สารบัญั
ระดับั ปริิญญาตรีี “นิิเทศศาสตร์”์
หน้้า หน้้า
ส่ว่ นที่�่ 1: สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” 1-1 - ดููตารางเรีียน 3-20
1-2 - ตารางหน้า้ ห้้องเรีียน 3-21
พีี ไอ เอ็ม็ (PIM) 1-3 - การยืืนยันั การเข้า้ เรียี น 3-22
ตราสััญลัักษณ์์ 1-3 - PIM e-Learning 3-23
สีปี ระจำำ�สถาบััน 1-3 - PIM MOOC 3-24
ดอกไม้้ประจำำ�สถาบันั 1-4 แหล่ง่ เรียี นรู้�นอกห้อ้ งเรียี น 3-25
ปรัชั ญา 1-4 - ห้้องสมุุด PIM และแหล่่งสืืบค้น้ ข้้อมูลู วิิจััยออนไลน์์ 3-25
วิิสััยทััศน์์ 1-4 และแหล่่งตีีพิมิ พ์ผ์ ลงาน
พันั ธกิิจ 1-4 - บริิการฐานข้้อมูลู ออนไลน์์ (Online Database) 3-25
เอกลักั ษณ์์สถาบััน 1-5 - บริิการวารสารวิิชาการและ 3-27
อัตั ลัักษณ์์นักั ศึกึ ษา 1-6 นิติ ยสารอิเิ ล็็กทรอนิิกส์์ (Online Journals)
คณะวิชิ า สำ�ำ นััก วิิทยาลััยในสถาบััน 1-8 - บริิการหนัังสืืออิิเล็ก็ ทรอนิิกส์์ : e-Books 3-27
เพลงสถาบันั - บริิการ e-Thesis 3-28
2-1 - บริิการแหล่่งเรีียนรู้�ออนไลน์์ PIM Library : 3-29
ส่่วนที่�่ 2 : คณะเรา “นิิเทศศาสตร์”์ 2-2 Knowledge Bank
2-3 - บริิการข่่าวสาร สื่่�อการเรียี นรู้�และบริิการออนไลน์์ : 3-30
ปรัชั ญา ปณิธิ าน วิิสัยั ทััศน์์ และพัันธกิจิ คณะ 2-3 lib.pim.ac.th
สัญั ลักั ษณ์์ และสีีประจำ�ำ คณะ 2-4 - บริิการจองห้้องประชุมุ ออนไลน์์ : 3-30
หลักั สูตู ร/ สาขาวิิชาที่่�เปิดิ สอน
การเข้า้ ถึึงข้อ้ มูลู คณะ 2-5 Study Rooms Reservation 3-31
หลักั สูตู ร / สาขาวิชิ าที่่เ� ปิิดสอน - elibrary.pim.ac.th
- บริิการโปรแกรมวิิเคราะห์ข์ ้้อมูลู ทางสถิิติิ 3-32
- หลัักสูตู รนิิเทศศาสตรมหาบัณั ฑิิต - บริิการทรัพั ยากรห้้องสมุุดอื่่�นๆ จากความร่่วมมืือ 3-33
สาขาวิิชาการสื่�อ่ สารเชิงิ นวััตกรรม 3-1 ทางวิชิ าการของสถาบััน
เพื่�อ่ องค์ก์ รสมัยั ใหม่่ 3-2 แหล่่งตีีพิิมพ์์ผลงานวิิจัยั 3-34
3-4 ใกล้ส้ อบแล้้ว..ต้้องทำ�ำ อย่่างไร 3-37
ส่่วนที่�่ 3 : รอบรู้้� “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” 3-5 เกรดออกแล้้ว 3-39
3-11 มีปี ััญหา..ปรึกึ ษาใคร 3-40
ที่่�ตั้ง� และการเดินิ ทาง 3-12 ภาคเรีียนใหม่่..ต้้องทำ�ำ อย่่างไร 3-42
รอบบ้า้ น.. PIM แจ้ง้ วัฒั นะ 3-12 - ลงทะเบีียนเรียี น 3-42
อาคาร ห้้องเรีียน ห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ าร 3-14 - การชำำ�ระค่า่ เล่่าเรีียนและค่า่ ธรรมเนียี มต่่างๆ 3-43
ปฏิทิ ิินการศึกึ ษาและรููปแบบการเรียี น 3-15 ทุนุ การศึึกษา 3-44
เทคโนโลยีีและระบบสนับั สนุนุ นัักศึกึ ษา 3-16 ขั้น� ตอนและการดำำ�เนินิ การ ระดับั บััณฑิติ ศึึกษา 3-45
3-17 การขอรับั การพิจิ ารณาทบทวนข้อเสนอโครงการ 3-46
- Single Sign-On 3-18 รา่ งวิิทยานิพิ นธ์์
- PIM Application 3-19 การลาพัักการศึึกษา และการรักั ษาสถานภาพนัักศึกึ ษา 3-47
- PIM Line Official หรืือ PIM CONNECT 3-20 สวััสดิิการนัักศึกึ ษา 3-48
- Wi-Fi PIMHotspot ระบบต่า่ งๆ ที่่�เกี่่ย� วข้อ้ งกัับนัักศึกึ ษา 3-50
- e-mail
- Office 365
บััตรนัักศึึกษา
เมื่่อ� มาเรีียนที่่� PIM
ชิิลล์์ ช๊อ๊ ป ก๊๊อปปี้้� รีีแลคซ์์ 3-52
ช่่องทางสื่่อ� สาร .. บริิการนักั ศึึกษา 3-56
ส่ว่ นที่�่ 1
สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)”
1-1
สถาบันั เรา สถาบัันการจัดั การปัญั ญาภิิวัฒั น์์ หรืือ พีไี อเอ็็ม (PIM) เป็็น
สถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�ได้้รัับการสนัับสนุุนในการจััดตั้ �งจากบริิษััทซีีพีี
“พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)” ออลล์์ จำำ�กัดั (มหาชน) ในเครืือเจริญิ โภคภัณั ฑ์์ โดยได้ร้ ับั การรับั รอง
จากกระทรวงการอุุดมศึกึ ษา วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม เพื่อ�่
ให้้ปริิญญาในระดัับปริิญญาตรีี ปริิญญาโท และปริิญญาเอก โดย
หลัักสููตรที่่�เปิิดสอนมีีความหลากหลายตามความเชี่ �ยวชาญของ
แต่่ละคณะวิิชาในสถาบััน และจััดการเรีียนการสอนทั้้�งภาษาไทย
ภาษาจีีน และภาษาอัังกฤษ
ในฐานะที่่ส� ถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์เ์ ป็น็ มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่
องค์ก์ รธุรุ กิิจ (Corporate University) ที่่�มีีการเรียี นการสอนแบบ
Work-based Education จึงึ แตกต่า่ งด้ว้ ยความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการ
มุ่ง่� เน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาเรียี นรู้้�จากการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ กับั กลุ่ม่� ธุรุ กิจิ
ซีพี ีี ออลล์์ เครืือซีพี ีี และพัันธมิิตรทางธุุรกิิจ เพื่่อ� ให้น้ ัักศึึกษาได้้
รัับประสบการณ์์ในการทำ�ำ งานจนเกิิดความเชี่่�ยวชาญ ดัังนั้้�น
บััณฑิิตพีีไอเอ็็มจึึงเป็็นบุุคลากรคุุณภาพผู้้�มีีความรู้้�ทางวิิชาการและ
มีีความพร้้อมในการปฏิบิ ัตั ิงิ านอย่า่ งมืืออาชีพี
ปัจั จุบุ ันั PIM (พีไี อเอ็ม็ ) มีกี ารจัดั การศึกึ ษาในสถานที่่�ต่า่ ง ๆ คืือ
1. สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิิวััฒน์์ แจ้ง้ วัฒั นะ จ.นนทบุุรีี (PIM)
ตั้�งอยู่่�บนถนนแจ้้งวััฒนะ (ฝั่�่งขาออกมุ่�งหน้้าห้้าแยกปากเกร็็ด)
โดยตั้�งอยู่�เลขที่่� 85/1 หมู่� 2 ถนนแจ้้งวััฒนะ ต.บางตลาด
อ.ปากเกร็ด็ จ.นนทบุุรีี 11120
2. สถาบัันการจััดการปััญญาภิิวััฒน์์ วิิทยาเขตอีีอีีซีี จ.ชลบุุรีี
(PIM-EEC)
ตั้�งอยู่�เลขที่่� 1 หมู่� 7 ต.นาจอมเทีียน อ.สัตั หีีบ จ.ชลบุรุ ีี 20250
นอกจากนี้้�สถาบันั ยัังมีีสถานที่่�เพื่่อ� ใช้้ในการเรียี นรู้� 12 แห่ง่ ดัังนี้้�
ภาคเหนืือ เชีียงใหม่่ ลำ�ำ ปาง
ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือ ขอนแก่น่ นครราชสีมี า อุุดรธานีี
ภาคกลาง พระนครศรีีอยุุธยา นครสวรรค์์
สมุทุ รปราการ เพชรบุรุ ีี
ภาคตะวัันออก ชลบุุรีี
ภาคใต้้ สงขลา สุุราษฎร์ธ์ านีี
1-2
ตราสัญั ลัักษณ์์ ช่อ่ มะกอก โล่่ ริิบบิ้้น�
สีีประจำ�ำ สถาบััน หมายถึึง ความมีีชัยั ชนะเหนืือสิ่ง� อื่�น่ ใด
ดอกไม้้ประจำำ�สถาบััน มงกุฎุ
หมายถึึง การศึึกษาแสดงถึงึ ความสำ�ำ เร็็จอย่่างสูงู สุดุ และยิ่�งใหญ่่
สีีเขีียว/เหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิิชาการ และความถึึงพร้อ้ มด้ว้ ย
คุุณธรรม เป็น็ หนทางแห่ง่ ความเจริญิ รุ่�งเรืืองในชีวี ิิต
ชื่่�อสถาบััน
มีีชื่อ�่ สถาบัันภาษาอังั กฤษ และตััวย่่ออยู่�ในโล่่
ส่ว่ นชื่อ�่ สถาบัันภาษาไทยอยู่�ในริบิ บิ้้�น
สีีเขีียว
หมายถึึง ความเจริญิ รุ่�งเรืือง ความงอกงาม ความสมบููรณ์์
สีีเหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็็นเลิิศทางวิิชาการและถึึงพร้อ้ มด้ว้ ยคุณุ ธรรม
สีีประจำำ�สถาบันั
หมายถึงึ ความเป็น็ เลิศิ ทางวิิชาการและความถึงึ พร้อ้ มด้ว้ ย
คุณุ ธรรมเป็็นหนทางแห่ง่ ความเจริิญรุ่�งเรืืองในชีีวิิต
ดอกบัวั มัังคลอุบุ ล (มััง-คะ-ละ-อุุบล)
ซึ่ง� เปรีียบเสมืือนตััวแทนของ
1. ความเพีียรพยายาม
2. ความอดทน
3. ความสำำ�เร็จ็ อัันงดงาม
1-3
ปรััชญา
"การศึึกษาคืือบ่่อเกิดิ แห่่งภููมิปิ ัญั ญา"
(Education is the Matrix of Intellect)
วิสิ ัยั ทัศั น์์
“สร้า้ งมืืออาชีีพด้ว้ ยการเรียี นรู้�จ้ ากประสบการณ์์จริิง”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พัันธกิิจ
“มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่ องค์ก์ รธุรุ กิจิ (Corporate University)”
1. สร้้างคนที่่ม� ีคี ุุณภาพและตรงกับั ความต้้องการของภาคธุุรกิจิ สัังคมและประชาคมโลก โดย
