The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2021-04-25 23:27:25

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์

สารบญั

คมู่ อื นักศึกษาใหม่ “คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค”์

หนา้ หนา้

ส่วนที่ 1: สถาบนั เรา “พี ไอ เอ็ม (PIM)” 3 สว่ นท่ี 4 : รอบรู้ “พี ไอ เอ็ม (PIM)” 38
4 38
ตราสัญลกั ษณ ์ 4 ท่ีตงั้ และการเดนิ ทาง 40
สปี ระจ�ำสถาบนั 4 ลัดเลาะ..รอบบา้ น PIM : แจง้ วฒั นะ
ดอกไม้ประจ�ำสถาบัน 5 อาคาร หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 41
ปรัชญา 5 ปฏทิ ินการศกึ ษาและรูปแบบการเรียน 47
วสิ ยั ทศั น์ 5 เทคโนโลยีและระบบสนับสนุนนกั ศกึ ษา 48
พนั ธกจิ 5 - Single Sign-On 48
เอกลักษณส์ ถาบัน 6 - PIM Application 49
อตั ลักษณน์ กั ศึกษา 7 - Wi-Fi PIMHotspot 51
คณะวิชา ส�ำนัก วทิ ยาลัยในสถาบัน 9 - e-mail 52
เพลงสถาบัน - Office 365 53
บตั รนกั ศกึ ษา 54
ส่วนที่ 2 : ร้จู ักสำ� นกั การศึกษาทวั่ ไป 10 การแต่งกาย 55
ปรชั ญา 10
วิสยั ทศั น ์ 10 เมอ่ื มาเรยี นที่ PIM 56
- ดูตารางเรียน 56
พันธกิจ 10 - ตารางหนา้ หอ้ งเรยี น 57
สญั ลกั ษณแ์ ละสปี ระจ�ำสำ� นัก 10
บทบาทหน้าที ่ 11 - การยืนยันการเข้าเรียน 58
- PIM e-Learning 59
ศนู ย์พฒั นาทักษะและภาษา 11 - PIM MOOC 60
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills หอ้ งสมุด PIM และแหล่งเรียนรอู้ อนไลน์ 61
วารสารวชิ าการของ 65
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น ์
สว่ นที่ 3 : รู้จักคณะเรา 15 ใกลส้ อบแล้ว..ต้องทำ� อยา่ งไร 66
“คณะการจดั การการศกึ ษาเชิงสร้างสรรค์”
ปรัชญา ปณิธาน วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจคณะ 15 เกรดออกแล้ว 68
การย่นื แบบคำ� รอ้ งออนไลน์ ลงทะเบยี นเรยี น 69
สัญลักษณ์ และสปี ระจ�ำคณะ 17 ประเมินต่างๆ และอ่นื ๆ
หลักสูตร/ สาขาวชิ าทีเ่ ปดิ สอน 18
การเขา้ ถึงข้อมลู คณะ 18 เตรียมตวั อย่างไรเม่อื ไปฝึกปฏบิ ตั ิ 71
มปี ัญหา..ปรึกษาใคร 72
- หลกั สตู รศึกษาศาสตรบัณฑติ 19 - อาจารย์ทีป่ รกึ ษา 72
สาขาวชิ าการสอนภาษาจนี (หลกั สตู ร 4 ปี)
- หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต 28 - CCDS 73
- Smile Center 74
สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ - Friends Care PIM 74
(หลกั สูตร 4 ปี)
เข้าภาคเรยี นใหมต่ ้องท�ำอย่างไร 75
- ลงทะเบยี นเรยี น 75
- ช�ำระค่าเลา่ เรยี นและค่าธรรมเนียมตา่ งๆ 76
เรียนดี ประพฤตดิ ี มีทุน 77
วินยั นกั ศึกษา 78
ท�ำอยา่ งไรใหไ้ ด้เกียรตินิยม 79
ทำ� อย่างไรไมใ่ ห้ถูก Retire 80
สวสั ดิการสำ� หรับนกั ศกึ ษา 81
ชมรมและกจิ กรรมต่างๆ 82
ชลิ ล์ ฟนิ ชอ๊ ป กอ๊ ปป้ี รแี ลคซ์ หอพัก 83
ช่องทางการสอ่ื สาร..บรกิ ารนักศึกษา 88

สถาบันเรา
“พี ไอ เอ็ม (PIM)”

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็ รปู แผนที่ประเทศไทยท่แี สดงพนื้ ท่ี
(PIM) เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ 1. วิทยาเขต แจ้งวัฒนะ
ในการจดั ตงั้ จากบรษิ ทั ซพี ี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน) 2. วิทยาเขตอีอีซี จ.ชลบุรี
ในเครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ โดยไดร้ บั การรบั รองจาก 3. หนว่ ยการเรียนทางไกล
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวัตกรรม เพื่อใหป้ รญิ ญาในระดับปรญิ ญาตรี • จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก ซง่ึ จดั การเรยี นการ • จงั หวดั ชลบรุ ี
สอนทงั้ ภาคภาษาไทย ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ • จงั หวัดเชียงใหม่
ในฐานะทสี่ ถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ป น็ • จังหวดั ขอนแกน่
มหาวิทยาลัยแหง่ องคก์ รธุรกิจ (Corporate • จังหวัดลำ� ปาง
University) ทม่ี กี ารเรยี นการสอนแบบ Work- • จงั หวัดนครราชสีมา
based Education จงึ แตกตา่ งดว้ ยความเป น็ • จังหวัดนครสวรรค์
เลศิ ทางวชิ าการ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรจู้ ากการ • จงั หวัดเพชรบุรี
ฝ กึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ กบั ธรุ กจิ เชน่ กลมุ่ ซพี ี ออลล์ • จงั หวัดสงขลา
เครอื ซพี ี และพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา • จงั หวัดสมทุ รปราการ
ไดร้ ับประสบการณ์ในการท�ำงานจนเกิดความ • จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
เชย่ี วชาญ ดงั นนั้ บณั ฑติ พไี อเอม็ จงึ เป น็ บคุ ลากร • จังหวดั อุดรธานี
คณุ ภาพผูม้ คี วามรูท้ างวชิ าการและมคี วามพรอ้ ม
ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมอื อาชพี 33
นกั ศกึ ษาของสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์
มีการเรียนหรือศึกษาตลอดท้ังหลักสูตรใน
สถานทต่ี า่ งๆ คอื

1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ถนนแจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี

2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วิทยาเขตอีอีซี อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี
(PIM-EEC)

3. หนว่ ยการเรยี นทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ท่ัวประเทศ

ตราสัญลกั ษณ์ ช่อมะกอก โล่ รบิ บิน้
สปี ระจำ� สถาบัน หมายถงึ ความมีชัยชนะเหนือสิง่ อ่นื ใด
มงกุฎ
หมายถงึ การศกึ ษาแสดงถงึ ความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู สดุ และยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความถงึ พรอ้ มดว้ ย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รุง่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบัน
มชี ่อื สถาบันภาษาองั กฤษ และตัวย่ออยูใ่ นโล่
ส่วนชอื่ สถาบนั ภาษาไทยอยูใ่ นริบบ้ิน

สีเขียว
หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความงอกงาม ความสมบรู ณ์
สีเหลืองทอง
หมายถึง ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและถงึ พรอ้ มด้วยคณุ ธรรม
สีประจำ� สถาบัน
หมายถึง ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและความถงึ พร้อมด้วย
คณุ ธรรมเปน็ หนทางแหง่ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งในชีวติ

ดอกไมป้ ระจำ� สถาบัน

ดอกบวั มงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรยี บเสมอื นตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ� เรจ็ อันงดงาม

4

ปรชั ญา

"การศกึ ษาคือบอ่ เกดิ แหง่ ภูมิปัญญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิสยั ทศั น์

“สร้างมืออาชีพดว้ ยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พนั ธกจิ

“มหาวิทยาลัยแห่งองคก์ รธรุ กจิ (Corporate University)” ท่ีมพี นั ธกจิ ดงั น้ี
1. สร้างคนทมี่ ีคุณภาพและตรงกับความตอ้ งการของภาคธุรกิจ สงั คมและประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้

จากประสบการณ์จรงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ

และทำ� นุบำ� รุงศิลปะวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ เสริมนวตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พัฒนาองค์กรที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative

Organization & Good Governance)

เอกลกั ษณส์ ถาบนั

การเปน็ Corporate University บนพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1. การสอนโดยมืออาชีพ (Work-based Teaching) เป็นการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการเรียนรู้จากกรณี

ศกึ ษา จากผปู้ ฏิบัตงิ านจริงในองค์กร เพื่อเตรยี มความพร้อมทจ่ี ะฝึกปฏิบตั จิ ริง
2. การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Work-based Learning) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั

วางโปรแกรมครฝู ึก และมรี ะบบการติดตามประเมินอยา่ งเปน็ ระบบตามวชิ าชพี ของหลกั สูตร เพื่อท�ำให้มี
การบูรณาการระหวา่ งทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแทจ้ ริง
3. การวจิ ยั สนู่ วตั กรรม (Work-based Researching) เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั ของคณาจารยจ์ ากปญั หาวจิ ยั จรงิ ใน
องค์กรที่น�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติได้โดยตรง และน�ำองค์ความรู้ใหม่ๆ กลับมาสู่การเรียนการสอนใน
หอ้ งเรียน
4. มหาวทิ ยาลัยแหง่ การสรา้ งเครือข่าย (Networking University) เปน็ การสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา ภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน
การเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั งิ าน และการวจิ ยั ส่นู วตั กรรม

5

อัตลักษณ์นกั ศึกษา PIM

“READY to WORK.”

เรยี นเปน็

1. มีความใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. มคี วามรอบรูแ้ ละบรู ณาการในศาสตรส์ าขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. สามารถนำ� เคร่อื งมอื หรอื เทคโนโลยีมาใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการ
(ตามศาสตร์ของตวั เอง)
4. สามารถเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารและลือกใช้ขอ้ มูลความรตู้ า่ งได้อย่างเหมาะสม

คดิ เปน็

1. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) การคดิ วิพากษ์ (Critical thinking) การคิด
เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis thinking) การคดิ เชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)

2. กล้าคิดและสามารถผลักดันความคิดและแรงบันดาลใจของตนให้ก่อเกิดเป็นผลงานตามศาสตร์หรือผล
งานเชงิ นวัตกรรมตา่ งๆ ได้

3. มีแนวคดิ การบรหิ ารจดั การอย่างผ้ปู ระกอบการ

ทำ� งานเปน็

1. มีการทำ� งานข้ามสายงานและสามารถจงู ใจผู้อน่ื เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย
2. มีทักษะในการส่อื สารหลากภาษา ทัง้ การฟัง การอ่าน การเขียน การพูด การแปลความ การเลอื กช่องทาง

และเคร่อื งมือในการสอื่ สาร
3. มกี ารตัดสนิ ใจและรับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขึน้
4. สามารถสรา้ งความพอใจระหวา่ งสขุ ภาพ การเรยี น ชวี ติ ส่วนตัว ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลอ่นื

เนน้ วฒั นธรรม

1. สบื สานวัฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มขององคก์ รได้

รกั ความถกู ตอ้ ง

1. ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชีพหรอื จรรยาบรรณในการดำ� เนินธรุ กจิ
2. ยืนหยัดปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง
3. เคารพและชืน่ ชมตอ่ ความดงี ามของผอู้ ่นื

6

สถานท่เี รยี น

คณะ หลกั สตู ร ชื่อยอ่ วิทยาเขต หน่วย
หลกั สตู ร EEC การเรยี น
แจง้ วฒั นะ ทางไกล

จัดการเรียนการสอนในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป -
1) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
3) กลุ่มวชิ าภาษาจนี
4) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
5) กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี

การจัดการธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ MTM -

การจดั การธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (ตอ่ เนอ่ื ง) CMTM -

การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ (ต่อเน่อื ง) CIMM --
ระบบการศึกษาทางไกลทางอนิ เทอร์เน็ต

การจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่ DMTM - -
(ระบบการศึกษาทางไกล)

เทคโนโลยีดจิ ิทลั และสารสนเทศ DIT -

วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ CAI --

วศิ วกรรมอตุ สาหการและการผลติ อัจฉรยิ ะ IEM -

วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ AME --
RAE --
วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ BC --
BJ --
ภาษาจีนธรุ กจิ CEB --

ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกจิ RPM --

ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารทางธุรกจิ HROM --
การจัดการอสังหาริมทรัพยแ์ ละ
ทรพั ยส์ ินอาคาร AVI --
การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์คนและ HTM --
การจัดการองค์การ BM --
การจดั การธรุ กจิ การบนิ CB --
การจดั การการบริการและการท่องเท่ียว
การจดั การบณั ฑิต CJ --
วชิ าเอกการส่อื สารองคก์ รและแบรนด์
วิชาเอกวารสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จ้นและ
ส่อื ดจิ ทิ ลั สร้างสรรค์

นวัตกรรมการจดั การเกษตร IAM --

7

สถานท่ีเรียน

คณะ หลักสตู ร ชอื่ ยอ่ วิทยาเขต หนว่ ย
หลักสตู ร แจง้ วฒั นะ EEC การเรยี น
การสอนภาษาจนี (4 ปี) ทางไกล
การสอนภาษาอังกฤษ (4 ปี)
TCL - -

ELT - -

การจดั การเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดการธรุ กิจอาหาร FBM -
การจัดการธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนื่อง) CFBM -
การจดั การธรุ กจิ ภตั ตาคาร RBM --

การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคมขนส่ง LTM --

การจดั การธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสตู ร iMTM --
นานาชาต)ิ

การจดั การธรุ กิจโรงแรมและอาหาร (หลักสูตร iHFM - -
นานาชาติ)

หลักสตู รระดบั ปริญญาโท

การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ MBA-MTM --

วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี MET --
(หลกั สูตรนานาชาต)ิ

การบริหารคนและกลยุทธ์องคก์ าร POS --

การส่ือสารเชงิ นวัตกรรมเพ่อื องคก์ รสมยั ใหม่ MCA --

สาขาวิชาธรุ กิจระหว่างประเทศ iMBA --
(หลกั สตู รนานาชาติ)
--
ภาวะผู้น�ำการบริหารและการจดั การ EML --
การศึกษา --
บริหารธุรกิจ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-MBA
การจัดการทางศลิ ปะ (หลักสูตรภาษาจีน) C-MA --
--
หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก

บริหารธุรกจิ (หลกั สตู รภาษาจีน) C-PhD

การจัดการการศกึ ษา (หลกั สูตรภาษาจีน) C-PhD-Ed

8

เพลงสถาบนั

เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

เกิดมาเปน็ คน ต้องพรอ้ มจะอดทนทุกเร่ืองราว * มังคลอบุ ล ดั่งพวกเราทุกคน
ไม่วา่ จะดีจะร้ายซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองวา่ เป็นบทเรียน หนักเบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเขม้ แข็ง

ส่งิ ทีเ่ รียนคือความจ�ำ สง่ิ ท่ที ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบมนั่ คง
สงิ่ ทท่ี �ำได้ยากเยน็ นนั้ จะยง่ิ ใหญ่ หยดั ยืนทรนง...ซอ่ื ตรงและแข็งแกรง่

สง่ิ ท่ที ำ� โดยตัวเอง ยิง่ ทำ� จะยิ่งเข้าใจ P (Practicality)
แมน้ านเพียงใดก็ไม่ลืม I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเป็น เรยี นเปน็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเปน็ ธรรมในใจ
(ซ้ำ� *)
ส่ิงทถ่ี ูกรกั ษาไว้ ทผ่ี ดิ เราตอ้ งทิง้ ไป **ในโลกแห่งความจรงิ ตอ้ งเรยี นรูก้ นั จริงๆ
แลว้ เราจะกา้ วไป..ด้วยกนั ต้องออกไปหาความจรงิ ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ รงิ
ตอ้ งเหน่อื ยต้องท้อจรงิ ๆ ตอ้ งเจอผู้คนจรงิ ๆ
***สถาบันปญั ญาภวิ ัฒน์ สถาบนั แห่งปัญญา เรยี นจากคนร้คู วามจรงิ แล้วเราจะเปน็ คนจรงิ
เราจะคอยเป็นผ้สู อน เราจะคอยเปน็ เบา้ หลอม คนเก่งน้นั ยงั ไม่พอ เกง่ จรงิ ต้องจดั การได้

จะหลอ่ และก็หลอมใหท้ กุ คน แคก่ ลา้ กย็ ังไม่พอ กล้าจรงิ ต้องมวี ินัย
ใหพ้ รอ้ มกลายเป็นคนดี (ให้ทกุ คนเปน็ คนด)ี คนฉลาดนั้นยงั ไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไม่โกงใคร
เกิดมาเป็นคน ต้องมุง่ มน่ั ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผ่ี ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แข็งแรงกย็ ังไม่พอ เพราะว่าตอ้ งมีน้�ำใจ
***ธงสเี ขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรอื งรอง
(ซ�ำ้ *, **, ***) บนแผน่ ดนิ สที อง น่คี ือบ้านของเรา
เราก็เหมอื นอิฐคนละก้อนวางซ้อนเรยี งกันจึงแนน่ หนา

กอ่ ดว้ ยความรกั ในปญั ญา
ฉาบด้วยศรทั ธา..ในสถาบัน..ของเรา

(ซำ้� *, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

9

รู้จกั
“ส�ำนกั การศกึ ษาท่ัวไป”

ปรชั ญาสำ� นกั การศึกษาทวั่ ไป
วชิ าศกึ ษาท่ัวไปสรา้ งความเปน็ มนษุ ย์ทม่ี คี ณุ ภาพในสังคมโลก มีทกั ษะการส่ือสาร
ภาษา ก้าวหน้าเทคโนโลยี มีกระบวนการคดิ และมจี ติ สาธารณะ

วสิ ัยทัศน์

“สร้างบัณฑิตมอื อาชพี ด้วยการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันธกจิ
1. สร้างคนท่ีมีคุณภาพและตรงกับความต้องการของภาคธุรกิจ สังคม และ

ประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work-based
Education)
2. ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และส่งเสริมนวัตกรรม
(Collaborative Networking)
4. พฒั นาองค์กรทพี่ ร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีดี
(Transformative Organization & Good Governance)

สัญลกั ษณ์และสีประจำ� ส�ำนัก

ต้นปัญญพฤกษ์

หรอื ต้นไม้แห่งปญั ญา
ทแ่ี ผ่รม่ เงาทางการศึกษา
เปรียบเสมือนการเรยี นรู้ตลอดชีวติ

สีประจำ� คณะ สนี �้ำตาลทอง

10

บทบาทหนา้ ที่

ส�ำนกั การศกึ ษาทั่วไปมโี ครงสร้างการทำ� งานประกอบดว้ ย 5 กลุม่ วชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื

1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กล่มุ วชิ าภาษาองั กฤษ 5. กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3. กลมุ่ วชิ าภาษาจนี 6. ศูนย์พฒั นาทกั ษะและภาษา

โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการ
ปัญญาภวิ ัฒน์ และจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาให้เป็นไปตามอตั ลกั ษณ์บัณฑติ ของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ท่ีต้องการ
ของผใู้ ชบ้ ัณฑิตและสงั คม โดยตลอดปีการศึกษาได้จัดกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาตามกลมุ่ วิชา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา

ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรอื CLSD) เปน็ หนว่ ยงาน
ภายใต้ส�ำนักการศึกษาทัว่ ไปทม่ี ีหนา้ ท่เี สรมิ ทักษะ ประเมินทักษะ และออกใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี �ำเป็นตอ่ การท�ำงาน
ของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ
ท้ัง 4 ช้ันปี โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
(Application Program) ช่อื “PIM SMART PASSPORT” ท่ีเปน็ ฐานข้อมูลของนกั ศึกษาส�ำหรบั น�ำไปใช้ประกอบ
การตดั สนิ ใจเลือกพนักงานเข้าทำ� งานของสถานประกอบการต่างๆ

แผนพัฒนาทักษะและภาษา

สำนักการศึกษาทวั่ ไป

ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทักษะช้ันปที่ 1
ทักษะดจิ ทิ ัล (ระบุผลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทกั ษะช้นั ปท ่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบุคะแนนแตละทักษะ) ป 4
e-Leaming score พัฒนาตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทุกที่ ทกุ เวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ตวิ เชม ชน้ั ปท ี่ 3
เพอ่ื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตล ะทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพอ่ื การใชช วี ิต วัดความพรอ มภาษา
รพู ฒั นาการดานดจิ ติ อล
ผลการฝกทกั ษะชั้นปท ี่ 4 ระบุจุดเดนเเละจดุ ท่ี
(ระบุผลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช ีวิต
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบุระดับทักษะ ตลอด 4 ปก ารศึกษา เพือ่ พฒั นา
ทุกทกั ษะ ใหคุณเปนคนที่ “ใช” สำหรับทกุ องคกร

เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป

ป 1 ป 2 ป 2 ป 4

สะทอนศักยภาพและความสามารถ

11

ส�ำนักการศึกษาทั่วไปมีการจัดท�ำชุดฝึกฝน
ทักษะการใช้งานโปรแกรมส�ำนักงาน ผ่านโปรแกรม
ประยุกต์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อให้
นักศึกษาได้ฝึกฝนการใช้เคร่ืองมือในการจัดท�ำเอกสาร
สำ� นกั งาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ งมอื อาชพี ทตี่ อบ
สนองการเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา

12

โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills

โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เปน็ การด�ำเนินงานในรปู แบบกิจกรรมเพ่ือพฒั นาทกั ษะและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส�ำหรับนักศึกษา ภายใต้ส�ำนักการศึกษาท่ัวไป เร่ิมด�ำเนินการจัดกิจกรรมต้ังแต่ปีการ
ศึกษา 2563 ภายใตค้ ติพจนป์ ระจ�ำโครงการคือ “ ไม่มกี ารลงทุนใด จะได้ผลตอบแทนเทา่ กับการลงทนุ เรียนร้”ู
วตั ถุประสงคห์ ลักของโครงการ เพอื่ เสริมสรา้ งการเรียนรู้ และพฒั นาทักษะชวี ิตให้แกน่ ักศึกษา มุง่ เน้นให้
นกั ศึกษามี Essential Skills ต่อยอดศักยภาพที่มีในตัวตนและพฒั นาใหเ้ กิดทกั ษะใหม่พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มกี ารวางเปา้ หมายไวอ้ ย่างชดั เจน คือ การพฒั นาตน พัฒนาคน และน�ำไปสู่การพฒั นา
สังคมต่อไป

โครงสร้างกจิ กรรม
กจิ กรรม PIM 3L จดั แบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่ ดังนี้
1. ความชอบและไลฟส์ ไตล์ อาทิ กจิ กรรมปตั ตาเลย่ี นตวั เดยี ว..กเ็ ฟย้ี วได้ กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครวั ..รวั้ หลงั หอ้ ง กจิ กรรม

ท�ำอาหารเพอ่ื สขุ ภาพ และกิจกรรมแต่งหนา้ สวยด้วยแรงบนั ดาลใจ เป็นต้น
2. ทักษะอย่างมืออาชีพ อาทิ กิจกรรมพูดอย่างโปร..พูดให้เป็น กิจกรรมขายของออนไลน์..ง่ายนิดเดียว กิจกรรม

Innovative Video Creator กจิ กรรมการน�ำเสนอและการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ เปน็ ต้น
3. คณุ ค่าในตัวตนและสังคม อาทิ กจิ กรรมรกั อย่างไร..ปลอดภัยในวยั เรา กิจกรรมเขา้ สงั คม..ใครว่ายาก กิจกรรม

สร้างแรงบันดาลใจใหต้ ัวเรา เปน็ ต้น
การเรยี นรไู้ มม่ วี นั หยดุ นงิ่ หากเราตอ้ งกา้ วเดนิ ตอ่ ไปใหท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 การเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม PIM 3L เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ส�ำหรับนักศึกษาสถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

ภาพตวั อย่างโปสเตอรป์ ระชาสัมพนั ธ์กิจกรรม

13

เปา้ หมายการเรยี นรู้ผ่านโปรแกรม นอกจากนี้ส�ำนักการศึกษา
ส่งเสริมการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ ทั่วไปมีการน�ำโปรแกรมประยุกต์ด้าน
Common European Framework of Reference การสอื่ สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบ
for Languages : CEFR กบั การจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์
การประเมินตามกรอบความเชี่ยวชาญ
ภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดบั B2 เป็นอยา่ งน้อย

ID64 (ปที ่ี 3)

ID64 (ปที ่ี 2)

ID64 (ปที ่ี 1)

ID64 (ปที ี่ 3)

แผนส�ำหรับนักศึกษารหสั 64 (ตอ่ Block)

ศึกษาวธิ ีการใชง าน สอบวดั ระดับความรู ทำแบบฝกหดั สอบวดั ผลคร้ังท่ี 1 สอบวัดผลคร้ังที่ 2
(Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นกั ศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู น้ั ปที่ 1

