The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะนิเทศศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2021-04-25 23:26:24

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะนิเทศศาสตร์

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะนิเทศศาสตร์

สารบญั

คมู่ ือนักศกึ ษาใหม่ “นเิ ทศศาสตร”์ หนา้

หนา้

สว่ นท่ี 1: สถาบันเรา “พี ไอ เอม็ (PIM)” 3 สว่ นที่ 4 : รอบรู้ “พี ไอ เอม็ (PIM)” 30
ตราสัญลกั ษณ์ 4 ท่ตี ัง้ และการเดินทาง 30
สปี ระจำ� สถาบนั 4 ลดั เลาะ..รอบบา้ น PIM : แจง้ วฒั นะ 32
ดอกไมป้ ระจ�ำสถาบัน 4 อาคาร หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบัติการ 33
ปรชั ญา 5 ปฏทิ ินการศกึ ษาและรปู แบบการเรียน 39
วสิ ัยทัศน์ 5 เทคโนโลยแี ละระบบสนบั สนนุ นักศึกษา 40
พันธกจิ 5 - Single Sign-On 40
เอกลักษณส์ ถาบนั 5 - PIM Application 41
อัตลกั ษณน์ ักศึกษา 6 - Wi-Fi PIMHotspot 43
คณะวชิ า สำ� นัก วทิ ยาลัยในสถาบนั 7 - e-mail 44
เพลงสถาบัน 9 - Office 365 45
บตั รนักศกึ ษา 46
ส่วนที่ 2 : รู้จักส�ำนักการศกึ ษาทว่ั ไป 10 การแต่งกาย 47
ปรัชญา 10
วิสัยทัศน์ 10 เมอ่ื มาเรยี นที่ PIM 48
- ดตู ารางเรยี น 48
พนั ธกิจ 10 - ตารางหน้าห้องเรยี น 49
สญั ลกั ษณ์และสปี ระจำ� ส�ำนกั 10
บทบาทหนา้ ท ่ี 11 - การยืนยนั การเข้าเรยี น 50
- PIM e-Learning 51
ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา 11 - PIM MOOC 52
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills หอ้ งสมุด PIM และแหล่งเรียนรอู้ อนไลน์ 53
วารสารวิชาการของ 57
ส่วนที่ 3 : รู้จกั คณะเรา “นเิ ทศศาสตร์” 15 สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน ์
15 ใกลส้ อบแล้ว..ต้องท�ำอยา่ งไร 58
ปรัชญา ปณธิ าน วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจคณะ 17 เกรดออกแล้ว 60
สัญลกั ษณ์ และสปี ระจ�ำคณะ 17 การย่ืนแบบคำ� ร้องออนไลน์ ลงทะเบียนเรยี น 61
หลักสตู ร/ สาขาวิชาท่ีเปดิ สอน 18 ประเมินตา่ งๆ และอ่นื ๆ
การเขา้ ถงึ ข้อมูลคณะ 25 เตรียมตัวอย่างไรเมื่อไปฝกึ ปฏบิ ตั ิ 63
- หลักสตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ 27 มปี ญั หา..ปรกึ ษาใคร 64
สาขาวิชาเอกการสื่อสารองคก์ รและแบรนด์ - อาจารย์ที่ปรกึ ษา 64
(Corporate and Brand Communication) - CCDS 65
- หลักสูตรนิเทศศาสตรบณั ฑิต - Smile Center 66
สาขาวิชาเอกวารสารศาสตร์คอนเวอรเ์ จน้ ท์ - Friends Care PIM 66
และสือ่ ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์ เขา้ ภาคเรยี นใหม่ตอ้ งทำ� อย่างไร 67
(Convergent Journalism and - ลงทะเบยี นเรียน 67
Creative Digital Media) - ช�ำระค่าเลา่ เรียนและค่าธรรมเนยี มตา่ งๆ 68

เรียนดี ประพฤตดิ ี มที นุ 69
วนิ ัยนกั ศกึ ษา 70
ท�ำอยา่ งไรใหไ้ ด้เกยี รตินิยม 71
ท�ำอย่างไรไม่ให้ถกู Retire 72
สวสั ดิการสำ� หรับนกั ศึกษา 73
ชมรมและกจิ กรรมตา่ งๆ 74
ชิลล์ ฟิน ชอ๊ ป กอ๊ ปปี้ รีแลคซ์ หอพกั 75
ช่องทางการสอ่ื สาร..บรกิ ารนกั ศึกษา 79

สถาบันเรา
“พี ไอ เอ็ม (PIM)”

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็ รปู แผนที่ประเทศไทยท่แี สดงพนื้ ท่ี
(PIM) เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ 1. วิทยาเขต แจ้งวัฒนะ
ในการจดั ตงั้ จากบรษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน) 2. วิทยาเขตอีอีซี จ.ชลบุรี
ในเครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ โดยไดร้ บั การรบั รองจาก 3. หนว่ ยการเรียนทางไกล
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวัตกรรม เพื่อใหป้ รญิ ญาในระดับปรญิ ญาตรี • จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซง่ึ จดั การเรยี นการ • จงั หวดั ชลบรุ ี
สอนทงั้ ภาคภาษาไทย ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ • จงั หวัดเชียงใหม่
ในฐานะทสี่ ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ป น็ • จังหวดั ขอนแกน่
มหาวิทยาลัยแหง่ องคก์ รธุรกิจ (Corporate • จังหวัดลำ� ปาง
University) ทม่ี กี ารเรยี นการสอนแบบ Work- • จงั หวัดนครราชสีมา
based Education จงึ แตกตา่ งดว้ ยความเป น็ • จังหวัดนครสวรรค์
เลศิ ทางวชิ าการ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรจู้ ากการ • จงั หวัดเพชรบุรี
ฝ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ กบั ธรุ กจิ เชน่ กลมุ่ ซพี ี ออลล์ • จงั หวัดสงขลา
เครอื ซพี ี และพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา • จงั หวัดสมทุ รปราการ
ไดร้ ับประสบการณ์ในการท�ำงานจนเกิดความ • จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
เชย่ี วชาญ ดงั นนั้ บณั ฑติ พไี อเอม็ จงึ เป น็ บคุ ลากร • จังหวดั อุดรธานี
คณุ ภาพผูม้ คี วามรูท้ างวชิ าการและมคี วามพรอ้ ม
ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมอื อาชพี 33
นกั ศกึ ษาของสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์
มีการเรียนหรือศึกษาตลอดท้ังหลักสูตรใน
สถานทต่ี า่ งๆ คอื

1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ถนนแจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี

2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วิทยาเขตอีอีซี อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี
(PIM-EEC)

3. หนว่ ยการเรยี นทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ท่ัวประเทศ

ตราสัญลกั ษณ์ ช่อมะกอก โล่ รบิ บิน้
สปี ระจำ� สถาบัน หมายถงึ ความมีชัยชนะเหนือสิง่ อ่นื ใด
มงกุฎ
หมายถงึ การศกึ ษาแสดงถงึ ความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู สดุ และยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความถงึ พรอ้ มดว้ ย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รุง่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบัน
มชี ่อื สถาบันภาษาองั กฤษ และตัวย่ออยูใ่ นโล่
ส่วนชอื่ สถาบนั ภาษาไทยอยูใ่ นริบบ้ิน

สีเขียว
หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความงอกงาม ความสมบรู ณ์
สีเหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและถงึ พรอ้ มด้วยคณุ ธรรม
สีประจำ� สถาบัน
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและความถงึ พร้อมด้วย
คณุ ธรรมเปน็ หนทางแหง่ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งในชีวติ

ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน

ดอกบวั มงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรยี บเสมอื นตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ� เรจ็ อันงดงาม

4

ปรชั ญา

"การศกึ ษาคือบอ่ เกดิ แหง่ ภูมิปัญญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิสยั ทศั น์

“สร้างมืออาชีพดว้ ยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พนั ธกจิ

“มหาวิทยาลัยแห่งองคก์ รธรุ กจิ (Corporate University)” ท่ีมพี นั ธกจิ ดงั น้ี
1. สร้างคนทมี่ ีคุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของภาคธุรกิจ สงั คมและประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้

จากประสบการณ์จรงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ

และทำ� นุบำ� รุงศิลปะวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ เสริมนวตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative

Organization & Good Governance)

เอกลกั ษณส์ ถาบนั

การเปน็ Corporate University บนพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1. การสอนโดยมืออาชีพ (Work-based Teaching) เป็นการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการเรียนรู้จากกรณี

ศกึ ษา จากผปู้ ฏิบัตงิ านจริงในองค์กร เพื่อเตรยี มความพร้อมทจ่ี ะฝึกปฏิบตั จิ ริง
2. การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Work-based Learning) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั

วางโปรแกรมครฝู ึก และมรี ะบบการติดตามประเมินอยา่ งเปน็ ระบบตามวชิ าชพี ของหลกั สูตร เพื่อท�ำให้มี
การบูรณาการระหวา่ งทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแทจ้ ริง
3. การวจิ ยั สนู่ วตั กรรม (Work-based Researching) เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั ของคณาจารยจ์ ากปญั หาวจิ ยั จรงิ ใน
องค์กรที่น�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติได้โดยตรง และน�ำองค์ความรู้ใหม่ๆ กลับมาสู่การเรียนการสอนใน
หอ้ งเรียน
4. มหาวทิ ยาลัยแหง่ การสรา้ งเครือข่าย (Networking University) เปน็ การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา ภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน
การเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั งิ าน และการวจิ ยั ส่นู วตั กรรม

5

อัตลักษณ์นกั ศึกษา PIM

“READY to WORK.”