เน้น้ การเรีียนรู้้�จากประสบการณ์์จริิง (Work-based Education)
2. ผสมผสานองค์์ความรู้�เชิิงวิิชาการและองค์์กรธุุรกิิจเพื่่�อการจััดการเรีียนการสอน การวิิจััย
การบริกิ ารวิชิ าการ และทำ�ำ นุบุ ำ�ำ รุงุ ศิลิ ปะวัฒั นธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)
3. สร้า้ งเครืือข่า่ ยความร่ว่ มมืือ เพื่อ�่ พัฒั นาองค์ค์ วามรู้�และส่ง่ เสริมิ นวัตั กรรม (Collaborative
Networking)
4. พััฒนาองค์์กรที่่�พร้้อมรัับความเปลี่�ยนแปลง และมีีระบบการบริิหารจััดการที่่�ดีี
(Transformative Organization & Good Governance)
เอกลักั ษณ์ส์ ถาบันั
การเป็็น Corporate University บนพื้้น� ฐานของการจััดการศึึกษาแบบ Work-based
Education ประกอบด้ว้ ย
1. การสอนโดยมือื อาชีพี (Work-based Teaching) เป็น็ การเรียี นภาคทฤษฎีคี วบคู่่�กับั การ
เรียี นรู้้�จากกรณีศี ึกึ ษา จากผู้�ปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ ในองค์ก์ ร เพื่อ�่ เตรียี มความพร้อ้ มที่่จ� ะฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ
2. การเรียี นรู้�้ จากการปฏิบิ ัตั ิิ (Work-based Learning) เป็น็ การเรียี นรู้�โดยการลงมืือปฏิบิ ัตั ิิ
งานจริงิ ที่่ม� ีกี ารจัดั วางโปรแกรมครูฝู ึกึ และมีรี ะบบการติดิ ตามประเมินิ อย่า่ งเป็น็ ระบบตาม
วิิชาชีีพของหลัักสููตร เพื่อ่� ทำำ�ให้้มีีการบููรณาการระหว่า่ งทฤษฎีีกัับภาคปฏิิบัตั ิอิ ย่่างแท้จ้ ริงิ
3. การวิิจััยสู่�นวััตกรรม (Work-based Researching) เป็็นการศึึกษาวิิจััยของคณาจารย์์
จากปัญั หาวิจิ ัยั จริงิ ในองค์ก์ รที่่น� ำำ�ผลการวิจิ ัยั ไปใช้ป้ ฏิบิ ัตั ิไิ ด้โ้ ดยตรง และนำ�ำ องค์ค์ วามรู้�ใหม่ๆ่
กลัับมาสู่�การเรียี นการสอนในห้้องเรีียน
4. มหาวิทิ ยาลัยั แห่่งการสร้า้ งเครือื ข่่าย (Networking University) เป็น็ การสร้า้ งเครืือข่า่ ย
ความร่่วมมืือกับั สถาบันั การศึกึ ษา ภาครััฐและเอกชน ทั้้�งในและต่่างประเทศเพื่�่อสร้้างการ
มีีส่ว่ นร่่วมในกระบวนการสอน การเรียี นรู้้�จากการปฏิบิ ัตั ิิงาน และการวิิจััยสู่�นวัตั กรรม
1-4
อัตั ลักั ษณ์์นักั ศึึกษา PIM
“READY to WORK”
เรีียนเป็็น
1. มีคี วามใฝ่รู่้� ใฝ่เ่ รียี น สามารถแสวงหาความรู้�ได้้ด้้วยตััวเอง
2. มีีความรอบรู้้�และบูรู ณาการในศาสตร์ส์ าขาวิชิ าที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง
3. สามารถนำ�ำ เครื่�่องมืือ หรืือ เทคโนโลยีีมาใช้้งานได้้อย่า่ งเหมาะสมกัับผลลััพธ์ท์ ี่่�ต้้องการ
(ตามศาสตร์ข์ องตััวเอง)
4. สามารถเข้้าถึึงแหล่ง่ ข้อ้ มููลข่่าวสารและเลืือกใช้้ข้อ้ มูลู ความรู้้�ต่่างๆ ได้้อย่่างเหมาะสม
คิดิ เป็็น
1. มีคี วามสามารถในการคิดิ วิเิ คราะห์์ (Analytical Thinking) การคิดิ วิพิ ากษ์์ (Critical Thinking)
การคิิดเชิิงสัังเคราะห์์ (Synthesis Thinking) การคิิดเชิิงนวัตั กรรม (Innovative Thinking)
2. กล้า้ คิดิ และสามารถผลักั ดันั ความคิดิ และแรงบันั ดาลใจของตนให้ก้ ่อ่ เกิดิ เป็น็ ผลงานตามศาสตร์์
หรืือผลงานเชิิงนวัตั กรรมต่่างๆ ได้้
3. มีแี นวคิิดการบริหิ ารจัดั การอย่า่ งผู้�ประกอบการ
ทำ�ำ งานเป็็น
1. มีกี ารทำ�ำ งานข้า้ มสายงานและสามารถจููงใจผู้้�อื่�่นเพื่อ�่ ให้บ้ รรลุุเป้้าหมาย
2. มีีทัักษะในกรสื่�่อสารหลากภาษา ทั้้�งการฟััง การอ่่าน การเขีียน การพููด การแปลความ
การเลืือกช่่องทางและเครื่่อ� งมืือในการสื่่อ� สาร
3. มีกี ารตััดสิินใจและรับั ผิดิ ชอบต่อ่ ผลที่่�เกิดิ ขึ้น�
4. สามารถสร้้างความพอใจระหว่า่ งสุุขภาพ การเรีียน ชีีวิิตส่่วนตััว ความสััมพันั ธ์ก์ ัับบุุคคลอื่่น�
เน้้นวััฒนธรรม
1. สืืบสานวัฒั นธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรัับตัวั เข้้ากัับสภาพแวดล้อ้ มขององค์ก์ รได้้
รักั ความถููกต้้อง
1. ยึึดมั่น� ในจรรยาบรรณวิชิ าชีพี หรืือจรรยาบรรณในการดำ�ำ เนินิ ธุรุ กิิจ
2. ยืืนหยัดั ปกป้้องในความถููกต้้อง
3. เคารพและชื่�่นชมต่่อความดีงี ามของผู้�อื่�น
1-5
คณะวิิชาใน PIM ชื่่อ� ย่อ่ สถานที่�่เรีียน
หลักั สููตร
คณะ หลัักสููตร แจ้้งวััฒนะ วิทิ ยาเขต เครืือข่า่ ย
EEC Internet
หลัักสููตรระดับั ปริิญญาเอก
บริิหารธุรุ กิจิ (หลัักสูตู รภาษาจีีน) C-PhD --
--
การจัดั การการศึึกษา (หลัักสููตรภาษาจีนี ) C-PhD-Ed
--
หลักั สููตรระดัับปริิญญาโท
การจัดั การธุรุ กิิจการค้้าสมัยั ใหม่่ MBA-MTM
วิศิ วกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี MET --
(หลักั สูตู รนานาชาติิ)
การบริิหารคนและกลยุุทธ์์องค์ก์ าร POS --
การสื่่อ� สารเชิงิ นวัตั กรรมเพื่�่อองค์ก์ รสมัยั ใหม่่ MCA --
การจัััด� การการศึึกึ� ษาและความเป็็็�นผู้้�นำำ� EML --
ธุุรกิิจระหว่า่ งประเทศ (หลัักสููตรนานาชาติ)ิ iMBA --
--
บริหิ ารธุรุ กิจิ (หลักั สููตรภาษาจีนี ) C-MBA --
การจัดั การทางศิิลปะ (หลัักสูตู รภาษาจีีน) C-MA --
หลักั สููตรประกาศนีียบัตั รบััณฑิติ -
-
ประกาศนียี บััตรบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าชีีพครูู GDIP -
-
หลัักสููตรระดับั ปริิญญาตรีี
จััดการเรีียนการสอนในหมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป GE
สำ�ำ หรับั นักั ศึกึ ษาระดัับปริญิ ญาตรีีทุกุ หลักั สูตู ร
1) กลุ่�มวิชิ าภาษาไทย
2) กลุ่�มวิิชาภาษาอัังกฤษ
3) กลุ่�มวิิชาภาษาจีีน
4) กลุ่�มวิชิ ามนุษุ ยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์
5) กลุ่�มวิิชาวิทิ ยาศาสตร์์และคณิติ ศาสตร์์
การจััดการธุรุ กิิจการค้้าสมััยใหม่่ MTM
การจัดั การธุรุ กิิจการค้้าสมัยั ใหม่่ (ต่อ่ เนื่�่อง) CMTM
การจัดั การธุรุ กิิจการค้า้ สมััยใหม่่ IMM -
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอินิ เทอร์เ์ น็็ต) CIMM -
การจััดการธุุรกิิจการค้้าสมััยใหม่่ (ต่่อเนื่�่อง)
(ระบบการศึึกษาทางไกลทางอิินเทอร์เ์ น็็ต)
1-6
ชื่่อ� ย่อ่ สถานที่�่เรีียน
หลักั สููตร
คณะ หลัักสููตร แจ้้งวัฒั นะ วิทิ ยาเขต เครืือข่่าย
EEC Internet
เทคโนโลยีดี ิิจิทิ ััลและสารสนเทศ DIT -
วิิศวกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละปััญญาประดิิษฐ์์ CAI --
วิศิ วกรรมอุตุ สาหการและการผลิิตอััจฉริิยะ IEM -
วิิศวกรรมการผลิิตยานยนต์์ AME --
วิศิ วกรรมหุ่�นยนต์์และระบบอัตั โนมััติิ RAE --
ภาษาจีีนธุุรกิิจ BC - -
ภาษาญี่่ป� ุ่ �นธุุรกิิจ BJ - -
ภาษาอัังกฤษเพื่อ�่ การสื่�่อสารทางธุรุ กิจิ CEB --
การจัดั การอสังั หาริมิ ทรััพย์์และทรัพั ย์์สินิ อาคาร RPM --
การบริิหารทรััพยากรมนุุษย์์ HROM --
และการจัดั การองค์ก์ าร
การจัดั การธุุรกิิจการบิิน AVI --
อุตุ สาหกรรมการบริกิ ารและการท่อ่ งเที่่ย� ว HTM --
วิิชาเอกการสื่�่อสารองค์์กรและแบรนด์์ CB --
วิิชาเอกวารสารศาสตร์ค์ อนเวอร์์เจ้้นและ CJ --
สื่�่อดิิจิทิ ััลสร้้างสรรค์์
นวััตกรรมการจััดการเกษตร IAM --
การสอนภาษาจีนี TCL --
การสอนภาษาอังั กฤษ ELT
--
การจััดการเทคโนโลยีีอุุตสาหกรรมเกษตร ATM
-
การจัดั การธุุรกิิจอาหาร FBM -
การจััดการธุุรกิิจอาหาร (ต่่อเนื่่อ� ง) CFBM --
การจัดั การธุุรกิิจภัตั ตาคาร RBM
การจัดั การโลจิิสติกิ ส์์และการคมนาคมขนส่่ง LTM --
พยาบาลศาสตร์์ NS - -
NS - --
พยาบาลศาสตร์์ iMTM
(สำำ�หรับั ผู้้�สำ�ำ เร็็จปริญิ ญาตรีสี าขาอื่�่น)
การจััดการธุุรกิิจการค้้าสมัยั ใหม่่
(หลักั สูตู รนานาชาติิ)
1-7
เพลงสถาบััน
เพลงประจำ�ำ เพลงมังั คลอุุบล
สถาบัันการจััดการปััญญาภิิวัฒั น์์
เกิดิ มาเป็็นคน ต้้องพร้อ้ มจะอดทนทุุกเรื่�่องราว * มังั คลอุุบล ดั่ง� พวกเราทุกุ คน
