The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2021-05-06 13:02:54

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

9

สารบญั

คมู่ ือนกั ศึกษาใหม่ “วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี”

ส่วนที่ 1: สถาบันเรา “พี ไอ เอม็ (PIM)” หนา้ สว่ นท่ี 4 : รอบรู้ “พี ไอ เอ็ม (PIM)” หนา้
ตราสญั ลักษณ ์ 4 ทีต่ ้งั และการเดินทาง 54
สปี ระจ�ำสถาบนั 4 ลัดเลาะ..รอบบ้าน PIM : แจง้ วฒั นะ 56
ดอกไม้ประจำ� สถาบนั 4 อาคาร ห้องเรยี น ห้องปฏิบตั ิการ 57
ปรัชญา 5 ปฏิทินการศกึ ษาและรปู แบบการเรียน 63
วิสยั ทัศน ์ 5 เทคโนโลยแี ละระบบสนับสนนุ นักศกึ ษา 64
พันธกิจ 5 - Single Sign-On 64
เอกลักษณส์ ถาบัน 5 - PIM Application 65
อตั ลักษณน์ ักศึกษา 6 - Wi-Fi PIMHotspot 67
คณะวชิ า สำ� นัก วิทยาลัยในสถาบัน 6 - e-mail 68
คณะวชิ าต่างๆ ใน PIM 7 - Office 365 69
เพลงสถาบนั 9 บตั รนกั ศึกษา 70
การแต่งกาย 71
สว่ นท่ี 2 : ร้จู ักส�ำนกั การศกึ ษาท่วั ไป เมอื่ มาเรยี นที่ PIM 72
ปรัชญา 10
วิสัยทศั น ์ 10 - ดตู ารางเรยี น 72
- ตารางหน้าหอ้ งเรียน 73
พันธกจิ 10 - การยืนยันการเขา้ เรยี น 74
สัญลักษณ์และสีประจำ� สำ� นัก 10
บทบาทหนา้ ที ่ 11 - PIM e-Learning 75
- PIM MOOC 76
ศูนย์พฒั นาทักษะและภาษา 11 ห้องสมุด PIM และแหลง่ เรยี นรูอ้ อนไลน ์ 77
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills วารสารวชิ าการของ 81
สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์
ใกลส้ อบแลว้ ..ตอ้ งทำ� อย่างไร 82
ส่วนท่ี 3 : ร้จู กั คณะเรา เกรดออกแลว้ 84
“วิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี” การยืน่ แบบคำ� รอ้ งออนไลน์ ลงทะเบียนเรยี น 85
15 ประเมินต่างๆ และอื่นๆ
ปรัชญา ปณธิ าน วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจคณะ 16 เตรยี มตวั อย่างไรเม่อื ไปฝึกปฏิบตั ิ 87
สญั ลักษณ์ และสปี ระจ�ำคณะ 16 มปี ัญหา..ปรกึ ษาใคร 88
หลกั สูตร/ สาขาวิชาทเี่ ปดิ สอน 17 - อาจารยท์ ่ปี รึกษา 88
การเขา้ ถงึ ขอ้ มูลคณะ 18 - CCDS 89
- หลักสูตรวิทยาศาตรบณั ฑติ 25 - Smile Center 90
สาขาวิชาเทคโนโลยดี จิ ิทลั และสารสนเทศ - Friends Care PIM 90
- หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ 32 เข้าภาคเรยี นใหมต่ อ้ งท�ำอยา่ งไร 91
สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ - ลงทะเบยี นเรยี น 91
และปญั ญาประดิษฐ ์ 39 - ช�ำระคา่ เลา่ เรยี นและคา่ ธรรมเนียมตา่ งๆ 92
- หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 46 เรียนดี ประพฤตดิ ี มที นุ 93
สาขาวิชาวศิ วกรรมอตุ สาหการและ วนิ ัยนักศกึ ษา 94
การผลติ อจั ฉริยะ ทำ� อยา่ งไรใหไ้ ดเ้ กยี รตินยิ ม 95
- หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ ทำ� อยา่ งไรไมใ่ ห้ถกู Retire 96
สาขาวชิ าวิศวกรรมการผลติ ยานยนต์ สวัสดกิ ารสำ� หรับนักศกึ ษา 97
- หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต ชมรมและกจิ กรรมต่างๆ 98
สาขาวชิ าวศิ วกรรมหุ่นยนต์และ ชิลล์ ฟนิ ชอ๊ ป กอ๊ ปปี้ รีแลคซ์ หอพกั 99
ระบบอัตโนมตั ิ

สถาบันเรา
“พี ไอ เอม็ (PIM)”

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็ รปู แผนที่ประเทศไทยทแี่ สดงพื้นที่
(PIM) เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ 1. วทิ ยาเขต แจ้งวฒั นะ
ในการจดั ตงั้ จากบรษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน) 2. วทิ ยาเขตออี ีซี จ.ชลบุรี
ในเครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ โดยไดร้ บั การรบั รองจาก 3. หนว่ ยการเรียนทางไกล
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวัตกรรม เพ่ือใหป้ รญิ ญาในระดับปรญิ ญาตรี • จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซงึ่ จดั การเรยี นการ • จังหวัดชลบรุ ี
สอนทงั้ ภาคภาษาไทย ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ • จังหวดั เชียงใหม่
ในฐานะทส่ี ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ป น็ • จงั หวดั ขอนแก่น
มหาวิทยาลัยแหง่ องคก์ รธุรกิจ (Corporate • จังหวดั ลำ� ปาง
University) ทมี่ กี ารเรยี นการสอนแบบ Work- • จงั หวดั นครราชสมี า
based Education จงึ แตกตา่ งดว้ ยความเป น็ • จังหวดั นครสวรรค์
เลศิ ทางวชิ าการ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรจู้ ากการ • จงั หวัดเพชรบุรี
ฝ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ กบั ธรุ กจิ เชน่ กลมุ่ ซพี ี ออลล์ • จงั หวดั สงขลา
เครอื ซพี ี และพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษา • จงั หวัดสมุทรปราการ
ไดร้ ับประสบการณ์ในการท�ำงานจนเกิดความ • จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
เชยี่ วชาญ ดงั นนั้ บณั ฑติ พไี อเอม็ จงึ เป น็ บคุ ลากร • จังหวัดอดุ รธานี
คณุ ภาพผูม้ คี วามรูท้ างวชิ าการและมคี วามพรอ้ ม
ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมอื อาชพี 33
นกั ศกึ ษาของสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์
มีการเรียนหรือศึกษาตลอดทั้งหลักสูตรใน
สถานทต่ี า่ งๆ คอื

1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ถนนแจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี
(PIM-B)

2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วิทยาเขตอีอีซี อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี
(PIM-EEC)

3. หนว่ ยการเรยี นทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ทวั่ ประเทศ

ตราสัญลกั ษณ์ ช่อมะกอก โล่ รบิ บิน้
สปี ระจำ� สถาบัน หมายถงึ ความมีชัยชนะเหนือสิง่ อ่นื ใด
มงกุฎ
หมายถงึ การศกึ ษาแสดงถงึ ความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู สดุ และยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความถงึ พรอ้ มดว้ ย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รุง่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบัน
มชี ่อื สถาบันภาษาองั กฤษ และตัวย่ออยูใ่ นโล่
ส่วนชอื่ สถาบนั ภาษาไทยอยูใ่ นริบบ้ิน

สีเขียว
หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความงอกงาม ความสมบรู ณ์
สีเหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและถงึ พรอ้ มด้วยคณุ ธรรม
สีประจำ� สถาบัน
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและความถงึ พร้อมด้วย
คณุ ธรรมเปน็ หนทางแหง่ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งในชีวติ

ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน

ดอกบวั มงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรยี บเสมอื นตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ� เรจ็ อันงดงาม

4

ปรชั ญา

"การศกึ ษาคือบอ่ เกดิ แหง่ ภูมิปัญญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิสยั ทศั น์

“สร้างมืออาชีพดว้ ยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พนั ธกจิ

“มหาวิทยาลัยแห่งองคก์ รธรุ กจิ (Corporate University)” ท่ีมพี นั ธกจิ ดงั น้ี
1. สร้างคนทมี่ ีคุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของภาคธุรกิจ สงั คมและประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้

จากประสบการณ์จรงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ

และทำ� นุบำ� รุงศิลปะวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ เสริมนวตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative

Organization & Good Governance)

เอกลกั ษณส์ ถาบนั

การเปน็ Corporate University บนพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1. การสอนโดยมืออาชีพ (Work-based Teaching) เป็นการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการเรียนรู้จากกรณี

ศกึ ษา จากผปู้ ฏิบัตงิ านจริงในองค์กร เพื่อเตรยี มความพร้อมทจ่ี ะฝึกปฏิบตั จิ ริง
2. การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Work-based Learning) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั

วางโปรแกรมครฝู ึก และมรี ะบบการติดตามประเมินอยา่ งเปน็ ระบบตามวชิ าชพี ของหลกั สูตร เพื่อท�ำให้มี
การบูรณาการระหวา่ งทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแทจ้ ริง
3. การวจิ ยั สนู่ วตั กรรม (Work-based Researching) เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั ของคณาจารยจ์ ากปญั หาวจิ ยั จรงิ ใน
องค์กรที่น�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติได้โดยตรง และน�ำองค์ความรู้ใหม่ๆ กลับมาสู่การเรียนการสอนใน
หอ้ งเรียน
4. มหาวทิ ยาลัยแหง่ การสรา้ งเครือข่าย (Networking University) เปน็ การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา ภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน
การเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั งิ าน และการวจิ ยั ส่นู วตั กรรม

5

อัตลักษณ์นกั ศึกษา PIM

“READY to WORK.”

เรยี นเปน็

1. มีความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. มคี วามรอบรูแ้ ละบรู ณาการในศาสตรส์ าขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. สามารถนำ� เคร่อื งมอื หรอื เทคโนโลยีมาใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการ
(ตามศาสตร์ของตวั เอง)
4. สามารถเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารและลือกใช้ขอ้ มูลความรตู้ า่ งได้อย่างเหมาะสม

คดิ เปน็

1. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) การคดิ วิพากษ์ (Critical thinking) การคิด
เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis thinking) การคดิ เชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)

2. กล้าคิดและสามารถผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้ก่อเกิดเป็นผลงานตามศาสตร์หรือผล
งานเชงิ นวัตกรรมตา่ งๆ ได้

3. มีแนวคดิ การบรหิ ารจดั การอย่างผ้ปู ระกอบการ

ทำ� งานเปน็

1. มีการทำ� งานข้ามสายงานและสามารถจงู ใจผู้อน่ื เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย
2. มีทักษะในการส่อื สารหลากภาษา ทัง้ การฟัง การอ่าน การเขียน การพูด การแปลความ การเลอื กช่องทาง

และเคร่อื งมือในการสอื่ สาร
3. มกี ารตัดสนิ ใจและรับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขึน้
4. สามารถสรา้ งความพอใจระหวา่ งสขุ ภาพ การเรยี น ชวี ติ ส่วนตัว ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลอ่นื

เนน้ วฒั นธรรม

1. สบื สานวัฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มขององคก์ รได้

รกั ความถกู ตอ้ ง

1. ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชีพหรอื จรรยาบรรณในการดำ� เนินธรุ กจิ
2. ยืนหยัดปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง
3. เคารพและชืน่ ชมตอ่ ความดงี ามของผอู้ ่นื

6

สถานท่เี รยี น

คณะ หลกั สตู ร ชื่อยอ่ วิทยาเขต หน่วย
หลกั สตู ร EEC การเรยี น
แจง้ วฒั นะ ทางไกล

จัดการเรียนการสอนในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป -
1) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
3) กลุ่มวชิ าภาษาจนี
4) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
5) กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี

การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ MTM -

การจดั การธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (ตอ่ เนอ่ื ง) CMTM -

การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ (ต่อเน่อื ง) CIMM --
ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอร์เน็ต

การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ DMTM - -
(ระบบการศึกษาทางไกล)

เทคโนโลยีดจิ ิทลั และสารสนเทศ DIT -

วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ CAI --

วศิ วกรรมอตุ สาหการและการผลติ อัจฉรยิ ะ IEM -

วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ AME --
RAE --
วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ BC --
BJ --
ภาษาจีนธรุ กจิ CEB --

ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกจิ RPM --

ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารทางธุรกจิ HROM --
การจัดการอสังหาริมทรัพยแ์ ละ
ทรพั ยส์ ินอาคาร AVI --
การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์คนและ HTM --
การจัดการองค์การ BM --
การจดั การธรุ กจิ การบนิ CB --
การจดั การการบริการและการท่องเท่ียว
การจดั การบณั ฑิต CJ --
วชิ าเอกการส่อื สารองคก์ รและแบรนด์
วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จ้นและ
ส่อื ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์

นวัตกรรมการจดั การเกษตร IAM --

7

สถานท่ีเรียน

คณะ หลักสตู ร ชอื่ ยอ่ วิทยาเขต หนว่ ย
หลักสตู ร แจง้ วฒั นะ EEC การเรยี น
การสอนภาษาจนี (4 ปี) ทางไกล
การสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)
TCL - -

ELT - -

การจดั การเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดการธรุ กิจอาหาร FBM -
การจัดการธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนื่อง) CFBM -
การจดั การธรุ กจิ ภตั ตาคาร RBM --

การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคมขนส่ง LTM --

การจดั การธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสตู ร iMTM --
นานาชาต)ิ

การจดั การธรุ กิจโรงแรมและอาหาร (หลักสูตร iHFM - -
นานาชาติ)

หลักสตู รระดบั ปริญญาโท

การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ MBA-MTM --

วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี MET --
(หลกั สูตรนานาชาต)ิ

การบริหารคนและกลยุทธ์องคก์ าร POS --

การส่ือสารเชงิ นวัตกรรมเพ่อื องคก์ รสมยั ใหม่ MCA --

สาขาวิชาธรุ กิจระหว่างประเทศ iMBA --
(หลกั สตู รนานาชาติ)
--
ภาวะผู้น�ำการบริหารและการจดั การ EML --
การศึกษา --
บริหารธุรกิจ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-MBA
การจัดการทางศลิ ปะ (หลักสูตรภาษาจีน) C-MA --
--
หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก

บริหารธุรกจิ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-PhD

การจัดการการศกึ ษา (หลกั สูตรภาษาจีน) C-PhD-Ed

8

เพลงสถาบนั

เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

เกิดมาเปน็ คน ต้องพรอ้ มจะอดทนทุกเร่ืองราว * มังคลอบุ ล ดั่งพวกเราทุกคน
ไม่วา่ จะดีจะร้ายซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองวา่ เป็นบทเรียน หนักเบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเขม้ แข็ง

ส่งิ ทีเ่ รียนคือความจ�ำ สง่ิ ท่ที ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบมนั่ คง
สงิ่ ทท่ี �ำได้ยากเยน็ นนั้ จะยง่ิ ใหญ่ หยดั ยืนทรนง...ซอ่ื ตรงและแข็งแกรง่

สง่ิ ท่ที ำ� โดยตัวเอง ยิง่ ทำ� จะยิ่งเข้าใจ P (Practicality)
แมน้ านเพียงใดก็ไม่ลืม I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเป็น เรยี นเปน็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเปน็ ธรรมในใจ
(ซ้ำ� *)
ส่ิงทถ่ี ูกรกั ษาไว้ ทผ่ี ดิ เราตอ้ งทิง้ ไป **ในโลกแห่งความจรงิ ตอ้ งเรยี นรูก้ นั จริงๆ
แลว้ เราจะกา้ วไป..ด้วยกนั ต้องออกไปหาความจรงิ ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ รงิ
ตอ้ งเหน่อื ยต้องท้อจรงิ ๆ ตอ้ งเจอผู้คนจรงิ ๆ
***สถาบันปญั ญาภวิ ัฒน์ สถาบนั แห่งปัญญา เรยี นจากคนร้คู วามจรงิ แล้วเราจะเปน็ คนจรงิ
เราจะคอยเป็นผ้สู อน เราจะคอยเปน็ เบา้ หลอม คนเก่งน้นั ยงั ไม่พอ เกง่ จรงิ ต้องจดั การได้

จะหลอ่ และก็หลอมใหท้ กุ คน แคก่ ลา้ กย็ ังไม่พอ กล้าจรงิ ต้องมวี ินัย
ใหพ้ รอ้ มกลายเป็นคนดี (ให้ทกุ คนเปน็ คนด)ี คนฉลาดนั้นยงั ไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไม่โกงใคร
เกิดมาเป็นคน ต้องมุง่ มน่ั ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผ่ี ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แข็งแรงกย็ ังไม่พอ เพราะว่าตอ้ งมีน้�ำใจ
***ธงสเี ขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรอื งรอง
(ซ�ำ้ *, **, ***) บนแผน่ ดนิ สที อง น่คี ือบ้านของเรา
เราก็เหมอื นอิฐคนละก้อนวางซ้อนเรยี งกันจึงแนน่ หนา

กอ่ ดว้ ยความรกั ในปญั ญา
ฉาบด้วยศรทั ธา..ในสถาบัน..ของเรา

(ซำ้� *, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

9

รจู้ กั
“ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไป”

ปรัชญาสำ� นกั การศึกษาทัว่ ไป
วิชาศึกษาท่ัวไปสรา้ งความเปน็ มนษุ ยท์ ่มี ีคณุ ภาพในสังคมโลก มที ักษะการส่ือสาร
ภาษา ก้าวหนา้ เทคโนโลยี มีกระบวนการคดิ และมจี ติ สาธารณะ

วสิ ัยทัศน์

“สรา้ งบัณฑติ มอื อาชีพด้วยการเรียนร้จู ากประสบการณจ์ ริง”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พนั ธกจิ
1) ผลิตบัณฑติ ที่มคี ุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของสถานประกอบการ โดย

เนน้ การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work-based Education)
2) ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพื่อการจัดการเรียน

การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3) สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะองค์กรและคุณค่า
ต่อสังคมอยา่ งยง่ั ยืน (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองคก์ รทพ่ี ร้อมรับความเปล่ียนแปลง และมรี ะบบการบริหารจัดการทดี่ ี
(Transformative Organization & Good Governance)

สัญลกั ษณ์และสีประจ�ำสำ� นัก

ตน้ ปญั ญพฤกษ์

หรอื ต้นไมแ้ ห่งปญั ญา
ทแ่ี ผ่รม่ เงาทางการศึกษา
เปรียบเสมอื นการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต

สปี ระจ�ำคณะ สนี ้�ำตาลทอง

10

บทบาทหนา้ ที่

ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไปมโี ครงสร้างการทำ� งานประกอบดว้ ย 5 กลุม่ วชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื

1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กล่มุ วชิ าภาษาองั กฤษ 5. กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3. กลมุ่ วชิ าภาษาจนี 6. ศูนย์พฒั นาทกั ษะและภาษา

โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการ
ปัญญาภวิ ัฒน์ และจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาให้เป็นไปตามอตั ลกั ษณ์บัณฑติ ของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ท่ีต้องการ
ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตและสงั คม โดยตลอดปีการศึกษาได้จัดกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาตามกลมุ่ วิชา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรอื CLSD) เปน็ หนว่ ยงาน
ภายใต้ส�ำนักการศึกษาทัว่ ไปทม่ี ีหนา้ ท่เี สรมิ ทักษะ ประเมินทักษะ และออกใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี �ำเป็นตอ่ การท�ำงาน
ของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ
ท้ัง 4 ช้ันปี โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
(Application Program) ช่อื “PIM SMART PASSPORT” ท่ีเปน็ ฐานข้อมูลของนกั ศึกษาส�ำหรบั น�ำไปใช้ประกอบ
การตดั สนิ ใจเลือกพนักงานเข้าทำ� งานของสถานประกอบการต่างๆ

แผนพัฒนาทักษะและภาษา

สำนักการศึกษาทวั่ ไป

ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทักษะช้ันปที่ 1
ทักษะดจิ ทิ ัล (ระบุผลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทกั ษะช้นั ปท ่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบุคะแนนแตละทักษะ) ป 4
e-Leaming score พัฒนาตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทุกที่ ทกุ เวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ตวิ เชม ชน้ั ปท ี่ 3
เพอ่ื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตล ะทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพอ่ื การใชช วี ิต วัดความพรอ มภาษา
รพู ฒั นาการดานดจิ ติ อล
ผลการฝกทกั ษะชั้นปท ี่ 4 ระบุจุดเดนเเละจดุ ท่ี
(ระบุผลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช ีวิต
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบุระดับทักษะ ตลอด 4 ปก ารศึกษา เพือ่ พฒั นา
ทุกทกั ษะ ใหคุณเปนคนที่ “ใช” สำหรับทกุ องคกร

เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป

ป 1 ป 2 ป 2 ป 4

สะทอนศักยภาพและความสามารถ

11

ส�ำนักการศึกษาทั่วไปมีการจัดท�ำชุดฝึกฝน
ทักษะการใช้งานโปรแกรมส�ำนักงาน ผ่านโปรแกรม
ประยุกต์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อให้
นักศึกษาได้ฝึกฝนการใช้เคร่ืองมือในการจัดท�ำเอกสาร
สำ� นกั งาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ งมอื อาชพี ทตี่ อบ
สนองการเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา

12

โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills

โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เป็นการด�ำเนินงานในรูปแบบกิจกรรมเพ่อื พัฒนาทักษะและสง่
เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สำ� หรบั นกั ศกึ ษา ภายใตส้ ำ� นกั การศกึ ษาทวั่ ไป เรม่ิ ดำ� เนนิ การจดั กจิ กรรมตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา
2563 ภายใต้คตพิ จน์ประจ�ำโครงการคือ “ ไมม่ กี ารลงทุนใด จะไดผ้ ลตอบแทนเท่ากบั การลงทุนเรียนรู้”
วัตถุประสงค์หลักของโครงการ เพ่ือเสรมิ สรา้ งการเรยี นรู้ และพัฒนาทกั ษะชีวติ ใหแ้ กน่ กั ศึกษา มุง่ เน้นให้
นักศกึ ษามี Essential Skills ตอ่ ยอดศักยภาพที่มีในตวั ตนและพฒั นาใหเ้ กดิ ทักษะใหมพ่ ร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มกี ารวางเป้าหมายไวอ้ ยา่ งชดั เจน คอื การพฒั นาตน พัฒนาคน และน�ำไปสู่การพัฒนา
สังคมต่อไป

โครงสร้างกิจกรรม
กิจกรรม PIM 3L จัดแบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่ ดังนี้
1. ความชอบและไลฟส์ ไตล์ อาทิ กจิ กรรมปตั ตาเลย่ี นตวั เดยี ว..กเ็ ฟย้ี วได้ กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครวั ..รวั้ หลงั หอ้ ง กจิ กรรม

ทำ� อาหารเพอ่ื สขุ ภาพ และกิจกรรมแต่งหน้าสวยดว้ ยแรงบันดาลใจ เปน็ ต้น
2. ทักษะอย่างมืออาชีพ อาทิ กิจกรรมพูดอย่างโปร..พูดให้เป็น กิจกรรมขายของออนไลน์..ง่ายนิดเดียว กิจกรรม

Innovative Video Creator กิจกรรมการน�ำเสนอและการอ่านขา่ วภาษาอังกฤษ เป็นต้น
3. คุณคา่ ในตวั ตนและสังคม อาทิ กจิ กรรมรกั อย่างไร..ปลอดภัยในวยั เรา กิจกรรมเข้าสงั คม..ใครวา่ ยาก กจิ กรรม

สร้างแรงบนั ดาลใจให้ตัวเรา เป็นตน้
การเรยี นรไู้ มม่ วี นั หยดุ นง่ิ หากเราตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไปใหท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 การเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม PIM 3L เป็นส่วนหนง่ึ ของการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ส�ำหรับนกั ศกึ ษาสถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์

ภาพตัวอยา่ งโปสเตอร์ประชาสัมพนั ธก์ จิ กรรม

13

เปา้ หมายการเรยี นรผู้ า่ นโปรแกรม นอกจากนี้ส�ำนักการศึกษา
สง่ เสรมิ การเรียนรู้ภาษาองั กฤษ ทั่วไปมีการน�ำโปรแกรมประยุกต์ด้าน
Common European Framework of Reference การสอื่ สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบ
for Languages : CEFR กบั การจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์
การประเมินตามกรอบความเชี่ยวชาญ
ภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดับ B2 เปน็ อย่างนอ้ ย

ID64 (ปีที่ 3)

ID64 (ปที ่ี 2)

ID64 (ปีที่ 1)

ID64 (ปที ่ี 3)

แผนการใช้โปรแกรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ
ในรายวชิ าภาษาอังกฤษกลุม่ วชิ าสำ� นักการศกึ ษาทวั่ ไป

แผนสำหรับนกั ศึกษารหสั 64 ศกึ ษาวธิ กี ารใชงาน สอบวัดระดับความรู ทำแบบฝก หดั สอบวัดผลคร้งั ที่ 1 สอบวดั ผลครงั้ ท่ี 2
(ตอ block) (Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศึกษารหสั 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยูชน้ั ปท ่ี 1

สอบวัดระดับความรู ทำแบบฝก หัด สอบวัดผลครัง้ ท่ี 1 สอบวดั ผลคร้ังที่ 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู นั้ ปที่ 2 และ 3

14

ร้จู กั คณะ
“วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี”

ปรชั ญาคณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
“น�ำความรสู้ ูก่ ารปฏบิ ัติ

สร้างนวตั กรรม มคี ุณธรรม รับผิดชอบสังคม”

ปณิธาน
มุ่งผลติ บุคลากรที่รู้จริง พรอ้ มท�ำงานทนั ที

มีความคดิ สร้างสรรค์ ยึดมั่นในคุณธรรมและจรยิ ธรรม

วิสัยทศั น์
สร้างมืออาชีพด้านวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ด้วยการเรียนร้จู ากประสบการณ์จรงิ

พนั ธกจิ

1. สรา้ งบณั ฑติ ดา้ นวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ม่ี คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐาน และตรงกบั ความตอ้ งการของภาคธรุ กจิ
อุตสาหกรรม เป็นที่ต้องการของสงั คม โดยเน้นใหน้ กั ศึกษาเรยี นรู้จากประสบการณ์จริง

2. สรา้ งองคค์ วามรวู้ จิ ยั และพฒั นาองคค์ วามรใู้ หมด่ า้ นวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อนั กอ่ ใหเ้ กดิ องคค์ วามรแู้ ละ
การสรา้ งสรรค์นวัตกรรม ซงึ่ เป็นพืน้ ฐานในการพฒั นาองคก์ ร สังคมและประเทศชาติ

