจิ ได้
5. สามารถวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ความรจู้ ากแหล่ง
ต่างๆ และนำ� ไปประยุกตใ์ ช้กบั สถานการณต์ ่างๆ
ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
• ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ
1. สามารถปฏบิ ตั ติ ามกฏระเบยี บ ปรับตัวเขา้ กบั 1. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวฒั นธรรม
สถานการณแ์ ละวัฒนธรรมองค์กร องค์กร
2. มีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ี่ดี มีความรบั ผิดชอบ มภี าวะผ้นู �ำ 2. เป็นผนู้ �ำและผตู้ ามทีม่ ีความรบั ผิดชอบตอ่ ส่วนรวม
และทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้เป็นอยา่ งดี มีความกระตอื รอื ร้นท่ีจะทำ� งาน
3. พัฒนาตนเองต่อหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบและงาน 3. แสดงทศั นคตเิ ชงิ บวกและสามารถสร้างความ
ที่ไดร้ ับมอบหมาย สัมพนั ธ์ทด่ี ีกบั ผ้รู ่วมงาน
4. จดั สรรเวลาการทำ� งาน การดแู ลสขุ ภาพชีวติ ส่วนตัว 4. สามารถสรา้ งความสมดลุ ในการท�ำงานและ
และการสรา้ งความสัมพันธ์กบั ผู้ร่วมงานในองคก์ รและ การดำ� เนนิ ชีวติ
บคุ คลทัว่ ไป
49
• ดา้ นทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป หมวดวิชาเฉพาะ
1. สามารถใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ใิ นการ 1. สามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ ส�ำหรับ
วิเคราะห์ และนำ� เสนอข้อมูลในการเรียนและการ วิเคราะห์ข้อมลู เพอ่ื การแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
ท�ำงาน
2. สามารถใชภ้ าษาในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั
2. สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธบิ ายหลกั การและ สถานการณ์ มปี ระสทิ ธิภาพและบรรลเุ ปา้ หมาย
สถานการณ์ รวมถงึ การส่ือสารความหมายไดอ้ ย่าง
ถกู ต้องและตรงประเดน็ 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นขอ้ มูล
เก็บรวบรวมขอ้ มูลและประมวลผล ตลอดจนการ
3. สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพือ่ การติดต่อส่อื สาร นำ� เสนอขอ้ มูลเกี่ยวกับการทำ� งาน
อยา่ งน้อยหนงึ่ ภาษา
4. สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลในการสบื คน้
เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะห์ นำ� เสนอผลงาน
และการฝึกปฏบิ ตั งิ าน
แนวทางการประกอบอาชพี
หลักสตู รตอ้ งการผลติ บัณฑติ “นกั จัดการ” ทม่ี ีความสามารถประกอบอาชพี
ตามท่ีมุ่งหวังไว้ โดยมีความสามารถในการจัดการองค์กรสมัยใหม่ มีความคิดร่ิ
เร่มิ สร้างสรรค์ แกป้ ัญหาโดยใช้นวตั กรรม และมีความพร้อมในการปรับปรงุ การ
ทำ� งานให้สอดคล้องกบั การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ในอนาคต
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น
1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 352,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
44,000 บาท ต่อคร้ัง ตามแผนการเรียนปกติ 8 ภาคการศึกษา
2. อตั ราค่าเลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษา ไมร่ วมค่าใช้จ่าย ดงั ต่อไปน้ี
- คา่ หนังสอื เอกสารประกอบวิชาเรียน
- ค่าชดุ ปฏิบตั ิการ วตั ถุดิบและอุปกรณ์อน่ื ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
- ค่ารายวิชาปรบั พน้ื ฐาน
- คา่ ธรรมเนยี มอ่ืนๆ และคา่ เบด็ เตลด็ นอกเหนืออัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศึก
50