สอบวัดระดบั ความรู ทำแบบฝกหดั สอบวัดผลครั้งท่ี 1 สอบวดั ผลคร้งั ท่ี 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศกึ ษารหสั 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศึกษาอยชู ัน้ ปท ี่ 2 และ 3

14

รู้จกั คณะเรา

“คณะการจดั การการศึกษาเชิงสร้างสรรค์”

ปรชั ญาคณะการจดั การการศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์
“การศกึ ษา คอื การสรา้ งทรพั ยท์ างปญั ญาแก่แผ่นดิน”

ปณิธาน
“ม่งุ มั่นการผลิตบัณฑติ ทางการศกึ ษาท่สี มบรู ณด์ ้วย

ปัญญา คณุ ธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณวชิ าชีพ มภี าวะผ้นู ำ� ทางการศกึ ษา

และความสามารถดา้ นบริหารจดั การ”

วิสัยทัศน์
“สร้างบัณฑิตทางการศึกษามืออาชีพ
ทพี่ รอ้ มดว้ ยคุณธรรม จรยิ ธรรม
จรรยาบรรณวชิ าชีพ

โดยเนน้ การเรียนร้จู ากประสบการณจ์ รงิ ”

15

พนั ธกจิ
1. ผลิตบัณฑิตทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานวิชาชีพ โดยการเรียนรู้จาก

ประสบการณจ์ ริง (Work-based Education)
2. พัฒนาครู บุคลากรทางทางการศึกษาให้มีศักยภาพในการจัดการศึกษาท่ีมี

คุณภาพ
3. สรา้ งผลงานวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา
4. บรกิ ารวิชาการทางการศกึ ษาแกช่ ุมชน เพือ่ ส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และ

พัฒนาสงั คมท่ีย่งั ยนื
5. สบื สานท�ำนบุ �ำรุงศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นและภมู ิปญั ญาไทย
6. พฒั นาระบบบรหิ ารอย่างมีส่วนร่วมโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล เพอ่ื สง่ เสริมการ

ทำ� งานเป็นทีมของคณะ

16

สญั ลกั ษณ์และสีประจำ� สำ� นกั

ดอกบัวบานชูชอ่ พ้นน้�ำ

หมายถึง ผทู้ ่ใี ฝ่เรยี น ใฝ่รอู้ ยู่เป็นนจิ ยอ่ มมี
ปญั ญาปฏิภาณอันแตกฉานและแยบคาย

สีประจ�ำคณะ สมี ่วง กลบี ทั้งแปดของดอกบัว

แสดงถึงการเป็นผู้ที่ยึดถือและปฏิบัติตาม
หลักธรรม ได้แก่ การมีปัญญาชอบ ด�ำริ
ชอบ เจรจาชอบ ประพฤตดิ ีงาม ประกอบ
สมั มาอาชพี อยา่ งสจุ รติ ชน มคี วามอตุ สาหะ
พยายาม มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ และฝึกจิตให้
ตัง้ มั่นในความดี

กระแสน้ำ�

แสดงถึงการหม่ันแสวงหาความรู้ที่ไม่มีวัน
ส้ินสดุ เปรียบเหมอื นการศกึ ษาทีต่ ้องเรยี น
รู้ แบ่งปันและต่อยอด ซ่ึงเหล่านี้เป็น
คณุ สมบัตขิ องครทู ดี่ ี

สีมว่ ง

เป็นสแี ทนสัญลักษณ์ของการใฝเ่ รียน ใฝ่รู้
การพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เปี่ยมด้วยพลัง
แห่งความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์
เป็นสัญลักษณ์ของคุณงามความดี ความ
ยุติธรรม ความเมตตา วริ ิยะอุตสาหะ เสีย
สละ ความสามัคคีและมีความเปน็ นำ้� หนงึ่
ใจเดยี วกัน
เปรียบเสมือนวิชาชีพครูซ่ึงคุณลักษณะ
ของครูท่ีดี คือ มีความรักและศรัทธาใน
วิชาชีพครูและพร้อมที่จะพัฒนาวิชาชีพ
ของตนอยเู่ สมอ ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ ง
แก่ผู้เรียน ใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเน่ือง มีความเมตตาแก่ศิษย์ และเห็น
คุณค่าของศิษย์

17

หลักสูตร / สาขาวชิ าที่เปิดสอน

หลักสูตรระดบั ปริญญาตรี

1. หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (หลกั สูตร 4 ป)ี
2. หลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (หลักสูตร 4 ป)ี

หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาโท

1. หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการการศกึ ษา
และความเปน็ ผนู้ �ำ

ตดิ ตอ่ คณะ
ช้ัน 9 อาคาร 4 หรอื อาคาร CP ALL Academy
โทรศัพท์ 0 2855 1026, 0 2855 0962, 0 2855 1340, 0 2855 1494
การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู คณะ
1. เว็บไซต์คณะการจัดการจดั การการศึกษาเชงิ สร้างสรรค์ :

https://edu.pim.ac.th/

18

หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต

สาขาวชิ าการสอนภาษาจีน
(หลกั สตู ร 4 ปี)

Bachelor of Education Program in Teaching Chinese Language

ชอ่ื ปรญิ ญา

ภาษาไทย (ชือ่ เต็ม) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาจีน)
(อักษรย่อ) : ศษ.บ. (การสอนภาษาจีน)
ภาษาองั กฤษ (ช่อื เต็ม) : Bachelor of Education
(Teaching Chinese Language)
(อักษรย่อ) : B.Ed. (Teaching Chinese Language)

หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวตั กรรม (สป.อว.) รบั ทราบหลกั สตู รเมื่อ XXXXX

จดุ เด่นของสาขาวิชา / หลักสตู ร

ปัจจุบันประเทศไทยไดม้ กี ารพัฒนาในหลายๆ รปู แบบ เพ่อื รองรับความเชื่อมโยงด้านการคา้ การลงทุน
ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ ดงั นนั้ ทรพั ยากรมนษุ ยจ์ งึ ตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถดา้ นภาษาตา่ งประเทศ โดย
เฉพาะภาษาจนี ซง่ึ ประเทศจนี กำ� ลงั กา้ วสกู่ ารเปน็ มหาอำ� นาจทางเศรษฐกจิ มบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การขบั เคลอื่ น
เศรษฐกจิ เอเชยี และเศรษฐกจิ โลกรฐั บาลไทยใหค้ วามสำ� คญั ยงิ่ กบั การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจนี แตใ่ น
สภาวการณป์ จั จบุ นั จำ� นวนครชู าวไทยทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาดา้ นการสอนภาษาจนี ยงั ไมเ่ พยี งพอตอ่ โรงเรยี นทเี่ ปดิ
สอนภาษาจีนซ่ึงมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ จึงท�ำให้มีการน�ำเข้าครูจาก
ประเทศจีน ส่งผลต่อการไมเ่ ขา้ ใจในวฒั นธรรมไทยและไม่สามารถสอื่ สารเป็นภาษาไทยได้ หรอื แมแ้ ต่การมี
ครูสอนภาษาจีนชาวไทยแต่ไม่มีทักษะการสอนที่ถูกต้อง จึงมีความจ�ำเป็นในการผลิตครูสอนภาษาจีนท่ีเป็น
ชาวไทยเพอื่ รบั มือตอ่ การเตบิ โตและปัญหาดงั กลา่ ว

บณั ฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาจีน จะเปน็ ครูอาจารยท์ ม่ี ีสว่ นพัฒนาเยาวชนของชาติให้มีความสามารถ
ในการสอ่ื สารภาษาจนี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และยงั สามารถใชค้ วามรใู้ นอาชพี อนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง อาทิ บคุ ลากรฝกึ อบรม
ด้านการสอนภาษาจีน บุคลากรผลิตสื่อการเรียนการสอนภาษาจีน ดังน้ัน คณะการจัดการการศึกษาเชิง
สรา้ งสรรค์ สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำ� คญั ในการผลติ บณั ฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาจนี
ให้เปน็ ครูนักบรหิ ารจัดการผสู้ ร้างคน กอปรด้วยความรู้ความสามารถท้งั ศาสตร์ทางภาษาจีน และศาสตรท์ าง
วิชาชีพครู รวมท้งั การบริหารจัดการตามความเชีย่ วชาญของสถาบนั มุง่ เนน้ พัฒนาคุณภาพครยู คุ ใหม่ในฐานะ
ผจู้ ดั กระบวนการเรยี นรู้ (Facilitator) เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวการเรยี นรเู้ พอ่ื สรา้ งสรรค์
ดว้ ยปญั ญา (Constructionism) พฒั นาระบบความคดิ จากการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ ระบบอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และปฏบิ ตั ิ
ตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ซ่ึงส่งผลต่อการเสริมสร้างศักยภาพเยาวชนไทยในฐานะทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
ให้สามารถแข่งขันในตลาดแรงงานได้

19

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลกั สูตร

• ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป
1. รัก ศรัทธาและภูมใิ จในวชิ าชีพครู มจี ิตวิญญาณและ
1. มีวนิ ยั ตรงเวลา อดุ มการณ์ความเป็นครู และปฏิบัตติ นตามจรรยา
2. มีความซอื่ สัตย์สจุ รติ บรรณวิชาชพี ครู

3. มคี วามรับผดิ ชอบท้งั ต่อตนเอง สงั คมและการ 2. มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลน้ั มคี วาม
ประกอบอาชีพ เสียสละ รบั ผิดชอบและซือ่ สตั ย์ตอ่ งานท่ีไดร้ บั
มอบหมายทัง้ ดา้ นวิชาการและวิชาชีพ และสามารถ
4. ปฏบิ ัตหิ น้าทดี่ ้วยคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง ประพฤติตนเป็นแบบ
สาธารณะ อย่างทีด่ ีแกศ่ ษิ ย์ ครอบครวั สงั คมและประเทศชาติ
และเสรมิ สรา้ งการพฒั นาท่ียั่งยนื
5. เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององคก์ รและ
สงั คม 3. มีค่านยิ มและคุณลกั ษณะเปน็ ประชาธิปไตย คือ
การเคารพสทิ ธิ และใหเ้ กยี รตคิ นอ่ืน มีความสามัคคี
และท�ำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ ใช้เหตผุ ลและปัญญา
ในการดำ� เนินชวี ติ และการตัดสนิ ใจ

4. มคี วามกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรม
จรยิ ธรรม สามารถวินจิ ฉัย จัดการและคดิ แกป้ ัญหา
ทางคณุ ธรรมจริยธรรมด้วยความถูกตอ้ งเหมาะสม
กบั สังคม การท�ำงานและสภาพแวดล้อม โดยอาศัย
หลักการ เหตุผลและใชด้ ุลยพนิ ิจทางคา่ นยิ ม
บรรทดั ฐานทางสงั คม ความรสู้ ึกของผู้อน่ื และ
ประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มจี ติ สำ� นึกในการธ�ำรง
ความโปรง่ ใสของสงั คมและประเทศชาติ ตอ่ ต้าน
การทุจรติ คอรปั ชนั่ และความไมถ่ กู ต้อง ไมใ่ ชข้ อ้ มลู
บดิ เบือน หรือการลอกเลียนผลงาน

20

• ดา้ นความรู้

หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. มคี วามรู้อยา่ งกว้างขวางและสามารถนำ� ความร้นู ้นั ไป 1. มคี วามรอบรใู้ นหลกั การ แนวคิด ทฤษฎี เน้อื หา
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน สาระด้านวชิ าชีพครู อาทิ คา่ นยิ มของครู คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม จรรณยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญา
ความเป็นครู จิตวิทยาส�ำหรบั ครู จิตวิทยา
พัฒนาการ จติ วิทยาการเรยี นรู้เพือ่ จดั การเรยี นรู้
และชว่ ยเหลอื แกไ้ ขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้
เรยี น หลกั สูตรและวทิ ยาการจดั การเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
การศึกษาและการเรียนรู้ การวดั ประเมินการศึกษา
และการเรยี นรู้ การวิจยั และการพัฒนานวัตกรรม
เพ่ือพัฒนาผ้เู รียนและภาษาเพ่อื การส่อื สารสำ� หรบั
ครู ทักษะการนเิ ทศและการสอนงาน ทักษะ
เทคโนโลยีและดิจทิ ลั ทกั ษะการท�ำงานวิจัยและการ
ประเมนิ ทักษะการรว่ มมอื สรา้ งสรรค์ และทกั ษะ
ศตวรรษท่ี 21 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการบูรณา
การความรู้กับการปฏิบตั จิ รงิ และการบรู ณาการขา้ ม
ศาสตร์ อาทิ การบูรณาการการสอน (Technologi-
cal Pedagogical Content Knowledge: TPCK)
การสอนแบบบรู ณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมและ
คณติ ศาสตร์ (Science Technology Engineering
and Mathematics Education : STEM Educa-
tion) ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional
Learning Community : PLC) และมคี วามรใู้ นการ
ประยกุ ตใ์ ช้