ไม่่ว่า่ จะดีีจะร้้ายซัักเท่่าไหร่่ ต้อ้ งมองว่่าเป็็นบทเรียี น หนักั เบาพร้้อมผจญ งดงามปนเข้ม้ แข็็ง
สิ่�งที่่�เรียี นคืือความจำ�ำ สิ่�งที่่ท� ำำ�คืือความจริิง ใต้้เงาหููกระจง แผ่ก่ิ่ง� ใบมั่่�นคง
สิ่ง� ที่่�ทำำ�ได้้ยากเย็็นนั้้น� จะยิ่ง� ใหญ่่ หยัดั ยืืนทรนง...ซื่�อ่ ตรงและแข็็งแกร่ง่
สิ่�งที่่�ทำำ�โดยตัวั เอง ยิ่�งทำ�ำ จะยิ่�งเข้้าใจ
แม้้นานเพียี งใดก็ไ็ ม่ล่ ืืม P (Practicality)
**ต้อ้ งคิิดเป็น็ ทำ�ำ เป็น็ เรีียนเป็น็ I (Innovation)
เน้้นความเป็น็ ธรรมในใจ M (Morality)
สิ่�งที่่�ถููกรักั ษาไว้้ ที่่ผ� ิดิ เราต้อ้ งทิ้้ง� ไป P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
แล้ว้ เราจะก้้าวไป..ด้ว้ ยกััน
(ซ้ำ��ำ *)
***สถาบัันปััญญาภิวิ ััฒน์์ สถาบันั แห่่งปัญั ญา **ในโลกแห่ง่ ความจริงิ ต้้องเรีียนรู้้�กันจริงิ ๆ
เราจะคอยเป็น็ ผู้้�สอน เราจะคอยเป็น็ เบ้า้ หลอม ต้้องออกไปหาความจริิง วิ่�งชนเรื่�อ่ งราวแท้จ้ ริิง
ต้อ้ งเหนื่่อ� ยต้อ้ งท้้อจริิงๆ ต้อ้ งเจอผู้�คนจริิงๆ
จะหล่อ่ และก็ห็ ลอมให้้ทุุกคน เรียี นจากคนรู้�ความจริงิ แล้ว้ เราจะเป็น็ คนจริงิ
ให้้พร้้อมกลายเป็็นคนดีี (ให้้ทุกุ คนเป็็นคนดี)ี คนเก่ง่ นั้้�นยังั ไม่่พอ เก่ง่ จริงิ ต้อ้ งจััดการได้้
เกิดิ มาเป็็นคน ต้้องมุ่�งมั่น� ฝึึกฝนประสบการณ์์
ค่า่ ความเป็น็ คนอยู่�ที่ใ� จวัดั กันั ที่่ผ� ลงาน อันั มีคี ่า่ ควรจดจำ�ำ แค่่กล้า้ ก็ย็ ัังไม่่พอ กล้้าจริงิ ต้้องมีวี ินิ ัยั
คนฉลาดนั้้�นยังั ไม่่พอ คนฉลาดต้อ้ งไม่่โกงใคร
(ซ้ำ�ำ� *, **, ***)
เราก็เ็ หมืือนอิิฐคนละก้้อนวางซ้อ้ นเรีียงกันั จึึงแน่น่ หนา แข็ง็ แรงก็็ยัังไม่พ่ อ เพราะว่่าต้อ้ งมีนี ้ำ�ำ�ใจ
***ธงสีีเขีียวขจีี ฉาบสีเี หลืืองเรืืองรอง
ก่่อด้ว้ ยความรักั ในปััญญา บนแผ่่นดิินสีที อง นี่่�คืือบ้า้ นของเรา
ฉาบด้ว้ ยศรััทธา..ในสถาบันั ..ของเรา
(ซ้ำำ��*, **, ***)
https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc
1-8
ส่่วนที่่� 2
คณะเรา
“นิเิ ทศศาสตร์”์
2-1
คณะเรา
“นิิเทศศาสตร์์”
ปรัชั ญาคณะนิิเทศศาสตร์์
“นัักสื่่อ� สารเชิิงบููรณาการบนรากฐานความรัับผิิดชอบต่่อสาธารณะ
(Integrated Communicators with Public Responsibility)”
ปณิิธาน
มุ่�งมั่�นผลิิตนัักนิิเทศศาสตร์์ที่่�ตอบโจทย์์ตลาดแรงงานจริิง โดยให้้ความสำำ�คััญกัับการเป็็นนัักนิิเทศศาสตร์์
ที่่�มีีจริิยธรรม คุุณธรรม และมีีจิิตสำำ�นึึกสาธารณะ เพื่่�อเติิมเต็็มการพััฒนาอุุตสาหกรรมใหม่่ที่่�มีีรากฐานสืืบ
เนื่่�องจากการต่่อยอดอุุตสาหกรรมปััจจุุบััน โดยมุ่�งเน้้นศาสตร์์ทางด้้านการสื่่�อสาร ได้้แก่่ ดิิจิิทััลคอนเทนต์์
(Digital Content) การวิเิ คราะห์ข์ ้อ้ มูลู ของผู้้�บริโิ ภค (Consumer Insights Analytic) และสื่อ่� สร้า้ งสรรค์แ์ ละ
แอนิิเมชั่�น (Creative Media and Animation) ผ่่านกระบวนการเรีียนรู้้�ด้ว้ ยประสบการณ์จ์ ากการปฏิิบัตั ิิ
งานจริงิ (Work-based Learning)
วิสิ ััยทัศั น์์
คณะนิิเทศศาสตร์์ สถาบัันการจััดการปััญญาภิิวััฒน์์ มุ่�งมั่�นที่่�จะสร้้างและพััฒนาคุุณภาพการศึึกษา
ด้า้ นนิเิ ทศศาสตร์ใ์ ห้เ้ ป็น็ ที่่ย� อมรับั อย่า่ งกว้า้ งขวาง จึงึ กำ�ำ หนดวิสิ ัยั ทัศั น์ว์ ่า่ ภายในระยะเวลา 5 ปีี จะเป็น็ เครืือข่า่ ย
แห่ง่ การถ่า่ ยทอดความรู้�และเสริมิ สร้า้ งทักั ษะด้า้ นการสื่อ�่ สารองค์ก์ รและแบรนด์์ วารสารศาสตร์ค์ อนเวอร์เ์ จ้น้ ท์์
และการสื่อ่� สารเชิงิ นวัตั กรรมเพื่อ�่ องค์ก์ รสมัยั ใหม่่ รวมทั้้ง� การผลิติ บัณั ฑิติ และมหาบัณั ฑิติ ที่่ม� ีมี าตรฐานในระดับั
ชาติิและนานาชาติิ
พัันธกิิจ
1. ผลิิตบััณฑิิตที่่�มีีความรู้้�ด้้านนิิเทศศาสตร์์ที่่�ครบเครื่�่อง ทั้้�งความรู้�ในการวางแผน การบริิหารจััดการ
ความเข้้าใจในธุุรกิิจ และกระบวนการสื่�่อสาร ความสามารถในการคิิด วิิเคราะห์์ และมีีความคิิด
สร้า้ งสรรค์์ เพื่อ่� นำ�ำ ไปประยุุกต์์ใช้ใ้ นงานวิิชาชีีพนิิเทศศาสตร์์บนพื้้น� ฐานคุุณธรรมจริิยธรรม และจรรยา
บรรณวิิชาชีพี
2. ผลิติ บัณั ฑิติ ที่่ม� ีที ักั ษะรอบด้า้ นให้ม้ ีศี ักั ยภาพในการทำำ�งานที่่ต� อบสนองตามความต้อ้ งการของวิชิ าชีพี ได้้
โดยมีที ักั ษะหลากหลาย (Multi-skilled) สามารถประยุุกต์์ใช้อ้ งค์์ความรู้�เพื่อ่� การสื่�่อสารหลากช่่องทาง
(Multi-platforms) และสร้้างสรรค์เ์ นื้้อ� หาที่่ห� ลากหลาย (Multi-contents) เพื่�อ่ ตอบโจทย์ก์ ารพััฒนา
องค์ก์ รและสัังคมอย่า่ งยั่ง� ยืืน
3. ผลิติ บัณั ฑิติ ที่่ม� ีคี ุณุ ภาพ พร้อ้ มทำ�ำ งานได้ท้ ันั ทีี ด้ว้ ยกระบวนการเรียี นรู้้�จากผู้้�ทรงคุณุ วุฒุ ิดิ ้า้ นนิเิ ทศศาสตร์์
ร่่วมกัับนัักวิิชาชีีพที่่�มีีชื่�่อเสีียงระดัับประเทศ ผ่่านการเรีียนรู้�ในชั้�นเรีียน กระบวนการทำ�ำ โครงงาน
กิิจกรรม และการเรีียนรู้้�จากประสบการณ์์ฝึึกปฏิิบััติิงานจริิง (Work-based Learning) ณ สถาน
ประกอบการ
2-2
สััญลักั ษณ์แ์ ละสีีประจำ�ำ คณะ
นกพิริ าบ
สัญั ลักั ษณ์ข์ องความสงบและการสื่่�อสาร
ช่่อมะกอก
สัญั ลักั ษณ์แ์ ห่ง่ การขอให้้ยกโทษหรืือการยอมให้้ เปรีียบเหมืือนนัักสื่่�อสารที่่ม� ีีความ
เป็็นอิสิ ระ เที่่�ยงตรง เป็น็ กลาง ตั้ง� มั่น� ในคุณุ ธรรม จริิยธรรม และมีีความเป็็นเลิศิ ในการ
สื่�อ่ สารท่า่ มกลางกระแสความเปลี่�ยนแปลงของโลก
วางอยู่�ในรูปู ทรงเรขาคณิติ 5 เหลี่�ยม อัันสื่�อ่ ถึงึ คุุณลักั ษณะบัณั ฑิติ ที่่�พึึงประสงค์์
5 ประการ ได้้แก่่ เรียี นเป็็น คิดิ เป็น็ ทำำ�งานเป็น็ เน้้นวััฒนธรรม และรักั ความถูกู ต้้อง
สีปี ระจำ�ำ คณะ / สีนี ้ำ��ำ เงิิน (Royal Blue)
แทน “สีีน้ำ��ำ หมึึก” ซึ่�งเป็็นสััญลัักษณ์ข์ อง “การสื่�อสาร”
หลักั สููตร / สาขาวิชิ าที่่�เปิิดสอน
หลัักสููตรระดับั ปริิญญาตรีี
1. หลักั สูตู รนิเิ ทศศาสตรบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าเอกการสื่อ่� สารองค์ก์ รและแบรนด์์ (Corporate
and Brand Communication)
2. หลักั สูตู รนิเิ ทศศาสตรบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าเอกวารสารศาสตร์ค์ อนเวอร์เ์ จ้น้ ท์แ์ ละสื่อ่� ดิจิ ิทิ ัลั
สร้้างสรรค์์ (Convergent Journalism and Creative Digital Media)
หลักั สููตรระดับั ปริิญญาโท
1. หลักั สูตู รนิเิ ทศศาสตรมหาบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าการสื่อ�่ สารเชิงิ นวัตั กรรมเพื่อ�่ องค์ก์ รสมัยั ใหม่่
(Innovative Communication for Modern Organization)
ติิดต่อ่ คณะ
ชั้้�น 9 อาคาร 4 หรืืออาคาร CP ALL Academy
โทรศััพท์์ 0 2855 0966
2-3
การเข้้าถึึงข้้อมููลคณะ
1. เว็บ็ ไซต์์คณะนิิเทศศาสตร์:์ https://ca.pim.ac.th/
2-4
หลัักสููตรนิิเทศศาสตรมหาบัณั ฑิติ
สาขาวิชิ าการสื่่อ� สารเชิงิ นวัตั กรรม
เพื่่�อองค์ก์ รสมััยใหม่่
Master of Communication Arts Program in
Innovative Communication for Modern Organization
ชื่่อ� ปริญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่่�อเต็ม็ ) : นิเิ ทศศาสตรมหาบััณฑิติ
(การสื่�อสารเชิิงนวััตกรรมเพื่่�อองค์์กรสมััยใหม่่)
(อักั ษรย่่อ) : นศ.ม. (การสื่�อสารเชิิงนวััตกรรมเพื่่�อองค์ก์ รสมัยั ใหม่่)
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่�อเต็ม็ ) : Master of Communication Arts (Innovative
Communication for Modern
Organization)
(อักั ษรย่่อ) : M. Com. Arts (Innovative Communication for
Modern Organization
หมายเหตุุ: สำ�ำ นักั งานปลัดั กระทรวงการอุดุ มศึกึ ษาวิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม (สป.อว.)