เรยี นเปน็

1. มีความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. มคี วามรอบรูแ้ ละบรู ณาการในศาสตรส์ าขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. สามารถนำ� เคร่อื งมอื หรอื เทคโนโลยีมาใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการ
(ตามศาสตร์ของตวั เอง)
4. สามารถเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารและลือกใช้ขอ้ มูลความรตู้ า่ งได้อย่างเหมาะสม

คดิ เปน็

1. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) การคดิ วิพากษ์ (Critical thinking) การคิด
เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis thinking) การคดิ เชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)

2. กล้าคิดและสามารถผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้ก่อเกิดเป็นผลงานตามศาสตร์หรือผล
งานเชงิ นวัตกรรมตา่ งๆ ได้

3. มีแนวคดิ การบรหิ ารจดั การอย่างผ้ปู ระกอบการ

ทำ� งานเปน็

1. มีการทำ� งานข้ามสายงานและสามารถจงู ใจผู้อน่ื เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย
2. มีทักษะในการส่อื สารหลากภาษา ทัง้ การฟัง การอ่าน การเขียน การพูด การแปลความ การเลอื กช่องทาง

และเคร่อื งมือในการสอื่ สาร
3. มกี ารตัดสนิ ใจและรับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขึน้
4. สามารถสรา้ งความพอใจระหวา่ งสขุ ภาพ การเรยี น ชวี ติ ส่วนตัว ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลอ่นื

เนน้ วฒั นธรรม

1. สบื สานวัฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มขององคก์ รได้

รกั ความถกู ตอ้ ง

1. ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชีพหรอื จรรยาบรรณในการดำ� เนินธรุ กจิ
2. ยืนหยัดปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง
3. เคารพและชืน่ ชมตอ่ ความดงี ามของผอู้ ่นื

6

สถานท่เี รยี น

คณะ หลกั สตู ร ชื่อยอ่ วิทยาเขต หน่วย
หลกั สตู ร EEC การเรยี น
แจง้ วฒั นะ ทางไกล

จัดการเรียนการสอนในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป -
1) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
3) กลุ่มวชิ าภาษาจนี
4) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
5) กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี

การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ MTM -

การจดั การธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (ตอ่ เนอ่ื ง) CMTM -

การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ (ต่อเน่อื ง) CIMM --
ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอร์เน็ต

การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ DMTM - -
(ระบบการศึกษาทางไกล)

เทคโนโลยีดจิ ิทลั และสารสนเทศ DIT -

วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ CAI --

วศิ วกรรมอตุ สาหการและการผลติ อัจฉรยิ ะ IEM -

วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ AME --
RAE --
วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ BC --
BJ --
ภาษาจีนธรุ กจิ CEB --

ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกจิ RPM --

ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารทางธุรกจิ HROM --
การจัดการอสังหาริมทรัพยแ์ ละ
ทรพั ยส์ ินอาคาร AVI --
การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์คนและ HTM --
การจัดการองค์การ BM --
การจดั การธรุ กจิ การบนิ CB --
การจดั การการบริการและการท่องเท่ียว
การจดั การบณั ฑิต CJ --
วชิ าเอกการส่อื สารองคก์ รและแบรนด์
วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จ้นและ
ส่อื ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์

นวัตกรรมการจดั การเกษตร IAM --

7

สถานท่ีเรียน

คณะ หลักสตู ร ชอื่ ยอ่ วิทยาเขต หนว่ ย
หลักสตู ร แจง้ วฒั นะ EEC การเรยี น
การสอนภาษาจนี (4 ปี) ทางไกล
การสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)
TCL - -

ELT - -

การจดั การเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดการธรุ กิจอาหาร FBM -
การจัดการธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนื่อง) CFBM -
การจดั การธรุ กจิ ภตั ตาคาร RBM --

การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคมขนส่ง LTM --

การจดั การธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสตู ร iMTM --
นานาชาต)ิ

การจดั การธรุ กิจโรงแรมและอาหาร (หลักสูตร iHFM - -
นานาชาติ)

หลักสตู รระดบั ปริญญาโท

การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ MBA-MTM --

วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี MET --
(หลกั สูตรนานาชาต)ิ

การบริหารคนและกลยุทธ์องคก์ าร POS --

การส่ือสารเชงิ นวัตกรรมเพ่อื องคก์ รสมยั ใหม่ MCA --

สาขาวิชาธรุ กิจระหว่างประเทศ iMBA --
(หลกั สตู รนานาชาติ)
--
ภาวะผู้น�ำการบริหารและการจดั การ EML --
การศึกษา --
บริหารธุรกิจ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-MBA
การจัดการทางศลิ ปะ (หลักสูตรภาษาจีน) C-MA --
--
หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก

บริหารธุรกจิ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-PhD

การจัดการการศกึ ษา (หลกั สูตรภาษาจีน) C-PhD-Ed

8

เพลงสถาบนั

เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

เกิดมาเปน็ คน ต้องพรอ้ มจะอดทนทุกเร่ืองราว * มังคลอบุ ล ดั่งพวกเราทุกคน
ไม่วา่ จะดีจะร้ายซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองวา่ เป็นบทเรียน หนักเบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเขม้ แข็ง

ส่งิ ทีเ่ รียนคือความจ�ำ สง่ิ ท่ที ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบมนั่ คง
สงิ่ ทท่ี �ำได้ยากเยน็ นนั้ จะยง่ิ ใหญ่ หยดั ยืนทรนง...ซอ่ื ตรงและแข็งแกรง่

สง่ิ ท่ที ำ� โดยตัวเอง ยิง่ ทำ� จะยิ่งเข้าใจ P (Practicality)
แมน้ านเพียงใดก็ไม่ลืม I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเป็น เรยี นเปน็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเปน็ ธรรมในใจ
(ซ้ำ� *)
ส่ิงทถ่ี ูกรกั ษาไว้ ทผ่ี ดิ เราตอ้ งทิง้ ไป **ในโลกแห่งความจรงิ ตอ้ งเรยี นรูก้ นั จริงๆ
แลว้ เราจะกา้ วไป..ด้วยกนั ต้องออกไปหาความจรงิ ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ รงิ
ตอ้ งเหน่อื ยต้องท้อจรงิ ๆ ตอ้ งเจอผู้คนจรงิ ๆ
***สถาบันปญั ญาภวิ ัฒน์ สถาบนั แห่งปัญญา เรยี นจากคนร้คู วามจรงิ แล้วเราจะเปน็ คนจรงิ
เราจะคอยเป็นผ้สู อน เราจะคอยเปน็ เบา้ หลอม คนเก่งน้นั ยงั ไม่พอ เกง่ จรงิ ต้องจดั การได้

จะหลอ่ และก็หลอมใหท้ กุ คน แคก่ ลา้ กย็ ังไม่พอ กล้าจรงิ ต้องมวี ินัย
ใหพ้ รอ้ มกลายเป็นคนดี (ให้ทกุ คนเปน็ คนด)ี คนฉลาดนั้นยงั ไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไม่โกงใคร
เกิดมาเป็นคน ต้องมุง่ มน่ั ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผ่ี ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แข็งแรงกย็ ังไม่พอ เพราะว่าตอ้ งมีน้�ำใจ
***ธงสเี ขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรอื งรอง
(ซ�ำ้ *, **, ***) บนแผน่ ดนิ สที อง น่คี ือบ้านของเรา
เราก็เหมอื นอิฐคนละก้อนวางซ้อนเรยี งกันจึงแนน่ หนา

กอ่ ดว้ ยความรกั ในปญั ญา
ฉาบด้วยศรทั ธา..ในสถาบัน..ของเรา

(ซำ้� *, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

9

รู้จกั
“ส�ำนกั การศกึ ษาท่ัวไป”

ปรชั ญาสำ� นกั การศึกษาทวั่ ไป
วชิ าศกึ ษาท่ัวไปสรา้ งความเปน็ มนษุ ย์ทม่ี คี ณุ ภาพในสังคมโลก มีทกั ษะการส่ือสาร
ภาษา ก้าวหน้าเทคโนโลยี มีกระบวนการคดิ และมจี ติ สาธารณะ

วสิ ัยทัศน์

“สร้างบัณฑิตมอื อาชพี ด้วยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันธกจิ
1. สร้างคนท่ีมีคุณภาพและตรงกับความต้องการของภาคธุรกิจ สังคม และ

ประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work-based
Education)
2. ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมนวัตกรรม
(Collaborative Networking)
4. พฒั นาองค์กรทพี่ ร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีดี
(Transformative Organization & Good Governance)

สัญลกั ษณ์และสีประจำ� ส�ำนัก

ต้นปัญญพฤกษ์

หรอื ต้นไม้แห่งปญั ญา
ทแ่ี ผ่รม่ เงาทางการศึกษา
เปรียบเสมือนการเรยี นรู้ตลอดชีวติ

สีประจำ� คณะ สนี �้ำตาลทอง

10

บทบาทหนา้ ที่

ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไปมโี ครงสร้างการทำ� งานประกอบดว้ ย 5 กลุม่ วชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื

1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กล่มุ วชิ าภาษาองั กฤษ 5. กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3. กลมุ่ วชิ าภาษาจนี 6. ศูนย์พฒั นาทกั ษะและภาษา

โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการ
ปัญญาภวิ ัฒน์ และจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาให้เป็นไปตามอตั ลกั ษณ์บัณฑติ ของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ท่ีต้องการ
ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตและสงั คม โดยตลอดปีการศึกษาได้จัดกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาตามกลมุ่ วิชา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรอื CLSD) เปน็ หนว่ ยงาน
ภายใต้ส�ำนักการศึกษาทัว่ ไปทม่ี ีหนา้ ท่เี สรมิ ทักษะ ประเมินทักษะ และออกใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี �ำเป็นตอ่ การท�ำงาน
ของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ
ท้ัง 4 ช้ันปี โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
(Application Program) ช่อื “PIM SMART PASSPORT” ท่ีเปน็ ฐานข้อมูลของนกั ศึกษาส�ำหรบั น�ำไปใช้ประกอบ
การตดั สนิ ใจเลือกพนักงานเข้าทำ� งานของสถานประกอบการต่างๆ

แผนพัฒนาทักษะและภาษา

สำนักการศึกษาทวั่ ไป

ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทักษะช้ันปที่ 1
ทักษะดจิ ทิ ัล (ระบุผลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทกั ษะช้นั ปท ่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบุคะแนนแตละทักษะ) ป 4
e-Leaming score พัฒนาตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทุกที่ ทกุ เวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ตวิ เชม ชน้ั ปท ี่ 3
เพอ่ื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตล ะทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพอ่ื การใชช วี ิต วัดความพรอ มภาษา
รพู ฒั นาการดานดจิ ติ อล
ผลการฝกทกั ษะชั้นปท ี่ 4 ระบุจุดเดนเเละจดุ ท่ี
(ระบุผลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช ีวิต
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบุระดับทักษะ ตลอด 4 ปก ารศึกษา เพือ่ พฒั นา
ทุกทกั ษะ ใหคุณเปนคนที่ “ใช” สำหรับทกุ องคกร

เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป

ป 1 ป 2 ป 2 ป 4

สะทอนศักยภาพและความสามารถ

11

ส�ำนักการศึกษาทั่วไปมีการจัดท�ำชุดฝึกฝน
ทักษะการใช้งานโปรแกรมส�ำนักงาน ผ่านโปรแกรม
ประยุกต์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อให้
นักศึกษาได้ฝึกฝนการใช้เคร่ืองมือในการจัดท�ำเอกสาร
สำ� นกั งาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ งมอื อาชพี ทตี่ อบ
สนองการเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา

12

โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills

โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เปน็ การด�ำเนินงานในรปู แบบกิจกรรมเพ่ือพฒั นาทกั ษะและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส�ำหรับนักศึกษา ภายใต้ส�ำนักการศึกษาท่ัวไป เร่ิมด�ำเนินการจัดกิจกรรมต้ังแต่ปีการ
ศึกษา 2563 ภายใตค้ ติพจนป์ ระจ�ำโครงการคือ “ ไม่มกี ารลงทุนใด จะได้ผลตอบแทนเทา่ กับการลงทนุ เรียนร้”ู
วตั ถุประสงคห์ ลักของโครงการ เพอื่ เสริมสรา้ งการเรียนรู้ และพฒั นาทักษะชวี ิตให้แกน่ ักศึกษา มุง่ เน้นให้
นกั ศึกษามี Essential Skills ต่อยอดศักยภาพที่มีในตัวตนและพฒั นาใหเ้ กิดทกั ษะใหม่พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มกี ารวางเปา้ หมายไวอ้ ย่างชดั เจน คือ การพฒั นาตน พัฒนาคน และน�ำไปสู่การพฒั นา
สังคมต่อไป