2. เขา้ ใจและวิเคราะห์หลกั การของศาสตรอ์ ืน่ ท่ี 2. มคี วามรอบรใู้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหาวชิ า
เกย่ี วข้องและน�ำมาใช้เป็นพนื้ ฐานของศาสตร์เฉพาะ ทสี่ อน สามารถวเิ คราะห์ความรู้ และเนื้อหาวชิ าที่
นั้นๆ (เฉพาะสาขาวชิ า) สอนอย่างลึกซึ้ง สามารถติดตามความกา้ วหน้าดา้ น
วิทยาการและนำ� ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาผ้เู รยี น
โดยมีผลลัพธ์การเรยี นรูแ้ ละเนอื้ หาสาระดา้ น
มาตรฐานผลการเรยี นรู้ดา้ นความรูข้ องแต่ละสาขา
วิชา

3. มีความรู้ความเขา้ ใจในหลักการและทฤษฎีในศาสตร์ 3. มีความรู้ เขา้ ใจชวี ติ เขา้ ใจชมุ ชน เขา้ ใจโลกและการ
เฉพาะนนั้ ๆ และสามารถนำ� ไปประยุกตใ์ ช้แก้ไข อยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ปญั หาในการปฏิบตั งิ านจริงได้ สามารถเผชญิ และเท่าทนั กบั การเปลยี่ นแปลงของ
สังคม และสามารถน�ำแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ในการด�ำเนินชีวติ และพฒั นา
ตน พฒั นางานและพัฒนาผู้เรยี น

4. มีความรแู้ ละความสามารถในการใชภ้ าษาไทยและ
ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สารตามมาตรฐาน

5. ตระหนกั รู้ เหน็ คุณคา่ และความส�ำคญั ของศาสตร์
พระราชาเพ่ือการพฒั นาทย่ี ั่งยนื และน�ำมาประยุกต์
ใช้ในการพฒั นาตน พัฒนาผเู้ รยี น พัฒนางานและ
พฒั นาชุมชน

21

• ดา้ นทกั ษะทางปัญญา

หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มคี วามคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ตอ่ ยอดกรอบความรเู้ ดมิ 1. คดิ ค้นหา วิเคราะหข์ ้อเทจ็ จริง และประเมินขอ้ มลู
สามารถบรู ณาการความร้ใู นสาขาวชิ าที่ศึกษาและ ส่อื สารสนเทศจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายอย่างรู้
ประสบการณ์เพอื่ ให้เกิดนวัตกรรม กจิ กรรมหรอื เทา่ ทัน เปน็ พลเมอื งตน่ื รู้ มีสำ� นกึ สากล สามารถ
แนวทางในศาสตร์เฉพาะน้ันๆ เผชิญและกา้ วทนั กับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุค
ดจิ ิทัล เทคโนโลยขี ้ามแพลทฟอรม์ (Platform) และ
2. สามารถคดิ วิเคราะหแ์ ละเชอ่ื มโยงความรอู้ ย่าง โลกอนาคต นำ� ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน และ
เป็นองคร์ วม วินิจฉยั แกป้ ญั หาและพฒั นางานไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
โดยค�ำนงึ ถงึ ความรู้ หลักการทางทฤษฎี
3. มคี วามกระตอื รอื ร้นในการใฝ่หาความรู้ ประสบการณภ์ าคปฏบิ ัติ คา่ นิยม แนวคดิ นโยบาย
และยุทธศาสตรช์ าติ บรรทดั ฐานทางสังคมและ
ผลกระทบท่อี าจเกดิ ขน้ึ

2. สามารถคดิ รเิ ร่มิ และพฒั นางานอย่างสร้างสรรค์

3. สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการท�ำวิจัยและสรา้ ง
หรือร่วมสรา้ งนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการเรยี นร้ขู อง
ผ้เู รียนและพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ ผูส้ รา้ งหรอื ร่วมสรา้ ง
นวัตกรรม รวมทั้งถ่ายทอดความรู้แกช่ ุมชนและ
สงั คม

• ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. สามารถปรบั ตัวเข้ากับสถานการณ์และวฒั นธรรม 1. เข้าใจและใสใ่ จอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่น มคี วามคดิ
องคก์ ร เชิงบวก มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณแ์ ละทางสังคม

2. สามารถท�ำงานกับผู้อนื่ ไดเ้ ปน็ อย่างดีและมภี าวะผนู้ ำ� 2. ทำ� งานรว่ มกับผู้อ่ืน ท�ำงานเปน็ ทีม เปน็ ผนู้ ำ� และ
ผตู้ ามทีด่ ี มีสมั พนั ธภาพที่ดีกบั ผเู้ รยี น ผู้ร่วมงาน
ผ้ปู กครองและคนในชุมชน มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่
ส่วนรวมทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม

3. มีความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีและงานทไี่ ด้รับ 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ ต่อตนเอง ต่อผูเ้ รียน
มอบหมาย ตอ่ ผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวม สามารถช่วยเหลอื
และแกป้ ญั หาตนเอง กลุ่มและระหว่างกล่มุ ไดอ้ ยา่ ง
สร้างสรรค์

4. มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ทีด่ กี ับผรู้ ว่ มงานในองค์กรและ 4. มีภาวะผู้น�ำทางวชิ าการและวิชาชพี มคี วามเข้มแขง็
บคุ คลทัว่ ไป และกล้าหาญทางจรยิ ธรรมสามารถช้ีน�ำและ
ถา่ ยทอดความร้แู ก่ผเู้ รยี น สถานศึกษา ชมุ ชนและ
สงั คมได้อย่างสรา้ งสรรค์

22

• ด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. ใช้ความรูท้ างคณติ ศาสตร์และสถติ ใิ นการวิเคราะห์ 1. มที ักษะการวเิ คราะห์ขอ้ มูลสถติ ิ การสงั เคราะห์
และนำ� เสนอ ขอ้ มลู เชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ เพอ่ื เข้าใจองค์
ความรู้ หรอื ประเดน็ ปญั หาทางการศึกษาได้อย่าง
2. มที ักษะการใช้ภาษาไทยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวดเรว็ และถูกต้อง

3. มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพื่อการติดต่อ 2. สื่อสารกับผูเ้ รยี น พอ่ แม่ผูป้ กครอง บคุ คลในชุมชน
สอื่ สารอยา่ งน้อยหน่งึ ภาษา และสังคม และผู้เกย่ี วข้องกลุ่มตา่ งๆ ได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพโดยสามารถเลอื กใช้การส่ือสาร
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ ทางวาจา การเขียน หรือการนำ� เสนอดว้ ยรปู แบบ
เกบ็ รวบรวมข้อมลู ตลอดจนการนำ� เสนอ ต่างๆโดยใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สารหรอื นวตั กรรม
ตา่ งๆ ทเี่ หมาะสม

3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการสบื คน้ ขอ้ มูลหรือ
ความรูจ้ ากแหลง่ การเรียนรตู้ า่ งๆ ไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ สามารถใช้โปรแกรมส�ำเรจ็ รปู ทจ่ี �ำเป็น
ส�ำหรบั การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ การท�ำงาน
การประชมุ การจดั การและสืบค้นขอ้ มูลและ
สารสนเทศ รบั และส่งขอ้ มูลและสารสนเทศโดยใช้
ดลุ ยพนิ ิจทด่ี ีในการตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือของ
ข้อมลู และสารสนเทศ อีกท้ังตระหนกั ถงึ การละเมดิ
ลขิ สทิ ธ์ิและการลอกเลยี นผลงาน

23

• ด้านวิธีวิทยาการจดั การเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป
1. สามารถเลือกใช้ปรัชญาตามความเช่อื ในการสรา้ ง
- หลักสตู รรายวิชา การออกแบบ เนอ้ื หาสาระ
- กจิ กรรมการเรียนการสอน สอ่ื และเทคโนโลยีการ
ส่ือสาร การวดั และประเมินผูเ้ รยี น การบรหิ าร
- จัดการชนั้ เรยี น การจดั การเรยี นโดยใชแ้ หล่งการ
เรยี นร้ใู นโรงเรียนและนอกโรงเรียน แหล่งการเรยี นรู้
- แบบเปดิ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สภาพบริบทท่แี ตกต่าง
- กนั ของผู้เรียนและพน้ื ที่

24 2. สามารถน�ำความรู้ทางจติ วทิ ยาไปใชใ้ นการวิเคราะห์
ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล ออกแบบกจิ กรรม การจัด
เนื้อหาสาระ การบริหารจัดการ และกลไกการชว่ ย
เหลอื แกไ้ ขและส่งเสรมิ พฒั นาผูเ้ รียนท่ีตอบสนอง
ความตอ้ งการ ความสนใจ ความถนดั และศักยภาพ
ของผเู้ รียนทีม่ คี วามแตกต่างระหว่างบุคคล ทง้ั ผู้
เรียนปกตแิ ละผู้เรียนที่มคี วามตอ้ งการจ�ำเปน็ พิเศษ
หรือผู้เรียนท่ีมีขอ้ จ�ำกดั ทางกาย

3. จดั กจิ กรรมและออกแบบการจดั การเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี น
ได้เรยี นรจู้ ากประสบการณ ์ เรยี นรูผ้ า่ นการลงมือ
ปฏิบัติและการทำ� งานในสถานการณจ์ ริง สง่ เสรมิ
การพัฒนาความคดิ การทำ� งาน การจดั การ การ
เผชญิ สถานการณ์ ฝึกการปฏบิ ตั ิให้ทำ� ได้ คิดเปน็ ทำ�
เปน็ โดยบูรณาการการทำ� งานกับการเรยี นรู้และ
คุณธรรมจรยิ ธรรม สามารถประยุกต์ความรู้มาใช้
เพ่อื ป้องกัน แกไ้ ขปญั หา และพัฒนา ดว้ ยความ
ซ่ือสัตยส์ จุ รติ มวี นิ ัยและรับผิดชอบต่อผู้เรยี นโดย
ยดึ ผเู้ รยี นสำ� คัญทส่ี ดุ

4. สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน
แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยีวฒั นธรรมและภมู ิปัญญา
ทัง้ ในและนอกสถานศกึ ษาเพอ่ื การเรียนรู ้ มคี วาม
สามารถในการประสานงานและสร้างความรว่ มมือ
กบั บิดามารดา ผปู้ กครอง และบุคคลในชมุ ชนทุก
ฝา่ ย เพือ่ อำ� นวยความสะดวกและรว่ มมอื กนั พฒั นาผู้
เรียนใหม้ คี วามรอบรู้ มปี ัญญารู้คิดและเกดิ การใฝร่ ู้
อย่างตอ่ เน่ืองให้เต็มตามศักยภาพ

5. สามารถจดั การเรยี นการสอนให้นักเรยี นมีทักษะ
ศตวรรษท่ี 21 เชน่ ทักษะการเรยี นรู้ ทักษะการรู้
เรื่อง ทกั ษะการคดิ ทักษะชีวติ ทักษะการท�ำงาน
แบบรว่ มมอื ทักษะการใชภ้ าษาเพอ่ื การสือ่ สาร
ทักษะเทคโนโลยี และการด�ำเนินชวี ติ ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถน�ำ
ทกั ษะเหล่านี้มาใช้ในการจัดการเรียนร้เู พ่อื พัฒนาผู้
เรียน และการพฒั นาตนเอง

แนวทางการประกอบอาชพี
1. อาจารย์สอนภาษาจีนในสถาบันการศึกษา ทั้งในระดับมัธยมศึกษา ระดับ

อาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถงึ สถาบันสอนภาษา
2. ผ้ปู ระกอบการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ด้านการศึกษา เช่น สถาบันสอนภาษา บริษัทผลิต

สือ่ การเรยี นการสอน
3. ประกอบอาชพี ในสถานประกอบการดา้ นการศึกษา
4. นักฝึกอบรมด้านการสอนภาษาจนี
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 308,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทส่ี ถาบันกำ� หนด ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา โดยช�ำระคา่ เล่าเรยี นภาคการศกึ ษาละ 38,500 บาท

2. อัตราค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมค่าใช้จา่ ย ดังตอ่ ไปนี้
- ค่าหนังสือ เอกสารประกอบวิชาเรียน
- คา่ ชุดปฏิบัติการ วตั ถุดิบและอปุ กรณ์อน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง
- คา่ รายวชิ าปรบั พนื้ ฐาน
- คา่ ธรรมเนยี มอื่นๆ และคา่ เบ็ดเตลด็ นอกเหนืออัตราคา่ เล่าเรียนแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