รัับทราบหลัักสููตรเมื่�อ่ 2 มีนี าคม พ.ศ.2563
จุุดเด่น่ ของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร
คณะนิเิ ทศศาสตร์์ สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ เปิดิ หลักั สูตู รนิเิ ทศศาสตรมหาบัณั ฑิติ ตั้ง� แต่ป่ ีี พ.ศ.2562
โดยมีพี ื้้น� ฐานสำ�ำ คััญจากหลักั สููตรนิิเทศศาสตรบััณฑิิตทั้้�ง 2 สาขา ได้แ้ ก่่ (1) วิชิ าเอกการสื่่�อสารองค์์กรและแบรนด์์
(Corporate and Brand Communication) และ (2) วิชิ าเอกวารสารศาสตร์ค์ อนเวอร์เ์ จ้น้ ท์แ์ ละสื่อ�่ ดิจิ ิทิ ัลั สร้า้ งสรรค์์
(Convergent Journalism and Creative digital media) หลักั สูตู รฯ จัดั การเรีียนการสอนโดยใช้ห้ ลักั การเรีียน
รู้้�จากประสบการณ์์จริิง (Work-base Education) เพื่่�อผลิิตนัักสื่�่อสารที่่�สามารถสร้้างสรรค์์และประยุุกต์์ใช้้การ
สื่�่อสารเชิิงนวััตกรรมผ่่านการวิจิ ััยจากกระบวนการทำำ�งานจริิง (Work-base Researching) ขององค์ก์ รเพื่�อ่ ให้ส้ อด
รัับกัับการเปลี่ย� นแปลงขององค์ก์ รสมัยั ใหม่่ ภายใต้้จริิยธรรม จรรยาบรรณ และความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม และมีี
ทัักษะที่่�ก้า้ วทัันเทคโนโลยีกี ารสื่่อ� สารในบริิบทของการเปลี่�ยนแปลงทางสัังคมและภููมิิทัศั น์ส์ ื่่อ� ในอนาคต
เป้า้ หมายของหลัักสูตู ร คืือ การผลิติ มหาบััณฑิติ ที่่ม� ีีทัักษะการคิิดเชิิงวิิเคราะห์์ (Critical Thinking Skills)
ทักั ษะการคิดิ เชิงิ สร้า้ งสรรค์์ (Creative Thinking Skills) และมีคี วามสามารถในการบูรู ณาการองค์ค์ วามรู้้�ทางทฤษฎีี
เพื่่�อการประยุกุ ต์์ใช้ใ้ นการปฏิิบัตั ิกิ ารในองค์ก์ รได้้จริิง
หลักั สูตู รฯ จึงึ ได้อ้ อกแบบรายวิชิ าทั้้ง� รายวิชิ าบังั คับั และรายวิชิ าเลืือก ให้ม้ ีที ั้้ง� รายวิชิ าที่่เ� ป็น็ ทฤษฎีแี ละรายวิชิ า
ที่่�จะประยุุกต์์ทฤษฎีีทางการสื่�่อสารกัับการปฏิิบััติิการสื่�่อสาร ตลอดจนการประเมิินผลการสื่�่อสารให้้สอดคล้้อง
กัับความสนใจและความถนััดของนัักศึกึ ษา
2-5
ผลลััพธ์ก์ ารเรีียนรู้ข้� องหลักั สููตร
1. ตระหนัักในคุุณค่่าและคุุณธรรม จริิยธรรม เสีียสละ และซื่่�อสััตย์์สุุจริิต มีี
จรรยาบรรณทางวิิชาการและวิิชาชีีพ และมีีความรัับผิิดชอบในฐานะ
ผู้ �ประกอบวิิชาชีีพ
2. มีวี ินิ ัยั ตรงต่อ่ เวลา และความรับั ผิดิ ชอบต่อ่ ตนเอง องค์ก์ ร และสังั คม เคารพ
ด้า้ นคุณุ ธรรม จริิยธรรม กฎระเบีียบและข้อ้ บัังคัับต่า่ งๆ ขององค์ก์ รและสัังคม
3. มีีภาวะความเป็็นผู้้�นำำ�และผู้�ตาม สามารถทำ�ำ งานร่่วมกัับผู้้�อื่่�นและสามารถ
แก้้ไขข้้อขัดั แย้้งและลำำ�ดับั ความสำ�ำ คััญได้้
ด้้านความรู้้� 4. เคารพสิิทธิิและรัับฟัังความคิิดเห็็นของผู้�อื่�น รวมทั้้�งเคารพในคุุณค่่าและ
ศัักดิ์�ศรีขี องความเป็น็ มนุษุ ย์์
1. มีีความรู้�และความเข้้าใจเกี่�ยวกัับหลัักการและทฤษฎีีที่่�สำ�ำ คััญด้้าน
นิิเทศศาสตร์์ ด้้านการวิิจััย ด้้านการสื่่�อสารเชิิงนวััตกรรม ด้้านธุุรกิิจ และ
ด้า้ นเทคโนโลยีี
2. มีคี วามรู้�ความเข้า้ ใจและมีที ักั ษะที่่ก� ้า้ วทันั เทคโนโลยีกี ารสื่อ่� สารในบริบิ ทของ
การเปลี่ย� นแปลงทางสังั คมและภููมิิทััศน์์สื่อ�่
3. มีคี วามสามารถในการติดิ ตามความก้า้ วหน้า้ ทางวิชิ าการและความรู้�ในสาขา
วิิชาที่่�ศึึกษาเพื่่�อให้้เล็็งเห็็นการเปลี่ �ยนแปลงและเข้้าใจผลกระทบของ
เทคโนโลยีี
4. มีีความสามารถในการบููรณาการความรู้�ในสาขาวิิชาที่่�ศึึกษากัับความรู้�ใน
ศาสตร์์อื่่น� ที่่�เกี่ย� วข้้อง
1. มีีความคิดิ ที่่ม� ีีวิิจารณญาณที่่ด� ีีและเป็็นระบบ
2. มีคี วามสามารถในการสืืบค้น้ รวบรวม ศึกึ ษา วิิเคราะห์์ และสรุปุ ประเด็็น
ด้า้ นทัักษะทางปัญั ญา ปััญหา เพื่อ่� ใช้ใ้ นการแก้ไ้ ขปััญหาที่่�เกิดิ ขึ้�นได้้อย่่างสร้้างสรรค์์
3. มีีความสามารถในการประยุุกต์์ความรู้�และทัักษะที่่�มีีกัับการแก้้ไขปััญหา
ได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม
1. มีมี นุษุ ยสัมั พันั ธ์ท์ี่่ด� ีี สามารถสื่อ�่ สารได้ท้ั้้ง� ภาษาไทยและภาษาอังั กฤษได้อ้ ย่า่ ง
มีปี ระสิทิ ธิภิ าพ
ด้า้ นทัักษะความสััมพัันธ์์
ระหว่่างบุคุ คลและ 2. รู้้�จักั บทบาทหน้า้ ที่่แ� ละมีคี วามรับั ผิดิ ชอบในงานที่่ไ� ด้ร้ ับั มอบหมาย สามารถ
ความรัับผิิดชอบ ทำ�ำ งานร่ว่ มกับั ผู้้�อื่น�่ ได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพทั้้ง� การเป็น็ ผู้้�นำ�และผู้�ตาม สามารถ
วางตัวั ได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม และสามารถแสดงจุดุ ยืืนอย่า่ งพอเหมาะทั้้ง� ของตนเอง
และของกลุ่ �ม
1. มีคี วามรู้้�ทางคณิติ ศาสตร์แ์ ละสถิติ ิเิ พื่อ�่ ใช้ใ้ นการวิเิ คราะห์แ์ ละนำ�ำ เสนอข้อ้ มูลู
ด้้านทัักษะการวิเิ คราะห์์ 2. สามารถสื่อ�่ สารได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพทั้้ง� การพูดู และการเขียี นในภาษาไทย
เชิงิ ตััวเลข การสื่่�อสาร และ/หรืือภาษาต่า่ งประเทศอย่า่ งน้อ้ ยหนึ่่ง� ภาษา และสามารถเลืือกรูปู แบบ
และการใช้เ้ ทคโนโลยีี ของการสื่อ�่ สารในการนำ�ำ เสนอได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม
สารสนเทศ 3. มีีทัักษะและสามารถประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีที่่�ทัันสมััยในการทำ�ำ งานทั้้�งในเชิิง
วิชิ าการและวิชิ าชีพี
2-6
แนวทางการประกอบอาชีีพ
1. นัักวางแผนกลยุุทธ์์การสื่�่อสารองค์์กรและแบรนด์์ (Corporate and Brand
Communication Strategic Planner)
2. นัักวางแผนกลยุุทธ์์การสื่�่อสารตลาดดิิจิิทััลและสื่�่อสัังคม (Social Media and Digital
Marketing Communication Strategic Planner)
3. นักั บริิหารความสััมพัันธ์์ (Stakeholder Relationship Manager) /ผู้�เชี่�ยวชาญด้า้ นความ
รัับผิดิ ชอบต่่อสังั คม (Corporate Social Responsibility Specialist)
4. ผู้้�บริหิ ารโครงการ (Project Manager) ที่่�เกี่�ยวข้อ้ งกัับการสื่อ�่ สารและการสื่่�อสารดิิจิทิ ัลั
5. ผู้้�เชี่�ยวชาญ (Specialist) ทางด้้านการสื่่อ� สาร การสื่�อ่ สารดิิจิิทััล และการวิเิ คราะห์์ผู้้�รับสาร
6. นัักบริิหาร (Executive) /เจ้้าหน้้าที่่�บริิหาร (Executive Officer) /ผู้�ประกอบการ
(Entrepreneur) ในธุรุ กิจิ ทางด้า้ นการสื่�อ่ สาร การสื่�่อสารดิิจิทิ ัลั และนวััตกรรมสื่อ�่ สาร
7. ผู้้�ผลิิตเนื้้�อหาออนไลน์์ (Online Content Creator) /ผู้�ผลิติ เนื้้�อหาข้า้ มสื่�อ่ (Transmedia
Content creator) /ผู้�ออกแบบความผูกู พันั ทางสัังคม (Social Engagement Designer)
8. อาจารย์์ (Lecturer) /นัักวิชิ าการ (Academic Officer) ในสถาบัันอุดุ มศึกึ ษา
9. นัักวิจิ ััย (Researcher) /นัักวิเิ คราะห์์ (Analyzer) ในธุุรกิิจทางด้้านการสื่อ่� สาร การสื่�่อสาร
ดิิจิทิ ัลั และนวััตกรรมสื่่�อสาร
รายละเอีียดค่่าเล่่าเรีียน
1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 210,000 บาท และชำ�ำ ระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตรา 52,500 บาท ตามแผนการเรียี นปกติิ 4 ภาคการศึึกษา
2. อััตราค่่าเล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา ไม่ร่ วมค่า่ ใช้้จ่่าย ดัังต่่อไปนี้้�
- ค่า่ รายวิชิ าปรัับพื้้�นฐาน
- ค่่าศึึกษาดููงานต่่างประเทศ (ถ้้ามีี)
- ค่่าหนังั สืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรีียน
- ค่่าธรรมเนียี มการสอบดุษุ ฏีีนิพิ นธ์/์ วิิทยานิพิ นธ์/์ การศึึกษาค้น้ คว้้าอิิสระ/การสอบประมวลความรู้�
(กรณีสี อบซ้ำ��ำ ) และค่่าธรรมเนีียมอื่่�นๆ ที่่�เป็น็ ไปตามสถาบััน
- ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยอื่่�นๆ ที่่�เป็น็ ไปตามประกาศสถาบััน
2-7
แผนการศึึกษา
1. สำำ�หรับั นัักศึึกษา แผน ก แบบ ก 2
ปีีการศึึกษาที่่� 1
ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2
รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่่วยกิิต
IC 62701 ทฤษฎีกี ารสื่อ่� สารและนวััตกรรม 3 IC 62705 สััมมนากฎหมายและจริิยธรรม 3
ทางธุุรกิจิ สำ�ำ หรับั ผู้้�ประกอบการ 3
IC 62702 การวิจิ ััยสำำ�หรัับการสื่่อ� สาร 3 3
เชิิงนวัตั กรรม IC 627xx วิิชาเลืือก 1
3 9
IC 62703 การสื่่�อสารเพื่่�อองค์์กรสมัยั ใหม่่ 3 IC 627xx วิิชาเลืือก 2
IC 62704 การประยุกุ ต์์ใช้้เครื่่�องมืือทางการ 12
สื่�อ่ สารสำำ�หรับั การสื่อ่� สาร
เชิิงนวััตกรรม หน่่วยกิิต
รวม 3 รวม
3
ภาคการศึกึ ษาฤดููร้้อน
รหัสั วิิชา รายวิิชา
IC 627xx วิชิ าเลืือก 3
รวม
ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2
ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2
รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต
IC 62780 วิิทยานิิพนธ์์ 6 IC 62780 วิทิ ยานิิพนธ์์ 6
รวม 6 รวม 6
2-8
2. สำำ�หรับั นัักศึกึ ษา แผน ข
ปีกี ารศึึกษาที่่� 1
ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2
รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต
IC 62701 ทฤษฎีีการสื่่�อสารและนวััตกรรม 3 IC 62705 สัมั มนากฎหมายและจริิยธรรม 3
ทางธุุรกิจิ สำ�ำ หรับั ผู้้�ประกอบการ 3
IC 62702 การวิิจัยั สำ�ำ หรัับการสื่อ�่ สาร 3 3
เชิงิ นวัตั กรรม IC 627xx วิชิ าเลืือก 1
3 9
IC 62703 การสื่�่อสารเพื่�อ่ องค์ก์ รสมััยใหม่่ 3 IC 627xx วิิชาเลืือก 2
IC 62704 การประยุกุ ต์ใ์ ช้เ้ ครื่�อ่ งมืือทาง 12
การสื่อ่� สารสำำ�หรับั การสื่อ่� สาร
เชิิงนวัตั กรรม หน่่วยกิิต
รวม 3 รวม
3
ภาคการศึึกษาฤดููร้้อน
รหััสวิิชา รายวิิชา
IC 627xx วิชิ าเลืือก 3
รวม
ปีีการศึึกษาที่่� 2
ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2
รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต
IC 627xx วิิชาเลืือก 4 3 IC 62781 การค้้นคว้้าอิสิ ระ 6
IC 627xx วิชิ าเลืือก 5 3
6
รวม รวม 6
สามารถศึึกษาข้อ้ มููลหลักั สููตรเพิ่่�มเติิมได้ท้ ี่่�
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=T20192174104863&b=0&u=25000&y=
2-9
ส่ว่ นที่่� 3
รอบรู้�้ “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)”
3-1
รู้ร้� อบ..ขอบชิดิ
PIM : แจ้ง้ วััฒนะ
ที่ต่� ั้้�งและการเดิินทาง
PIM (พีไี อเอ็ม็ ) ตั้ง� อยู่่�บนถนนแจ้ง้ วััฒนะ (ฝั่่�งขาออก มุ่�งหน้า้ ไป
ยัังห้้าแยกปากเกร็ด็ ) การเดิินทางมายััง PIM ทำำ�ได้้โดย
รถสองแถวนนทบุุรีี
สายท่่าน้ำำ��นนท์์ - หน้้าเมืืองทองธานีี –
วััดสาลีโี ข
รถตู้โ้� ดยสารประจำ�ำ ทาง รถประจำ�ำ ทาง
สายมีีนบุรุ ี-ี ปากเกร็็ด สาย 166 (อนุสุ าวรียี ์ช์ ัยั สมรภูมู ิิ - เมือื งทองธานี)ี
สายอนุสุ าวรีีย์ช์ ัยั สมรภูมู ิิ – ปากเกร็ด็ สาย 356
สายรังั สิิต – ปากเกร็ด็
สายจตุุจักั ร – ปากเกร็ด็ • สายปากเกร็็ด – สะพานใหม่่
สายบางกะปิิ – ปากเกร็ด็ • สายปากเกร็ด็ – ดอนเมือื ง – สะพานใหม่่
สาย ม.รามคำำ�แหง – ปากเกร็ด็ สาย 51 (ปากเกร็็ด – ม.เกษตรศาสตร์)์
สาย 52 (ปากเกร็ด็ – จตุุจักั ร)
สาย 150 (ปากเกร็็ด – Happy Land)
สาย 391 (ลาดหลุุมแก้ว้ – เมืืองทองธานี)ี
3-2
รถไฟฟ้้าสายสีีชมพูู สถานีศี ูนู ย์์ราชการนนทบุรุ ีี – เชื่อ� มรถไฟฟ้า้ สายสีีม่ว่ ง (บางใหญ่่-เตาปููน-ราษฎร์์บูรู ณะ)