โครงสร้างกจิ กรรม
กจิ กรรม PIM 3L จดั แบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่ ดังนี้
1. ความชอบและไลฟส์ ไตล์ อาทิ กจิ กรรมปตั ตาเลย่ี นตวั เดยี ว..กเ็ ฟย้ี วได้ กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครวั ..รวั้ หลงั หอ้ ง กจิ กรรม

ท�ำอาหารเพอ่ื สขุ ภาพ และกิจกรรมแต่งหนา้ สวยด้วยแรงบนั ดาลใจ เป็นต้น
2. ทักษะอย่างมืออาชีพ อาทิ กิจกรรมพูดอย่างโปร..พูดให้เป็น กิจกรรมขายของออนไลน์..ง่ายนิดเดียว กิจกรรม

Innovative Video Creator กจิ กรรมการน�ำเสนอและการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ เปน็ ต้น
3. คณุ ค่าในตัวตนและสังคม อาทิ กจิ กรรมรกั อย่างไร..ปลอดภัยในวยั เรา กิจกรรมเขา้ สงั คม..ใครว่ายาก กิจกรรม

สร้างแรงบันดาลใจใหต้ ัวเรา เปน็ ต้น
การเรยี นรไู้ มม่ วี นั หยดุ นงิ่ หากเราตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไปใหท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 การเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม PIM 3L เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ส�ำหรับนักศึกษาสถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

ภาพตวั อย่างโปสเตอรป์ ระชาสัมพนั ธ์กิจกรรม

13

เปา้ หมายการเรยี นรู้ผ่านโปรแกรม นอกจากนี้ส�ำนักการศึกษา
ส่งเสริมการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ ทั่วไปมีการน�ำโปรแกรมประยุกต์ด้าน
Common European Framework of Reference การสอื่ สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบ
for Languages : CEFR กบั การจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์
การประเมินตามกรอบความเชี่ยวชาญ
ภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดบั B2 เป็นอยา่ งน้อย

ID64 (ปที ่ี 3)

ID64 (ปที ่ี 2)

ID64 (ปที ่ี 1)

ID64 (ปที ี่ 3)

แผนส�ำหรับนักศึกษารหสั 64 (ตอ่ Block)

ศึกษาวธิ ีการใชง าน สอบวดั ระดับความรู ทำแบบฝกหดั สอบวดั ผลคร้ังท่ี 1 สอบวัดผลคร้ังที่ 2
(Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นกั ศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู น้ั ปที่ 1

สอบวัดระดบั ความรู ทำแบบฝกหดั สอบวัดผลครั้งท่ี 1 สอบวดั ผลคร้งั ท่ี 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศกึ ษารหสั 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู ัน้ ปท ี่ 2 และ 3

14

รู้จักคณะเรา
“นเิ ทศศาสตร”์

ปรชั ญาคณะนเิ ทศศาสตร์
คณะนเิ ทศศาสตร์ สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ มงุ่ มน่ั ผลติ นกั นเิ ทศศาสตร์
ในยคุ วถิ ใี หม่ ทตี่ อ้ งประกอบไปดว้ ยความรู้ความคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ และทกั ษะการสอ่ื สาร
เพอ่ื การพฒั นาเนอ้ื หาทหี่ ลากรปู แบบและหลากหลายแพลตฟอรม์ ออกแบบการสอ่ื สาร
เปน็ เอกลกั ษณผ์ า่ นประสบการณจ์ รงิ องิ ทฤษฎอี งคค์ วามรู้ ชธู รรมาภบิ าล เพอื่ สรา้ งการ
เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรม ประสานสรา้ งพลงั ขบั เคลอื่ นสงั คมไทยในทกุ มติ ิ ใหพ้ รอ้ มรบั กบั
การผนั แปรและปรบั เปลยี่ นในบรบิ ทดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยใี หม่

ปณธิ าน
มงุ่ มนั่ ผลติ นกั นเิ ทศศาสตรท์ ตี่ อบโจทยต์ ลาดแรงงานจรงิ โดยใหค้ วามสำ� คญั
กบั การเปน็ นกั นเิ ทศศาสตรท์ ม่ี จี รยิ ธรรม คณุ ธรรม และมจี ติ สำ� นกึ สาธารณะ เพอื่ เตมิ
เต็มการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ท่ีมีรากฐานสืบเนื่องจากการต่อยอดอุตสาหกรรม
ปจั จุบนั โดยมุ่งเนน้ ศาสตรท์ างด้านการสอื่ สาร ได้แก่ ดิจิทลั คอนเทนต์ (Digital
Content) การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของผบู้ รโิ ภค (Consumer Insights Analytic) และ
สอ่ื สรา้ งสรรคแ์ ละแอนเิ มชนั่ (Creative Media and Animation) ผา่ นกระบวนการ
เรยี นรดู้ ว้ ยประสบการณจ์ ากการปฏบิ ตั งิ านจรงิ (Work-based Learning)

วสิ ัยทัศน์
คณะนเิ ทศศาสตร์ สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ มงุ่ มน่ั ทจี่ ะสรา้ งและพฒั นา
คณุ ภาพการศกึ ษา ดา้ นนเิ ทศศาสตรใ์ หเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั อยา่ งกวา้ งขวาง จงึ กำ� หนดวสิ ยั
ทศั นว์ า่ ภายในระยะเวลา 5 ปี จะเปน็ เครอื ขา่ ยแหง่ การถา่ ยทอดความรแู้ ละเสรมิ สรา้ ง
ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สารองคก์ รและแบรนด์ วารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จน้ ท์ และการสอ่ื สาร
เชงิ นวตั กรรมเพอื่ องคก์ รสมยั ใหม่ รวมทง้ั การผลติ บณั ฑติ และมหาบณั ฑติ ทม่ี มี าตรฐาน
ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ

15

พนั ธกจิ
1. ผลติ บณั ฑติ ทมี่ คี วามรดู้ า้ นนเิ ทศศาสตรท์ ค่ี รบเครอ่ื ง ทงั้ ความรใู้ นการวางแผน

การบรหิ ารจดั การความเขา้ ใจในธรุ กจิ และกระบวนการสอ่ื สาร ความสามารถ
ในการคิด วิเคราะห์ และมีความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือน�ำไปประยุกต์ใช้ในงาน
วชิ าชพี นเิ ทศศาสตรบ์ นพืน้ ฐานคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ
2. ผลิตบัณฑิตที่มีทักษะรอบด้านให้มีศักยภาพในการท�ำงานที่ตอบสนองตาม
ความตอ้ งการของวชิ าชพี ได้ โดยมที กั ษะหลากหลาย (Multi-skilled) สามารถ
ประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรเู้ พอื่ การสอื่ สารหลากชอ่ งทาง (Multi-platforms) และ
สรา้ งสรรคเ์ นอ้ื หาทหี่ ลากหลาย (Multi-contents) เพอื่ ตอบโจทยก์ ารพฒั นา
องค์กรและสังคมอยา่ งยั่งยนื
3. ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพ พรอ้ มทำ� งานไดท้ นั ที ดว้ ยกระบวนการเรยี นรจู้ ากผทู้ รง
คณุ วฒุ ดิ า้ นนเิ ทศศาสตร์ รว่ มกบั นกั วชิ าชพี ทมี่ ชี อื่ เสยี งระดบั ประเทศ ผา่ นการ
เรียนรู้ในช้ันเรียน กระบวนการท�ำโครงงาน กิจกรรม และการเรียนรู้จาก
ประสบการณฝ์ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ (Work-based Learning) ณ สถานประกอบ
การ

16

สญั ลักษณแ์ ละสีประจำ� ส�ำนัก

นกพริ าบ

สัญลกั ษณ์ของความสงบและการสือ่ สาร

สปี ระจำ� คณะ สนี ำ�้ เงิน ช่อมะกอก

สัญลักษณ์แห่งการขอให้ยกโทษหรือการ
ยอมให้ เปรียบเหมือนนักส่ือสารท่ีมีความ
เป็นอิสระ เท่ียงตรง เป็นกลาง ต้ังมั่นใน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามเปน็ เลศิ ใน
ก า ร ส่ื อ ส า ร ท ่ า ม ก ล า ง ก ร ะ แ ส ค ว า ม
เปลี่ยนแปลงของโลก
วางอยู่ในรูปทรงเรขาคณติ 5 เหล่ียม อัน
ส่ือถึงคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ 5
ประการ ไดแ้ ก่ เรียนเป็น คดิ เป็น ทำ� งาน
เปน็ เน้นวฒั นธรรม และรกั ความถูกตอ้ ง

สนี ำ้� เงิน (Royal Blue)

แทน “สีน�้ำหมึก” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ
“การสอ่ื สาร”

หลักสูตร / สาขาวิชาที่เปดิ สอน

หลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรี

1. หลักสูตรนเิ ทศศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเอกการสอ่ื สารองคก์ รและแบรนด์
(Corporate and Brand Communication)

2. หลกั สตู รนิเทศศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเอกวารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์และ
สือ่ ดจิ ิทัลสรา้ งสรรค์ (Convergent Journalism and Creative Digital
Media)

หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาโท

1. หลกั สูตรนิเทศศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการสอ่ื สารเชิงนวตั กรรมเพ่อื องค์กร
สมัยใหม่ (Innovative Communication for Modern Organization)

ตดิ ตอ่ คณะ
ช้ัน 9 อาคาร 4 หรอื อาคาร CP ALL Academy
โทรศพั ท์ 0 2855 0966

17

การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู คณะ
1. เวบ็ ไซต์คณะนเิ ทศศาสตร์: https://ca.pim.ac.th/

18

หลักสตู รนิเทศศาสตรบณั ฑิต

Bachelor of Communication
Arts Program

ชอื่ ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชอ่ื เตม็ ) : นเิ ทศศาสตรบณั ฑติ
(อกั ษรย่อ) : นศ.บ.
ภาษาองั กฤษ (ชือ่ เตม็ ) : Bachelor of Communication Arts
(อกั ษรย่อ) : B. Comm. Arts

หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวตั กรรม (สป.อว.) รับทราบหลกั สตู รเมอื่ XXXX

จุดเดน่ ของสาขาวิชา / หลักสตู ร

คณะนเิ ทศศาสตร์ เปน็ คณะวชิ าลำ� ดบั ท่ี 4 ของสถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ ทมี่ งุ่ มน่ั ในการจดั การเรยี น
การสอนดา้ นนเิ ทศศาสตรแ์ บบเรยี นรคู้ วบคกู่ ารฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการจรงิ (Work-based Learning)
เปน็ แห่งแรก