25

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปีการศกึ ษาที่ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกิต

TH xxxxx กลุ่มวิชาภาษาไทย 3 EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาองั กฤษ 2
EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2 SO xxxxx กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร ์ 3
HM xxxxx กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ 3 HM xxxxx กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ 3
ED 62140 จิตวญิ ญาณแห่งความเปน็ ครู 3 SC xxxxx กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์ 3
และคณติ ศาสตร์
ED 62141 จิตวิทยาการเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นา 3 ED 62142 การจัดการเรียนร้สู �ำหรับผเู้ รยี น 3
ผเู้ รยี น ยคุ ดิจิทลั
TC 62140 การฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชพี ระหว่างเรียน 1 2
TC 62141 การออกเสียงภาษาจนี 3 ED 62190 การฟังและการพูดภาษาจีนพน้ื ฐาน 3
19
ภาษาจนี พน้ื ฐาน 3 TC 62142 รวม

รวม 20

ปีการศกึ ษาท่ี 2

รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกิต

EN xxxxx รายวิชา 2 EN xxxxx รายวิชา 2
ED 62243 3 SO xxxxx 3
กล่มุ วชิ าภาษาอังกฤษ กลมุ่ วชิ าภาษาอังกฤษ
ED 62291 นวัตกรรมการเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาผู้ กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์
เรียนแหง่ อนาคต
TC 62201 การฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ระหว่างเรียน 2 ED 62244 ภาษาเพอื่ การสอ่ื สารส�ำหรบั ครู 2
2
TC 62202 ความรู้ท่ัวไปเกย่ี วกบั ประเทศจีน 3 ED 62345 การพฒั นาเครือข่ายเพอ่ื 2
TC 62243 การจดั การศึกษา
TC 62244 ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกับวฒั นธรรมจีน 3 TC 62245 การอา่ นภาษาจนี เพื่อจับใจความ 3
การเขียนภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 3
ภาษาจนี ในชวี ิตประจำ� วนั 3 TC 62246 ภาษาจีนเพ่ือการทำ� งาน 3

การฟงั และการพูดภาษาจีนเพ่อื 3 TC 62247
การสื่อสาร

รวม 19 รวม 18

26

ปีการศึกษาที่ 3

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกติ รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกิต

EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2 ED 62347 วจิ ยั และการวดั ประเมนิ 3
HM xxxxx ผลการเรียนรู้
ED 62346 กลุม่ วิชามนษุ ยศาสตร์ 3 TC 62348 การแปลภาษาจีน 3
TC 62303 การพัฒนาหลักสตู รเพื่อ 3 TC 62449 บูรณาการการจดั การเรียนรู้ภาษาจีน 3
TC 62304 การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษา
TC 62305 ววิ ฒั นาการอักษรจีน 3 TC 62450 การจัดการเรยี นรศู้ ลิ ปะและ 3
วัฒนธรรมจนี
รหสั วิชา ระบบคำ� ในภาษาจนี 3 TC 62306 ความรูท้ ว่ั ไปเกย่ี วกับวรรณคดจี นี 3
และภาษาจนี โบราณ
ED 62392 ไวยากรณภ์ าษาจีน 3 TC 62307 ประวตั ิศาสตรจ์ นี 3
17
รวม รวม 18
หนว่ ยกิต
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
2
รายวชิ า
2
การฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชีพ
ระหวา่ งเรยี น 3

รวม

ปีการศกึ ษาที่ 4

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกติ รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ

ED 62493 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 6 TC xxxxx เลือกวิชาเอก 3
XX xxxxx เลือกการสอนวชิ าเอก 3
วิชาเลือกเสรี 1 3 TC xxxxx วิชาเลอื กเสรี 2 3
รวม 9
XX xxxxx

รวม 9

27

หลกั สตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต

สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ
(หลกั สตู ร 4 ป)ี

Bachelor of Education Program in English Language Teaching

ชอื่ ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชือ่ เตม็ ) : ศึกษาศาสตรบัณฑติ (การสอนภาษาองั กฤษ)
(อกั ษรย่อ) : ศษ.บ. (การสอนภาษาองั กฤษ)
ภาษาองั กฤษ (ชอื่ เตม็ ) : Bachelor of Education
(English Language Teaching)
(อกั ษรยอ่ ) : B.Ed. (English Language Teaching)
หมายเหตุ : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวัตกรรม (สป.อว.) รับทราบหลกั สูตรเมอ่ื XXXXX

จดุ เด่นของสาขาวิชา / หลกั สตู ร

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ฒั น์จัดทำ� หลักสตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษเพื่อ
พฒั นาครสู อนภาษาองั กฤษชาวไทยทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถ ทง้ั ดา้ นวชิ าการในวชิ าชพี ครู และทกั ษะทางภาษา
องั กฤษ อกี ทงั้ ยงั นำ� แนวคดิ ทกั ษะการบรหิ ารจดั การมาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การศกึ ษาตามความเชยี่ วชาญของสถาบนั
เนน้ การพฒั นากระบวนการเรยี นรบู้ นพนื้ ฐานของการทำ� งานจรงิ (Work-based Learning) มกี ารดแู ลการฝกึ
ประสบการณ์วชิ าชพี ครูระหวา่ งเรยี น การฝึกปฏบิ ตั ิการสอนทเี่ ขม้ ขน้ มีประสทิ ธิภาพ สามารถเชอ่ื มโยงความ
รทู้ างดา้ นวชิ าการทเี่ ปน็ ทฤษฎเี ขา้ สภู่ าคปฏบิ ตั ิ โดยมรี ะบบการสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอาจารยก์ บั นกั ศกึ ษา
(Teacher – Student Relationship: TSR) ผ่านกิจกรรมตา่ งๆ เพื่อสร้างความใกลช้ ดิ ความผกู พันระหวา่ ง
อาจารย์กับนักศึกษา กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ทัศนคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรียนร้เู กดิ พัฒนาการทางการศกึ ษา และมคี วาม
สขุ ในการเรียน

นอกจากนีท้ างสถาบันฯ ยงั มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพครยู ุคใหม่ในฐานะผู้จัดกระบวนการเรยี นรู้ (facilitator)
เปน็ ผใู้ ฝร่ ู้ เออ้ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กระบวนการเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ เรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ สรา้ งครนู กั บรหิ าร
จดั การทม่ี คี วามสามารถในการบริหารจดั การตนเอง นักเรียน และภาระงานครู สามารถวางแผนการจดั การ
เรียนการสอนและแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบตามแนวการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา
(Constructionism) พรอ้ มปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครอู ยา่ งเครง่ ครดั ผลติ ผลงานศกึ ษาวจิ ยั ทางการ
ศกึ ษาตลอดจนประเมนิ ผลคณุ ภาพการปฏบิ ตั งิ าน สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมทางการศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบตอ่ เนอ่ื ง

28

อีกทัง้ ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอยา่ ง (role model) ทด่ี ีของผเู้ รยี นและสังคมเพือ่ ใหว้ ิชาชีพครเู ปน็ วิชาชพี ที่มี
คณุ คา่ สามารถสรา้ งคนดี คนเกง่ มใี จรกั ในวชิ าชพี ครมู าเปน็ ครู มพี น้ื ฐานระบบคดิ และระบบบรหิ ารจดั การ
ที่มีประสิทธิภาพ เข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน วัฒนธรรมองค์กรและรักองค์กร รักการท�ำงาน และเป็น
สมาชิกขององค์กรอย่างย่งั ยืน

ส�ำหรับการเรียนการสอนในหลักสูตรน้ี ผู้เรียนจะได้ศึกษาร่วมกับคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้
เชี่ยวชาญในสาขาภาษาอังกฤษ คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ และฝึกปฏิบัติงานจริงกับ
โรงเรยี นสาธติ แห่งสถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์ สถานศกึ ษาในสังกดั คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื
ฐาน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั และสถานประกอบการทรี่ ว่ มเปน็ เครอื ขา่ ยทางการศกึ ษาในแนวทางสรา้ ง
มืออาชีพด้วยมืออาชีพ (Create Professionals by Professionals) โดยการท�ำความร่วมมือกับ
มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาเทคนิคการถ่ายทอดทางภาษาท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพ อีกทงั้ ยงั เปน็ ลดจดุ อ่อนทางการเรียนภาษาองั กฤษในประเทศไทย

บัณฑิตของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จะเป็นครูนักบริหารจัดการกอปรด้วยคุณธรรม ส�ำนึก
สาธารณะ รกั ความถกู ตอ้ ง มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ ชวี ติ และการทำ� งาน เรยี นเปน็ คดิ เปน็ ทำ� งานเปน็ มงุ่ มนั่ ในการ
พฒั นาตนเอง และสบื สานวฒั นธรรมไทย มสี ว่ นรว่ มในกระบวนการพฒั นาคณุ ภาพเยาวชนไทยยคุ ใหมใ่ ห้
มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและแสวงหาความรู้อย่างต่อเน่ือองตลอดชีวิต รวมท้ังพัฒนา
สถานศึกษา แหลง่ เรยี นรู้ สภาพแวดล้อม พฒั นาวชิ าชพี ครู เพอ่ื สร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ พฒั นาชุมชน
และสงั คม

29

ผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องหลกั สูตร

• ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
1. รัก ศรัทธาและภมู ิใจในวชิ าชีพครู มจี ิตวิญญาณ
1. มวี นิ ยั ตรงเวลา และอุดมการณค์ วามเป็นครู และปฏิบัติตนตาม
2. มีความซ่ือสัตย์สจุ รติ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

3. มีความรับผิดชอบท้งั ต่อตนเอง สังคมและการ 2. มจี ติ อาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกล้ัน มคี วาม
ประกอบอาชพี เสยี สละ รบั ผิดชอบและซ่ือสตั ยต์ อ่ งานที่ได้รบั
มอบหมายทง้ั ด้านวิชาการและวชิ าชพี และสามารถ
4. ปฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิต พฒั นาตนเองอย่างต่อเนอื่ ง ประพฤติตนเป็นแบบ
สาธารณะ อย่างท่ีดแี ก่ศษิ ย์ ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ
และเสริมสรา้ งการพัฒนาท่ียัง่ ยืน
5. เคารพในระเบียบและกฎเกณฑข์ ององคก์ รและ
สงั คม 3. มีค่านิยมและคณุ ลกั ษณะเป็นประชาธปิ ไตย คือ
การเคารพสิทธิ และใหเ้ กยี รติคนอน่ื มคี วามสามัคคี
และท�ำงานรว่ มกับผอู้ นื่ ได้ ใช้เหตผุ ลและปัญญา
ในการด�ำเนินชวี ิตและการตดั สินใจ

4. มคี วามกล้าหาญและแสดงออกทางคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม สามารถวนิ จิ ฉยั จัดการและคดิ แก้ปัญหา
ทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถกู ตอ้ งเหมาะสม
กับสังคม การทำ� งานและสภาพแวดลอ้ ม โดยอาศยั
หลกั การ เหตุผลและใชด้ ุลยพินจิ ทางค่านิยม
บรรทัดฐานทางสงั คม ความรู้สึกของผอู้ ื่นและ
ประโยชน์ของสงั คมสว่ นรวม มจี ติ สำ� นกึ ในการธำ� รง
ความโปรง่ ใสของสงั คมและประเทศชาติ ต่อต้าน
การทจุ รติ คอรัปชนั่ และความไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่ใช้ข้อมลู
บิดเบือน หรือการลอกเลยี นผลงาน