** มีีแผนเปิิดให้้บริิการ ...
สถานีกี รมชลประธาน
พ.ศ.2565 สถานีีปากเกร็ด็
สถานีีเลี่ย� งเมืืองปากเกร็ด็
โครงข่่ายระบบรถไฟฟ้า้ สถานีแี จ้้งวััฒนะ – ปากเกร็ด็ 28 (เดิินมา PIM เพีียง 300 เมตร)
ขนส่ง่ มวลชน สถานีเี มืืองทองธานีี (เดิินมา PIM ประมาณ 500 เมตร)
สถานีศี รีรี ััช (ส่ว่ นขยายรถไฟฟ้า้ สีีชมพููเชื่อ� มต่่อเข้า้ เมืืองทองธานี:ี ให้บ้ ริกิ าร พ.ย. 2565)
ในเขตกรุงุ เทพและปริมิ ณฑล : สถานีแี จ้้งวัฒั นะ 14
สถานีีศููนย์์ราชการเฉลิมิ พระเกียี รติิ
https://cdn-cms.pgimgs.com/ สถานีีทีีโอทีี
static/2019/07/map-bangkok- สถานีีหลัักสี่� – เชื่่�อมรถไฟฟ้า้ สายสีีแดง (บางซื่่อ� – รังั สิติ )
สถานีรี าชภััฐพระนคร
metro-system.pdf สถานีวี ัดั พระศรีมี หาธาตุุ – เชื่่อ� มรถไฟฟ้า้ สายสีเี ขียี ว (สยาม - หมอชิติ – สะพานใหม่่ – คูคู ต)
…
สถานีีมีนี บุรุ ีี
หมายเหตุุ: รถไฟฟ้้าสายสีชี มพููให้้บริิการ : เฟสแรกเดืือนมิิถุนุ ายน 2565 >> สถานีมี ีีนบุรุ ีี – สถานีีศูนู ย์ร์ าชการเฉลิมิ พระเกีียรติิ
เฟสสองเดืือนสิิงหาคม 2565 (ให้บ้ ริกิ ารผ่่านหน้้า PIM) >> สถานีีมีนี บุรุ ีี – สถานีกี รมชลประทาน
เฟสสาม (เต็ม็ รููปแบบ) เดือื นกรกฎาคม 2566 (ให้บ้ ริกิ ารผ่า่ นหน้า้ PIM) >> สถานีมี ีนี บุรุ ีี – สถานีศี ูนู ย์ร์ าชการนนทบุรุ ีี
3-3
รอบบ้้าน PIM : แจ้้งวััฒนะ
ในรั้้ว� PIM แจ้ง้ วัฒั นะ นักั ศึกึ ษาจะเห็น็ พื้้น� ที่่แ� ละอาคารมากมาย เราเรียี กพื้้น� ที่่�นี้้ว� ่่า “ธาราพาร์์ค” ซึ่ง�่ มีีบริิษัทั
องค์์กรต่่างๆ ทำำ�งานอยู่�ในพื้้น� ที่่น� ี้้� เช่่น บริษิ ััท ซีีพีี ออลล์์ จำ�ำ กััด (มหาชน) บริษิ ัทั ปัญั ญธารา จำ�ำ กััด บริิษัทั ออลล์์ เทรน
นิ่่ง� จำ�ำ กัดั โรงเรียี นสาธิติ สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ และสถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ เรามาทำำ�ความรู้�จักพื้้น� ที่่�
ธาราพาร์์คและอาคารต่า่ งๆ กันั
1 อาคาร The TARA อาคารสำ�ำ นักั งานของบริษิ ััท ซีพี ีี ออลล์์ จำ�ำ กััด (มหาชน)
2 อาคาร ธารา 1 อาคารสำ�ำ นักั งานของ บริิษััท โกซอฟท์์ (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั
และหน่่วยงาน Call Center
3 อาคาร ปัญั ญธารา 1 อาคารสำำ�นัักงานและศููนย์ฝ์ ึึกอบรมบริษิ ััท ปัญั ญธารา จำ�ำ กัดั
บริษิ ััท ออลล์์ เทรนนิ่่ง� จำำ�กััด
ร้า้ น Bellinee’s Bake & Brew และ Co-Working Space
4 อาคาร ปัญั ญธารา 2 อบราิคษิ ัาทั รสอำ�ำอนลัักล์ง์ เาทนรนแนิล่่ะง� ศูจูนำ�ำยก์ั์ฝดัึกึ รอ้า้ บนรม7-บEริLษิ EัทัVEปnััญแญลธะาร้รา้ านจSำ�ำ hกัoัดp at 24
5 อาคาร The Park อาคารจอดรถ 1,000 คััน (มีีค่า่ บริกิ าร)
ภายในมีีศูนู ย์อ์ าหาร Food World
6 โรงเรีียนสาธิติ สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิิวััฒน์์ โรงเรียี นระดัับมััธยมศึึกษาตอนต้น้ และตอนปลาย
(สาธิติ พีีไอเอ็็ม)
7 อาคาร Food Technology อาคารสำ�ำ นัักงานของบริิษััท ซีพี ีี ออลล์์ จำ�ำ กัดั (มหาชน)
และ Food Academy สถาบัันสอนทำ�ำ อาหารครบวงจร
8 Chef’s Kitchen และร้้าน 7-ELEVEn
ร้า้ นอาหารและร้า้ น 7-ELEVEn
9 สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิวิ ััฒน์์ อาคารสำำ�หรับั การเรีียน การฝึึกปฏิบิ ัตั ิิ การทำำ�กิจิ กรรม
คณะวิชิ าและหน่่วยงานต่า่ งๆ ใน PIM
10 ลานธาราสแควร์์ ลานอเนกประสงค์์
และสามารถจอดรถยนต์์และรถจักั รยานยนต์์ (มีีค่า่ บริิการ)
3-4
อาคารเรีียน
อาคาร 1 (อาคารอำำ�นวยการ) อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy)
ชั้น� 1 : ห้้องปฏิิบััติิการคณะวิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี ชั้�น 7 : ห้้องเรีียน สำำ�นักั กิิจการนัักศึกึ ษา
ห้อ้ งรับั ฟัังและให้้คำำ�ปรึึกษาโดยนัักจิติ วิิทยา และสำำ�นักั พััฒนานัักศึึกษา
(Friends Care PIM) ชั้น� 8 : หห้้อ้้องงเปรีฏียินบิ ััตหิ้กิ ้อางรเหรียีมนากอัลจั ้ฉอ้ รมิยิ แะลSะmร้้าaนrt7C-lEaLssErVoEonm
ชั้�น 2 : ห้้องปฏิบิ ัตั ิิการต่่างๆ
ชั้�น 3 : ห้อ้ งละหมาด และห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิิการต่า่ งๆ (PIM Store Model)
ชั้น� 9 : ห้้องพักั อาจารย์ค์ ณะอุตุ สาหกรรมเกษตร
คณะนิิเทศศาสตร์์ คณะการจัดั การการศึึกษา
อาคาร 2 (อาคาร Convention Hall) เชิิงสร้้างสรรค์์ คณะเกษตรนวัตั และการจัดั การ
และคณะการจัดั การธุุรกิิจอาหาร
ชั้�น 1 : โถงกิจิ กรรม ร้้านค้า้ จำ�ำ หน่า่ ยอาหารและสิินค้า้ ทั่่ว� ไป ชั้น� 10 : ห้อ้ งพัักอาจารย์ค์ ณะบริหิ ารธุุรกิจิ คณะวิิทยาการ
PIM Smart Shop และ PIM Souvenir Shop จัดั การ คณะการจััดการโลจิสิ ติิกส์แ์ ละ
การคมนาคมขนส่ง่ วิิทยาลััยนานาชาติิ
ชั้น� 2 : ห้อ้ งเรีียน
ชั้�น 3 : ห้อ้ งละหมาด และห้อ้ งประชุุม/สััมมนา
อาคาร 3 (อาคารอเนกประสงค์)์ และวิทิ ยาลััยบัณั ฑิติ ศึึกษาจีนี
ชั้น� 11 : ห้อ้ งพัักอาจารย์์คณะศิลิ ปศาสตร์์
ชั้�น 1 : ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการต่า่ งๆ คณะวิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี
ชั้�น 2 : ห้้องพยาบาล และสำ�ำ นักั งานต่า่ งๆ และสำำ�นัักการศึกึ ษาทั่่�วไป
ชั้น� 3 : ห้้องเรียี น ห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ าร และห้้องบััณฑิติ ศึึกษา ชั้น� 12 : ห้้องปฏิิบััติิการต่่างๆ สำ�ำ นักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ
และห้้องพัักอาจารย์ค์ ณะวิิทยาการจััดการ
อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy) สาขาวิชิ าการจััดการการบริิการและการท่่องเที่่ย� ว
ชั้�น 12A : ห้้องสมุดุ (PIM Creative Learning Space)
ชั้น� G : ร้้านถ่า่ ยเอกสาร ร้า้ น 7-ELEVEn ชั้น� 14 : สำ�ำ นักั ส่่งเสริมิ วิิชาการ สำำ�นักั บัญั ชีีและการเงิิน
ชั้�น L : ศูนู ย์์รับั สมัคั รนัักศึกึ ษา และพื้้น� ที่่อ� ่่านหนังั สืือ
ชั้�น M : ศูนู ย์ป์ ฏิบิ ัตั ิิการธุุรกิจิ การบินิ (PIM AIR) ชั้�น 16 : ห้อ้ งประชุุม Auditorium
ชั้�น 3 : ศููนย์์อาหาร Food World
ชั้น� 4 : ห้้องเรีียน และห้้องปฏิิบัตั ิิการภาคพื้้น�
ชั้น� 5-6 : ห้้องเรีียน
3-5
ห้้องเรีียน และห้้องปฎิิบััติิการต่่างๆ
ห้้องเรียี นอัจั ฉริยิ ะ Smart Classroom
ห้้อง 4-0806
ห้อ้ งเรีียนในยุคุ ใหม่่ ที่่�ส่ง่ เสริมิ กิิจกรรมการเรียี นการสอนด้ว้ ย
เทคโนโลยีีที่่ห� ลากหลาย ให้เ้ ป็็นมากกว่า่ ห้้องเรีียนทั่่ว� ไป
ห้อ้ งหมากล้อ้ ม GO Classroom
ห้อ้ ง 4-0808
พััฒนาเชาว์ป์ ัญั ญา ฝึกึ ทักั ษะการบริหิ ารและวางกลยุทุ ธ์์ผ่่าน
การเล่่นหมากล้อ้ ม (โกะ)
ห้้องปฏิิบััติกิ ารด้้านภาษาและคอมพิวิ เตอร์์
Computer & Sound Lab
ห้อ้ ง 1-0301, 1-0303, 3-0309, 3-0310,
4-1204, 4-1205, 4-1209 และ 4-1210
เรีียนรู้�การใช้้เทคโนโลยีี ทักั ษะทางคอมพิิวเตอร์แ์ ละภาษาต่่างประเทศ
ร้้าน 7- ELEVEn (PIM Store Model)