3. สรา้ งสรรคส์ งั คมและบรกิ ารชมุ ชน จดั บรกิ ารวชิ าการดา้ นวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ภาค
อตุ สาหกรรม ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

4. สร้างเสริมคุณธรรมปลูกฝังจิตส�ำนึกของนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรม เสริมสร้างจรรยาบรรณในวิชาชีพ
และสืบสานวัฒนธรรมท่ดี ีงาม

5. สรา้ งองคก์ รพฒั นาคณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี หเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล รวมทงั้ เพมิ่ ขดี ความ
สามารถในการแขง่ ขนั สามารถเจรญิ เตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื และสรา้ งความสขุ ในการทำ� งานใหก้ บั อาจารยแ์ ละบคุ ลากร

15

สญั ลกั ษณแ์ ละสปี ระจ�ำคณะ
เฟอื ง ภาพแทนกลไกวศิ วกรรมและ
อุตสาหกรรม

สปี ระจ�ำคณะ สแี ดงเลอื ดหมู I และ O เลขฐานสองซ่ึงเปน็ สญั ลกั ษณ์สากลด้าน
อิเล็กทรอนิกส์ ในท่ีน้ีเปรียบเสมือนพลังงานที่
ขบั เคลอื่ นกลไกจากภายใน โดยภาพทงั้ หมดวางอยู่
ในรปู ทรงเรขาคณติ 5 เหลยี่ ม อนั สอื่ ถงึ คณุ ลกั ษณะ
บณั ฑิตทีพ่ ึงประสงค์ 5 ประการ ไดแ้ ก่ เรยี นเปน็
คิดเป็น ท�ำงานเปน็ เนน้ วฒั นธรรม และรักความ
ถกู ต้อง

สีแดงเลือดหมู สีเลือดของพระวิษณุกรรม หรือ
พระวิศวกรรม ผู้เป็นเทพแห่งช่างผู้สร้างสรรค์
ดลบันดาลให้เกิดการสร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์และ
ประติมากรรมบนโลก
"วิศวกรรมศาสตร์" จึงหมายถึง ศาสตร์ท่ีมี
พระวิษณุเทพเจา้ แห่งชา่ ง เปน็ ครู

หลักสตู ร / สาขาวชิ าทเ่ี ปิดสอน

หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี

1. หลักสูตรวทิ ยาศาตรบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยดี จิ ิทลั และสารสนเทศ
2. หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

และปญั ญาประดษิ ฐ์
3. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรมอุตสาหการและ

การผลติ อจั ฉริยะ
4. หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมการผลติ ยานยนต์
5. หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมหุน่ ยนต์และ

ระบบอตั โนมตั ิ

หลกั สตู รระดับปริญญาโท

1. หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขาวศิ วกรรมและเทคโนโลยี
(หลักสตู รนานาชาต)ิ

ตดิ ตอ่ คณะ
ชนั้ 11 อาคาร 4 หรืออาคาร CP ALL Academy
โทรศัพท์ 0 2855 1005, 0 2855 0930

16

การเข้าถึงขอ้ มูลคณะ
1. เว็บไซต์คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลย:ี https://et.pim.ac.th/

17

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ

สาขาวิชาเทคโนโลยดี ิจิทัล
และสารสนเทศ

Bachelor of Science Program
in Digital and Information Technology

ชอ่ื ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ช่อื เตม็ ) : วิทยาศาสตรบณั ฑติ (เทคโนโลยดี จิ ิทัลและสารสนเทศ)
(อักษรย่อ) : วท.บ. (เทคโนโลยดี ิจทิ ลั และสารสนเทศ)
ภาษาองั กฤษ (ชือ่ เตม็ ) : Bachelor of Science
(Digital and Information Technology)
(อักษรยอ่ ) : B.Sc. (Digital and Information Technology)

หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
(สป.อว.) รับทราบหลกั สตู รเม่ือ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563

จุดเด่นของสาขาวิชา / หลกั สูตร

ปัจจุบัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศมีความเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว และได้เข้ามามีบทบาทต่อการ
ด�ำเนินงานขององค์กรตา่ งๆ ไม่วา่ จะเปน็ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ทง้ั ในภาครัฐและเอกชนเปน็ อย่างมาก ยงั ส่งผล
ใหค้ วามต้องการบคุ ลากรทีเ่ ชี่ยวชาญในเทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพ่มิ มากข้นึ ทกุ ปี

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ในการผลติ บคุ ลากรทมี่ คี วามเชย่ี วชาญดา้ นคอมพวิ เตอร์
และเทคโนโลยสี ารสนเทศ จงึ เปดิ ด�ำเนินการเรยี นการสอน หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีดิจิทลั
และสารสนเทศ เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ทมี่ คี วามรใู้ นดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศสมยั ใหม่ ซงึ่ รวมถงึ การออกแบบและสรา้ งระบบ
งานฐานข้อมูล การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การบริหารโครงการทางเทคโนโลยีสารสนเทศขนาดเล็กถึงขนาด
กลาง การส่ือสารขอ้ มูล การบรหิ ารความปลอดภยั ขอ้ มลู สารสนเทศและความรู้สมยั ใหม่ด้านวิทยาศาสตรบ์ ริการ โดย
เนน้ การเรียนร้เู ชิงทฤษฎคี วบค่กู ับการปฏิบตั ิและการท�ำงานจรงิ (Work-based Learning) เพือ่ ให้บณั ฑติ สามารถน�ำ
ความรทู้ ไี่ ดม้ าใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการไดท้ นั ทภี ายหลงั สำ� เรจ็ การศกึ ษา ประกอบกบั ไดม้ กี ารจดั เนอ้ื หา
วชิ าและกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รเพอ่ื หลอ่ หลอมใหบ้ ณั ฑติ เปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการทำ� งานและการดำ� เนนิ ชวี ติ
ทั้งยังปลูกฝังให้เปน็ ผทู้ ีม่ ีการศึกษาค้นควา้ หาความรไู้ ปตลอดชวี ิต (Life Long Learning)

18

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มวี ินัย ตรงเวลา 1. ตระหนักในคณุ คา่ และคณุ ธรรม จริยธรรม เสยี สละ
2. มีความซอ่ื สตั ย์สุจรติ และซ่อื สตั ย์สจุ รติ
3. มคี วามรับผิดชอบท้งั ต่อตนเอง สังคมและ
การประกอบอาชพี 2. มีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง
4. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีด่ ว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และสงั คม
และมีจติ สาธารณะ
3. มีภาวะความเปน็ ผ้นู ำ� และผตู้ าม สามารถทำ� งานเปน็
ทีมและสามารถแกไ้ ขข้อขดั แยง้ และลำ� ดับความ
สำ� คญั

4. เคารพสิทธแิ ละรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ รวมทัง้
เคารพในคณุ ค่าและศักดศิ์ รีของความเป็นมนุษย์

5. เคารพในระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม 5. เคารพกฎระเบยี บและข้อบงั คับต่างๆ ขององคก์ ร
เคารพ และสงั คม

6. สามารถวเิ คราะห์ผลกระทบจากการใชค้ อมพิวเตอร์
ต่อบคุ คล องค์กรและสงั คม

7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชพี

• ดา้ นความรู้

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มีความรอู้ ยา่ งกวา้ งขวางและสามารถนำ� ความรู้นนั้ 1. มีความรแู้ ละความเข้าใจเกย่ี วกบั หลักการและทฤษฎี
ไปใชใ้ นชวี ิตประจำ� วนั ทีส่ �ำคญั ในเนือ้ หาสาขาวชิ าท่ีศึกษา
2. เขา้ ใจและวเิ คราะห์หลกั การของศาสตร์อนื่ 2. สามารถวเิ คราะหป์ ญั หา เข้าใจและอธิบายความ
ทเี่ กี่ยวขอ้ งและนำ� มาใชเ้ ป็นพน้ื ฐานของศาสตร ์ ต้องการของระบบงาน รวมทั้งประยุกต์ความรู้
เฉพาะนัน้ ๆ (เฉพาะสาขาวิชา) ทักษะ และการใชเ้ ครอ่ื งมอื ทเี่ หมาะสมกับการแกไ้ ข
ปญั หา
3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลักการและทฤษฎใี นศาสตร์ 3. สามารถวเิ คราะห์ ออกแบบ ตดิ ต้ัง ปรับปรงุ และ/
เฉพาะนนั้ ๆ และสามารถนำ� ไปประยุกตใ์ ช้แก้ไข หรือประเมนิ ระบบองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของระบบ
ปญั หาในการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ได้ งานให้ตรงตามข้อกำ� หนด
4. สามารถตดิ ตามความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและ
วิวัฒนาการดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมท้ังการน�ำ
ไปประยกุ ต์
5. รู้ เขา้ ใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความช�ำนาญทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งตอ่ เนื่อง

6. มีความรู้ในแนวกวา้ งของสาขาวชิ าท่ีศึกษาเพอื่ ให ้
เลง็ เหน็ การเปล่ยี นแปลง และเข้าใจผลกระทบ
ของเทคโนโลยใี หม่ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
7. มปี ระสบการณ์ในการพฒั นาและ/หรอื การประยุกต์
ความรทู้ ใี่ ช้งานได้จริง

8. สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวิชาทศ่ี กึ ษากับ
ความรู้ในศาสตรอ์ ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

19

• ดา้ นทักษะทางปญั ญา

หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มคี วามคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ ต่อยอดกรอบความรเู้ ดมิ 1. คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและอยา่ งเป็นระบบ
สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวชิ าท่ศี กึ ษาและ
ประสบการณเ์ พอ่ื ใหเ้ กิดนวัตกรรม กิจกรรมหรือ 2. สามารถสืบคน้ ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อ
แนวทางในศาสตร์เฉพาะนน้ั ๆ ใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์

2. สามารถคดิ วิเคราะหแ์ ละเช่อื มโยงความรอู้ ยา่ งเปน็ 3. สามารถรวบรวม ศกึ ษา วิเคราะห์ และสรปุ ประเด็น
องค์รวม ปญั หาและความตอ้ งการ

3. มีความกระตือรอื รน้ ในการใฝ่หาความรู้ 4. สามารถประยุกตค์ วามรู้และทักษะเพอื่ ใช้แกไ้ ข
ปญั หาอย่างเหมาะสม

• ดา้ นทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบ

หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปรับตวั เขา้ กับสถานการณ์และวฒั นธรรม 1. สามารถสอ่ื สารกบั กลมุ่ คนหลากหลายและสามารถ
องค์กร สนทนาท้ังภาษาไทยและภาษา
ต่างประเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

2. สามารถท�ำงานกับผู้อน่ื ได้เป็นอย่างดแี ละมีภาวะผูน้ �ำ 2. สามารถให้ความชว่ ยเหลอื และอ�ำนวยความสะดวก
แก่การแกป้ ญั หาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุม่ ทงั้ ใน
บทบาทของผูน้ ำ� หรอื ในบทบาทของผรู้ ว่ มทีมท�ำงาน

3. มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ หน้าที่และงานทไ่ี ด้รบั 3. สามารถใชค้ วามรใู้ นศาสตร์ท่เี รียนมาชีน้ �ำสงั คมใน
มอบหมาย ประเดน็ ท่ีเหมาะสม

4. มมี นุษยสัมพันธ์ท่ีดีกับผรู้ ่วมงานในองคก์ รและบคุ คล 4. มีความรับผดิ ชอบในการกระทำ� ของตนเองและ
ทว่ั ไป รบั ผดิ ชอบงานในกล่มุ

5. สามารถเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ แสดงประเดน็ ในการแก้ไข
สถานการณท์ ัง้ ส่วนตวั และส่วนรวมพร้อมทั้งแสดง
จดุ ยืนอย่างพอเหมาะท้งั ของตนเองและของกลมุ่

6. มีความรบั ผิดชอบการพฒั นาการเรยี นรูท้ ั้งของตนเอง
และทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนอ่ื ง

20

• ด้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. ใชค้ วามรทู้ างคณติ ศาสตร์และสถติ ใิ นการวเิ คราะห์ 1. มีทักษะในการใชเ้ ครื่องมือที่จ�ำเปน็ ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบัน
และน�ำเสนอ ตอ่ การท�ำงานทเี่ กย่ี วกบั คอมพิวเตอร์

2. มีทกั ษะการใช้ภาษาไทยได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2. สามารถแนะนำ� ประเด็นการแกไ้ ขปญั หาโดยใช้
สารสนเทศทางคณิตศาสตรห์ รือการแสดงสถติ ิ
3. มที ักษะการใชภ้ าษาต่างประเทศเพอื่ การตดิ ต่อ ประยกุ ตต์ ่อปญั หาท่ีเกี่ยวขอ้ งอยา่ งสร้างสรรค์
ส่อื สารอย่างน้อยหน่งึ ภาษา
3. สามารถสอื่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทั้งปากเปล่าและ
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้น การเขียน เลอื กใชร้ ูปแบบของสื่อการน�ำเสนออยา่ ง
เก็บรวบรวมข้อมูลตลอดจนการน�ำเสนอ เหมาะสม