30

• ดา้ นความรู้

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มคี วามรู้อยา่ งกว้างขวางและสามารถน�ำความรู้นั้นไป 1. มีความรอบรใู้ นหลักการ แนวคดิ ทฤษฎี เนือ้ หา
ใชใ้ นชวี ิตประจำ� วัน สาระดา้ นวชิ าชีพครู อาทิ ค่านยิ มของครู คุณธรรม
จริยธรรม จรรณยาบรรณ จิตวญิ ญาณครู ปรชั ญา
ความเปน็ ครู จติ วิทยาส�ำหรับครู จิตวทิ ยา
พัฒนาการ จติ วทิ ยาการเรยี นรูเ้ พ่ือจัดการเรียนรู้
และชว่ ยเหลอื แกไ้ ขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้
เรียน หลักสูตรและวทิ ยาการจดั การเรยี นรู้
นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
การศกึ ษาและการเรียนรู้ การวดั ประเมนิ การศกึ ษา
และการเรียนรู้ การวจิ ัยและการพัฒนานวัตกรรม
เพือ่ พฒั นาผเู้ รยี นและภาษาเพอ่ื การส่ือสารสำ� หรบั
ครู ทกั ษะการนเิ ทศและการสอนงาน ทักษะ
เทคโนโลยีและดจิ ิทลั ทักษะการทำ� งานวิจยั และการ
ประเมิน ทกั ษะการรว่ มมือสร้างสรรค์และทักษะ
ศตวรรษที่ 21 มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการบูรณาการ
ความรู้กบั การปฏิบตั ิจริงและการบรู ณาการขา้ ม
ศาสตร์ อาทิ การบรู ณาการการสอน (Technologi-
cal Pedagogical Content Knowledge :TPCK)
การสอนแบบบูรณาการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมและ
คณิตศาสตร์ (Science Technology Engineering
and Mathematics Education: STEM Educa-
tion) ชุมชนแห่งการเรียนรู้
(Professional Learning Community : PLC)
และมีความรู้ในการประยุกต์ใช้

2. เขา้ ใจและวิเคราะห์หลักการของศาสตรอ์ นื่ ท่ี 2. มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนอ้ื หาวิชา
เกย่ี วข้องและน�ำมาใชเ้ ปน็ พ้นื ฐานของศาสตร์เฉพาะ ทส่ี อน สามารถวิเคราะห์ความรู้ และเนอื้ หาวิชา
น้นั ๆ (เฉพาะสาขาวิชา) ทีส่ อนอย่างลึกซ้งึ สามารถติดตามความก้าวหน้า
ดา้ นวทิ ยาการและน�ำไปประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นา
ผูเ้ รียน โดยมีผลลพั ธ์การเรียนรู้และเนอ้ื หาสาระ
ด้านมาตรฐานผลการเรยี นร้ดู า้ นความรู้ของแตล่ ะ
สาขาวิชา

3. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั การและทฤษฎใี นศาสตร์ 3. มีความรู้ เข้าใจชวี ติ เขา้ ใจชมุ ชน เขา้ ใจโลกและการ
เฉพาะน้นั ๆ และสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้แกไ้ ข อยู่ร่วมกันบนพนื้ ฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ปัญหาในการปฏิบัติงานจรงิ ได้ สามารถเผชญิ และเท่าทนั กับการเปลย่ี นแปลงของ
สงั คม และสามารถน�ำแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในการด�ำเนนิ ชวี ิตและพฒั นา
ตน พัฒนางานและพฒั นาผ้เู รียน

4. มีความรแู้ ละความสามารถในการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สารตามมาตรฐาน

5. ตระหนกั รู้ เห็นคุณคา่ และความส�ำคัญของศาสตร์ 31
พระราชาเพ่ือการพฒั นาทย่ี ่ังยืนและน�ำมาประยุกต์
ใช้ในการพัฒนาตน พัฒนาผเู้ รยี น พฒั นางานและ
พฒั นาชมุ ชน

• ดา้ นทักษะทางปัญญา

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. มีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดกรอบความร้เู ดิม 1. คิด ค้นหา วเิ คราะหข์ ้อเท็จจรงิ และประเมนิ ขอ้ มูล
สามารถบูรณาการความรใู้ นสาขาวชิ าท่ศี กึ ษาและ ส่อื สารสนเทศจากแหล่งข้อมลู ที่หลากหลายอย่างรู้
ประสบการณเ์ พ่อื ให้เกิดนวตั กรรม กจิ กรรมหรอื เท่าทนั เปน็ พลเมอื งตื่นรู้ มสี ำ� นกึ สากล สามารถ
แนวทางในศาสตร์เฉพาะนัน้ ๆ เผชิญและกา้ วทันกับการเปลยี่ นแปลงในโลก
ยคุ ดิจิทัล เทคโนโลยขี ้ามแพลทฟอร์ม (Platform)
2. สามารถคดิ วิเคราะห์และเชื่อมโยงความรู้อย่างเปน็ และโลกอนาคต น�ำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั ิงาน
องค์รวม และวนิ ิจฉัยแกป้ ญั หาและพัฒนางานได้อยา่ ง
สรา้ งสรรค์ โดยคำ� นึงถงึ ความรู้ หลกั การทางทฤษฎี
3. มีความกระตือรอื ร้นในการใฝ่หาความรู้ ประสบการณ์ภาคปฏบิ ัติ ค่านิยม แนวคดิ นโยบาย
และยุทธศาสตร์ชาติ บรรทดั ฐานทางสังคมและ
ผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขนึ้

2. สามารถคิดรเิ รม่ิ และพัฒนางานอยา่ งสรา้ งสรรค์

3. สร้างและประยุกต์ใช้ความร้จู ากการท�ำวจิ ยั และสร้าง
หรือร่วมสร้างนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูข้ อง
ผเู้ รียนและพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ป็นผสู้ รา้ งหรอื ร่วมสร้าง
นวัตกรรม รวมท้งั การถ่ายทอดความร้แู ก่ชมุ ชนและ
สังคม

• ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรบั ตัวเขา้ กับสถานการณแ์ ละวัฒนธรรม 1. เขา้ ใจและใส่ใจอารมณ์ความรสู้ ึกของผูอ้ ่นื มคี วามคิด
องค์กร เชงิ บวก มวี ุฒิภาวะทางอารมณแ์ ละทางสงั คม

2. สามารถทำ� งานกับผอู้ ่ืนไดเ้ ปน็ อยา่ งดแี ละมีภาวะผนู้ ำ� 2. ท�ำงานร่วมกับผู้อนื่ ทำ� งานเปน็ ทีม เป็นผู้นำ� และ
ผู้ตามทดี่ ี มีสัมพันธภาพท่ีดกี ับผู้เรยี น ผ้รู ่วมงาน
ผ้ปู กครองและคนในชุมชน มีความรบั ผดิ ชอบ
ต่อสว่ นรวมทง้ั ด้านเศรษฐกจิ สังคมและส่งิ แวดล้อม

3. มีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ีและงานท่ไี ด้รับ 3. มคี วามรับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ ตอ่ ตนเอง ตอ่ ผูเ้ รยี น
มอบหมาย ตอ่ ผ้รู ว่ มงาน และต่อสว่ นรวม สามารถช่วยเหลอื
และแกป้ ญั หาตนเอง กลุ่มและระหว่างกล่มุ ไดอ้ ยา่ ง
สร้างสรรค์

4. มีมนุษยสัมพันธ์ทีด่ ีกบั ผู้รว่ มงานในองค์กรและ 4. มีภาวะผู้นำ� ทางวิชาการและวิชาชพี มคี วามเขม้ แข็ง
บุคคลท่ัวไป และกลา้ หาญทางจรยิ ธรรมสามารถช้นี �ำและ
ถ่ายทอดความรู้แก่ผเู้ รียน สถานศึกษา ชมุ ชนและ
สงั คมอย่างสรา้ งสรรค์

32

• ด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ

1. ใช้ความรูท้ างคณติ ศาสตร์และสถติ ใิ นการวิเคราะห์ 1. มที ักษะการวิเคราะห์ขอ้ มลู สถติ ิ การสังเคราะห์
และนำ� เสนอ ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ เพื่อเขา้ ใจองค์
ความรู้ หรือประเด็นปัญหาทางการศกึ ษาได้อยา่ ง
2. มที ักษะการใช้ภาษาไทยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวดเรว็ และถกู ตอ้ ง

3. มีทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพื่อการติดต่อ 2. สื่อสารกบั ผู้เรียน พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง บุคคลในชุมชน
สอื่ สารอยา่ งน้อยหน่งึ ภาษา และสังคมและผู้เกยี่ วขอ้ งกลมุ่ ต่างๆ ไดอ้ ย่าง
มีประสิทธิภาพโดยสามารถเลอื กใช้การส่อื สาร
4. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ ทางวาจา การเขียน หรอื การน�ำเสนอด้วยรูปแบบ
เกบ็ รวบรวมข้อมลู ตลอดจนการนำ� เสนอ ต่างๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยกี ารส่อื สารหรอื นวัตกรรม
ตา่ งๆ ทเี่ หมาะสม

3. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสบื ค้นข้อมูลหรือ
ความรูจ้ ากแหล่งการเรยี นรตู้ ่างๆ ไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ สามารถใช้โปรแกรมสำ� เรจ็ รปู ทีจ่ ำ� เปน็
ส�ำหรบั การเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรู้ การทำ� งาน
การประชุม การจดั การและสบื คน้ ขอ้ มลู และ
สารสนเทศ รับและส่งข้อมลู และสารสนเทศโดยใช้
ดลุ ยพินิจทดี่ ใี นการตรวจสอบความนา่ เชื่อถอื ของ
ข้อมลู และสารสนเทศ อีกทง้ั ตระหนกั ถึงการละเมิด
ลขิ สทิ ธ์แิ ละการลอกเลียนผลงาน

33

• ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรยี นรู้ หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป
1. สามารถเลอื กใชป้ รชั ญาตามความเช่ือในการสรา้ ง
- หลักสตู รรายวิชา การออกแบบ เน้ือหาสาระ
- กจิ กรรมการเรียนการสอน สอ่ื และเทคโนโลย ี
การส่ือสาร การวดั และประเมินผเู้ รียน การบรหิ าร
- จดั การชัน้ เรยี น การจัดการเรยี นโดยใช้แหล่งการ
เรยี นรู้ในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น แหลง่ การเรยี นรู้
- แบบเปดิ ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั สภาพบรบิ ททแี่ ตกต่าง
- กนั ของผูเ้ รยี นและพื้นท่ี

34 2. สามารถน�ำความรูท้ างจิตวิทยาไปใชใ้ นการวเิ คราะห์
ผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล ออกแบบกจิ กรรม การจัด
เน้ือหาสาระ การบรหิ ารจดั การ และกลไกการช่วย
เหลอื แก้ไขและส่งเสรมิ พฒั นาผเู้ รียนทต่ี อบสนอง
ความตอ้ งการ ความสนใจ ความถนดั และศกั ยภาพ
ของผ้เู รยี นทมี่ คี วามแตกต่างระหว่างบุคคล
ทัง้ ผู้เรยี นปกตแิ ละผ้เู รียนที่มีความต้องการจ�ำเปน็
พเิ ศษ หรือผ้เู รยี นที่มขี อ้ จำ� กัดทางกาย

3. จดั กจิ กรรมและออกแบบการจดั การเรยี นรู้ให้ผู้เรียน
ได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์ เรียนรู้ผ่านการลงมอื
ปฏบิ ตั แิ ละการท�ำงานในสถานการณ์จรงิ สง่ เสริม
การพัฒนาความคดิ การทำ� งาน การจดั การ
การเผชญิ สถานการณ์ ฝึกการปฏบิ ตั ิใหท้ �ำได้ คิดเป็น
ท�ำเปน็ โดยบูรณาการการท�ำงานกับการเรียนรู้และ
คณุ ธรรมจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรูม้ าใช้
เพือ่ ป้องกัน แก้ไขปญั หา และพฒั นาด้วยความ
ซ่ือสัตยส์ ุจริต มวี นิ ยั และรับผิดชอบต่อผเู้ รียนโดยยึด
ผเู้ รยี นสำ� คัญทสี่ ุด

4. สร้างบรรยากาศ และจดั สภาพแวดล้อม สื่อการเรยี น
แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยีวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญา
ทง้ั ในและนอกสถานศึกษาเพอื่ การเรยี นรู้ มีความ
สามารถในการประสานงานและสร้างความร่วมมือ
กบั บิดามารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ
ฝ่าย เพื่ออำ� นวยความสะดวกและร่วมมือกันพฒั นาผู้
เรยี นใหม้ คี วามรอบรู้ มปี ญั ญาร้คู ิดและเกดิ การใฝ่รู้
อย่างตอ่ เน่อื งให้เตม็ ตามศกั ยภาพ

5. สามารถจัดการเรยี นการสอนให้นกั เรยี นมีทกั ษะ
ศตวรรษท่ี 21 เช่น ทักษะการเรยี นรู้ ทักษะการรู้
เรื่อง ทักษะการคิด ทักษะชวี ติ ทักษะการทำ� งาน
แบบร่วมมอื ทกั ษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ทักษะเทคโนโลยี และการด�ำเนินชวี ิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำ�
ทกั ษะเหล่านม้ี าใชใ้ นการจดั การเรยี นร้เู พือ่ พัฒนาผู้
เรยี น และการพฒั นาตนเอง

แนวทางการประกอบอาชพี
1. อาจารยส์ อนภาษาองั กฤษในสถาบนั การศกึ ษา ทง้ั ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ระดบั