7หแ้-ลอ้ EะงLนEั4กัV-ศE0ึกึn8ษ0จา7ำส�ำ าลมอางรหถ้อ้ซื้งอ� เสรีิยีนิ นค้ราู้้�กในาร7จั-ดั EกLาEรVธEุรุ nกิจิ นีก้้ไ� าดร้จ้ คร้ิา้ งิ สอมีกีัยั ด้ใว้หยม่่
Distance Learning Studio
ห้้อง 4-1208
ห้อ้ งสตูดู ิโิ อสำ�ำ หรับั ถ่า่ ยทำ�ำ วิดิ ีโี อ จัดั กิจิ กรรมสัมั มนาออนไลน์์
หรืือฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิใิ นการเป็น็ ผู้้�ดำ�เนินิ รายการ
3-6
PIM AIR
ศููนย์ฝ์ ึึกปฏิิบัตั ิกิ ารธุุรกิิจการบิิน
Sky Terminal ห้อ้ ง 4-M001
AIRCRAFT ห้้อง 4-M002
ศูนู ย์ฝ์ ึึกการบริกิ ารภาคพื้้�นและบนเครื่่อ� งบินิ
ห้้องปฏิบิ ััติกิ ารภาคพื้้�น
ห้อ้ ง 4-0408
เรียี นรู้�การจัดั การจราจรทางอากาศ การจััดการสนามบิิน
การจััดการอำำ�นวยการบิิน และการขนส่ง่ สินิ ค้้า (Cargo)
ห้อ้ งปฏิบิ ััติิการด้้านสื่่�อและมััลติมิ ีีเดีีย
Convergent Media Studio
ห้้อง 4-1206
เรีียนรู้�การปฏิิบัตั ิิการข่่าว ผลิติ ข่่าวตอบโจทย์ท์ ุกุ Platform
ครบเครื่่อ� งผู้้�นำ�ำ Convergent Media
Mac Lab
ห้้อง 4-1207
เรีียนรู้�ปฏิบิ ัตั ิกิ ารสื่�่อกราฟิิกและมัลั ติมิ ีีเดีีย เติิมทัักษะ ตอบโจทย์์
Multi Skill
ห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารกลยุทุ ธ์ก์ ารจัดั การโลจิสิ ติกิ ส์์
Logistic Strategic Management Lab
ห้อ้ ง 1-0201
เรีียนรู้�การใช้้โปรแกรมคอมพิิวเตอร์ใ์ นการจััดการคลังั สินิ ค้า้ การจััดการขนส่่ง
และจำำ�ลองสถานการณ์ต์ ่า่ งๆ ผ่่านระบบสารสนเทศภููมิศิ าสตร์์ (GIS)
3-7
ห้้องปฏิบิ ััติิการด้้านการโรงแรม (Hospitality Lab)
Deluxe Room Mock-up
ห้้อง 1-0204
เรีียนรู้�เทคนิคิ ปฏิบิ ััติกิ ารด้้าน Housekeeping
สำำ�หรัับโรงแรมระดัับ 5 ดาว
Culinary and Restaurant Mock-up
ห้้อง 1-0204
เรียี นรู้�ปฏิบิ ััติิการด้า้ นการครััว
Mixology Mock-up
ห้อ้ ง 1-0206
เรีียนรู้�การปฏิิบััติกิ ารและการตกแต่่งเครื่่อ� งดื่ม�่ ประเภทต่่างๆ
เช่่น Cocktail, Mocktail
ห้้องปฏิิบััติิการด้้านอาหาร เบเกอรี่่แ� ละเครื่่อ� งดื่่�ม
นำำ�ความรู้�ภาคทฤษฎีดี ้า้ นการจััดการธุุรกิิจอาหารมาฝึกึ ปฏิิบัตั ิิ
(Work-base Education : WBE) เพื่่�อสร้า้ งทักั ษะ (Skill)
ให้พ้ ร้อ้ มสำำ�หรับั การทำำ�งานจริิง
Cooking Lab
ห้้อง 3-0112
Coffee and Beverage Lab
ห้อ้ ง 3-0113
Bakery Lab
ห้อ้ ง 3-0114
Sensory Evaluation and Consumer Research Center
ห้้อง 2-0238
3-8
ห้้องปฏิบิ ััติกิ ารทางวิทิ ยาศาสตร์์
Physical and
Innovative Agricultural Lab
ห้้อง 3-0101
ปฏิิบัตั ิกิ ารทดลองทางด้า้ นชีีววิิทยา จุลุ ชีีววิทิ ยา และสุขุ ภาพพืืช
Chemical Lab
ห้อ้ ง 3-0111
ปฏิบิ ัตั ิิการทดลองเกี่�ยวกัับกลไกของปฏิิกิริ ิิยาเคมีที ี่่�บููรณาการศาสตร์์
ทางด้า้ นวิิทยาศาสตร์์ อาทิิ ศาสตร์์ทางด้า้ นการเกษตรและวิิศวกรรม
ห้้องปฏิบิ ัตั ิิการทางวิศิ วกรรมศาสตร์์
Microprocessor and Embedded System Lab
ห้อ้ ง 1-0302
ปฏิิบัตั ิกิ ารทดลองผ่่านโปรแกรมและวงจรต่า่ งๆ เพื่่อ� ปููพื้้น� ฐานกระบวนการคิดิ ที่่�
เป็น็ ระบบและมีีเหตุผุ ล เพื่�อ่ สร้้างสมองกลหรืือคอมพิิวเตอร์์ขนาดเล็ก็
Advanced Research Lab
ห้้อง 1-0308
Research Factory: Experimenting, Sharing and Learning
Mechanical Engineering Lab
ห้้อง 3-0105 และ 3-0106
เรียี นรู้�การคำ�ำ นวณด้้านเครื่อ่� งกล เพื่่�อนำ�ำ ไปใช้้ในชีวี ิิตประจำำ�วััน
Industrial Engineering Lab
ห้้อง 3-0107
เรียี นรู้�การเคลื่่�อนไหวของร่่างกายในขณะทำ�ำ งาน การหาเวลามาตรฐานในการ
ทำ�ำ งาน และศึกึ ษาคุณุ ลักั ษณะของวัสั ดุวุ ิศิ วกรรม
Industrial Automation System Lab
ห้้อง 3-0108
ฝีีกปฏิบิ ััติกิ ารเขียี นโปรแกรมควบคุมุ เครื่่อ� งจัักรแบบอััตโนมัตั ิิในโรงงานอุุตสาหกรรม ด้้วยชุดุ ระบบควบคุมุ อัตั โนมััติิ
Programmable Logic Control
3-9
Automotive Information Lab
ห้อ้ ง 3-0102
ปฏิิบัตั ิกิ ารเครื่อ�่ ง 3D Scanner และ 3D Printer
และการใช้้โปรแกรม SolidWork และ CATIA ในการออกแบบ
Automotive Electronics Lab
ห้อ้ ง 3-0103
เรีียนรู้�องค์์ประกอบและกลไกของเครื่่�องยนต์ป์ ระเภทต่า่ งๆ
Electronics and Digital Lab
ห้้อง 1-0304
เรียี นรู้�การปฏิบิ ััติกิ ารวงจรไฟฟ้า้ ไฟฟ้า้ สามเฟสและมอเตอร์์
รวมถึึงวงจรดิิจิทิ ัลั พื้้น� ฐาน
Network Lab
ห้้อง 1-0307
เรีียนรู้�การจััดเก็็บข้อ้ มูลู บน Storage ของ Cloud และระบบเครืือข่า่ ยต่า่ งๆ
Physics Lab
ห้้อง 1-0305
ปฏิบิ ััติิการทดลองเกี่ย� วกัับพื้้น� ฐานทางฟิิสิิกส์์กลศาสตร์์และฟิิสิกิ ส์์ไฟฟ้า้
Innovation Center for Robotics
and Automation Systems (iCRAS)
ห้้อง 1-0101
เรียี นรู้�การใช้้งานหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมััติิ
รวมถึึงการใช้เ้ ครื่อ�่ งมืือในการสร้้างชิ้น� ส่ว่ นต่่างๆ ของหุ่�นยนต์์
3-10
ปฏิทิ ินิ การศึกึ ษาและรููปแบบการเรีียน
การจัดั การเรียี นการสอนในระดับั บัณั ฑิติ ศึกึ ษา มุ่�งเน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาค้น้ คว้า้ วิเิ คราะห์์ วิจิ ัยั แก้ป้ ัญั หาและลงมืือปฏิบิ ัตั ิริ ่ว่ ม
กับั การนำ�ำ เสนอ อภิปิ รายและแลกเปลี่ย� นเรียี นรู้�ประสบการณ์ใ์ นชั้น� เรียี น เพื่อ�่ ให้น้ ักั ศึกึ ษาทำ�ำ งานร่ว่ มกันั เป็น็ ทีมี และบริหิ ารเวลา
ได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ ตามแผนการเรียี นของแต่ล่ ะหลักั สูตู ร
ทั้้�งนี้้�รายละเอีียดการเรีียนของแต่่ละหลัักสููตรนั้้�นสามารถศึึกษาข้้อมููลเพิ่่�มเติิมได้้ที่่�คู่�มื อนัักศึึกษาและสอบถามจาก
คณะวิชิ า
หลัักสููตร ปีกี ารศึึกษา 2565 ภาคฤดููร้้อน
ภาคการศึึกษาพิิเศษ ภาคการศึึกษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2 -
C-PhD - เปิดิ ภาคเรีียน 15 ก.ค. 65 เปิิดภาคเรีียน 6 ม.ค. 66 -
C-PhD-Ed
ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรียี น-สอบ -
15 ก.ค. 65 – 23 ธ.ค. 65 6 ม.ค. 66 – 9 มิ.ิ ย. 66 เปิิดภาคเรียี น 10 มิิ.ย. 66
MBA-MTM เปิิดภาคเรีียน 4 มิ.ิ ย.65 เปิิดภาคเรีียน 3 ก.ย. 65 เปิิดภาคเรีียน 4 มี.ี ค. 66 ระยะเวลาเรีียน-สอบ
MBA.POS - 10 มิ.ิ ย. 66 – 30 ก.ค. 66
- ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
MCA 3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 4 มี.ี ค. 66 – 20 ส.ค. 66 -
EML เปิิดภาคเรีียน 3 ก.ย. 65 เปิดิ ภาคเรีียน 4 มี.ี ค. 66
MET/MSIT -
ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
iMBA 3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 4 มี.ี ค. 66 – 20 ส.ค. 66
เปิิดภาคเรีียน 20 ก.ย. 65 เปิิดภาคเรียี น 11 ก.พ. 66
ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
20 ก.ย. 65 – 29 ม.ค. 66 11 ก.พ. 66 – 4 มิ.ิ ย. 66
C-MBA / C-MA - เปิิดภาคเรียี น 8 ก.ค. 65 เปิดิ ภาคเรีียน 6 ม.ค. 66
(แผน ก2 และ ข) ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
8 ก.ค. 65 – 13 พ.ย. 65 6 ม.ค. 66– 14 พ.ค. 66