จากสถานการณ์การพัฒนาทางเศรษฐกิจและทางสังคมและวัฒนธรรม ท�ำให้ทิศทางของหลักสูตร
นิเทศศาสตร์มีการปรับปรุงเพ่ือเติมเต็มการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่มีรากฐานสืบเน่ืองจากการต่อยอด
อตุ สาหกรรมปัจจบุ ัน โดยมุ่งเน้นศาสตรท์ างด้านการสื่อสาร ได้แก่ ดิจิทลั คอนเทนต์ (Digital Content) การ
วเิ คราะหข์ อ้ มูลของผ้บู ริโภค (Consumer Insights Analytic) และสือ่ สร้างสรรคแ์ ละแอนเิ มชั่น (Creative
Media and Animation) รวมถงึ การพัฒนาให้บัณฑิตมที ักษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศ และมกี ารรเู้ ท่าทนั
สอ่ื สารสนเทศ และดิจทิ ัล ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ทกั ษะอาชีพและการ
เรยี นรู้ (Career & Learning Self-reliance) รวมถงึ ความมีคณุ ธรรมและจริยธรรม (Compassion) ซ่งึ เปน็
ส่วนหนึ่งในคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ในศตวรรษท่ี 21 กอปรกับวิธีการและรูปแบบการน�ำเสนอ
ข่าวสารผ่านส่ือดิจิทัลที่ท�ำให้การน�ำเสนอข่าวมีความเปล่ียนแปลงไป การมุ่งเน้นการเรียนการสอนทางด้าน
คุณธรรมจรยิ ธรรม จงึ เป็นสง่ิ ส�ำคญั ยง่ิ

สำ� หรบั การเรยี นการสอนของคณะนเิ ทศศาสตรท์ ด่ี ำ� เนนิ การในสถาบนั การศกึ ษาปจั จบุ นั เนน้ การศกึ ษาใน
ระบบการเรยี นทฤษฎแี ละฝกึ ปฏบิ ตั จิ ากในรปู แบบหอ้ งเรยี น (Lecture class and laboratory) เปน็ หลกั เปน็
ผลใหน้ ักศกึ ษาส่วนใหญ่ขาดประสบการณก์ ารเรียนรู้จากสถานประกอบการจริง และขาดทักษะความช�ำนาญ
ในอาชีพ ดังนนั้ คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ มีจุดมงุ่ หมายชัดเจนในการผลติ บณั ฑิตใน
แนวทางใหม่ ดว้ ยกระบวนการเรยี นรจู้ ากคณาจารยผ์ ทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นนเิ ทศศาสตรร์ ว่ มกบั นกั วชิ าชพี ทมี่ ชี อ่ื เสยี ง
ระดบั ประเทศ ผา่ นกระบวนการวจิ ยั การใชก้ รณศี กึ ษาและการทำ� โครงงาน (Project-based Learning) ตลอด
จนการเรยี นรู้ด้วยประสบการณ์จากการปฏิบตั ิงานจริง (Work-based Learning) ณ สถานประกอบการ

19

ทงั้ หมดนท้ี ำ� ใหม้ น่ั ใจไดว้ า่ บณั ฑติ ทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นจ์ ะเปน็ ผมู้ คี วาม
รู้ความสามารถทางด้านนิเทศศาสตร์ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการวางแผน การบริหาร
จัดการการสื่อสาร มีความทนั สมยั มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซึง้ ท้ังด้านวชิ าการวชิ าชีพ สามารถคดิ
วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มลู ขา่ วสารเพอื่ นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานวชิ าชพี นเิ ทศศาสตรเ์ ชงิ สรา้ งสรรคไ์ ดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมและมคี ณุ ค่า มีคณุ ธรรมจริยธรรม สามารถบรู ณาการองค์ความรทู้ ง้ั ในสว่ นของสาขานิเทศศาสตร์
และในสาขาทเ่ี กี่ยวข้องไดอ้ ย่างลงตัว มคี วามพร้อมทำ� งานไดจ้ รงิ
1. วิชาเอกการส่ือสารองค์กรและแบรนด์ (Corporate and Brand Communication)

ม่งุ ผลิตบณั ฑติ ให้มคี ุณลักษณะเด่นในด้านการสอ่ื สารเชิงกลยุทธ์ การวางแผนการใช้สื่อ การผลิตสอื่ ได้
อย่างสร้างสรรค์ มีความเข้าใจในบริบททางธุรกิจ และสามารถใช้วิธีทางการส่ือสารในการแก้ปัญหาให้กับ
ธุรกิจได้โดยอยบู่ นพ้นื ฐานของความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ต้องเปน็ ผูท้ มี่ คี วามร้คู วามเขา้ ใจในสายงานสอ่ื สาร
องค์กรและส่ือสารแบรนด์ควบคู่กัน เน้นทักษะการสื่อสารและการบริหารจัดการการส่ือสารท้ังภายในและ
ภายนอกองค์กรธุรกิจ สามารถมองทิศทางของธุรกิจ วางแผนกลยุทธ์การส่ือสารที่เหมาะสมสอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งเข้าใจในความต้องการของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร ความรับผิดชอบต่อ
สังคมขององค์กร เพอ่ื ให้องคก์ รและแบรนด์อยใู่ นตลาดได้อย่างยัง่ ยืน
2. วชิ าเอกวารสารศาสตร์คอนเวอรเ์ จน้ ทแ์ ละส่ือดิจิทัลสรา้ งสรรค์

(Convergent Journalism and Creative digital media)
มงุ่ ผลติ บณั ฑติ ในสายงานเปน็ ผผู้ ลติ เนอื้ หาเพอ่ื การสอ่ื สารทกุ รปู แบบ และทกุ ชอ่ งทางการสอื่ สาร สามารถ
ท�ำงานในสภาพแวดล้อมท่มี กี ารผสานทักษะ (Multi-skills) ทง้ั การเลา่ เรอ่ื ง การบรหิ ารจดั การ เนอ้ื หา การ
ส่อื สารผ่านชอ่ งทางสอื่ ทีห่ ลากหลายพรอ้ มๆ กัน (Multi-platforms) ทง้ั ส่อื สิ่งพิมพ์ วิทยกุ ระจายเสยี ง วิทยุ
โทรทัศน์ ส่ือออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ และการเป็นผู้ประกอบการสื่อ เข้าใจและ
ประยกุ ต์ใช้หลากเทคโนโลยี (Multi-technology) และสรา้ งสรรคเ์ นือ้ หาไดห้ ลากหลาย (Multi-contents)
การท�ำงานวารสารศาสตรด์ ้านข่าวยุคดิจิทลั เพ่อื ขับเคลอ่ื นประเด็นสงั คมมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและความรับ
ผดิ ชอบตอ่ สังคม

20

ผลลพั ธก์ ารเรียนรูข้ องหลกั สตู ร

• ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป
1. ปฏบิ ัติหน้าท่ดี ้วยคณุ ธรรม จริยธรรม มจี ิตสาธารณะ
1. แสดงออกถงึ ความมีวินยั และตรงต่อเวลา มคี วามซ่ือสตั ย์ สุจริต และมจี รรยาบรรณทาง
วชิ าการและวิชาชพี
2. ปฏิบัติหนา้ ทด่ี ว้ ยความซือ่ สตั ย์สจุ รติ มคี ุณธรรม
จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ 2. มวี ินยั ตรงตอ่ เวลา ปฏบิ ัตติ ามระเบียบและกฎเกณฑ์
ขององคก์ รและสงั คมดว้ ยความรบั ผิดชอบ
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบทัง้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและการ
ประกอบอาชีพ 3. ใช้ความร้ทู างนเิ ทศศาสตร์ชนี้ ำ� สังคมในประเด็นที่
เหมาะสม และเปน็ ผูร้ ิเร่มิ แสดงประเดน็ ในการแกไ้ ข
4. แสดงออกซึง่ ประเพณีและวฒั นธรรมไทย สถานการณท์ ั้งส่วนตัวและสว่ นรวม พร้อมทง้ั แสดง
5. ปฏิบัตติ ามระเบยี บและกฎเกณฑข์ ององค์กรและ จุดยืนอยา่ งพอเหมาะท้งั ของตนเองและของกล่มุ

สังคม

• ดา้ นความรู้

หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. สามารถอธบิ าย ใชท้ ฤษฎี หลกั การพ้ืนฐาน ท่ีเรยี นรู้ 1. กระตอื รอื รน้ ในการใฝห่ าความรู้ดา้ นนเิ ทศศาสตร์
และนำ� ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันและศาสตร ์ และศาสตรท์ ่เี กีย่ วข้อง
ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
2. อธิบายหลักการและทฤษฎีดา้ นนิเทศศาสตร์ และ
2. สามารถอธิบาย ใชท้ ฤษฎี หลกั การของศาสตร ์ ศาสตรอ์ ่ืนที่เก่ยี วข้อง และสามารถน�ำไปประยกุ ตใ์ ช้
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และสามารถน�ำมาประยุกต์หรอื เป็น แกไ้ ขปัญหาในการปฏิบัตงิ านจริงได้
พ้นื ฐานในการเรียนและการทำ� งาน
3. ตดิ ตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และความร้ใู น
3. สามารถวเิ คราะห์และเลือกใช้ความรู้ในศาสตรท์ ่ี แนวกว้างของสาขาวิชาทีศ่ กึ ษาเพื่อใหเ้ ลง็ เหน็ การ
เรยี น เพอื่ การวางแผน การเรียนและการท�ำงาน เปลยี่ นแปลงและเขา้ ใจผลกระทบของเทคโนโลยี
ใหม่ๆ

21

• ด้านทักษะทางปัญญา

หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์โดยใช้ 1. คดิ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ และเช่ือมโยงความรอู้ ย่างเป็น
ศาสตรท์ เ่ี รยี น เพื่อใช้ในการวางแผนการท�ำงาน องค์รวม อยา่ งเป็นระบบ
และปฏิบัตงิ านจรงิ
2. สืบค้น รวบรวม ศึกษา วเิ คราะห์ และสรปุ ประเดน็
2. สามารถจดั ระบบและสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ โดยนำ� ปญั ญา เพ่ือใช้ในการแก้ไขปญั หาอย่างสร้างสรรค์
ศาสตร์ท่ีเรียนมาเชื่อมโยง ต่อยอดความรู้ และ
พฒั นาทกั ษะการปฏบิ ัติงาน 3. รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดกรอบความร้เู ดมิ บรู ณาการ
ความรูใ้ นสาขาวชิ าทีศ่ กึ ษาและประสบการณเ์ พือ่
3. มคี วามกระตือรือร้นในการใฝห่ าความรู้ ในศาสตร ์ ใหเ้ กดิ นวัตกรรมดา้ นนเิ ทศศาสตร์
ท่เี รยี นและศาสตร์ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

• ดา้ นทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ

หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปฏบิ ตั ติ ามกฏระเบยี บ ปรบั ตวั เข้ากบั 1. มมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ่ีดีกบั ผู้รว่ มงานในองคก์ รและบคุ คล
สถานการณแ์ ละวัฒนธรรมองคก์ ร ทว่ั ไป สามารถท�ำงานกับผูอ้ นื่ ได้เป็นอยา่ งดี มีภาวะ
ผู้น�ำ ปรับตวั เข้ากบั สถานการณแ์ ละวฒั นธรรม
2. ภาวะผู้นำ� และท�ำงานร่วมกับผู้อนื่ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี องค์กร
3. พัฒนาตนเองตอ่ หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบและงานที่ได้
2. มีความรับผิดชอบทัง้ ต่อตนเอง สังคมและการ
รบั มอบหมาย ประกอบอาชีพ
4. จัดสรรเวลาการทำ� งาน การดแู ลสุขภาพชีวติ สว่ นตัว
3. รับรู้ ยอมรับ เขา้ รว่ ม หรือจดั กิจกรรมด้านศลิ ป
และการสร้างความสมั พนั ธก์ ับผรู้ ่วมงาน ในองคก์ ร วัฒนธรรม และมารยาทไทย
และบคุ คลทั่วไป