อาชีวศึกษา ทง้ั ภาครฐั และเอกชน รวมไปถึงสถาบันสอนภาษา
2. ผปู้ ระกอบการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ดา้ นการศกึ ษา เชน่ สถาบนั สอนภาษา บรษิ ทั ผลติ

ส่ือการเรียนการสอน
3. ประกอบอาชพี ในสถานประกอบการด้านการศึกษา
4. นักฝกึ อบรมด้านการสอนภาษาอังกฤษ
รายละเอยี ดคา่ เลา่ เรยี น

1. อตั ราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 308,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอตั รา
ทีส่ ถาบันก�ำหนด ตามแผนการเรียนปกติ 8 ภาคการศึกษา โดยชำ� ระคา่ เลา่ เรียนภาคการศึกษาละ 38,500 บาท

2. อตั ราค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา ไม่รวมคา่ ใช้จ่าย ดงั ตอ่ ไปน้ี
- ค่าหนังสือ เอกสารประกอบวิชาเรียน
- คา่ ชดุ ปฏบิ ตั ิการ วัตถดุ บิ และอปุ กรณอ์ ื่นๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง
- ค่ารายวิชาปรับพน้ื ฐาน
- ค่าธรรมเนยี มอื่นๆ และค่าเบด็ เตล็ดนอกเหนอื อตั ราคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทนี่ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิ

35

ขอ้ มลู การเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ปกี ารศึกษาท่ี 1

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกติ รหสั วิชา รายวิชา หน่วยกิต

TH xxxxx กลมุ่ วิชาภาษาไทย 3 EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาองั กฤษ 2
EN xxxxx กลุ่มวชิ าสังคมศาสตร์ 3
HM xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2 SO xxxxx กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3
ED 62140 กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ 3
ED 62141 กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์ 3 HM xxxxx การจัดกระบวนการเรียนรูส้ �ำหรบั 3
ผู้เรียนยคุ ดจิ ทิ ัล
TE 62140 จติ วิญญาณแห่งความเปน็ ครู 3 SC xxxxx การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพระหวา่ งเรียน 2
1
TE 62142 จิตวทิ ยาการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นา 3 ED 62142 การฟังและการพูดภาษาองั กฤษ 2 3
ผเู้ รยี น 19
รวม
การฟงั และการพูดภาษาองั กฤษ 3 ED 62190
1

ไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ 3 TE 62141

รวม 20

ปกี ารศึกษาที่ 2

รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 1 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต

EN xxxxx รายวชิ า 2 EN xxxxx รายวิชา 2
ED 62243 3 SO xxxxx 3
กลุ่มวชิ าภาษาองั กฤษ กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ
TE 62243 นวตั กรรมการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนา 3 ED 62244 กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ 2
TE 62244 ผู้เรียนแห่งอนาคต 3 ED 62245 2
การออกเสยี งภาษาอังกฤษ ภาษาเพือ่ การสอ่ื สารส�ำหรบั ครู
TE 62245 ภาษาอังกฤษตามบรบิ ททางสังคม 3 TE 62247 การพัฒนาเครอื ขา่ ยเพ่ือการ 3
TE 62246 3 TE 62248 จดั การศกึ ษา 3
ED 62291 การอา่ นและการเขยี นภาษาองั กฤษ 2 TE 62249 การอา่ นภาษาองั กฤษเชงิ วเิ คราะห์ 3
การพูดภาษาอังกฤษในทสี่ าธารณะ ภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ
การฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชีพระหวา่ งเรยี น 19 การเขยี นภาษาอังกฤษเพ่ือ 18
2 การส่ือสาร

รวม รวม

36

ปีการศึกษาท่ี 3

รหสั วชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต รหสั วิชา ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกติ

EN xxxxx รายวชิ า 2 ED 62347 รายวิชา 3
HM xxxxx
ED 62346 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ วจิ ยั และการวดั ประเมินผล 3
TE 62350 การเรยี นรู้
TE 62351 กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3 TE 62352 วรรณคดภี าษาองั กฤษ 3
TE 62356 เปรียบเทียบ
การพฒั นาหลกั สูตรเพ่ือการเรยี นรู้ 3 TE 62353 วรรณกรรมเยาวชนภาษาอังกฤษ
รหสั วชิ า ในศตวรรษที่ 21
การเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ 3 TE 62354 การแปลภาษาอังกฤษสำ� หรบั ครู 3
ED 62392 วรรณคดเี บอื้ งตน้ 3 TE 62357 การวัดและการประเมนิ ผล 3
ทางภาษา
วธิ วี ทิ ยาการสอนภาษาอังกฤษ 3 TE 62360 การวิจยั การเรยี นการสอนภาษา 3
อังกฤษในชัน้ เรียน
รวม 17 18
ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน รวม
หนว่ ยกิต
รายวชิ า
2
การฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชีพระหว่างเรยี น 2
3

รวม

ปีการศึกษาท่ี 4

ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต

ED 62493 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 6 TE 62455 การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ 3
ดว้ ยศิลปะการแสดง
XX xxxxx วชิ าเลอื กเสรี 1 3 TE 62461 สมั มนาการเรยี นการสอนภาษา 3
อังกฤษในฐานะภาษาตา่ งประเทศ
XX xxxxx วชิ าเลอื กเสรี 2 3
รวม 9 9
รวม

37

รรู้ อบ..ขอบชิด

PIM : แจ้งวฒั นะ

ทตี่ งั้ และการเดนิ ทาง

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ หรอื พไี อเอม็ ตง้ั อยบู่ นถนน
แจ้งวัฒนะ (ฝง่ั ขาออก มุ่งหน้าไปยังห้าแยกปากเกร็ด) โดยต้ังอยู่เลขท่ี
85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวฒั นะ ตำ� บลบางตลาด อ�ำเภอปากเกรด็ จงั หวัด
นนทบรุ ี 11120

โทรศัพท์ : 0 2855 0000
โทรสาร : 0 2855 0391
อีเมล : [email protected]
เฟสบุ๊ค : www.facebook.com/pimfanpage

• เดินทางมา PIM : แจ้งวฒั นะ

รถตโู้ ดยสารประจ�ำทาง รถสองแถวนนทบุรี
สายมนี บรุ -ี ปากเกร็ด สายท่าน้�ำนนท์ - หน้าเมอื งทองธานี – วดั สาลโี ข
สายอนสุ าวรียช์ ยั สมรภมู ิ – ปากเกร็ด
สายรังสิต – ปากเกร็ด รถประจำ� ทาง
สายจตุจกั ร – ปากเกรด็ สาย 166 (อนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ - เมืองทองธาน)ี
สายบางกะปิ – ปากเกร็ด สาย 356
สาย ม.รามคำ� แหง – ปากเกรด็
• สายปากเกรด็ – สะพานใหม่
38 • สายปากเกรด็ – ดอนเมือง – สะพานใหม่
สาย 51 (ปากเกรด็ – ม.เกษตรศาสตร์)
สาย 52 (ปากเกร็ด – จตุจกั ร)
สาย 150 (ปากเกรด็ – Happy Land)
สาย 391 (ลาดหลุมแก้ว – เมืองทองธาน)ี

รถไฟฟ้าสายสีชมพู สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
** มีแผนใหบ้ รกิ าร พ.ศ.2565 สถานแี คราย
สถานีสามัคคี
สถานสี นามบนิ นำ้�
สถานกี รมชลประทาน
สถานเี ลี่ยงเมืองปากเกรด็
สถานแี จง้ วัฒนะ – ปากเกรด็ 28 (เดนิ มา PIM เพียง 300 เมตร)
สถานเี มอื งทองธานี (เดินมา PIM เพยี ง 500 เมตร)
สถานศี รรี ชั สว่ นขยายรถไฟฟ้าสชี มพู จดุ เชือ่ มต่อเขา้ เมอื งทองธานี

** มแี ผนให้บริการพฤศจกิ ายน พ.ศ.2565
สถานีแจ้งวัฒนะ 14
สถานีศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ
สถานีทีโอที
สถานหี ลักสี่ – เชอื่ มรถไฟฟ้าสายสแี ดง (บางซอื่ – รงั สิต)

**มแี ผนให้บริการพฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
สถานรี าชภัฐพระนคร
สถานวี ดั พระศรมี หาธาตุ – เชอื่ มรถไฟฟา้ สายสเี ขยี ว (หมอชติ – สะพานใหม่ – คคู ต)
สถานีรามอินทรา 3
สถานีลาดปลาเคา้
สถานีรามอินทรา 31
สถานีมัยลาภ
สถานีวัชรพล
สถานีรามอนิ ทรา 40
สถานคี ูบ้ อน
สถานรี ามอินทรา 83
สถานวี งแหวนตะวนั ออก
สถานนี พรัตนราชธานี
สถานีบางชัน
สถานีเศรษฐบตุ รบำ� เพญ็
สถานีตลาดมีนบรุ ี
สถานีมนี บุรี

39

ลัดเลาะ..รอบบ้าน PIM : แจ้งวัฒนะ

เมื่อก้าวเข้าสู่ร้ัว PIM นักศึกษาจะเห็นอาคารมากมาย ซ่ึงเราจะเรียกพ้ืนท่ีน้ีว่า “ธาราพาร์ค” ซ่ึงจะมี
บริษทั องคก์ รต่างๆ ทท่ี �ำงานอยู่ในพนื้ ทธ่ี าราพาร์ค เชน่ บริษัท ซีพี ออลล์ จำ� กัด (มหาชน) บรษิ ทั ปญั ญธารา
จำ� กดั บริษทั ออลล์ เทรนนิ่ง จ�ำกัด โรงเรยี นสาธติ สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ และสถาบนั การจดั การปญั ญา
ภิวัฒนเ์ รามาท�ำความร้จู ักพ้ืนที่ธาราพารค์ และอาคารตา่ งๆ กัน

1 อาคาร The TARA อาคารส�ำนกั งานของ บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกดั (มหาชน)
2 อาคารธารา 1 อาคารสำ� นักงานของ บรษิ ัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ
หนว่ ยงาน Call Center
3 ศนู ยฝ์ กึ อบรม ปญั ญธารา
แอลาคะาบรรสิษ�ำทั นักองอาลนลแ์ ลเทะรศนนู นยิง่ฝ์ ึกจอำ� กบัดรมนขออกงจบารกษิ นทั ี้ยงัปมญั ีรญ้านธา7ร-าELจE�ำVกEดั n
4 อาคาร The Park (อาคารจอดรถ)
ร้าน 24Shopping และ Co-Working Space ในพ้นื ที่ดังกลา่ ว
5 โรงเรยี นสาธิตสถาบนั การจัดการ อาคารจอดรถ 1,000 คนั (มีคา่ บริการ) ภายในอาคารยงั มีศนู ย์
ปัญญาภิวัฒน์ (สาธิตพีไอเอ็ม) อาหารและศนู ย์ออกก�ำลงั กายบรกิ าร

6 อาคาร Food Technology โรงเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย

7 Chef’s Kitchen และร้าน 7-ELEVEn อาคารสำ� นักงานของ บรษิ ทั ซีพี ออลล์ จ�ำกดั (มหาชน)
และ Food Academy สถาบนั สอนท�ำอาหารครบวงจร
8 สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
ร้านอาหารและรา้ น 7-ELEVEn
9 ลานธาราสแควร์
อาคารสำ� หรับการเรียน การฝกึ ปฏบิ ัติ การท�ำกจิ กรรม การตดิ ตอ่
คณะวชิ าและหนว่ ยงานตา่ งๆ ใน PIM
ลานอเนกประสงค์ และสามารถใช้สำ� หรับการจอดรถยนตแ์ ละรถ
จักรยานยนต์ (มคี ่าบรกิ าร)

40

อาคารเรยี น หอ้ งเรยี น และห้องปฏบิ ัติการ ใน PIM : แจง้ วัฒนะ

อาคาร 1 (อาคารอ�ำนวยการ) อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy)