GDIP - เปิดิ ภาคเรียี น 3 ก.ย. 65 เปิดิ ภาคเรียี น 4 มี.ี ค. 66
ระยะเวลาเรียี น-สอบ ระยะเวลาเรียี น-สอบ
3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 4 มี.ี ค. 66 – 20 ส.ค. 66
หมายเหตุุ :
- ปฏิิทินิ การศึกึ ษาปรับั เปลี่ย� นไปตามการจัดั การเรีียนการสอนของแต่่ละหลัักสููตร
- ดาวน์์โหลดรายละเอียี ดปฏิทิ ิินการศึกึ ษา ได้้ที่่� https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-graduate-th
3-11
เทคโนโลยีีและระบบสนัับสนุุนนักั ศึกึ ษา
• Single Sign-On
นัักศึึกษาสามารถใช้้คอมพิิวเตอร์์ที่่�จุุดบริิการต่่างๆ ภายใน
สถาบันั และระบบบริกิ ารสารสนเทศสำ�ำ หรับั นักั ศึกึ ษา เช่น่ เว็บ็ ไซต์์
บริกิ ารการศึกึ ษา (http://reg.pim.ac.th) ระบบการเรียี นการสอน
ออนไลน์์ PIM Application และระบบอื่�น่ ๆ โดยใช้้ Username
และ Password เดียี วในทุุกระบบ (Single Sign-On) ที่่ส� ถาบันั
ให้้บริกิ าร
3-12
• PIM Application
PIM Application เป็น็ แอปพลิเิ คชันั ที่่น� ักั ศึกึ ษาควรติดิ ตั้ง� ในอุปุ กรณ์์ Smart Devices ของตนเอง เพื่อ�่ เป็น็ ประโยชน์์
และอำำ�นวยความสะดวกในด้า้ นต่่างๆ ของนัักศึกึ ษา
ตััวอย่า่ งฟังั ก์ช์ ั่่น� ของ PIM Application เพื่่อ� อำำ�นวยความสะดวกแก่น่ ักั ศึึกษา
1. ดููตารางเรียี น ห้อ้ งเรียี น ห้อ้ งสอบ ผลการเรียี น >> ผ่่านเมนูู Academic
2. ยืนื ยันั การเข้า้ เรีียน >> ผ่า่ นเมนูู Check Room Tracking
3. แสดงบัตั รนักั ศึึกษา >> ผ่า่ นเมนููบัตั รนัักศึึกษาอิเิ ล็็กทรอนิิกส์์
4. ตรวจสอบอาจารย์ท์ ี่่�ปรึกึ ษาที่่ด� ููแล >> ผ่า่ นเมนูู Advisor
5. ตรวจสอบปฏิทิ ิินการศึึกษาและกิจิ กรรมต่่างๆ >> ผ่่านปฏิิทินิ กิจิ กรรม
6. รับั การแจ้ง้ เตือื นต่่างๆ จากสถาบันั >> ผ่่านเมนูู Notifications
7. เข้า้ ลิงิ ค์์ URL ที่่�สำ�ำ คััญ เช่่น e-Learning, REG (ระบบบริิการการศึกึ ษา),
แบบคำ�ำ ร้้องออนไลน์,์ บริกิ ารยืืม-คืนื หนัังสือื ห้้องสมุุด เป็็นต้้น
3-13
หมายเหตุุ :
กรณีีนัักศึึกษาเปลี่ย� น Smart Devices ที่่�ใช้ง้ าน และต้้องการลง PIM Application ใน Smart
Devices ใหม่่ ให้ต้ ิิดต่่อสำ�ำ นักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ ชั้�น 12 อาคาร CP ALL Academy หรืือ
ติิดต่่อผ่่านทาง Facebook: สำ�ำ นักั เทคโนโลยีีสารสนเทศ สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์
3-14
• PIM Line Official หรือื PIM CONNECT
PIM CONNECT เป็็น Line Official ของสถาบััน เพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกในการติิดต่่อ สอบถาม ปรึึกษา และ
เข้า้ ถึงึ ข้้อมููลและระบบบริกิ ารต่า่ งๆ ของสถาบันั ผ่่าน Rich Menu ที่่น� ักั ศึึกษาสามารถติดิ ต่่อได้ต้ ลอดเวลา
3-15
3-16
3-17
3-18
บััตรนักั ศึกึ ษา
นัักศึึกษาของสถาบััน จะมีีบััตรนัักศึึกษาในรููปแบบของ บััตรอิิเล็็กทรอนิิกส์์ โดยการเปิิดผ่่าน PIM
Application (ผ่่านเมนููบััตรนักั ศึกึ ษาอิิเล็ก็ ทรอนิิกส์์) และ/หรืือ PIM CONNECT (PIM LINE Official)
ตั้�งแต่ว่ ันั แรกที่่ม� าปฐมนิิเทศนัักศึกึ ษาใหม่่ PIM ซึ่ง� สามารถนำำ�บััตรนัักศึกึ ษาอิเิ ล็็กทรอนิิกส์ไ์ ปใช้ใ้ นกิจิ กรรม
ต่่างๆ ทั้้ง� ในและนอกสถาบัันฯ ดังั นี้้�
1. ใช้้แสดงตนเมื่่�อติิดต่อ่ กับั สถาบันั ฯ หรือื หน่่วยงานต่า่ งๆ
2. ใช้้แสดงตนในการเข้้าสอบ
3. ขอใช้้บริิการห้้องสมุุด เช่่น ยืืม – คืนื หนังั สือื และทรััพยากร
ในห้้องสมุดุ PIM
4. ใช้้เป็็นหลัักฐาน (ตััวจริงิ หรือื สำ�ำ เนาบััตรนัักศึกึ ษา) ในการขอรัับ
บริิการอื่่น� ๆ หรือื เบิิกค่่าใช้้จ่า่ ยของสถาบััน
ทั้้ง� นี้้ห� ากนักั ศึกึ ษามีปี ัญั หาในการแสดงผลบัตั รนักั ศึกึ ษาอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ผ์ ่า่ น PIM Application
และ/หรืือ PIM CONNECT (PIM LINE Official) กรุณุ าติดิ ต่่อสำ�ำ นัักเทคโนโลยีสี ารสนเทศ ชั้น� 12
อาคาร CP ALL Academy หรืือติดิ ต่อ่ ผ่า่ นทาง Facebook: สำ�ำ นักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ สถาบันั
การจััดการปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์
อย่่างไรก็็ตามหากนัักศึึกษาต้้องการใช้้งานบััตรนัักศึึกษาในรููปแบบการ์์ดแข็็ง สามารถทำ�ำ ได้้
โดยติิดต่่อสำ�ำ นักั ส่ง่ เสริิมวิชิ าการและไม่เ่ สียี ค่า่ ธรรมเนียี มในการทำำ�ครั้ง� แรก
บัตั รนัักศึกึ ษาอิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์ ์ 0 2855 0386
บััตรนัักศึึกษาแบบการ์ด์ แข็็ง
3-19
มาเรีียนที่�่ PIM
• ดููตารางเรีียน
นักั ศึกึ ษาสามารถดูตู ารางเรียี นได้ด้ ้ว้ ยตนเอง ผ่า่ น PIM Application และ/หรืือ PIM CONNECT (PIM LINE Official)
เพื่�่อเชื่่�อมโยงเข้า้ สู่�ระบบ REG (ระบบบริิการการศึึกษา >> http://reg.pim.ac.th) และมีขีั้น� ตอนดัังนี้้�
1. Login เข้้าสู่�ระบบ
2. คลิิกปุ่�ม “ตารางเรีียน/สอบ” ที่่เ� มนูดู ้า้ นซ้้าย
3. คลิิกเลืือกข้อ้ มููลที่่�ต้อ้ งการสืืบค้น้ เช่่น ปีีการศึึกษาและภาคการศึึกษาที่่�ต้อ้ งการดููตารางเรียี น
ศึึกษาวิิธีีการดููตารางเรีียนแบบละเอียี ดได้ท้ ี่่� >> https://fb.watch/ajxu1GqLG1/
ชื่่อ� วิชิ า กลุ่่�มที่เ�่ รีียน
ห้้องและเวลาที่�เ่ รีียน
กรณีีมีีข้อ้ สงสัยั เกี่่�ยวกัับ “ตารางเรีียน”
กรุุณาติดิ ต่่อสำำ�นักั ส่่งเสริิมวิิชาการ
งานตารางเรียี น
0 2855 1139
3-20
• ตารางหน้้าห้้องเรีียน
ทุกุ หน้า้ ห้อ้ งเรียี นจะมีี QR Code ให้น้ ักั ศึกึ ษา Scan เพื่อ่� ดูตู าราง
การใช้้งานของห้้องนั้้�นๆ ในแต่่ละช่่วงเวลา ตรวจสอบเเละป้้องกััน
การเข้า้ ใช้้งานหรืือเข้า้ เรียี นผิิดห้อ้ งในแต่ล่ ะคาบการเรียี นได้้
ชื่่อ� วิชิ า (กลุ่่�มเรีียน)
และชื่่อ� อาจารย์์ผู้ส�้ อน
3-21
ศึกึ ษาวิธิ ีกี ารยืืนยันั การเข้้าเรีียนผ่า่ น PIM Application
ได้้ที่่� >>https://www.youtube.com/watch?v=8Lo-ufOurxU
3-22
3-23
3-24
แหล่่งเรีียนรู้้น� อกห้้องเรีียน
• ห้้องสมุดุ PIM และแหล่่งสืบื ค้้นข้้อมููล
งานวิจิ ัยั ออนไลน์์ และแหล่ง่ ตีีพิมิ พ์ผ์ ลงาน
ห้้องสมุุด PIM หรืือ PIM Creative Learning Space PIM อยู่�ที่ช�ั้�น 12A
อาคาร 4 หรืืออาคาร CP ALL Academy เป็น็ พื้้�นที่่แ� ห่่งการเรียี นรู้� ที่่ใ� ห้้บริกิ าร
หนัังสืือและแหล่่งทรััพยากรสารสนเทศที่่�ทัันสมััยและหลากหลาย เช่่น หนัังสืือ
วารสาร e-Book e-Journal e-Research e-Project ฐานข้อ้ มููลออนไลน์์ รวมถึึง
Knowledge Bank แหล่่งเรีียนรู้�ออนไลน์์ของห้้องสมุุด เพื่�่อเอื้�อประโยชน์์ในการ
ค้น้ คว้า้ ข้อ้ มูลู หรืือหาความรู้�นอกห้อ้ งเรียี นเพิ่่ม� เติมิ ตามที่่น� ักั ศึกึ ษาให้ค้ วามสนใจ โดย
ให้้บริกิ ารทั้้ง� แบบ Walk In และ Online
เวลาในการให้้บริิการของห้้องสมุุด PIM
เปิิดทำำ�การทุกุ วััน (หยุุดวัันนัักขััตฤกษ์)
วันั จัันทร์ – วัันศุุกร์ เวลา 08.00 – 18.30 น.
วันั เสาร์ – วันั อาทิิตย์ เวลา 09.00 – 18.00 น.