• ด้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถใช้ความรทู้ างคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ใิ นการ 1. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ เก็บรวบรวม
วิเคราะห์ และนำ� เสนอข้อมลู ในการเรยี นและการ วเิ คราะห์ และน�ำเสนอขอ้ มลู
ทำ� งาน
2. ใช้ความรทู้ างคณิตศาสตร์และสถิตใิ นการวิเคราะห์
2. สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธิบายหลกั การและ และนำ� เสนอ
สถานการณ์ รวมถงึ การสอ่ื สารความหมายได้อยา่ ง
ถกู ต้องและตรงประเด็น 3. ใช้ภาษาไทยถกู ต้องตามหลักภาษา และสื่อสารได้
อย่างมปี ระสิทธิภาพ
3. สามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอ่ื การตดิ ตอ่ ส่อื สาร
อยา่ งนอ้ ยหนึง่ ภาษา 4. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา และ
สอื่ สารอยา่ งมีประสิทธิภาพได้อยา่ งนอ้ ยหนึ่งภาษา
4. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการสบื ค้น
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะห์ นำ� เสนอผลงาน
และการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน

22

แนวทางการประกอบอาชพี
1. นักสอ่ื สารองคก์ ร/นักประชาสัมพนั ธ์
2. นักส่อื สารแบรนด/์ นักสร้างสรรค์และพัฒนาแบรนด์/ผ้จู ัดการแบรนด์
3. นกั วางแผนการสื่อสารเชงิ กลยทุ ธ์
4. นักสือ่ สารการตลาด
5. นกั บริหารความสมั พนั ธ/์ ผูเ้ ชย่ี วชาญดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
6. นักสรา้ งสรรคเ์ น้อื หา (Content Creator) ทุกชอ่ งทางส่ือ
7. นักพฒั นาสอ่ื สร้างสรรค์ ผู้ผลติ เน้ือหา (เบอ้ื งหน้า-เบื้องหลงั )
8. ผู้สอื่ ขา่ ว-ส่อื สารมวลชนทกุ แพลตฟอร์ม
9. นกั สรา้ งสรรคแ์ ละบริหารจดั การเนือ้ หาบนสื่อดจิ ิทัล (บรหิ ารจัดการเนอ้ื หา

สรา้ งคอนเทนต์ การตลาดดจิ ทิ ัล บริหารจดั การชมุ ชนออนไลน์)
10. ผู้ประกอบการดา้ นสอื่

รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 272,200 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ที่สถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศึกษา ดังนี้

ภาคการศกึ ษาที่ คา่ เล่าเรียนส�ำหรบั นกั ศกึ ษา ค่าเล่าเรยี นส�ำหรับนกั ศึกษา
ท่เี ข้าเรยี นในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ที่เขา้ เรยี นในภาคปกติ
คร้งั ท่ี 1
คร้ังท่ี 2 – 7 18,600 36,200
คร้ังที่ 8 36,200 36,200
36,200 18,600

2. อัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา ไมร่ วมค่าใช้จา่ ย ดังตอ่ ไปน้ี
- ค่าหนงั สอื เอกสารประกอบวชิ าเรยี น
- คา่ ชุดปฏิบตั ิการ วัตถุดบิ และอุปกรณอ์ ื่นๆ ท่ีเกยี่ วข้อง
- คา่ รายวิชาปรบั พน้ื ฐาน
- ค่าธรรมเนียมอ่ืนๆ และค่าเบ็ดเตล็ดนอกเหนอื อตั ราคา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา

23

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทน่ี กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

24

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

1. วิชาเอกการสอ่ื สารองคก์ รและแบรนด์ (Corporate and Brand Communication)

ปีการศกึ ษาท่ี 1

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกติ รหัสวชิ า รายวิชา หน่วยกิต

10xxxxx หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั PIM 1 3 10xxxxx กลุ่มภาษาเพื่อการสื่อสาร 2 3
10xxxxx กลมุ่ ภาษาเพือ่ การสอ่ื สาร 1 3 1701151
การเรียนรู้ภาคปฏบิ ตั ดิ า้ น 3
1701101 นเิ ทศศาสตร์ 1
1712101
หลักและทฤษฏีนิเทศศาสตร์ 3 1701103 การเขียนเพอ่ื งานนเิ ทศศาสตร์ 3
10xxxxx ความรพู้ ้นื ฐานการส่ือสารองคก์ ร 3 10xxxxx
และแบรนด์ หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบัน PIM 3
1701104 กลมุ่ ชีวติ และสงั คมแห่งความสขุ 3 1701102 2

1701107 พ้นื ฐานทางธุรกิจและการตลาด 3
ดจิ ิทลั ส�ำหรับนิเทศศาสตร์

การรู้เทา่ ทนั ส่อื สารสนเทศและ 3 1712102 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร 3
ดจิ ิทัล เชิงสร้างสรรค์

ความรับผดิ ชอบทางกฎหมาย 3 1701105 การถา่ ยภาพและการตกแตง่ 3
และจรยิ ธรรมทางการส่ือสาร ภาพนิง่

รวม 21 รวม 21

ปกี ารศึกษาที่ 2

รหสั วชิ า ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต

1701252 รายวิชา 3 1701253 รายวิชา 3

1712204 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัตดิ ้าน 3 1701106 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติด้าน 3
นิเทศศาสตร์ 2 นิเทศศาสตร์ 3
1713xxx การเขยี นเพอื่ การสอ่ื สารองค์กร 3 1712203 นิเทศศลิ ป์และคอมพิวเตอร์ 3
และแบรนด์ กราฟกิ
1713xxx กลุ่มวชิ าเอกเลอื ก 1 การวเิ คราะหก์ ารตลาดและ 3
1703xxx การเขา้ ใจผู้บริโภคเชิงลกึ 2
กลมุ่ วชิ าเอกเลอื ก 2 3 1713xxx กล่มุ วิชาเอกเลอื ก 3
10xxxxx กลุม่ วชิ าเลือกท่ัวไป 1 3 10xxxxx หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 3
1701208 4 3
หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั PIM 3 3 1713xxx กลุ่มวชิ าเอกเลอื ก4
หมวดวชิ าเลือกเสร ี 1
ศลิ ปะการถา่ ยท�ำและตัดตอ่ 3 xxxxxxx
ภาพเคลื่อนไหว

รวม 21 รวม 20

25

ปกี ารศึกษาที่ 3

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกิต

1701354 การเรียนรูภ้ าคปฏบิ ัติด้าน 3 1701310 ความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่อื งาน 3
นเิ ทศศาสตร์ 4 นิเทศศาสตร์
1701309 การวิจยั เพื่องานนเิ ทศศาสตร์ 3 1713xxx
1712307 การจดั การความสมั พันธ์กับผ้มู สี ่วน 3 1712308 กลมุ่ วชิ าเอกเลอื ก 6 3
ไดส้ ่วนเสีย
1712305 การบริหารการสอ่ื สารใน 3
สถานการณ์ความเสย่ี งและภาวะ
1713xxx วิกฤต
xxxxxxx
การส่ือสารการตลาดดจิ ทิ ลั 3 1712306 การผลติ วิดีโอเพ่อื งานสื่อสาร 3
องค์กรและแบรนด์

กลุม่ วิชาเอกเลือก 5 3 1703xxx กลุ่มวิชาเลอื กทว่ั ไป 2 3
หมวดวิชาเลอื กเสรี 2 3 10xxxxx
หมวดอัตลกั ษณข์ องสถาบัน PIM 2
5

10xxxxx หมวดอตั ลกั ษณ์ของสถาบนั PIM 2
6

รวม 18 รวม 19

ปีการศกึ ษาที่ 4

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกติ รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต

1701455 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัตดิ ้าน 3 1701456 การเรยี นรูภ้ าคปฏิบัตดิ ้าน 3
นิเทศศาสตร์ 5 นเิ ทศศาสตร์ 6
10xxxxx โครงงานนวัตกรรมนิเทศศาสตร์ 3
1713xxx หมวดอัตลกั ษณ์ของสถาบนั PIM 7 3 1701457 กลุม่ การจัดการและนวัตกรรม 3
9
กลมุ่ วชิ าเอกเลือก 7 3 10xxxxx รวม

รวม 9

26

2. วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอร์เจ้นทแ์ ละส่อื ดจิ ทิ ลั สรา้ งสรรค์
(Convergent Journalism and Creative digital media)

ปกี ารศึกษาท่ี 1

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกติ

10XXXXX หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบนั PIM 1 3 1701104 การรูเ้ ท่าทนั สอ่ื สารสนเทศ 3
และดจิ ิทัล
10XXXXX
หมวดอตั ลักษณข์ องสถาบัน PIM 2 3 1701208 ศลิ ปะการถ่ายทำ� และตัดตอ่ 3
1701101 ภาพเคลือ่ นไหว

1701106 หลักและทฤษฎนี ิเทศศาสตร์ 3 1722102 ความร้พู นื้ ฐานการเล่าเร่อื งและ 3
1722101 สื่อดิจิทลั สรา้ งสรรค์

1701105 นิเทศศิลปแ์ ละคอมพิวเตอรก์ ราฟิก 3 1701103 การเขียนเพื่องานนิเทศศาสตร์ 3

1701102 ความร้พู ้ืนฐานวารสารศาสตร์ 3 10XXXXX หมวดอัตลกั ษณข์ องสถาบนั PIM 2
คอนเวอร์เจน้ ท์ 3

การถ่ายภาพและการตกแตง่ 3 10XXXXX หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 3
ภาพน่งิ 4

พื้นฐานทางธุรกิจและการตลาด 3 1701151 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัติ 3
ดิจิทัลสำ� หรบั นเิ ทศศาสตร์ ด้านนเิ ทศศาสตร์ 1

รวม 21 รวม 20

ปีการศึกษาท่ี 2

รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 1 หนว่ ยกิต รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกิต

10XXXXX รายวิชา 3 1722204 รายวชิ า 3

1701107 หมวดอัตลักษณข์ องสถาบนั PIM 5 การรายงานข่าวและบรรณาธิกร 3
ข่าวคอนเวอรเ์ จน้ ท์
1722203 ความรับผิดชอบทางกฎหมาย 3 1722205 การสร้างสรรค์ข้อมูลด้วย 3
และจริยธรรมทางการสอ่ื สาร ภาพกราฟกิ และแอนิเมชน่ั
1723XXX การเขียนเชงิ สร้างสรรค์และเชิง 3 1723XXX กลมุ่ วชิ าเอกเลือก 2
10XXXXX วารสารศาสตร์
กล่มุ วชิ าเอกเลือก 1 3 10XXXXX กลมุ่ ภาษาเพอื่ การสือ่ สาร 2 3
1701252 กลุ่มภาษาเพื่อการสื่อสาร 1 3 1701310 ความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ืองาน 3
นิเทศศาสตร์
การเรียนรภู้ าคปฏิบตั ดิ า้ น 3 1701253 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัติ 3
นิเทศศาสตร์ 2 ด้านนิเทศศาสตร์ 3
18
รวม 18 รวม