4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
อย่างเหมาะสม

แนวทางการประกอบอาชพี
1. นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ
3. นกั โปรแกรม/ นักพฒั นาระบบ
4. นกั วิเคราะห์ข้อมูล นักวิทยาศาสตรข์ อ้ มูล
5. นกั พฒั นา/จดั การเวบ็ ไซต/์ จดั การกระบวนการทางธุรกจิ
6. ผู้ดแู ลระบบโครงข่าย เครื่องแมข่ า่ ย และระบบกลุ่มเมฆ
7. ผู้ออกแบบดจิ ทิ ลั กราฟฟกิ และแอนเิ มชนั

21

รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 360,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ท่สี ถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศึกษา ดงั น้ี

ภาคการศกึ ษาที่ คา่ เล่าเรยี นส�ำหรับนกั ศึกษา คา่ เล่าเรยี นสำ� หรบั นกั ศึกษา
ทเี่ ขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ทีเ่ ข้าเรยี นในภาคปกติ
คร้ังที่ 1
ครง้ั ท่ี 2 – 7 24,000 48,000
ครัง้ ท่ี 8
48,000 48,000
48,000 24,000

2. อัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมค่าใช้จา่ ย ดังต่อไปนี้
- คา่ หนงั สอื เอกสารประกอบวิชาเรียน
- ค่าชุดปฏบิ ตั ิการ วตั ถุดบิ และอปุ กรณอ์ ื่นๆ ที่เก่ียวข้อง
- คา่ รายวิชาปรบั พ้ืนฐาน
- ค่าธรรมเนยี มอ่นื ๆ และคา่ เบ็ดเตล็ดนอกเหนืออตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

22

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปกี ารศึกษาท่ี 1

รหสั วิชา ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต

EN xxxxx รายวชิ า 2 EN xxxxxx รายวชิ า 2
1311101 3 1311103 3
กลุม่ วิชาภาษาองั กฤษ กล่มุ วิชาภาษาอังกฤษ
1311102 พืน้ ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและ 3 1301107 สถติ สิ �ำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญญาประดิษฐ์
1312104 คณติ ศาสตรส์ ำ� หรับเทคโนโลยี 3 1312103 โครงงานทางวศิ วกรรมและ 1
สารสนเทศ เทคโนโลยี 3
1312101 พืน้ ฐานการเขยี นโปรแกรม 3 1312102 การออกแบบกราฟกิ และสือ่ ดจิ ทิ ลั 3
สำ� หรบั อตุ สาหกรรมดิจทิ ัล 3
1311104 เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและสารสนเทศ 3 1302151 จรยิ ธรรมและมาตรฐานทาง 15
ในธรุ กจิ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
การสอ่ื สารและการนำ� เสนอทาง 17 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัตสิ ำ� หรับ
วชิ าชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ วศิ วกรและนกั เทคโนโลยี

รวม รวม

ปีการศกึ ษาท่ี 2

รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกติ รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกติ

EN xxxxx รายวชิ า 2 TH xxxxx รายวิชา 3
SO xxxxx 3 HM xxxxx 3
1312208 กลุม่ วชิ าภาษาองั กฤษ 3 1312209 กลุ่มวชิ าภาษาไทย 3
กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ กลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์
1312211 ระบบฐานข้อมูลและข้อมูลขนาด โครงสรา้ งข้อมูลและขั้นตอนวธิ ี
ใหญ่
1312205 โครงสรา้ งคอมพิวเตอร์และ 3 131xxxx วชิ าเลือกเฉพาะด้านอุตสาหกรรม 3
ระบบปฏิบตั ิการ ดิจทิ ัล 1 3
1312251 การวางแผนทรัพยากรทางธุรกจิ 3 1312206 ความม่นั คงของเทคโนโลยี
ขององคก์ รโดยรวมสำ� หรับธุรกจิ สารสนเทศและเทคโนโลยี 3
บล็อกเชน
การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้าน 3 1312207 พาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1

1311205 โครงงานดิจิทัลเทคโนโลยี 1 1
รวม 19
รวม 17

23

ปีการศกึ ษาท่ี 3

รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาที่ 1 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกติ

Xx xxxxx รายวิชา 3 HM xxxxx รายวิชา 3
SC xxxxx 3 SC xxxxx 3
1312313 กลุ่มวิชาเลือกภาษาต่างประเทศ กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3
1312210 กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตร์และ 3 131xxxx กล่มุ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 2
1312212 คณติ ศาสตร์ 3
10xxxxx วศิ วกรรมซอฟต์แวรแ์ ละการ 3 1311306 วิชาเลอื กเฉพาะดา้ นอตุ สาหกรรม
วเิ คราะห์ระบบ ดจิ ิทัล 2 15
รหสั วชิ า การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุข้าม 3 1312352 โครงงานดจิ ทิ ลั เทคโนโลยี 2
แพลตฟอรม์
XX xxxxx ระบบโครงข่ายและคลาวด์ 3 การเรียนร้ภู าคปฏบิ ัติด้าน
18 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
รวม หนว่ ยกติ รวม

ภาคการศึกษาฤดรู ้อน 3
3
รายวชิ า

วชิ าเลือกเสรี 1
รวม

ปกี ารศกึ ษาท่ี 4

ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกิต รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต

1312413 การจดั การโครงการเทคโนโลยี 3 1312453 การเรยี นรูภ้ าคปฏิบัติด้าน 6
สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ 3
1312414 วิชาเลอื กเสรี 2 3
131xxxx วทิ ยาการขอ้ มลู 3 XX xxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3

131xxxx วชิ าเลอื กเฉพาะดา้ นอตุ สาหกรรม 3 131xxxx
ดจิ ิทัล 3

วิชาเลือกเฉพาะด้านอุตสาหกรรม 3
ดิจทิ ลั 4

รวม 12 รวม 12

สามารถศึกษาข้อมลู หลกั สตู รเพ่ิมเติมได้ท่ี

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25522501102615_2118_IP&b=0&u=25000&y=

24

หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ

สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์
และปัญญาประดิษฐ์

Bachelor of Engineering Program
in Computer Engineering and Artificial Intelligence

ชอื่ ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชอ่ื เตม็ ) : วิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ
(วิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละปัญญาประดิษฐ)์
(อักษรยอ่ ) : วศ.บ. (วศิ วกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดษิ ฐ)์
ภาษาองั กฤษ (ชื่อเตม็ ) : Bachelor of Engineering (Computer Engineering
and Artificial Intelligence)
(อักษรย่อ) : B.Eng. (Computer Engineering and
Artificial Intelligence)

หมายเหตุ : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
(สป.อว.) รับทราบหลักสตู รเมื่อ 13 เมษายน พ.ศ. 2563

จดุ เดน่ ของสาขาวิชา / หลกั สตู ร

ปจั จบุ นั ทกุ ประเทศมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งกา้ วกระโดดในเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์
และปญั ญาประดษิ ฐ์ เนน้ การพฒั นาอตุ สาหกรรมคอมพวิ เตอร์ จงึ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทตี่ อ้ งมรี ะบบการบรหิ ารจดั การ
องคค์ วามรู้ การพฒั นาหรอื สรา้ งองคค์ วามรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ ซง่ึ รวมถงึ การเตรยี มบคุ ลากรทาง
วศิ วกรรมคอมพวิ เตอรจ์ ำ� นวนมากทส่ี ามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสมมาผสมผสานรว่ มกบั จดุ แขง็ ในสงั คมไทย
จงึ มคี วามจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งพฒั นาหลกั สตู รในเชงิ รกุ ทมี่ ศี กั ยภาพและสามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามววิ ฒั นาการของสาขาวชิ า
วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ และรองรับการแขง่ ขนั ทางธุรกิจคอมพิวเตอรท์ ัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการผลิต
บุคลากรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จ�ำเป็นต้องมีความพร้อมท่ีจะปฏิบัติงานได้ทันที และมีศักยภาพสูงในการพัฒนา
ตนเองใหเ้ ขา้ กบั ลกั ษณะงานทง้ั ดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี ซง่ึ เปน็ ไปตามนโยบายและวสิ ยั ทศั นข์ องสถาบนั ฯ ดา้ นมงุ่ สคู่ วาม
เปน็ เลศิ ในเทคโนโลยีและการวจิ ยั ซงึ่ สอดคลอ้ งกับพนั ธกจิ และแผนกลยุทธ์สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์

25

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มีวนิ ัย ตรงเวลา 1. ตระหนักในคุณคา่ และคุณธรรม จรยิ ธรรม เสียสละ
และซ่อื สัตย์สุจริต

2. มีความซ่ือสัตย์สจุ รติ 2. มวี นิ ัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง
และสังคม

3. มคี วามรับผดิ ชอบทงั้ ตอ่ ตนเอง สังคมและการ 3. มีภาวะความเปน็ ผนู้ �ำและผตู้ าม สามารถทำ� งานเป็น
ประกอบอาชีพ ทมี และสามารถแกไ้ ขขอ้ ขัดแยง้ และลำ� ดับความ
สำ� คญั
4. ปฏิบตั ิหน้าท่ีดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิต 4. เคารพสทิ ธแิ ละรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น รวมท้ัง
สาธารณะ เคารพในคณุ ค่าและศักด์ศิ รขี องความเปน็ มนุษย์
5. เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม 5. เคารพกฎระเบยี บและขอ้ บงั คับตา่ งๆ ขององคก์ ร
และสังคม
6. สามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์
ต่อบุคคล องคก์ รและสงั คม
7. มีจรรยาบรรณทางวชิ าการและวชิ าชพี

• ด้านความรู้

หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มคี วามรู้อย่างกว้างขวางและสามารถน�ำความรู้น้ันไป 1. มีความร้แู ละความเข้าใจเก่ยี วกับหลักการและทฤษฎี
ใช้ในชวี ิตประจำ� วนั ทส่ี �ำคัญในเนือ้ หาสาขาวชิ าท่ีศกึ ษา
2. เข้าใจและวิเคราะหห์ ลักการของศาสตรอ์ นื่ ท่ี 2. สามารถวเิ คราะห์ปญั หา เข้าใจและอธิบายความ
เกีย่ วข้องและน�ำมาใช้เปน็ พ้นื ฐานของศาสตร ์ ต้องการของระบบงาน รวมทัง้ ประยุกต์ความรู้
เฉพาะนน้ั ๆ (เฉพาะสาขาวชิ า) ทักษะ และการใชเ้ ครือ่ งมือทเี่ หมาะสมกบั
การแก้ไขปัญหา
3. มีความรูค้ วามเขา้ ใจในหลกั การและทฤษฎีในศาสตร์ 3. สามารถวเิ คราะห์ ออกแบบ ตดิ ตง้ั ปรับปรุงและ/
เฉพาะนน้ั ๆ และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้แก้ไข หรือประเมนิ ระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบ
ปญั หาในการปฏบิ ัติงานจรงิ ได้ งานใหต้ รงตามข้อกำ� หนด
4. สามารถติดตามความก้าวหนา้ ทางวชิ าการและ
วิวฒั นาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทงั้ การน�ำ
ไปประยกุ ต์
5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความช�ำนาญทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งต่อเน่ือง

6. มีความรู้ในแนวกวา้ งของสาขาวชิ าท่ีศกึ ษาเพ่ือใหเ้ ลง็
เห็นการเปลย่ี นแปลง และเขา้ ใจผลกระทบ
ของเทคโนโลยใี หม่ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง
7. มปี ระสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรอื การประยกุ ต์
ความร้ทู ่ใี ชง้ านไดจ้ รงิ

8. สามารถบรู ณาการความรใู้ นสาขาวชิ าทีศ่ ึกษากบั
ความร้ใู นศาสตร์อ่ืนๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง

26

• ด้านทักษะทางปัญญา

หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มคี วามคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรูเ้ ดมิ 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอยา่ งเป็นระบบ
สามารถบรู ณาการความร้ใู นสาขาวชิ าท่ีศกึ ษาและ
ประสบการณ์เพ่ือให้เกดิ นวตั กรรม กจิ กรรมหรอื 2. สามารถสืบคน้ ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพ่อื
แนวทางในศาสตรเ์ ฉพาะน้ันๆ ใช้ในการแกไ้ ขปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์

2. สามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละเชอื่ มโยงความรู้อยา่ งเปน็
องคร์ วม

3. มีความกระตือรือรน้ ในการใฝ่หาความรู้ 3. สามารถรวบรวม ศกึ ษา วเิ คราะห์ และสรปุ ประเด็น
ปญั หาและความตอ้ งการ

4. สามารถประยุกตค์ วามรแู้ ละทกั ษะเพือ่ ใชแ้ ก้ไข
ปัญหาอยา่ งเหมาะสม

• ดา้ นทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ

หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปรบั ตวั เข้ากบั สถานการณแ์ ละวัฒนธรรม 1. สามารถส่ือสารกับกลมุ่ คนหลากหลายและสามารถ
องคก์ ร สนทนาท้งั ภาษาไทยและภาษา
ต่างประเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

2. สามารถท�ำงานกับผอู้ ่ืนไดเ้ ปน็ อยา่ งดีและมภี าวะผู้น�ำ 2. สามารถให้ความช่วยเหลอื และอำ� นวยความสะดวก
แกก่ ารแก้ปญั หาสถานการณ์ต่างๆ ในกลมุ่ ทง้ั ใน
บทบาทของผ้นู ำ� หรือในบทบาทของผรู้ ว่ มทมี ท�ำงาน

3. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทีแ่ ละงานที่ไดร้ บั มอบ 3. สามารถใชค้ วามรใู้ นศาสตร์ทเี่ รยี นมาชี้น�ำสังคม
หมาย ในประเด็นท่เี หมาะสม