บริกิ ารฐานข้้อมููลออนไลน์์ (Online Database)
ห้้องสมุุด PIM ให้้บริกิ ารฐานข้อ้ มูลู เพื่่�อสนัับสนุุนการศึกึ ษา ค้น้ คว้า้ และวิิจัยั ของนัักศึึกษา จำ�ำ นวน 5 ฐานข้้อมููล ซึ่ง� นักั ศึึกษาสามารถ
ใช้ฐ้ านข้อ้ มูลู ดัังกล่่าวได้้ทั้้ง� ในและนอกสถาบััน
ฐานข้้อมููล Emerald ซึ่ง�่ เป็น็ ฐานข้้อมููล ฐานข้้อมููล CEIC ซึ่่�งเป็็นฐานข้้อมููลภาษา ฐานข้้อมููล CNKI เป็็นฐานข้้อมููลภาษา
วารสารอิิเล็็กทรอนิิกส์์ภาษาอัังกฤษที่่� อัังกฤษเกี่ �ยวกัับเศรษฐกิิจมหภาคเชิิงสถิิติิ จีีน เกี่�ยวกัับทรััพยากรความรู้�ของ
ครอบคลุุมด้า้ นการจัดั การ ตััวเลขในกลุ่�มประเทศเศรษฐกิิจกว่่า 130 ประเทศจีีน ซึ่�่งให้้ข้้อมููลตั้�งแต่่ช่่วงปีี
(Management) บริิหารธุุรกิจิ ประเทศ ครอบคลุมุ ข้้อมูลู เกี่�ยวกับั 1996 – ปัจั จุบุ ััน ซึ่่�งจะบริกิ ารเอกสาร
(Business Administration) - ฐานข้้อมูลู ประเทศทั่่�วโลก ท า ง วิิ ช า ก า ร ใ นค ว า ม ร่่ ว ม มืื อ ข อ ง
และวิิทยาการสารสนเทศ - ฐานข้้อมููลเศรษฐกิจิ และการเงิินรายวันั มหาวิิทยาลััยกว่่า 5,500 แห่่ง และ
(Information Science) รวมทั้้�งสาขา - ฐานข้อ้ มูลู อุุตสาหกรรม สถาบัันอื่่�นๆ ทั้้�งภายในและภายนอก
อื่�นๆ ที่่�เกี่�ยวข้้องทั่่�วโลกในรููปแบบ - ฐานข้อ้ มูลู เศรษฐกิิจระดัับโลก ประเทศจีนี กว่่า 20 ประเทศ
เอกสาร (Full Text) สามารถเข้า้ ใช้้งาน - ฐานข้อ้ มูลู ประเทศที่่น� ่า่ สนใจแบบเจาะลึกึ ข้้อมููลที่่�ได้้จะอยู่ �ในรููปแบบของสิ่ �งพิิมพ์์
ได้้ที่่� เช่น่ จีีน อิินเดียี เป็็นต้น้ ต่่อเนื่่�อง วารสารอิิเล็็กทรอนิิกส์์ และ
สามารถเข้า้ ใช้้งานได้้ที่่� วิทิ ยานิิพนธ์์ สามารถเข้้าใช้้งานได้้ที่่�
https://www.emeraldinsight.com https://cas.ceicdata.com/login https://oversea.cnki.net/index/
3-25
ฐานข้้อมููล Clinicalkey for Nursing เป็็นฐานข้้อมููลวารสาร ฐานข้อ้ มูลู CINAHL เป็น็ ฐานข้อ้ มูลู วารสารอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ ภาษา
อิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ หนัังสืืออิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์์ และ Multimedia ภาษา อัังกฤษที่่�ครอบคลุุมเนื้้�อหาทางด้้านการพยาบาล ยารัักษาโรค
อัังกฤษของสำำ�นัักพิิมพ์์ Elsevier ที่่�ครอบคลุุมเนื้้�อหาทางด้้าน โภชนาการ สุขุ ภาพทั่่ว� ไป โรค กว่า่ 170 โรค และการสาธารณสุขุ
การพยาบาล โรคระบาดต่า่ งๆ คู่่�มืือการดูแู ลฉุุกเฉินิ ปััญหาทาง สามารถเข้้าใช้้งานได้้ที่่�
คลิินิกิ และฐานข้้อมูลู ยา สามารถเข้า้ ใช้้งานได้ท้ ี่่�
https://www.clinicalkey.com/nursing https://search.ebscohost.com/login.aspx?authtype=
ip,uid&profile=ehost&group=main&defaultdb=ccm
สอบถามข้้อมููลเพิ่่�มเติมิ และขอ Username และ Password
เพื่่อ� เข้้าใช้้งาน Online Database ได้้ที่่�ห้้องสมุุด
ห้อ้ งสมุุด
0 2855 0381, 0 2855 0382
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY
3-26
บริกิ ารวารสารวิชิ าการและ
นิิตยสารอิิเล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ (Online Journals)
เพื่อ่� สนับั สนุนุ การค้น้ คว้า้ ข้อ้ มูลู เพื่อ�่ การศึกึ ษาและการวิจิ ัยั ของนักั ศึกึ ษาได้ใ้ นทุกุ ที่่แ� ละ
ทุุกเวลา ห้้องสมุุด PIM มีกี ารให้บ้ ริกิ ารวารสารหรืือนิติ ยสารวิิชาการอิิเล็็กทรอนิิกส์ภ์ าษา
ต่า่ งประเทศ ซึ่ง� นักั ศึกึ ษาสามารถใช้้งานOnline Journals ได้้ทั้้ง� ในและนอกสถาบันั
นิติ ยสารอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ร์ ายเดือื นภาษาอังั กฤษ นำำ�เสนอ บทความ ว า ร ส า รวิิ ช า ก า รอิิ เ ล็็ ก ท ร อ นิิ ก ส์์ ท า ง ด้้ า นนิิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์์
จาก Case Study จริงิ รวมถึงึ วิธิ ีกี ารบริหิ ารจัดั การ กลยุทุ ธ์์ รวม สัังคมศาสตร์์ มนุุษยศาสตร์์ การสื่่�อสารและ วััฒนธรรมศึึกษา
ถึึงการอััพเทรนเทคโนโลยีี และวิิเคราะห์์ข่่าวประเด็็นสำ�ำ คััญ และสารสนเทศศาสตร์์ โดยสามารถสืืบค้้นข้อ้ มููลย้อ้ นหลังั ได้้ถึึง
ทั่่ว� โลก เข้า้ ใช้้งานได้ท้ ี่่� https://hbr.org/ ปีี ค.ศ. 2013 เข้า้ ใช้้งานได้้ที่่� https://asia.nikkei.com
นิติ ยสารอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ท์ ี่่ร� วบรวมบทความ บทวิเิ คราะห์์ ข่า่ วสาร หนัังสืือพิิมพ์์รายสััปดาห์์ที่่�ตีีพิิมพ์์ใน รููปแบบนิิตยสารและเผย
ในแวดวงธุรุ กิิจ การเงิิน และการตลาดที่่ส� ำ�ำ คััญของโลกที่่เ� ชื่อ� ถือื แพร่่แบบดิิจิิทััลโดยมุ่ �งเน้้นไปที่่�ธุุรกิิจปััจจุุบัันการเมืืองระหว่่าง
ได้้ เข้้าใช้ง้ านได้ท้ ี่่� https://www.wsj.com/ ประเทศการเมืืองและเทคโนโลยีี เข้้าใช้้งานได้้ที่่�
https://www.economist.com/
บริิการหนัังสืืออิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์ : e-Books
e-Books ฉบับั ภาษาอังั กฤษที่่ม� ีเี นื้้อ� หาทางด้า้ นบริหิ ารธุรุ กิจิ การ e-Books ฉบัับภาษาไทยที่่�มีีเนื้้�อหาทางด้้านการจััดการ
จัดั การ เทคโนโลยีี สัังคม วัฒั นธรรม และภาษา สมัคั รและเข้า้ เทคโนโลยีี จิติ วิทิ ยา การพัฒั นาตนเอง การท่อ่ งเที่่ย� ว และอาหาร
ใช้้บริิการได้้ที่่� สมัคั รและเข้้าใช้้บริิการผ่่าน
https://ebookcentral.proquest.com/lib/pimth SE-ED E-library Application
e-Books และบทความทางด้้านการเงิินและการลงทุุน เข้้าใช้้ สอบถามข้้อมููลเพิ่่�มเติมิ
บริิการได้ท้ ี่่� https://www.maruey.com/ และขอ Username และ Password
เพื่่�อเข้้าใช้้งาน ได้ท้ ี่่ห� ้้องสมุุด
Tel : 0 2855 0381-82
Email : [email protected]
Facebook : @PIM LIBRARY
3-27
บริการ e-Thesis
นักั ศึกึ ษาสามารถสืืบค้น้ วิทิ ยานิพิ นธ์เ์ พื่อ่� ค้น้ คว้า้ ข้อ้ มูลู วิทิ ยานิพิ นธ์ท์ ี่่ส� นใจ โดยจัดั สรร
อยู่�ในหมวดหมู่�ที่�เกี่ย� วข้้องกัับหลัักสููตรของนักั ศึกึ ษาเพื่่�อง่่ายต่่อการค้้นคว้า้ วิทิ ยานิพิ นธ์์
ห้อ้ งสมุดุ
0 2855 0381, 0 2855 0382
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY
3-28
บริกิ ารแหล่่งเรีียนรู้อ�้ อนไลน์์ PIM Library : Knowledge Bank
Knowledge Bank แหล่่งเรีียนรู้�ออนไลน์์ของห้้องสมุุด สำ�ำ หรัับนัักศึึกษาที่่�สนใจองค์์ความรู้�
ต่่างๆ สามารถศึึกษาข้อ้ มูลู ผ่่านเว็็บไซต์์ https://lib.pim.ac.th/wp/knowledge-bank
3-29
บริกิ ารข่่าวสาร สื่่�อการเรีียนรู้แ�้ ละบริกิ ารออนไลน์์อื่่�นๆ
ผ่า่ นช่อ่ งทางต่า่ งๆ
ของห้้องสมุุด PIM เว็็บไซต์ห์ ้้องสมุุด : lib.pim.ac.th
ห้้องสมุุด PIM มีบี ริิการต่่างๆ ผ่่านเว็็บไซต์ห์ ้้องสมุุด (https://lib.pim.ac.th) อาทิิ การ
จองห้อ้ งศึึกษากลุ่�ม แนะนำำ�ทรัพั ยากรสารสนเทศ บริิการรัับ-ส่่งหนังั สืือ บริกิ ารคลังั ความรู้�
วารสารต่่างๆ และแหล่่งเรียี นรู้�ออนไลน์์ที่่ห� ้้องสมุุดออนไลน์์ เป็น็ ต้้น
บริกิ ารจองห้้องประชุุมออนไลน์์ (Study Rooms Reservation)
ห้อ้ งสมุดุ PIM ให้บ้ ริกิ ารจองห้อ้ งประชุมุ ออนไลน์์ นักั ศึกึ ษาสามารถจองได้ท้ ุกุ ที่่ท� ุกุ เวลา
แบบ Real Time ผ่่านหน้้าเว็็บไซต์์ห้อ้ งสมุดุ หรืือสแกน QR Code เพื่�่อทำำ�การจอง
บริิการจองห้้องประชุมุ ออนไลน์์
3-30
elibrary.pim.ac.th
นักั ศึกึ ษาสามารถใช้บ้ ริกิ ารออนไลน์ข์ อง
ห้อ้ งสมุดุ ผ่า่ นเว็บ็ ไซต์์ http://elibrary.pim.
ac.thเพื่�่อสืืบค้้นหนัังสืือที่่�สนใจและมีีให้้
บริิการในห้้องสมุุด PIM รวมถึึงการจอง
หนัังสืือจากผู้�ที่�ยืืมก่่อนหน้้า หรืือยืืมต่่อที่่�
ตนเองได้้ยืืมไว้้ โดยสามารถมารัับหนัังสืือที่่�
ห้้องสมุดุ PIM ตามวัันเวลาที่่�ระบบ
แจ้้งผ่่าน e-mail ของนัักศึกึ ษา รวมถึงึ
มีีบริิการส่่งไปยัังวิิทยาเขตอีีอีีซีี และหน่่วย
การเรีียนทางไกลอีกี ด้ว้ ย นักั ศึกึ ษาสามารถ
เข้า้ ใช้ง้ านได้จ้ ากทุกุ ที่่� ทุกุ เวลา เพียี งใช้ป้ ลาย
นิ้้�วมืือ ผ่า่ น PIM Application (เลืือกเมนูู
PIM e-Library) หรืือ การเข้้าเว็็บไซต์์
http://elibrary.pim.ac.th
สอบถามข้้อมููลเพิ่่ม� เติิม
ได้้ที่่ห� ้้องสมุุด
ห้อ้ งสมุดุ
0 2855 0381, 0 2855 0382
email: [email protected]
Facebook: @PIM LIBRARY
3-31