27

ปกี ารศกึ ษาที่ 3

รหัสวิชา ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกิต รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต

1701309 รายวิชา 3 1723XXX รายวชิ า 3
1722306 3 XXXXXXX 3
การวิจยั เพ่ืองานนิเทศศาสตร์ กลุ่มวิชาเอกเลือก 5
1723XXX การสรา้ งสรรคเ์ นอื้ หาส่อื และ 3 1722307 หมวดวชิ าเลือกเสรี 1 3
1703XXX การตลาดดจิ ทิ ลั 3 1723XXX 3
1723XXX กลุ่มวชิ าเอกเลือก 3 3 1723XXX กลยุทธ์การเล่าเรื่องข้ามส่ือ 3
1722308 กล่มุ วิชาเลอื กทั่วไป 1 3 1703XXX กลุ่มวชิ าเอกเลอื ก 6 3
กลุ่มวิชาเอกเลือก 4 กลุ่มวชิ าเอกเลอื ก 7
1701354 การสรา้ งสรรค์นวัตกรรมส่อื ดจิ ิทัล 3 กลมุ่ เลอื กทัว่ ไป 2
เพ่ือกลยุทธก์ ารสือ่ สาร
การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ัตดิ ้าน 21 รวม 18
นิเทศศาสตร์ 4

รวม

ปกี ารศกึ ษาท่ี 4

รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกติ รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกติ

10XXXXX รายวิชา 2 1701456 รายวิชา 3

10XXXXX หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบนั PIM 6 การเรียนรภู้ าคปฏิบตั ิ 3
XXXXXXX ด้านนิเทศศาสตร์ 6 3
10XXXXX กลุ่มชวี ิตและสังคมแห่งความสุข 3 1701457 โครงงานนวตั กรรมนเิ ทศศาสตร์
1701455 กลมุ่ การจดั การและนวัตกรรม
หมวดวชิ าเลือกเสรี 2 3 10XXXXX

หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบัน PIM 7 2

การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั ิ 3
ด้านนิเทศศาสตร์ 5

รวม 13 รวม 9

สามารถศึกษาขอ้ มูลหลักสูตรเพม่ิ เติมไดท้ ่ี

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=T20192174104863&b=0&u=25000&y

28

29

รรู้ อบ..ขอบชิด

PIM : แจ้งวฒั นะ

ทตี่ งั้ และการเดนิ ทาง

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็ ตง้ั อยบู่ นถนน
แจ้งวัฒนะ (ฝง่ั ขาออก มุ่งหน้าไปยังห้าแยกปากเกร็ด) โดยต้ังอยู่เลขท่ี
85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวฒั นะ ตำ� บลบางตลาด อ�ำเภอปากเกรด็ จงั หวัด
นนทบรุ ี 11120

โทรศัพท์ : 0 2855 0000
โทรสาร : 0 2855 0391
อีเมล : [email protected]
เฟสบุ๊ค : www.facebook.com/pimfanpage

• เดินทางมา PIM : แจ้งวฒั นะ

รถตโู้ ดยสารประจ�ำทาง รถสองแถวนนทบุรี
สายมนี บรุ -ี ปากเกร็ด สายท่าน้�ำนนท์ - หน้าเมอื งทองธานี – วดั สาลโี ข
สายอนสุ าวรียช์ ยั สมรภมู ิ – ปากเกร็ด
สายรังสิต – ปากเกร็ด รถประจำ� ทาง
สายจตุจกั ร – ปากเกรด็ สาย 166 (อนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ - เมืองทองธาน)ี
สายบางกะปิ – ปากเกร็ด สาย 356
สาย ม.รามคำ� แหง – ปากเกรด็
• สายปากเกรด็ – สะพานใหม่
30 • สายปากเกรด็ – ดอนเมือง – สะพานใหม่
สาย 51 (ปากเกรด็ – ม.เกษตรศาสตร์)
สาย 52 (ปากเกร็ด – จตุจกั ร)
สาย 150 (ปากเกรด็ – Happy Land)
สาย 391 (ลาดหลุมแก้ว – เมืองทองธาน)ี

รถไฟฟ้าสายสีชมพู สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
** มีแผนใหบ้ รกิ าร พ.ศ.2565 สถานแี คราย
สถานีสามัคคี
สถานสี นามบนิ นำ้�
สถานกี รมชลประทาน
สถานเี ลี่ยงเมืองปากเกรด็
สถานแี จง้ วัฒนะ – ปากเกรด็ 28 (เดนิ มา PIM เพียง 300 เมตร)
สถานเี มอื งทองธานี (เดินมา PIM เพยี ง 500 เมตร)
สถานศี รรี ชั สว่ นขยายรถไฟฟ้าสชี มพู จดุ เชือ่ มต่อเขา้ เมอื งทองธานี

** มแี ผนให้บริการพฤศจกิ ายน พ.ศ.2565
สถานีแจ้งวัฒนะ 14
สถานีศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ
สถานีทีโอที
สถานหี ลักสี่ – เชอื่ มรถไฟฟ้าสายสแี ดง (บางซอื่ – รงั สิต)

**มแี ผนให้บริการพฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
สถานรี าชภัฐพระนคร
สถานวี ดั พระศรมี หาธาตุ – เชอื่ มรถไฟฟา้ สายสเี ขยี ว (หมอชติ – สะพานใหม่ – คคู ต)
สถานีรามอินทรา 3
สถานีลาดปลาเคา้
สถานีรามอินทรา 31
สถานีมัยลาภ
สถานีวัชรพล
สถานีรามอนิ ทรา 40
สถานคี ูบ้ อน
สถานรี ามอินทรา 83
สถานวี งแหวนตะวนั ออก
สถานนี พรัตนราชธานี
สถานีบางชัน
สถานีเศรษฐบตุ รบำ� เพญ็
สถานีตลาดมีนบรุ ี
สถานีมนี บุรี

31

ลัดเลาะ..รอบบ้าน PIM : แจ้งวัฒนะ

เมื่อก้าวเข้าสู่ร้ัว PIM นักศึกษาจะเห็นอาคารมากมาย ซ่ึงเราจะเรียกพ้ืนท่ีน้ีว่า “ธาราพาร์ค” ซ่ึงจะมี
บริษทั องคก์ รต่างๆ ทท่ี �ำงานอยู่ในพนื้ ทธ่ี าราพาร์ค เชน่ บริษัท ซีพี ออลล์ จำ� กัด (มหาชน) บรษิ ทั ปญั ญธารา
จำ� กดั บริษทั ออลล์ เทรนนิ่ง จ�ำกัด โรงเรยี นสาธติ สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ และสถาบนั การจดั การปญั ญา
ภิวัฒนเ์ รามาท�ำความร้จู ักพ้ืนที่ธาราพารค์ และอาคารตา่ งๆ กัน

1 อาคาร The TARA อาคารส�ำนกั งานของ บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกดั (มหาชน)
2 อาคารธารา 1 อาคารสำ� นักงานของ บรษิ ัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ
หนว่ ยงาน Call Center
3 ศนู ยฝ์ กึ อบรม ปญั ญธารา
แอลาคะาบรรสิษ�ำทั นักองอาลนลแ์ ลเทะรศนนู นยิง่ฝ์ ึกจอำ� กบัดรมนขออกงจบารกษิ นทั ี้ยงัปมญั ีรญ้านธา7ร-าELจE�ำVกEดั n
4 อาคาร The Park (อาคารจอดรถ)
ร้าน 24Shopping และ Co-Working Space ในพ้นื ที่ดังกลา่ ว
5 โรงเรยี นสาธิตสถาบนั การจัดการ อาคารจอดรถ 1,000 คนั (มีคา่ บริการ) ภายในอาคารยงั มีศนู ย์
ปัญญาภิวัฒน์ (สาธิตพีไอเอ็ม) อาหารและศนู ย์ออกก�ำลงั กายบรกิ าร

6 อาคาร Food Technology โรงเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย

7 Chef’s Kitchen และร้าน 7-ELEVEn อาคารสำ� นักงานของ บรษิ ทั ซีพี ออลล์ จ�ำกดั (มหาชน)
และ Food Academy สถาบนั สอนท�ำอาหารครบวงจร
8 สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
ร้านอาหารและรา้ น 7-ELEVEn
9 ลานธาราสแควร์
อาคารสำ� หรับการเรียน การฝกึ ปฏบิ ัติ การท�ำกจิ กรรม การตดิ ตอ่
คณะวชิ าและหนว่ ยงานตา่ งๆ ใน PIM
ลานอเนกประสงค์ และสามารถใช้สำ� หรับการจอดรถยนตแ์ ละรถ
จักรยานยนต์ (มคี ่าบรกิ าร)

32

อาคารเรยี น หอ้ งเรยี น และห้องปฏบิ ัติการ ใน PIM : แจง้ วัฒนะ

อาคาร 1 (อาคารอ�ำนวยการ) อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy)

ชน้ั 1 : ห้องรบั ฟังและใหค้ �ำปรกึ ษาโดยนกั จติ วิทยา ชั้น 7 : ห้องเรียน สำ� นกั กจิ การนักศึกษา
(Friends Care PIM) และสำ� นกั พัฒนานักศึกษา
ชั้น 1-3 : หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตา่ งๆ ชัน้ 8 : หSm้องaเรrtียนClแaลsะsrหoอ้ oงmปฏ, ิบร้าัตนกิ า7ร–หEมLาEกVลE้อnม
ชั้น 3 : ห้องละหมาด และห้องปฏิบัตกิ ารต่างๆ
(PIM Store Model)
อาคาร 2 (อาคารหอประชุม/Convention Hall) ชั้น 9 : ห้องพกั อาจารย์คณะอุตสาหกรรมเกษตร
คณะนเิ ทศศาสตร์ คณะการจัดการการศึกษา
ชน้ั 1 : โถงกจิ กรรม รา้ นคา้ จ�ำหน่ายอาหารและสินคา้ ทว่ั ไป เชิงสรา้ งสรรค์ คณะนวตั กรรม
PIM Smart Shop และ PIM Souvenir Shop การจัดการเกษตร และคณะการจดั การธรุ กิจอาหาร
ชน้ั 10 : หอ้ งพกั อาจารยค์ ณะบริหารธรุ กจิ คณะวทิ ยาการ
ชน้ั 2 : หอ้ งเรยี น จัดการ คณะการจดั การโลจิสตกิ สแ์ ละ
ชน้ั 3 : ห้องละหมาด และหอ้ งประชุม/สมั มนา การคมนาคมขนสง่ วิทยาลยั นานาชาติ
และวิทยาลยั บณั ฑิตศกึ ษาจนี
อาคาร 3 (อาคารอเนกประสงค)์ ชั้น 11 : หอ้ งพกั อาจารย์คณะศิลปศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั 1 : หอ้ งปฏิบตั กิ ารต่างๆ และสำ� นกั การศกึ ษาทั่วไป
ช้ัน 2 : ห้องพยาบาล และส�ำนักงานตา่ งๆ ชั้น 12 : หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ส�ำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชั้น 3 : ห้องเรยี น และหอ้ งปฏิบัติการ และหอ้ งพักอาจารย์คณะวทิ ยาการจดั การ
สาขาวิชาการจดั การการบรกิ ารและการท่องเท่ยี ว
อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy) ชั้น 12A : หอ้ งสมดุ
ช้ัน 14 : ส�ำนกั สง่ เสรมิ วชิ าการ สำ� นกั บญั ชแี ละการเงิน
ชน้ั G : ร้านถ่ายเอกสาร และพ้นื ท่อี า่ นหนังสือ
ชั้น L : ศนู ย์รับสมัครนักศกึ ษา ร้าน 7-ELEVEn ชั้น 16 : หอ้ งประชมุ Auditorium