4. มมี นุษยสัมพันธ์ท่ดี ีกับผู้รว่ มงานในองคก์ รและบุคคล 4. มคี วามรบั ผดิ ชอบในการกระท�ำของตนเองและ
ทัว่ ไป รบั ผิดชอบงานในกลมุ่

5. สามารถเปน็ ผูร้ เิ ริม่ แสดงประเด็นในการแก้ไข
สถานการณท์ ง้ั สว่ นตัวและส่วนรวมพร้อมท้ังแสดง
จุดยืนอยา่ งพอเหมาะทง้ั ของตนเองและของกลมุ่

6. มคี วามรบั ผิดชอบการพัฒนาการเรยี นรูท้ ้ังของตนเอง
และทางวชิ าชีพอย่างตอ่ เน่อื ง

27

• ด้านทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. ใช้ความรทู้ างคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติในการวิเคราะห์ 1. มที กั ษะในการใชเ้ ครื่องมอื ทจี่ �ำเป็นทมี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั
และน�ำเสนอ ต่อการท�ำงานที่เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์

2. มที ักษะการใชภ้ าษาไทยไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. สามารถแนะน�ำประเดน็ การแก้ไขปัญหาโดยใช้
สารสนเทศทางคณติ ศาสตรห์ รอื การแสดงสถิติ
3. มีทักษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอื่ การตดิ ต่อ ประยกุ ตต์ อ่ ปัญหาที่เกีย่ วขอ้ งอยา่ งสรา้ งสรรค์
ส่อื สารอย่างน้อยหน่งึ ภาษา
3. สามารถส่ือสารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทง้ั ปากเปล่าและ
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้น การเขียน เลือกใชร้ ปู แบบของสือ่ การน�ำเสนออยา่ ง
เก็บรวบรวมขอ้ มูลตลอดจนการนำ� เสนอ เหมาะสม

4. สามารถใชส้ ารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อยา่ งเหมาะสม

แนวทางการประกอบอาชพี
1. วิศวกรคอมพวิ เตอร์
2. วศิ วกรปัญญาประดษิ ฐ์
3. วศิ วกรการเรยี นรูข้ องเคร่อื ง
4. นักวิทยาการข้อมลู
5. นักวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบงานสารสนเทศ
6. นกั โปรแกรม/ นกั พฒั นาระบบ
7. นกั ทดสอบโปรแกรม/นักทดสอบระบบ
8. ผู้ดูแลระบบโครงข่าย เคร่ืองแม่ขา่ ย และระบบคลาวด์

28

รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 384,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทส่ี ถาบนั ก�ำหนด ตามแผนการเรียนปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดังนี้

ภาคการศึกษาที่ คา่ เลา่ เรียนสำ� หรับนกั ศกึ ษา คา่ เล่าเรียนส�ำหรับนกั ศกึ ษา

ครั้งท่ี 1 ท่ีเขา้ เรยี นในภาคการศึกษาพิเศษ ทเ่ี ขา้ เรียนในภาคปกติ
ครง้ั ท่ี 2 – 7
ครงั้ ท่ี 8 25,600 51,200

51,200 51,200
51,200 25,600

2. อตั ราค่าเลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศึกษา ไมร่ วมคา่ ใช้จา่ ย ดงั ตอ่ ไปน้ี
- คา่ หนังสอื เอกสารประกอบวิชาเรียน
- ค่าชุดปฏบิ ัติการ วัตถุดิบและอปุ กรณ์อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง
- ค่ารายวชิ าปรบั พน้ื ฐาน
- คา่ ธรรมเนยี มอื่นๆ และคา่ เบด็ เตลด็ นอกเหนอื อตั ราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

29

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปีการศึกษาท่ี 1

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต

TH xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาไทย 3 EN xxxxx กล่มุ วิชาภาษาอังกฤษ 2
SO xxxxx กล่มุ วชิ าสังคมศาสตร์ 3 1301102 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3
1301101 คณิตศาสตร์วศิ วกรรม 1 3 1301103 ฟิสิกส์วิศวกรรม 1 3
1301105 ฟิสิกส์วิศวกรรม 2 3 1301106 ปฏิบตั กิ ารฟิสกิ ส์วศิ วกรรม 2 1
1301104 ปฏิบตั ิการฟสิ ิกสว์ ศิ วกรรม 1 1 1301107 โครงงานทางวศิ วกรรมและเทคโนโลยี 1
1312104 พ้นื ฐานการเขียนโปรแกรม 3 1302151 การเรียนรูภ้ าคปฏบิ ัติส�ำหรบั วศิ วกร 3
และนกั เทคโนโลยี
1312210 การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถุขา้ ม 3
แพลตฟอรม์
1321101 วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ สส์ �ำหรับ 3
วิศวกรคอมพิวเตอร์
1321102 ปฏบิ ตั ิการวงจรไฟฟา้ และ 1
อิเลก็ ทรอนกิ ส์
รวม 16 20
รวม

ปีการศกึ ษาท่ี 2

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกติ

EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2
SC xxxxx กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 3 SO xxxxx กล่มุ วชิ าสังคมศาสตร์ 3
1322201 ระบบฐานขอ้ มูลและข้อมูลขนาดใหญ่ 3 1321204 คณติ ศาสตร์ส�ำหรับปัญญา 3
ประดิษฐ์ 2
1312209 โครงสร้างข้อมูลและข้ันตอนวธิ ี 3 1312414 วิทยาการข้อมลู 3
1321203 3 1321205
คณิตศาสตรส์ ำ� หรับปัญญา โครงงานวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ 1
1322201 ประดิษฐ์ 1 3 1322202 และปญั ญาประดษิ ฐ์ 1 3
การออกแบบดจิ ิทลั ลอจกิ เคร่อื งเรง่ ฮาร์ดแวร์สำ� หรับการ 3
1312212 เรยี นรู้เชิงลกึ 3
ระบบโครงขา่ ยและคลาวด์ 3 1313310 การประมวลผลคลาวด์
1322251 การเรียนรู้ภาคปฏบิ ัติด้าน 21
วศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละปญั ญา
รวม 20 ประดษิ ฐ์ 1

รวม

30

ปีการศกึ ษาที่ 3

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต

Xx xxxxx กลุม่ วิชาเลอื กภาษาตา่ งประเทศ 3 HM xxxxx กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3
HM xxxxx กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3 1312101 จริยธรรมและมาตรฐานทางเทคโนโลยี 3
สารสนเทศ
Sc xxxxx กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ 3 1312206 ความมั่นคงของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3
คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน
1322301 การสื่อสารและการประมวลผล 3 1321306 โครงงานวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละ 2
ดจิ ทิ ัล ปัญญาประดษิ ฐ์ 2
1322304 ไมโครโพรเซสเซอร์และ 3 1322303 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 3
อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
1322302 ระบบปฎิบตั ิการ 3 1322302 การเรียนรขู้ องเคร่อื ง 3
1312313 วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์และการ 3
วิเคราะห์ระบบ 21
รวม 17
รวม หน่วยกิต

ภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น 3

รหัสวชิ า รายวชิ า 3

1322352 การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ิด้าน
วิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละปญั ญา
ประดิษฐ์ 2

รวม

ปกี ารศึกษาท่ี 4

รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกติ รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกติ

1322303 รายวิชา 3 1322453 รายวิชา 6

132xxxx คอมพิวเตอร์วิทศั น์ การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ดิ ้าน 3
xx xxxxx วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญา
วิชาเลอื กเฉพาะสาขา 3 xx xxxxx ประดิษฐ์ 3
วชิ าเลอื กเสรี วิชาเลอื กเสรี
3
รวม 9 รวม 9

สามารถศกึ ษาขอ้ มลู หลกั สตู รเพมิ่ เตมิ ได้ที่

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25542501101256_2114_IP&b=0&u=25000&y=

31

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ

สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
และการผลิตอัจฉริยะ

Bachelor of Engineering Program
in Industrial Engineering and Intelligent Manufacturing

ชอื่ ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชือ่ เต็ม) : วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต
(วศิ วกรรมอุตสาหการและการผลิตอจั ฉริยะ)
(อักษรย่อ) : วศ.บ. (วศิ วกรรมอตุ สาหการ)
ภาษาองั กฤษ (ชอื่ เตม็ ) : Bachelor of Engineering (Industrial Engineering
and Intelligent Manufacturing)
(อักษรย่อ) : B.Eng. (Industrial Engineering and
Intelligent Manufacturing)

หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
(สป.อว.) รับทราบหลักสูตรเม่ือ 21 กนั ยายน พ.ศ. 2563

จุดเด่นของสาขาวิชา / หลกั สูตร

ปจั จบุ นั ภาคธรุ กจิ ดา้ นตา่ งๆ มแี นวโนม้ ทข่ี ยายตวั เพม่ิ มากขนึ้ ทงั้ ในสว่ นดา้ นของอปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน โดยเฉพาะ
ในภาคอุตสาหกรรม จนท�ำให้การผลิตบุคลากรเฉพาะด้านที่มีองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต
อจั ฉรยิ ะในระดบั ปรญิ ญาบณั ฑติ เกดิ สภาวะขาดแคลนทรพั ยากรบคุ คลทมี่ อี งคค์ วามรทู้ ง้ั ในเชงิ ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั เิ ฉพาะ
ดา้ นร่วมกนั โดยการบรู ณาการการเรียนการสอน ในทุกๆ ศาสตรเ์ ชงิ การจดั การและเทคโนโลยีอุตสาหการทส่ี ามารถ
ตอ่ ยอดไดใ้ นอนาคต ซง่ึ ปจั จบุ นั นน้ั โดยเฉพาะภาคอตุ สาหกรรมมคี วามจำ� เปน็ ของบคุ ลากรดา้ นนเี้ พมิ่ ขนึ้ ทำ� ใหส้ อดคลอ้ ง
กับการพฒั นาของธรุ กจิ ทุกๆ ประเภทท่เี กยี่ วเน่ืองกนั ได้

32

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม หมวดวชิ าเฉพาะ
หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป
1. เขา้ ใจซาบซง้ึ ในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่า
1. แสดงออกถึงความมีวินยั และตรงตอ่ เวลา ของคณุ ธรรม จริยธรรม เสยี สละและซือ่ สัตยส์ จุ รติ
2. ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ดี ้วยความซอื่ สัตยส์ ุจรติ มีคุณธรรม
2. มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา รบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม
จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ เคารพกฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ต่างๆ ขององค์กร
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบท้ังต่อตนเอง สังคมและการ และสงั คม

ประกอบอาชีพ 3. มภี าวะความเปน็ ผู้น�ำและผตู้ าม สามารถท�ำงานเปน็
หมู่คณะ สามารถแก้ไขขอ้ ขดั แย้งตามล�ำดบั ความ
4. แสดงออกซงึ่ ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย สาคญั เคารพสทิ ธิและรับฟังความคิดเหน็ ของผูอ้ ื่น
รวมทงั้ เคารพในคุณคา่ และศักด์ิศรขี องความเป็น
5. ปฏิบตั ติ ามระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององคก์ รและ มนษุ ย์ร่วมกนั
สังคม
4. สามารถวิเคราะหแ์ ละประเมินผลกระทบจากการใช้
ความรู้ทางวศิ วกรรมต่อบคุ คล องค์กร สงั คมและสิ่ง
แวดลอ้ ม

5. มีจรรยาบรรณทางวชิ าการและวิชาชพี และมีความ
รับผิดชอบในฐานะผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ รวมถงึ เขา้ ใจ
ถึงบรบิ ททางสงั คมของวิชาชพี วิศวกรรมในแตล่ ะ
สาขา ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ นั

• ดา้ นความรู้

หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลักการพืน้ ฐาน ทเี่ รียนรู้ 1. มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจทางคณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน
และนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำ� วันและศาสตรท์ ี่ วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน วศิ วกรรมพ้ืนฐาน และ
เก่ยี วข้อง เศรษฐศาสตร์ เพือ่ การประยุกตใ์ ชก้ ับงานทางด้าน
วิศวกรรมศาสตร์ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง และการสรา้ งนวตั กรรม
2. สามารถอธบิ าย ใช้ทฤษฎี หลกั การของศาสตรท์ ี่ ทางเทคโนโลยี
เกย่ี วขอ้ ง และสามารถน�ำมาประยุกต์หรือเป็นพ้ืน
ฐานในการเรยี นและการทำ� งาน 2. มีความร้แู ละความเข้าใจเก่ียวกบั หลักการท่สี าคญั
ท้ังในเชงิ ทฤษฎีและปฏิบตั ิ ในเนือ้ หาของสาขาวชิ า
3. สามารถวิเคราะหแ์ ละเลอื กใช้ความรูใ้ นศาสตร์ที่ เฉพาะด้านทางวศิ วกรรม
เรียน เพื่อการวางแผน การเรียนและการทำ� งาน
3. สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวิชาท่ศี กึ ษากับ
ความรู้ในศาสตร์อืน่ ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

4. สามารถวเิ คราะห์และแก้ไขปัญหา ดว้ ยวธิ ีการที่
เหมาะสม รวมถงึ การประยกุ ต์ใช้เครอื่ งมอื ที่เหมาะ
สม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นตน้

5. สามารถใช้ความร้แู ละทักษะในสาขาวิชาของตน ใน
การประยกุ ตแ์ กไ้ ขปัญหาในงานจรงิ ได้