และรา้ นกาแฟ Bellinee’s Bake & Brew
ชั้น M : ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารธุรกิจการบิน (PIM AIR)
ชน้ั 3 : ศนู ย์อาหาร Food World
ชั้น 4 : หอ้ งเรยี น และหอ้ งปฏบิ ัติการภาคพ้นื
ชนั้ 5–8 : ห้องเรียน

33

• หอ้ งเรยี น และห้องปฎบิ ตั ิการต่างๆ

หอ้ งเรยี นอจั ฉริยะ Smart Classroom

ห้อง 4-0806
หอ้ งเรยี นในยุคใหม่ ที่สง่ เสรมิ กจิ กรรมการเรยี นการสอนด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้เป็นมากกวา่ หอ้ งเรียนทั่วไป

ห้องหมากล้อม GO Classroom

หอ้ ง 4-0808
พัฒนาเชาว์ปญั ญา ฝกึ ทกั ษะการบริหารและวางกลยทุ ธ์ผา่ น
การเล่นหมากล้อม (โกะ)

หอ้ งปฏิบัตกิ ารด้านภาษาและคอมพวิ เตอร์

Computer & Sound Lab
ห้อง 1-0301, 1-0303, 3-0309, 3-0310,

4-1204, 4-1205, 4-1209 และ 4-1210
เรยี นรูก้ ารใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะทางคอมพิวเตอร์และ
ภาษาตา่ งประเทศ

ร้าน 7- ELEVEn (PIM Store Model)

7ห-้อEงLE4V-0E8n07จ�ำลอง หอ้ งเรยี นรูก้ ารจัดการธุรกิจ

การคา้ สมยั ใหม่

PIM AIR ศูนยฝ์ ึกปฏบิ ตั กิ ารธุรกจิ การบิน

Sky Terminal หอ้ ง 4-M001
AIRCRAFT ห้อง 4-M002
ศนู ยฝ์ กึ การบริการภาคพ้นื และ
บนเคร่ืองบิน

34

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาคพนื้

ห้อง 4-0408
เรียนรูก้ ารจดั การจราจรทางอากาศ การจัดการสนามบนิ
การจดั การอำ� นวยการบนิ และการขนส่งสินคา้ (Cargo)

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดา้ นสอื่ และมลั ตมิ เี ดยี

Convergent Media Studio
ห้อง 4-1206
เรียนรกู้ ารปฏิบตั ิการขา่ ว ผลติ ขา่ วตอบโจทย์ทกุ Platform
ครบเคร่ืองผนู้ ำ� Convergent Media

Mac Lab

หอ้ ง 4-1207
เรียนรปู้ ฏบิ ตั กิ ารสอ่ื กราฟกิ และมัลตมิ เี ดีย เติมทักษะ ตอบโจทย์
Multi Skill

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลยทุ ธก์ ารจดั การโลจสิ ตกิ ส์

Logistic Strategic Management Lab
ห้อง 1-0201
เรียนรกู้ ารใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นการจดั การคลังสินคา้
การจดั การขนสง่ และจำ� ลองสถานการณ์ต่างๆ ผา่ นระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)

35

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์
Physical and Innovative Agricultural Lab

หอ้ ง 3-0101
ปฏิบัติการทดลองทางดา้ นชวี วทิ ยา จุลชีววิทยา และสุขภาพพชื

Chemical Lab

หอ้ ง 3-0111
ปฏิบัตกิ ารทดลองเกย่ี วกับกลไกของปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ีบูรณาการศาสตร์
ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ อาทิ ศาสตร์ทางด้านการเกษตร
และวศิ วกรรม

ห้องปฏบิ ตั ิการทางวิศวกรรมศาสตร์

Microprocessor and Embedded System Lab

ห้อง 1-0302
ปฏิบัติการทดลองผ่านโปรแกรมและวงจรต่างๆ เพ่ือปูพ้ืนฐาน
กระบวนการคิดที่เป็นระบบและมีเหตุผล เพ่ือสร้างสมองกลหรือ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก

Advanced Research Lab

หอ้ ง 1-0308
Research Factory: Experimenting, Sharing and Learning

Mechanical Engineering Lab

ห้อง 3-0105 และ 3-0106
เรยี นรู้การค�ำนวณดา้ นเครอ่ื งกล เพือ่ น�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

Industrial Engineering Lab

ห้อง 3-0107
เรียนร้กู ารเคล่อื นไหวของรา่ งกายในขณะทำ� งาน การหาเวลา
มาตรฐานในการทำ� งาน และศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของวสั ดวุ ศิ วกรรม

Industrial Automation System Lab

ห้อง 3-0108
ฝีกปฏบิ ตั ิการเขียนโปรแกรมควบคมุ เครอ่ื งจกั รแบบอัตโนมัตใิ น
โรงงานอตุ สาหกรรม ด้วยชุดระบบควบคุมอตั โนมัติ Programable
Logic Control

36

Automotive Information Lab

หอ้ ง 3-0102
ปฏิบัติการเครื่อง 3D scanner และ 3D printer
และการใชโ้ ปรแกรม SolidWork และ CATIA ในการออกแบบ

Automotive Electronics Lab

ห้อง 3-0103
เรยี นรอู้ งค์ประกอบและกลไกของเครื่องยนตป์ ระเภทต่างๆ

Electronics and Digital Lab

ห้อง 1-0304
เรียนรู้การปฏบิ ัติการวงจรไฟฟ้า ไฟฟ้าสามเฟสและมอเตอร์ รวม
ถึงวงจรดิจิทลั พน้ื ฐาน

Network Lab

ห้อง 1-0307
เรียนร้กู ารจดั เก็บข้อมลู บน Storage ของ Cloud
และระบบเครือข่ายตา่ งๆ

Physics Lab

ห้อง 1-0305
ปฏิบัตกิ ารทดลองเก่ยี วกับพน้ื ฐานทางฟสิ กิ สก์ ลศาสตรแ์ ละ
ฟสิ ิกส์ไฟฟา้

Innovation Center for Robotics
and Automation Systems (iCRAS)

ห้อง 1-0101
เรียนร้กู ารใชง้ านหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัติ
รวมถงึ การใชเ้ คร่อื งมือในการสร้างชิ้นสว่ นตา่ งๆ ของห่นุ ยนต์

37

หอ้ งปฏิบตั กิ ารด้านอาหาร เบเกอรแ่ี ละเครือ่ งดื่ม

นำ� ความร้ภู าคทฤษฎดี า้ นการจัดการธุรกจิ อาหารมาฝกึ ปฏิบัติ
(Work-base Education : WBE) เพ่ือสรา้ งทักษะ (Skill)
ใหพ้ รอ้ มส�ำหรบั การทำ� งานจรงิ

Cooking Lab

ห้อง 3-0112

Coffee and Beverage Lab

ห้อง 3-0113

Bakery Lab

ห้อง 3-0114

Sensory Evaluation and Consumer Research Center

หอ้ ง 2-0238

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการโรงแรม (Hospitality Lab)

Deluxe Room Mock-up

ห้อง 1-0204
เรยี นรู้เทคนิคปฏิบัตกิ ารด้าน Housekeeping
สำ� หรบั โรงแรมระดบั 5 ดาว

Culinary and Restaurant Mock-up

ห้อง 1-0204
เรยี นร้ปู ฏิบตั ิการด้านการครัว

Mixology Mock-up

หอ้ ง 1-0206
เรียนรกู้ ารปฏบิ ตั กิ ารและการตกแต่งเครอื่ งดื่มประเภทต่างๆ
เช่น Cocktail, Mocktail

38

ปฏทิ นิ การศกึ ษาและรปู แบบการเรยี น

สถาบนั มกี ารจดั การเรยี นการสอนผา่ นการเรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ (Work-based Education) ทมี่ งุ่ เนน้
การปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหน้ กั ศกึ ษาไดร้ บั ความรแู้ ละทกั ษะ (Knowledge & Skill) จากในหอ้ งเรยี นและสถานประกอบการ ดงั นนั้
ในหนง่ึ ภาคการศกึ ษาจะแบง่ การจดั การเรยี นการสอนออกเปน็ 2 ชว่ ง ชว่ งละ 3 เดอื น โดยมรี ายละเอยี ดของการเรยี นใน
ชนั้ เรยี น และการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการตา่ งๆ แตกตา่ งกนั ตามแผนการเรยี นของแตล่ ะหลกั สตู ร ทงั้ นส้ี ามารถ
ศกึ ษาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ค่ี มู่ อื นกั ศกึ ษาและสอบถามเพมิ่ เตมิ จากคณะวชิ า

กจิ กรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
0.1 0.2 1.1 1.2 2.1 2.2

ปฐมนิเทศ/ประชุมผู้ปกครอง/ ตามประกาศ ตามประกาศ - --
พบอาจารยท์ ป่ี รึกษา/ สถาบนั ฯ สถาบันฯ ***
ลงทะเบียนอตั โนมัติ

วนั สดุ ทา้ ย ของการช�ำระเงิน 16 ส.ค. 64 14 ก.พ. 65
คา่ เลา่ เรยี นคา้ งชำ� ระเทอมปจั จบุ นั 9 – 17 ส.ค. 64 7 - 15 ก.พ. 65
พบอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา/
ลงทะเบยี นเรยี น Online*

ช�ำระเงนิ ค่าเล่าเรียน* 9 ส.ค. – 10 ก.ย. 64 7 ก.พ. – 10 ม.ี ค. 65

ระยะเวลาฝึกปฏิบัติงาน 16 ม.ี ค. – 1 มิ.ย. – 31 ส.ค. 64 1 ก.ย. – 30 พ.ย. 64 1 ธ.ค. 64 – 28 ก.พ. 65 1 มี.ค. – 31 พ.ค. 65 1 มิ.ย. – 31 ส.ค. 65
31 พ.ค.64

ระยะเวลาเรียน 16 ม.ี ค. – 7 ม.ิ ย. – 15 ส.ค. 64 6 ก.ย. – 14 พ.ย. 64 6 ธ.ค. 64 – 13 ก.พ. 65 7 ม.ี ค. – 15 พ.ค. 65 6 มิ.ย. – 14 ส.ค. 65
9 พ.ค.64