33

• ด้านทกั ษะทางปญั ญาความรู้

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. สามารถวิเคราะหแ์ ละประเมินสถานการณ์ โดยใช้ 1. มีความคิดอย่างมวี จิ ารณญาณท่ีดี
ศาสตร์ทเ่ี รยี นเพ่อื ใชใ้ นการวางแผนการท�ำงาน และ
ปฏิบตั ิงานจริง

2. สามารถจดั ระบบและสรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่ โดยน�ำ 2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรปุ ประเดน็
ศาสตร์ทีเ่ รียนมาเชื่อมโยง ตอ่ ยอดความรู้ และ ปญั หาและความต้องการ
พัฒนาทักษะการปฏิบัตงิ าน
3. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาดา้ น
3. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการใฝ่หาความรู้ ในศาสตรท์ ี่ วศิ วกรรมไดอ้ ย่างมรี ะบบ รวมถึงการใชข้ อ้ มูล
เรียนและศาสตร์ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ประกอบการตดั สนิ ใจในการทำ� งานไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

4. มจี ินตนาการและความยืดหยนุ่ ในการปรบั ใช้องค์
ความรทู้ ี่เกยี่ วขอ้ งอย่างเหมาะสม ในการพฒั นา
นวตั กรรมหรือต่อยอดองคค์ วามรจู้ ากเดิมได้อย่าง
สรา้ งสรรค์

5. สามารถสบื ค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมได้
ดว้ ยตนเอง เพ่ือการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต และทนั ต่อการ
เปลย่ี นแปลงทางองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยใี หม่ๆ

• ดา้ นทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปฏบิ ัติตามกฏระเบียบ ปรับตัวเขา้ กับ 1. สามารถส่ือสารกับกลุม่ คนทีห่ ลากหลาย และ
สถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองค์กร สามารถสนทนาท้งั ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ สามารถใช้ความร้ใู นสาขา
2. มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ทด่ี ี มีความรบั ผดิ ชอบ มภี าวะผู้น�ำ วชิ าชีพมาสอ่ื สารตอ่ สังคมได้ในประเดน็ ทีเ่ หมาะสม
และทำ� งานร่วมกับผู้อ่ืนได้เป็นอยา่ งดี
2. สามารถเปน็ ผรู้ ิเริม่ แสดงประเดน็ ในการแกไ้ ข
3. พฒั นาตนเองตอ่ หนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบและงานที่ได้ สถานการณเ์ ชิงสร้างสรรคท์ ้งั สว่ นตัวและส่วนรวม
รบั มอบหมาย พร้อมท้ังแสดงจดุ ยืนอย่างพอเหมาะทง้ั ของตนเอง
และของกลมุ่ รวมท้ังให้ความช่วยเหลือและอำ� นวย
4. จัดสรรเวลาการทำ� งาน การดแู ลสุขภาพชีวติ ส่วนตัว ความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ตา่ ง ๆ
และการสรา้ งความสัมพนั ธก์ บั ผ้รู ่วมงานในองค์กร
และบุคคลท่วั ไป 3. สามารถวางแผนและรบั ผดิ ชอบในการพฒั นาการ
เรยี นรทู้ ัง้ ของตนเอง และสอดคลอ้ งกบั ทางวิชาชพี
วศิ วกรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

4. ร้จู กั บทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการ
ทำ� งานตามท่มี อบหมาย ทงั้ งานบุคคลและงานกล่มุ
สามารถปรบั ตวั และท�ำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนทงั้ ในฐานะ
ผนู้ �ำและผตู้ ามไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถ
วางตวั ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับความรบั ผิดชอบ

5. มจี ติ สำ� นกึ ความรบั ผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยการ
ท�ำงาน และสภาพแวดล้อมต่อสงั คม

34

• ด้านทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถใช้ความรูท้ างคณติ ศาสตร์และสถิติในการ 1. มีทักษะในการใชค้ อมพวิ เตอร์ ส�ำหรบั การทำ� งานที่
วเิ คราะห์ และน�ำเสนอขอ้ มูลในการเรียนและการ เกีย่ วขอ้ งกบั วชิ าชพี ได้เป็นอยา่ งดี
ทำ� งาน

2. สามารถใชภ้ าษาไทย ในการอธบิ ายหลกั การและ 2. มที ักษะในการวเิ คราะห์ข้อมูลสารสนเทศทาง
สถานการณ์ รวมถงึ การส่อื สารความหมายได้อยา่ งถูก คณติ ศาสตรห์ รือการแสดงสถิตปิ ระยุกตต์ อ่ การแก้
ตอ้ งและตรงประเดน็ ปัญหาทีเ่ กย่ี วข้องได้อย่างสร้างสรรค์

3. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศเพือ่ การตดิ ต่อสอ่ื สาร 3. สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
อย่างนอ้ ยหน่ึงภาษา สอ่ื สาร ทที่ ันสมัยไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมี
ประสิทธภิ าพ

4. สามารถเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ในการสบื ค้น เก็บ 4. มที ักษะในการส่อื สารขอ้ มลู ท้งั ทางการพดู การเขยี น
รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ น�ำเสนอผลงานและการ และการส่ือความหมายโดยใชส้ ญั ลักษณ์
ฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน

5. สามารถใชเ้ ครื่องมือการค�ำนวณและเครอื่ งมือทาง
วศิ วกรรม เพ่อื ประกอบวชิ าชีพสาขาวิศวกรรม
ทเ่ี กีย่ วข้องได้

แนวทางการประกอบอาชพี
1. วศิ วกรอตุ สาหการ
2. วศิ วกรวางแผนการผลิต
3. วิศวกรโรงงานอุตสาหกรรม
4. วิศวกรคุณภาพและประกนั คุณภาพ
5. วิศวกรควบคมุ การผลิตระบบการผลิตอัจฉรยิ ะ
6. วศิ วกรบ�ำรงุ รักษา
7. วิศวกรดา้ นโลจิสตกิ ส์และห่วงโซอ่ ปุ ทาน

35

รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 405,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ท่สี ถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศึกษา ดงั น้ี

ภาคการศกึ ษาที่ คา่ เล่าเรยี นส�ำหรับนกั ศึกษา คา่ เล่าเรยี นสำ� หรบั นกั ศึกษา
ทเี่ ขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ทีเ่ ข้าเรยี นในภาคปกติ
คร้ังที่ 1
ครง้ั ท่ี 2 – 7 27,000 54,000
ครัง้ ท่ี 8
54,000 54,000
54,000 27,000

2. อัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมค่าใช้จา่ ย ดังต่อไปนี้
- คา่ หนงั สอื เอกสารประกอบวิชาเรียน
- ค่าชุดปฏบิ ตั ิการ วตั ถุดบิ และอปุ กรณอ์ ื่นๆ ที่เก่ียวข้อง
- คา่ รายวิชาปรบั พ้ืนฐาน
- ค่าธรรมเนยี มอ่นื ๆ และคา่ เบ็ดเตล็ดนอกเหนืออตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

36

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปีการศกึ ษาท่ี 1

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต

10XXXXX หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 2 10XXXXX หมวดอัตลกั ษณข์ องสถาบัน PIM 2
10XXXXX หมวดอัตลักษณข์ องสถาบัน PIM 3
10XXXXX หมวดอัตลักษณข์ องสถาบนั PIM 3 10XXXXX หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 3
1301101 คณติ ศาสตร์วศิ วกรรม 2 3
1301103 หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 3 10XXXXX ฟสิ กิ ส์วิศวกรรม 2 3
1301104 ปฏบิ ตั กิ ารฟสิ ิกส์วิศวกรรม 2 1
1301109 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 1 3 1301102 เคมวี ศิ วกรรม 2 3
1301112 การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั สิ ำ� หรับ 3
ฟสิ ิกส์วศิ วกรรม 1 3 1301105 วศิ วกรและนกั เทคโนโลยี
1331101 ปฏิบัตกิ ารเคมีวศิ วกรรม 1
ปฏิบัตกิ ารฟิสิกส์วศิ วกรรม 1 1 1301106 22
รวม
เคมีวิศวกรรม 1 3 1301110

โครงงานทางวศิ วกรรมและ 1 1302151
เทคโนโลยี

ปฏิบตั กิ ารฝึกฝมี อื 1 1301111

รวม 20

ปีการศกึ ษาท่ี 2

รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกิต รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกติ

10XXXXX รายวชิ า 2 10XXXXX รายวชิ า 2
1301107 3 10XXXXX 3
1301113 หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบัน PIM 3 1301108 กลมุ่ ภาษาเพือ่ การสอ่ื สาร 3
คณิตศาสตร์วศิ วกรรม 3 กลุ่มการจัดการและนวตั กรรม
1301114 ความนา่ จะเป็นและสถิตสิ ำ� หรบั 3 1301118 คณิตศาสตร์ส�ำหรบั ปัญญา 3
1301115 วศิ วกร 3 1331202 ประดิษฐ์
การเขียนแบบวิศวกรรม อุณหพลศาสตร์ 3
1301116
การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กรรมวิธีการผลติ
1301117 เบ้ืองตน้
กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3 133XXXX กล่มุ วชิ าเลือกเฉพาะสาขา 3
วิศวกรรมอตุ สาหการ 1 3
วสั ดวุ ศิ วกรรม 3 1332251 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัตดิ ้าน 20
วศิ วกรรมอตุ สาหการ 1

รวม 20 รวม

37

ปีการศึกษาท่ี 3

ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกิต รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกิต

10XXXXX กลุ่มภาษาเพ่อื การสอื่ สาร 2 10XXXXX กลมุ่ ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร 2
1301119 วศิ วกรรมไฟฟ้าเบ้ืองต้น 3 1301121 ปฏบิ ตั กิ ารวศิ วกรรมเครือ่ งกล 1
1301120 ปฏิบัตกิ ารวิศวกรรมไฟฟ้าเบอื้ งต้น 1 1332305 ปฏบิ ัติการวศิ วกรรมอุตสาหการ 1
1332302 การวจิ ยั การดำ� เนินงาน 3 1332304 การควบคุมคณุ ภาพ 3
1332303 การวางแผนและควบคมุ การผลิต 3 133XXXX กลมุ่ วิชาเลือกเฉพาะสาขาวศิ วกรรม 3
อุตสาหการ 2
10XXXXX กล่มุ ชวี ิตและสงั คมแห่งความสขุ 3 1332352 การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั ดิ า้ นวิศวกรรม 3
อตุ สาหการ 2
1332306 ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ 3 1332306 ระบบผลติ อัจฉรยิ ะ 3
XXXXXXX หมวดวิชาเลอื กเสรี 1 3 XXXXXXX 3
21 หมวดวชิ าเลอื กเสรี 2 19
รวม
รวม

ปกี ารศึกษาที่ 4

รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวชิ า ภาคการศึกษาที่ 2 หนว่ ยกติ

1332409 รายวชิ า 3 1332308 รายวิชา 3
1332410
1332411 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม โครงงานทางวศิ วกรรม 3
1332201 อุตสาหการ 2
วศิ วกรรมความปลอดภัย 3 133XXXX กลุ่มวิชาเลอื กเฉพาะสาขา 6
วศิ วกรรมอุตสาหการ 3
วิศวกรรมการบ�ำรุงรักษา 3 1332453 การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ิด้าน
วิศวกรรมอุตสาหการ 3

โครงงานทางวิศวกรรม 1
อุตสาหการ 1 รวม 10

รวม 11

สามารถศกึ ษาขอ้ มลู หลกั สตู รเพ่ิมเติมไดท้ ่ี

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25542501101267_2114_IP&b=0&u=25000&y=

38

หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ

สาขาวชิ าวศิ วกรรม
การผลิตยานยนต์

Bachelor of Engineering Program
in Automotive Manufacturing Engineering

ชอ่ื ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชอ่ื เตม็ ) : วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต (วิศวกรรมการผลิตยานยนต์)
(อกั ษรย่อ) : วศ.บ. (วิศวกรรมการผลิตยานยนต์)
ภาษาองั กฤษ (ชอื่ เตม็ ) : Bachelor of Engineering Program in Automotive
Manufacturing Engineering
(อักษรยอ่ ) : B.Eng. (Automotive Manufacturing Engineering)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
(สป.อว.) รบั ทราบหลกั สตู รเมอื่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2562

จดุ เดน่ ของสาขาวชิ า / หลกั สูตร

ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยถือว่าเป็นอุตสาหกรรมหลักในการขับเคลื่อนประเทศ การพัฒนา
อุตสาหกรรมดังกล่าวอย่างเหมาะสม จะท�ำให้ประเทศมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้ รวมท้ังรัฐบาลได้ให้
ความส�ำคัญกับการสร้างฐานการผลิตให้เข้มแข็งและการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ดังนั้นการสร้างองค์ความรู้
และบคุ ลากรทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถทางดา้ นวศิ วกรรมยานยนตข์ น้ั สงู จงึ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ เพอ่ื เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ใน
การขบั เคลอื่ นใหป้ ระเทศสามารถพฒั นาไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื และการเปน็ ศนู ยก์ ลางอตุ สาหกรรมยานยนตข์ องโลกอยา่ งแทจ้ รงิ

39

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ด้านคุณธรรม จริยธรรม

หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มีวนิ ยั ตรงเวลา 1. เขา้ ใจ ซาบซงึ้ ในวัฒนธรรมไทย ตระหนกั ในคณุ คา่
ของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