ระยะเวลาลาพัก/ 1 ก.ย. – 1 ต.ค. 64 1 มี.ค. – 1 เม.ย. 65
รักษาสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา

ลงทะเบยี นลา่ ช้า Online 30 ส.ค. – 6 ก.ย. 64 28 ก.พ. – 7 มี.ค. 65
นศ.ทุกชนั้ ปี และชำ� ระเงิน*

เพ่ิม/ถอนรายวิชา (ไมต่ ิด W) 16-28 ม.ี ค. 8 – 20 ม.ิ ย. 64 7 – 19 ก.ย. 64 7 – 19 ธ.ค. 64 8 – 20 มี.ค.65 7 – 19 ม.ิ ย. 65
และชำ� ระเงนิ กรณเี พิม่ รายวิชา* 64

ถอนรายวิชา (ติด W) 29 ม.ี ค.-23 21 มิ.ย. – 6 ส.ค. 20 ก.ย. – 29 ต.ค. 64 20 ธ.ค. 64 – 4 ก.พ. 65 21 มี.ค. – 6 พ.ค. 65 20 มิ.ย. – 5 ส.ค. 65
เม.ย.64 64

สอบปลายภาค 10–16 พ.ค. 18 – 25 ส.ค. 64 17 – 24 พ.ย. 64 16 – 23 ก.พ. 65 18 – 25 พ.ค. 65 17 – 24 ส.ค. 65
“แจง้ วัฒนะ หนว่ ยการเรียน 64
ทางไกล และวทิ ยาเขตออี ซี ”ี

ประกาศผลการเรียน/ 17 มิ.ย.64 9 ก.ย. 64 9 ธ.ค. 64 10 ม.ี ค. 65 9 ม.ิ ย. 65 8 ก.ย. 65
ผลการฝกึ ปฏิบัติงาน Online

วันสุดท้าย การแก้ไขเกรด “I” 19 ก.ค.64 11 ต.ค. 64 10 ม.ค. 65 11 เม.ย. 65 11 ก.ค. 65 10 ตุ.ค. 65

วนั เปดิ ภาคการศึกษา 16 มี.ค.65 1 ม.ิ ย.65 1 ก.ย. 65 1 ธ.ค. 65 1 มี.ค. 66 1 ม.ิ ย. 66
ปกี ารศึกษา 2565

หมายเหตุ :
* หากพ้นกำ� หนด มีคา่ ปรับตามประกาศสถาบนั ฯ
** นักศึกษาปี 1 (รุ่น 640) คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ และหลักสูตรการจัดการ
ธรุ กิจการคา้ สมยั ใหม่ (ระบบการศกึ ษาทางไกล) กลมุ่ ทวภิ าคี
*** นกั ศึกษาปี 1 (รนุ่ 641) คณะการจัดการการศึกษาเชงิ สรา้ งสรรค์ ระยะเวลาเรียน/ฝกึ ปฏิบัตงิ าน เป็นไปตาม
แผนการเรียนของแต่ละหลกั สูตร
ข้อมูลปฏิทินการศกึ ษา: https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-undergraduate-th

39

เทคโนโลยแี ละระบบสนบั สนนุ นกั ศกึ ษา

ข้อแนะน�ำการใช้งานเทคโนโลยีและระบบบริการ • Single Sign-On
สารสนเทศส�ำหรับนักศึกษาของสถาบัน เพ่ือให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ นกั ศกึ ษาควรมอี ปุ กรณ์ Smart Devices
ทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ เี่ หมาะสมทเ่ี พยี งพอกบั การใชง้ านในปจั จบุ นั นักศึกษาสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ที่จุดบริการ
ภายในสถาบันและระบบบริการสารสนเทศส�ำหรับ
นกั ศึกษา เช่น เว็บไซต์บริการการศึกษา ระบบการเรียน
การสอนออนไลน์ PIM Application และระบบอน่ื ๆ โดย
ใช้ชือ่ ผู้ใชง้ าน (Username) และรหสั ผ่าน (Password)
เดยี วกนั ในทุกระบบ (Single Sign-On)

40

• PIM Application

PIM Application เปน็ แอปพลเิ คชนั ทน่ี กั ศกึ ษาควรตดิ ตงั้ ในอปุ กรณ์ Smart Devices ของตนเอง เพอ่ื เปน็ ประโยชน์
และอำ� นวยความสะดวกในด้านตา่ งๆ ของนักศึกษา

ตัวอยา่ งฟังก์ชนั่ ของ PIM Application
เพือ่ อำ� นวยความสะดวกแก่นักศึกษา

1. แสดงตัวตนการเปน็ นกั ศึกษา 5. ตรวจสอบชอ่ื อาจารย์ทีป่ รกึ ษา

>> ผา่ นเมนูบัตรนกั ศกึ ษาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ >> ผา่ นเมนู Advisor

2. ยืนยันการเข้าเรยี นผ่านเมนใู นแต่ละรายวิชา 6. รับการแจ้งเตอื นต่างๆ จากสถาบัน

>> ผ่านเมนู Check Room Tracking >> ผา่ นเมนู Notifications

3. ดตู ารางเรยี น หอ้ งเรยี น หอ้ งสอบ ผลการเรยี น 7. เขา้ ลงิ ค์ URL ทสี่ ำ� คญั เชน่ e-Learning, REG
(ระบบบรกิ ารการศกึ ษา), แบบคำ� ร้องออนไลน์,
>> ผ่านเมนู Academic บรกิ ารยืม-คืนหนังสือห้องสมดุ เป็นต้น

4. ตรวจสอบปฏทิ นิ การศกึ ษาและกจิ กรรมตา่ งๆ

>> ผ่านปฏทิ นิ กจิ กรรม

41

หมายเหตุ :

กรณีนกั ศึกษาเปลี่ยน Smart Devices ทใ่ี ช้งาน และต้องการลง PIM Application ใน Smart
Devices ใหม่ ให้ติดต่อส�ำนกั เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 12 อาคาร CP ALL Academy หรือ
ตดิ ต่อผ่านทาง Facebook: สำ� นักเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการจัดการปญั ญาภิวัฒน์

42

43

44

45

บตั รนกั ศกึ ษา

บตั รนกั ศึกษาของสถาบนั ฯ อยใู่ นรปู แบบของ บัตรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ โดยการเปดิ ผ่าน PIM Application
ซ่งึ สามารถนำ� ไปใชใ้ นกิจกรรมตา่ งๆ ทงั้ ในและนอกสถาบนั ดงั น้ี

1. ใช้แสดงตนเมือ่ ติดต่อกับสถาบนั ฯ หรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ ท้ังน้ีหากนักศึกษามีปัญหาในการแสดง
ผลบตั รอเิ ลก็ ทรอนกิ สผ์ า่ น PIM Application
2. ใชแ้ ตะบัตรเพอ่ื บนั ทึกการเขา้ เรียนในแต่ละวิชา กรณุ าตดิ ตอ่ สำ� นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนั้
12 อาคาร CP ALL Academy หรอื ติดตอ่
3. ใช้แสดงตนในการเข้าสอบ ผ่านทาง Facebook: ส�ำนักเทคโนโลยี
สารสนเทศ สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
4. ขอใช้บริการห้องสมุด เชน่ ยืม - คืน
หนังสอื และทรพั ยากรในหอ้ งสมดุ PIM อย่างไรก็ตามหากนักศึกษาต้องการใช้
งานบัตรนักศึกษาในรูปแบบการ์ดแข็ง
5. ใช้เปน็ หลกั ฐาน (ตวั จรงิ หรอื ส�ำเนาบัตรนักศกึ ษา) สามารถท�ำได้โดยติดต่อส�ำนักส่งเสริม
ในการขอรบั บริการอน่ื ๆ หรือเบกิ ค่าใช้จ่ายของสถาบัน วิชาการและไม่เสียค่าธรรมเนียมในการท�ำ
ครง้ั แรก

บตั รนกั ศกึ ษาอเิ ลกทรอนกิ ส์
0 2855 0269
บัตรนกั ศกึ ษาแบบการด์ แขง็
0 2855 1140, 0 2855 1436

46

การแตง่ กาย
• เครื่องแบบทวั่ ไป

การสวมใส่เคร่ืองแบบนักศึกษาเป็นการแสดงถึงความ
ภูมิใจต่อการเป็นนักศึกษาสถาบัน และเพ่ือความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยในการมาเรียน มาสอบ หรือติดต่อกับ
หน่วยงานตา่ งๆ ภายในสถาบัน นักศึกษาควรแตง่ กายด้วย
ชุดนักศึกษาทุกครงั้ ทเ่ี ข้ามาในสถาบัน และ “ต้องแต่งกาย
ดว้ ยชุดสทู PIM ในวันที่มีการสอบหรือมงี านพธิ ”ี

• เคร่อื งแบบเฉพาะของคณะ / สาขาวชิ า

47

มาเรียนท่ี PIM
• ดูตารางเรยี น

นักศึกษาสามารถดูตารางเรยี นไดด้ ว้ ยตนเอง ผา่ น PIM Application โดยเลือกเมนู REG (ระบบบรกิ ารการศกึ ษา)
เพื่อเข้าระบบบรกิ ารการศึกษา (http://reg.pim.ac.th) และมขี ้ันตอนดังน้ี

1. Login เขา้ สรู่ ะบบ
2. คลิกปมุ่ “ตารางเรยี น/สอบ” ที่เมนดู ้านซ้าย
3. คลกิ ลิงค์ทเี่ กีย่ วข้อง เช่น ปกี ารศึกษาและภาคการศึกษาเพอื่ ดตู ารางเรยี น
ศกึ ษาวธิ กี ารดตู ารางเรยี นแบบละเอยี ดไดท้ ่ี >> https://www.facebook.com/REGPIM/videos/2744248455897475/
ทัง้ น้ีระบบจะสง่ e-mail แจ้งเตือนใน PIM Application โดยอตั โนมตั ิ (กอ่ นถงึ เวลาเรมิ่ เรยี น 30 นาท)ี

EXAMPLE

ชื่อวชิ า กลมุ่ ที่เรยี น
ห้องและเวลาที่เรียน

กรณีที่มขี อ้ สงสัยเกยี่ วกบั
“ตารางเรียน” กรุณาติดต่อ

งานตารางเรียน : PIM
0 2855 0975, 0 2855 1145,
0 2855 1669

48

• ตารางหนา้ หอ้ งเรียน

เมอ่ื นกั ศกึ ษาไปถงึ หอ้ งเรยี น ทหี่ นา้ หอ้ งเรยี นจะมี QR Code ให้
นกั ศกึ ษา Scan เพ่ือดตู ารางการใช้งานของห้องน้นั ๆ ในแต่ละช่วง
เวลา นกั ศกึ ษาสามารถตรวจสอบเพอ่ื ปอ้ งกนั การเขา้ ใชง้ านหรอื เขา้
เรียนผดิ ห้องในแต่ละคาบการเรียนได้

EXAMPLE

ชอ่ื วิชา (กลุม่ เรียน)
และช่ืออาจารย์ผูส้ อน

49

50


Click to View FlipBook Version