2. มคี วามซอื่ สตั ย์สุจริต 2. มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา รับผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม
เคารพกฎระเบียบและขอ้ บังคับต่างๆ ขององคก์ ร
และสงั คม
3. มีความรบั ผดิ ชอบท้ังต่อตนเอง สงั คมและการ 3. มภี าวะความเปน็ ผนู้ �ำและผ้ตู าม สามารถท�ำงานเปน็
ประกอบอาชีพ หม่คู ณะ สามารถแก้ไขขอ้ ขัดแยง้ ตามล�ำดบั ความ
สำ� คญั เคารพสทิ ธแิ ละรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผ้อู น่ื
4. ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ รวมท้งั เคารพในคุณค่าและศกั ดิ์ศรีของความเป็น
สาธารณะ มนษุ ย์
4. สามารถวเิ คราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้
ความร้ทู างวศิ วกรรมตอ่ บคุ คล องค์กร สังคมและ
ส่งิ แวดลอ้ ม
5. เคารพในระเบยี บและกฎเกณฑข์ ององคก์ รและสังคม 5. มจี รรยาบรรณทางวิชาการและวชิ าชพี และมคี วาม
รับผดิ ชอบในฐานะผ้ปู ระกอบวิชาชีพ

• ด้านความรู้

หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มคี วามรู้อยา่ งกว้างขวางและสามารถนำ� ความรนู้ ัน้ ไป 1. มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจทางคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน
ใช้ในชวี ิตประจ�ำวนั วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วศิ วกรรมพน้ื ฐาน และ
เศรษฐศาสตร์ เพ่อื การประยกุ ต์ใชก้ บั งานทางด้าน
วศิ วกรรมศาสตร์ท่ีเกีย่ วขอ้ ง และการสรา้ งนวัตกรรม
ทางเทคโนโลยี
2. เขา้ ใจและวิเคราะหห์ ลักการของศาสตรอ์ ื่นที่ 2. มีความรแู้ ละความเขา้ ใจเกีย่ วกับหลักการที่ส�ำคัญ
เก่ยี วข้องและน�ำมาใช้เป็นพน้ื ฐานของศาสตร ์ ทง้ั ในเชิงทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ ในเนอ้ื หาของสาขาวิชา
เฉพาะนั้นๆ (เฉพาะสาขาวชิ า) เฉพาะด้านทางวิศวกรรม
3. มคี วามรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีในศาสตร์ 3. สามารถบูรณาการความรใู้ นสาขาวิชาที่ศึกษากบั
เฉพาะนัน้ ๆ และสามารถน�ำไปประยกุ ตใ์ ชแ้ กไ้ ข ความรใู้ นศาสตร์อื่นๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
ปญั หาในการปฏบิ ัตงิ านจริงได้

4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ขปัญหา ด้วยวธิ กี ารท่ี
เหมาะสม รวมถงึ การประยุกต์ใช้เครือ่ งมือท่เี หมาะ
สม เชน่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นตน้

5. สามารถใชค้ วามรู้และทกั ษะในสาขาวชิ าของตน
ในการประยกุ ต์แกไ้ ขปญั หาในงานจริงได้

40

• ดา้ นทักษะทางปัญญา

หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มีความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดกรอบความรเู้ ดมิ 1. มคี วามคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณทีด่ ี
สามารถบรู ณาการความรใู้ นสาขาวชิ าที่ศึกษาและ
ประสบการณเ์ พอื่ ให้เกดิ นวตั กรรม กิจกรรมหรอื 2. สามารถรวบรวม ศึกษา วเิ คราะห์ และสรุปประเดน็
แนวทางในศาสตรเ์ ฉพาะนนั้ ๆ ปญั หาและความต้องการ

2. สามารถคดิ วเิ คราะห์และเช่อื มโยงความร้อู ย่างเป็น
องค์รวม

3. มคี วามกระตอื รือร้นในการใฝ่หาความรู้ 3. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาดา้ น
วศิ วกรรมได้อย่างมรี ะบบ รวมถึงการใช้ข้อมูล
ประกอบการตัดสนิ ใจในการทำ� งานไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ

4. มีจนิ ตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์
ความรู้ทเ่ี กีย่ วขอ้ งอย่างเหมาะสม ในการพัฒนา
นวัตกรรมหรอื ต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมไดอ้ ย่าง
สร้างสรรค์

5. สามารถสบื คน้ ขอ้ มูลและแสวงหาความรเู้ พม่ิ เติมได้
ด้วยตนเองเพื่อการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ และทนั ต่อการ
เปล่ยี นแปลงทางองค์ความรแู้ ละเทคโนโลยีใหมๆ่

• ดา้ นทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผดิ ชอบ

หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปรับตัวเขา้ กบั สถานการณแ์ ละวฒั นธรรม 1. สามารถส่อื สารกับกลุ่มคนท่ีหลากหลาย และ
องค์กร สามารถสนทนาทัง้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถใชค้ วามรใู้ นสาขา
วชิ าชพี มาสอื่ สารต่อสงั คมได้ในประเด็นทีเ่ หมาะสม

2. สามารถท�ำงานกบั ผู้อน่ื ได้เปน็ อยา่ งดแี ละมภี าวะผู้นำ� 2. สามารถเปน็ ผรู้ เิ ริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไข
สถานการณเ์ ชิงสร้างสรรค์ทงั้ สว่ นตัวและสว่ นรวม
พรอ้ มทงั้ แสดงจดุ ยนื อย่างพอเหมาะทง้ั ของตนเอง
และของกล่มุ รวมทัง้ ใหค้ วามช่วยเหลือและอ�ำนวย
ความสะดวกในการแกไ้ ขปญั หาสถานการณต์ า่ งๆ

3. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่แี ละงานท่ีได้รบั 3. สามารถวางแผนและรบั ผิดชอบในการพัฒนาการ
มอบหมาย เรียนรทู้ ั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชพี
วิศวกรรมอยา่ งต่อเนือ่ ง
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดกี ับผรู้ ว่ มงานในองคก์ รและ
บคุ คลทัว่ ไป 4. รู้จักบทบาท หนา้ ท่ี และมีความรับผิดชอบในการ
ทำ� งานตามทีม่ อบหมาย ท้ังงานบคุ คลและงานกลมุ่
สามารถปรับตัวและทำ� งานร่วมกบั ผู้อ่นื ทงั้ ในฐานะ
ผูน้ ำ� และผู้ตามได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถ
วางตัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับความรบั ผดิ ชอบ

5. มจี ติ ส�ำนกึ ความรับผิดชอบด้านความปลอดภยั
การท�ำงานและสภาพแวดลอ้ มต่อสังคม

41

• ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. ใช้ความร้ทู างคณิตศาสตรแ์ ละสถิตใิ นการวเิ คราะห์ 1. มีทกั ษะในการใชค้ อมพิวเตอร์ส�ำหรบั การทำ� งานท่ี
และนำ� เสนอ เกยี่ วข้องกบั วิชาชีพไดเ้ ป็นอย่างดี

2. มที กั ษะการใชภ้ าษาไทยได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2. มที กั ษะในการวิเคราะหข์ อ้ มลู สารสนเทศทาง
คณติ ศาสตร์ หรือการแสดงสถิตปิ ระยุกต์ ตอ่ การ
3. มีทกั ษะการใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการติดตอ่ แก้ปญั หาทเ่ี ก่ยี วข้องได้อยา่ งสร้างสรรค์
สื่อสารอยา่ งนอ้ ยหน่งึ ภาษา
3. สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการ
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ สื่อสาร ทท่ี นั สมยั ได้อยา่ งเหมาะสม และมี
เก็บรวบรวมขอ้ มลู ตลอดจนการนำ� เสนอ ประสทิ ธิภาพ

4. มที กั ษะในการส่ือสารขอ้ มูลทั้งทางการพูด การเขยี น
และการสื่อความหมายโดยใช้สญั ญลักษณ์

5. สามารถใช้เครือ่ งมอื การค�ำนวณและเครื่องมอื ทาง
วิศวกรรม เพ่อื ประกอบวชิ าชพี สาขาวิศวกรรม
ทเี่ ก่ียวข้องได้

แนวทางการประกอบอาชพี
1. วิศวกรทีม่ ีความรู้ความสามารถทางด้านการวางแผนการผลติ การควบคมุ การ

ผลิต การควบคุมคณุ ภาพในอุตสาหกรรมยานยนต์ ชิ้นส่วน และส่วนประกอบ
2. นักจัดการอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ด้านวางแผนการผลิต ควบคุม

สินคา้ ควบคมุ คุณภาพ และฝ่ายการผลติ
3. ประกอบธรุ กจิ สว่ นตัวท่ีเกย่ี วขอ้ งกับวิศวกรรมยานยนต์

รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 384,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ที่สถาบันก�ำหนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดังน้ี

ภาคการศึกษาที่ คา่ เลา่ เรียนสำ� หรบั นักศกึ ษา คา่ เลา่ เรยี นสำ� หรบั นกั ศึกษา
ท่ีเข้าเรยี นในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ที่เข้าเรยี นในภาคปกติ

ครง้ั ท่ี 1 25,600 51,200
คร้ังที่ 2 – 7 51,200 51,200
ครัง้ ท่ี 8 51,200 25,600

2. อตั ราคา่ เล่าเรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมคา่ ใช้จา่ ย ดงั ต่อไปน้ี
- คา่ หนงั สอื เอกสารประกอบวชิ าเรยี น
- คา่ ชดุ ปฏิบตั กิ าร วตั ถุดิบและอปุ กรณอ์ น่ื ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ค่ารายวชิ าปรบั พน้ื ฐาน
- คา่ ธรรมเนียมอืน่ ๆ และคา่ เบ็ดเตลด็ นอกเหนอื อตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศกึ ษา

42

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทน่ี กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ชน้ั ปที ี่ 1 : รา้ น 7-ELEVEn
ชั้นปีที่ 2 : ศูนยบ์ ริการดา้ นยานยนต์
ช้นั ปีท่ี 3-4 : โรงงานอตุ สาหกรรมยานยนตแ์ ละชนิ้ ส่วน อะไหล่ยานยนต์

43

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปีการศกึ ษาที่ 1

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกิต

EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาองั กฤษ 2
TH xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาไทย 3 SO xxxxx กลุ่มวชิ าสังคมศาสตร 3
EG 59113 การเขียนแบบวศิ วกรรม 3 HM xxxxx กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3
EG 59101 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 1 3 EG 59102 คณิตศาสตร์วศิ วกรรม 2 3
EG 59104 ฟสิ กิ ส์วิศวกรรม 1 3 EG 59106 ฟสิ กิ ส์วิศวกรรม 2 3
EG 59105 ปฏิบตั กิ ารฟิสกิ ส์วศิ วกรรม 1 1 EG 59107 ปฏิบัตกิ ารฟิสิกสว์ ิศวกรรม 2 1
EG 59108 เคมีวิศวกรรม 3 EG 62170 ปฏบิ ตั กิ ารพ้ืนฐานทางวศิ วกรรมและ 1
การใช้เครอื่ งมอื ยานยนต
EG 59109 ปฏิบตั ิการเคมีวิศวกรรม 1 EG 59112 การเรียนรภู้ าคปฏบิ ัติ 3
สำ� หรบั วศิ วกรและนกั เทคโนโลยี
EG 62101 จรยิ ธรรมและความรู้เบ้ืองต้น 3 EG 59110 โครงงานทางวศิ วกรรม 1
ของวิชาชพี วศิ วกร (ไม่นับ) และเทคโนโลยี
20
รวม 19 รวม

ปีการศกึ ษาที่ 2

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ

EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาองั กฤษ 2 EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2
SC xxxxx กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 3 JN xxxxx/ กลมุ่ วชิ าภาษาญี่ปุ่น/ 3
CN xxxxx กล่มุ วิชาภาษาจนี
EG 59114 การเขียนโปรแกรคอมพวิ เตอรเ์ บอื้ งตน้ 3 SC xxxxx กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์และ 3
คณติ ศาสตร์
EG 59103 คณิตศาสตรว์ ิศวกรรม 3 3 EG 59117 อณุ หพลศาสตร์ 3

AE 62270 ปฏิบัติการไฟฟา้ และเล็กทรอนกิ ส์ยานยนต์ 1 IE 59202 กรรมวธิ ีการผลิต 3
กลศาสตรว์ ศิ วกรรม 3
EG 59115 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3 AE 62201 ภาคพลศาสตร์
การเรยี นรู้ภาคปฏิบตั ิดา้ น 3
EG 59116 วัสดุวศิ วกรรม 3 AE 62290 วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ 1
โครงงานทางวศิ วกรรม 1
EG 62202 สถติ ิวิศวกรรม 3 AE 62281 การผลติ ยานยนต์ 1
(ไม่นับ) 21
รวม 18 รวม

44

ปกี ารศกึ ษาที่ 3

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกติ รหสั วิชา รายวิชา หน่วยกติ

EN xxxxx กลุม่ วชิ าภาษาองั กฤษ 2 EG 59120 ปฏบิ ัตกิ ารวิศวกรรมเคร่ืองกล 1
SC xxxxx กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ 3 AE 62306 การถ่ายเทความร้อน 3

คณติ ศาสตร์ 3 AE 62307 พลศาสตร์และการส่ันสะเทอื น 3
AE 62302 ระเบยี บวิธเี ชิงตวั เลขสำ� หรบั
3 AE 62308 การบริหารกระบวนการผลิตส�ำหรับ 3
วิศวกร อตุ สาหกรรมยานยนต์
AE 62303 กลศาสตร์ของไหล 3 AE 62309 เทคโนโลยตี ้นกำ� ลังไฟฟ้าและระบบไฮ 2
บรดิ สส์ ำ� หรับยานยนต์
AE 62304 เครอ่ื งยนตส์ นั ดาปภายใน 3 AE 62310 การออกแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล 3
2 AE 62341 คอมพิวเตอรช์ ว่ ยการออกแบบ 2
AE 62305 กลศาสตรข์ องวัสดุ การผลิตและวศิ วกรรมยานยนต์
AE 62340 พื้นฐานวศิ วกรรมยานยนต์ 19 17
รวม
รวม หนว่ ยกิต

ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน 3

รหสั วชิ า รายวิชา 3

AE 62391 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติ
ดา้ นวศิ วกรรมการผลิตยานยนต์ 2
รวม

ปกี ารศึกษาที่ 4

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต

AE 624xx วชิ าเลอื กเฉพาะสาขา 3 AE 62380 การเย่ยี มชมโรงงานอตุ สาหกรรม 1
วศิ วกรรมการผลิตยานยนต์ 1
AE 624xx
วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3 AE 62482 โครงงานทางวิศวกรรม 2
AE 624xx วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ 2 การผลติ ยานยนต์ 2 6

XX xxxxx วิชาเลอื กเฉพาะสาขา 3 AE 62492 การเรยี นรูภ้ าคปฏิบตั ิ
XX xxxxx วิศวกรรมการผลิตยานยนต์ 3 ดา้ นวิศวกรรมการผลติ ยานยนต์ 3

วิชาเลอื กเสรี 1 3

วชิ าเลอื กเสรี 2 3

รวม 15 รวม 9

สามารถศึกษาขอ้ มลู หลักสตู รเพิ่มเตมิ ไดท้ ่ี

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25572501100528_2116_IP&b=0&u=25000&y=

45

หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ

สาขาวชิ าวศิ วกรรมห่นุ ยนต์
และระบบอัตโนมัติ

Bachelor of Engineering Program
in Robotics and Automation Engineering

ชอื่ ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชือ่ เตม็ ) : วิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ
(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัต)ิ
(อักษรยอ่ ) : วศ.บ. (วศิ วกรรมหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัต)ิ
ภาษาอังกฤษ (ชอื่ เตม็ ) : Bachelor of Engineering
(Robotics and Automation Engineering)
(อักษรยอ่ ) : B.Eng. (Robotics and Automation Engineering)

หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
(สป.อว.) รับทราบหลกั สูตรเมอ่ื 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

จุดเด่นของสาขาวชิ า / หลักสูตร

สาขาวชิ าวศิ วกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอตั โนมัติ เปน็ สาขาทมี่ คี วามเปน็ สหวทิ ยาการท่ผี สมผสานระหว่างศาสตร์
ทางดา้ นไฟฟ้า เคร่อื งกล และคอมพิวเตอร์ โดยทางหลักสตู รสรา้ งบคุ ลากรมคี วามรู้ ความสามารถทางด้านวิศวกรรม
หนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ทง้ั ภาควจิ ยั พฒั นาและภาคการผลติ เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในดา้ นหนุ่
ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ หลกั สตู รไดอ้ อกแบบใหน้ กั ศกึ ษาไดร้ บั ความรทู้ างวชิ าการและมโี อกาสฝกึ งานในสถานประกอบ
การชนั้ น�ำท่ีเก่ียวข้องกับหนุ่ ยนตท์ ใี่ ชใ้ นอุตสาหกรรมและอุปกรณ์ในระบบอัตโนมตั ิ ทัง้ ในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ

46

ผลลพั ทก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร

• ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม

หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มีวินยั ตรงเวลา 1. เข้าใจ ซาบซึ้งในวฒั นธรรมไทย ตระหนกั ในคุณค่า
ของคุณธรรม จรยิ ธรรม เสียสละ และ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

2. มคี วามซ่ือสัตยส์ ุจรติ 2. มวี ินัย ตรงตอ่ เวลา รับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม
เคารพกฎระเบียบและข้อบงั คบั ต่างๆ ขององค์กร
3. มคี วามรับผดิ ชอบทัง้ ต่อตนเอง สงั คมและการ และสงั คม
ประกอบอาชพี 3. มภี าวะความเป็นผนู้ ำ� และผ้ตู าม สามารถทำ� งานเปน็
หมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามล�ำดับความ
4. ปฏิบัตหิ นา้ ที่ด้วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิต สำ� คัญ เคารพสทิ ธแิ ละรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ น่ื
สาธารณะ รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิศ์ รีของความเป็น
มนุษยร์ ว่ มกนั
4. สามารถวเิ คราะห์และประเมนิ ผลกระทบจากการใช้
ความร้ทู างวศิ วกรรมตอ่ บุคคล องค์กร สงั คมและ
สง่ิ แวดล้อม
5. เคารพในระเบยี บและกฎเกณฑ์ขององคก์ รและสังคม 5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชพี และมีความ
รบั ผิดชอบในฐานะผปู้ ระกอบวชิ าชีพ รวมถึงเข้าใจ
ถึงบรบิ ททางสงั คมของวชิ าชีพวิศวกรรมในแตล่ ะ
สาขา ต้ังแต่อดีตจนถงึ ปจั จุบนั

• ด้านความรู้

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มคี วามรู้อยา่ งกว้างขวางและสามารถน�ำความรูน้ ัน้ 1. มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจทางคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน
ไปใชใ้ นชีวติ ประจำ� วัน วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและ
เศรษฐศาสตร์ เพอื่ การประยกุ ต์ใช้กับงานทางด้าน
2. เข้าใจและวิเคราะหห์ ลักการของศาสตรอ์ ืน่ ท่ี วศิ วกรรมศาสตร์ท่เี กย่ี วขอ้ ง และการสรา้ งนวัตกรรม
ทางเทคโนโลยี
2. มคี วามร้แู ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั หลักการที่สำ� คัญ
เก่ยี วข้องและน�ำมาใช้เป็นพ้นื ฐานของศาสตร์เฉพาะ ทง้ั ในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเน้ือหาของสาขาวชิ า
นั้นๆ (เฉพาะสาขาวชิ า) เฉพาะด้านทางวิศวกรรม

3. มคี วามรูค้ วามเข้าใจในหลักการและทฤษฎีในศาสตร์ 3. สามารถบรู ณาการความรใู้ นสาขาวิชาทศ่ี กึ ษา
เฉพาะนั้นๆ และสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้แกไ้ ข กบั ความรู้ในศาสตรอ์ ืน่ ๆ ท่เี กย่ี วข้อง
ปัญหาในการปฏิบัติงานจริงได้

4. สามารถวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปัญหา ดว้ ยวธิ กี ารท่ี
เหมาะสม รวมถึงการประยุกตใ์ ชเ้ ครอื่ งมือ
ท่ีเหมาะสม เชน่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้

5. สามารถใช้ความรูแ้ ละทกั ษะในสาขาวชิ าของตน
ในการประยุกตแ์ กไ้ ขปัญหาในงานจรงิ ได้

47

• ด้านทักษะทางปัญญา

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มคี วามคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดมิ 1. มคี วามคดิ อย่างมีวิจารณญาณทีด่ ี
สามารถบูรณาการความร้ใู นสาขาวิชาท่ศี ึกษาและ
ประสบการณ์เพ่อื ใหเ้ กิดนวัตกรรม กิจกรรมหรอื 2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเดน็
แนวทางในศาสตร์เฉพาะน้นั ๆ ปัญหาและความตอ้ งการ

2. สามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละเช่อื มโยงความรูอ้ ย่างเปน็
องค์รวม

3. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการใฝ่หาความรู้ 3. สามารถคดิ วเิ คราะห์ และแก้ไขปัญหาด้าน
วิศวกรรมไดอ้ ย่างมีระบบ รวมถงึ การใช้ขอ้ มูล
ประกอบการตัดสนิ ใจในการทำ� งานไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

4. มจี นิ ตนาการและความยดื หยนุ่ ในการปรบั ใช้องค์
ความรทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งอยา่ งเหมาะสม ในการพัฒนา
นวัตกรรมหรอื ต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมไดอ้ ยา่ ง
สร้างสรรค์

5. สามารถสบื คน้ ข้อมลู และแสวงหาความรู้เพมิ่ เติมได้
ดว้ ยตนเอง เพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชวี ติ และทันตอ่ การ
เปลี่ยนแปลงทางองคค์ วามรูแ้ ละเทคโนโลยใี หมๆ่

• ด้านทักษะความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ

หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรับตวั เข้ากับสถานการณ์และวฒั นธรรม 1. สามารถสื่อสารกับกลุม่ คนทีห่ ลากหลาย และ
องค์กร สามารถสนทนาทง้ั ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขา
วชิ าชีพมาสอ่ื สารตอ่ สังคมได้ในประเดน็ ท่ีเหมาะสม

2. สามารถท�ำงานกับผ้อู ่ืนไดเ้ ปน็ อยา่ งดีและมีภาวะผู้นำ� 2. สามารถเปน็ ผ้รู เิ รม่ิ แสดงประเดน็ ในการแกไ้ ข
สถานการณเ์ ชงิ สรา้ งสรรค์ท้งั สว่ นตัวและส่วนรวม
พร้อมทั้งแสดงจดุ ยืนอย่างพอเหมาะทงั้ ของตนเอง
และของกลุ่ม รวมท้ังให้ความชว่ ยเหลือและอ�ำนวย
ความสะดวกในการแก้ไขปญั หาสถานการณต์ า่ ง ๆ

3. สามารถวางแผนและรบั ผดิ ชอบในการพฒั นาการ
เรยี นรู้ท้งั ของตนเอง และสอดคลอ้ งกับทางวิชาชีพ
วศิ วกรรมอยา่ งต่อเนื่อง

3. มีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่แี ละงานทีไ่ ด้รบั 4. รู้จกั บทบาท หน้าท่ี และมีความรับผดิ ชอบในการ
มอบหมาย ทำ� งานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกล่มุ
สามารถปรับตวั และท�ำงานร่วมกับผอู้ น่ื ท้ังในฐานะ
ผู้นำ� และผตู้ ามไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถ
วางตัวไดอ้ ย่างเหมาะสมกับความรับผดิ ชอบ

4. มมี นุษยสัมพันธ์ทีด่ กี บั ผรู้ ว่ มงานในองคก์ รและ 5. มจี ติ ส�ำนึกความรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัย
บคุ คลทว่ั ไป การท�ำงาน และสภาพแวดล้อมตอ่ สังคม

48

• ด้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิในการวิเคราะห์ 1. มที กั ษะในการใช้คอมพิวเตอรส์ �ำหรับการทำ� งาน
และน�ำเสนอ ท่เี กีย่ วข้องกบั วชิ าชีพได้เป็นอย่างดี

2. มที กั ษะการใช้ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2.มที กั ษะในการวิเคราะหข์ ้อมลู สารสนเทศทาง
คณติ ศาสตร์ หรือการแสดงสถติ ิประยกุ ต์ ตอ่ การ
แกป้ ญั หาท่เี กี่ยวขอ้ งได้อย่างสร้างสรรค์

3. มีทักษะการใชภ้ าษาต่างประเทศเพือ่ การติดตอ่ ส่อื สาร 3. สามารถประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
อยา่ งนอ้ ยหน่ึงภาษา และการสือ่ สาร ท่ที ันสมยั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
และมีประสทิ ธภิ าพ

4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ 4. มที ักษะในการส่อื สารข้อมลู ท้ังทางการพูด การเขยี น
เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการสือ่ ความหมายโดยใชส้ ญั ลกั ษณ์

5. สามารถใช้เคร่อื งมอื การค�ำนวณและเคร่อื งมอื ทาง
วิศวกรรมเพ่อื ประกอบวิชาชีพสาขาวศิ วกรรม
ทเี่ กี่ยวข้องได้

แนวทางการประกอบอาชพี
1. วิศวกรหุ่นยนต์
2. วศิ วกรระบบอตั โนมัติ
3. วิศวกรระบบแมคคาโทรนิกส์
4. นกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบหุน่ ยนต์
5. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบหุ่นยนต์
6. นักวจิ ยั ด้านหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัติ

49

รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 502,500 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ท่สี ถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศึกษา ดงั น้ี

ภาคการศกึ ษาที่ คา่ เล่าเรยี นส�ำหรับนกั ศึกษา คา่ เล่าเรยี นสำ� หรบั นกั ศึกษา
ทเี่ ขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาพเิ ศษ ทีเ่ ข้าเรยี นในภาคปกติ
คร้ังที่ 1
ครง้ั ท่ี 2 – 7 33,500 67,000
ครัง้ ท่ี 8
67,000 67,000
67,000 33,500

2. อัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมค่าใช้จา่ ย ดังต่อไปนี้
- คา่ หนงั สอื เอกสารประกอบวิชาเรียน
- ค่าชุดปฏบิ ตั ิการ วตั ถุดบิ และอปุ กรณอ์ ื่นๆ ที่เก่ียวข้อง
- คา่ รายวิชาปรบั พ้ืนฐาน
- ค่าธรรมเนยี มอ่นื ๆ และคา่ เบ็ดเตล็ดนอกเหนืออตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

50


Click to View FlipBook Version