ชน้ั 1 : ห้องรบั ฟังและใหค้ �ำปรกึ ษาโดยนกั จติ วิทยา ชั้น 7 : ห้องเรียน สำ� นกั กจิ การนักศึกษา
(Friends Care PIM) และสำ� นกั พัฒนานักศึกษา
ชั้น 1-3 : หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตา่ งๆ ชัน้ 8 : หSm้องaเรrtียนClแaลsะsrหoอ้ oงmปฏ, ิบร้าัตนกิ า7ร–หEมLาEกVลE้อnม
ชั้น 3 : ห้องละหมาด และห้องปฏิบัตกิ ารต่างๆ
(PIM Store Model)
อาคาร 2 (อาคารหอประชุม/Convention Hall) ชั้น 9 : ห้องพกั อาจารย์คณะอุตสาหกรรมเกษตร
คณะนเิ ทศศาสตร์ คณะการจัดการการศึกษา
ชน้ั 1 : โถงกจิ กรรม รา้ นคา้ จ�ำหน่ายอาหารและสินคา้ ทว่ั ไป เชิงสรา้ งสรรค์ คณะนวตั กรรม
PIM Smart Shop และ PIM Souvenir Shop การจัดการเกษตร และคณะการจดั การธรุ กิจอาหาร
ชน้ั 10 : หอ้ งพกั อาจารยค์ ณะบริหารธรุ กจิ คณะวทิ ยาการ
ชน้ั 2 : หอ้ งเรยี น จัดการ คณะการจดั การโลจิสตกิ สแ์ ละ
ชน้ั 3 : ห้องละหมาด และหอ้ งประชุม/สมั มนา การคมนาคมขนสง่ วิทยาลยั นานาชาติ
และวิทยาลยั บณั ฑิตศกึ ษาจนี
อาคาร 3 (อาคารอเนกประสงค)์ ชั้น 11 : หอ้ งพกั อาจารย์คณะศิลปศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั 1 : หอ้ งปฏิบตั กิ ารต่างๆ และสำ� นกั การศกึ ษาทั่วไป
ช้ัน 2 : ห้องพยาบาล และส�ำนักงานตา่ งๆ ชั้น 12 : หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ส�ำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชั้น 3 : ห้องเรยี น และหอ้ งปฏิบัติการ และหอ้ งพักอาจารย์คณะวทิ ยาการจดั การ
สาขาวิชาการจดั การการบรกิ ารและการท่องเท่ยี ว
อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy) ชั้น 12A : หอ้ งสมดุ
ช้ัน 14 : ส�ำนกั สง่ เสรมิ วชิ าการ สำ� นกั บญั ชแี ละการเงิน
ชน้ั G : ร้านถ่ายเอกสาร และพ้นื ท่อี า่ นหนังสือ
ชั้น L : ศนู ย์รับสมัครนักศกึ ษา ร้าน 7-ELEVEn ชั้น 16 : หอ้ งประชมุ Auditorium

และรา้ นกาแฟ Bellinee’s Bake & Brew
ชั้น M : ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารธุรกิจการบิน (PIM AIR)
ชน้ั 3 : ศนู ย์อาหาร Food World
ชั้น 4 : หอ้ งเรยี น และหอ้ งปฏบิ ัติการภาคพ้นื
ชนั้ 5–8 : ห้องเรียน

41

• หอ้ งเรยี น และห้องปฎบิ ตั ิการต่างๆ

หอ้ งเรยี นอจั ฉริยะ Smart Classroom

ห้อง 4-0806
หอ้ งเรยี นในยุคใหม่ ที่สง่ เสรมิ กจิ กรรมการเรยี นการสอนด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้เป็นมากกวา่ หอ้ งเรียนทั่วไป

ห้องหมากล้อม GO Classroom

หอ้ ง 4-0808
พัฒนาเชาว์ปญั ญา ฝกึ ทกั ษะการบริหารและวางกลยทุ ธ์ผา่ น
การเล่นหมากล้อม (โกะ)

หอ้ งปฏิบัตกิ ารด้านภาษาและคอมพวิ เตอร์

Computer & Sound Lab
ห้อง 1-0301, 1-0303, 3-0309, 3-0310,

4-1204, 4-1205, 4-1209 และ 4-1210
เรยี นรูก้ ารใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะทางคอมพิวเตอร์และ
ภาษาตา่ งประเทศ

ร้าน 7- ELEVEn (PIM Store Model)

7ห-้อEงLE4V-0E8n07จ�ำลอง หอ้ งเรยี นรูก้ ารจัดการธุรกิจ

การคา้ สมยั ใหม่

PIM AIR ศูนยฝ์ ึกปฏบิ ตั กิ ารธุรกจิ การบิน

Sky Terminal หอ้ ง 4-M001
AIRCRAFT ห้อง 4-M002
ศนู ยฝ์ กึ การบริการภาคพ้นื และ
บนเคร่ืองบิน

42

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาคพนื้

ห้อง 4-0408
เรียนรูก้ ารจดั การจราจรทางอากาศ การจัดการสนามบนิ
การจดั การอำ� นวยการบนิ และการขนส่งสินคา้ (Cargo)

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดา้ นสอื่ และมลั ตมิ เี ดยี

Convergent Media Studio
ห้อง 4-1206
เรียนรกู้ ารปฏิบตั ิการขา่ ว ผลติ ขา่ วตอบโจทย์ทกุ Platform
ครบเคร่ืองผนู้ ำ� Convergent Media

Mac Lab

หอ้ ง 4-1207
เรียนรปู้ ฏบิ ตั กิ ารสอ่ื กราฟกิ และมัลตมิ เี ดีย เติมทักษะ ตอบโจทย์
Multi Skill

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลยทุ ธก์ ารจดั การโลจสิ ตกิ ส์

Logistic Strategic Management Lab
ห้อง 1-0201
เรียนรกู้ ารใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นการจดั การคลังสินคา้
การจดั การขนสง่ และจำ� ลองสถานการณ์ต่างๆ ผา่ นระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)

43

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์
Physical and Innovative Agricultural Lab

หอ้ ง 3-0101
ปฏิบัติการทดลองทางดา้ นชวี วทิ ยา จุลชีววิทยา และสุขภาพพชื

Chemical Lab

หอ้ ง 3-0111
ปฏิบัตกิ ารทดลองเกย่ี วกับกลไกของปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ีบูรณาการศาสตร์
ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ อาทิ ศาสตร์ทางด้านการเกษตร
และวศิ วกรรม

ห้องปฏบิ ตั ิการทางวิศวกรรมศาสตร์

Microprocessor and Embedded System Lab

ห้อง 1-0302
ปฏิบัติการทดลองผ่านโปรแกรมและวงจรต่างๆ เพ่ือปูพ้ืนฐาน
กระบวนการคิดที่เป็นระบบและมีเหตุผล เพ่ือสร้างสมองกลหรือ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก

Advanced Research Lab

หอ้ ง 1-0308
Research Factory: Experimenting, Sharing and Learning

Mechanical Engineering Lab

ห้อง 3-0105 และ 3-0106
เรยี นรู้การค�ำนวณดา้ นเครอ่ื งกล เพือ่ น�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

Industrial Engineering Lab

ห้อง 3-0107
เรียนร้กู ารเคล่อื นไหวของรา่ งกายในขณะทำ� งาน การหาเวลา
มาตรฐานในการทำ� งาน และศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของวสั ดวุ ศิ วกรรม

Industrial Automation System Lab

ห้อง 3-0108
ฝีกปฏบิ ตั ิการเขียนโปรแกรมควบคมุ เครอ่ื งจกั รแบบอัตโนมัตใิ น
โรงงานอตุ สาหกรรม ด้วยชุดระบบควบคุมอตั โนมัติ Programable
Logic Control

44

Automotive Information Lab

หอ้ ง 3-0102
ปฏิบัติการเครื่อง 3D scanner และ 3D printer
และการใชโ้ ปรแกรม SolidWork และ CATIA ในการออกแบบ

Automotive Electronics Lab

ห้อง 3-0103
เรยี นรอู้ งค์ประกอบและกลไกของเครื่องยนตป์ ระเภทต่างๆ

Electronics and Digital Lab

ห้อง 1-0304
เรียนรู้การปฏบิ ัติการวงจรไฟฟ้า ไฟฟ้าสามเฟสและมอเตอร์ รวม
ถึงวงจรดิจิทลั พน้ื ฐาน

Network Lab

ห้อง 1-0307
เรียนร้กู ารจดั เก็บข้อมลู บน Storage ของ Cloud
และระบบเครือข่ายตา่ งๆ

Physics Lab

ห้อง 1-0305
ปฏิบัตกิ ารทดลองเก่ยี วกับพน้ื ฐานทางฟสิ กิ สก์ ลศาสตรแ์ ละ
ฟสิ ิกส์ไฟฟา้

Innovation Center for Robotics
and Automation Systems (iCRAS)

ห้อง 1-0101
เรียนร้กู ารใชง้ านหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัติ
รวมถงึ การใชเ้ คร่อื งมือในการสร้างชิ้นสว่ นตา่ งๆ ของห่นุ ยนต์

45

หอ้ งปฏิบตั กิ ารด้านอาหาร เบเกอรแ่ี ละเครือ่ งดื่ม

นำ� ความร้ภู าคทฤษฎดี า้ นการจัดการธุรกจิ อาหารมาฝกึ ปฏิบัติ
(Work-base Education : WBE) เพ่ือสรา้ งทักษะ (Skill)
ใหพ้ รอ้ มส�ำหรบั การทำ� งานจรงิ

Cooking Lab

ห้อง 3-0112

Coffee and Beverage Lab

ห้อง 3-0113

Bakery Lab

ห้อง 3-0114

Sensory Evaluation and Consumer Research Center

หอ้ ง 2-0238

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการโรงแรม (Hospitality Lab)

Deluxe Room Mock-up

ห้อง 1-0204
เรยี นรู้เทคนิคปฏิบัตกิ ารด้าน Housekeeping
สำ� หรบั โรงแรมระดบั 5 ดาว

Culinary and Restaurant Mock-up

ห้อง 1-0204
เรยี นร้ปู ฏิบตั ิการด้านการครัว

Mixology Mock-up

หอ้ ง 1-0206
เรียนรกู้ ารปฏบิ ตั กิ ารและการตกแต่งเครอื่ งดื่มประเภทต่างๆ
เช่น Cocktail, Mocktail

46

ปฏทิ นิ การศกึ ษาและรปู แบบการเรยี น

สถาบนั มกี ารจดั การเรยี นการสอนผา่ นการเรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ (Work-based Education) ทมี่ งุ่ เนน้
การปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหน้ กั ศกึ ษาไดร้ บั ความรแู้ ละทกั ษะ (Knowledge & Skill) จากในหอ้ งเรยี นและสถานประกอบการ ดงั นนั้
ในหนง่ึ ภาคการศกึ ษาจะแบง่ การจดั การเรยี นการสอนออกเปน็ 2 ชว่ ง ชว่ งละ 3 เดอื น โดยมรี ายละเอยี ดของการเรยี นใน
ชนั้ เรยี น และการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการตา่ งๆ แตกตา่ งกนั ตามแผนการเรยี นของแตล่ ะหลกั สตู ร ทงั้ นส้ี ามารถ
ศกึ ษาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ค่ี มู่ อื นกั ศกึ ษาและสอบถามเพมิ่ เตมิ จากคณะวชิ า

กจิ กรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
0.1 0.2 1.1 1.2 2.1 2.2

ปฐมนิเทศ/ประชุมผู้ปกครอง/ ตามประกาศ ตามประกาศ - --
พบอาจารยท์ ป่ี รึกษา/ สถาบนั ฯ สถาบันฯ ***
ลงทะเบียนอตั โนมัติ

วนั สดุ ทา้ ย ของการช�ำระเงิน 16 ส.ค. 64 14 ก.พ. 65
คา่ เลา่ เรยี นคา้ งชำ� ระเทอมปจั จบุ นั 9 – 17 ส.ค. 64 7 - 15 ก.พ. 65
พบอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา/
ลงทะเบยี นเรยี น Online*

ช�ำระเงนิ ค่าเล่าเรียน* 9 ส.ค. – 10 ก.ย. 64 7 ก.พ. – 10 ม.ี ค. 65

ระยะเวลาฝึกปฏิบัติงาน 16 ม.ี ค. – 1 มิ.ย. – 31 ส.ค. 64 1 ก.ย. – 30 พ.ย. 64 1 ธ.ค. 64 – 28 ก.พ. 65 1 มี.ค. – 31 พ.ค. 65 1 มิ.ย. – 31 ส.ค. 65
31 พ.ค.64

ระยะเวลาเรียน 16 ม.ี ค. – 7 ม.ิ ย. – 15 ส.ค. 64 6 ก.ย. – 14 พ.ย. 64 6 ธ.ค. 64 – 13 ก.พ. 65 7 ม.ี ค. – 15 พ.ค. 65 6 มิ.ย. – 14 ส.ค. 65
9 พ.ค.64

ระยะเวลาลาพัก/ 1 ก.ย. – 1 ต.ค. 64 1 มี.ค. – 1 เม.ย. 65
รักษาสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา

ลงทะเบยี นลา่ ช้า Online 30 ส.ค. – 6 ก.ย. 64 28 ก.พ. – 7 มี.ค. 65
นศ.ทุกชนั้ ปี และชำ� ระเงิน*

เพ่ิม/ถอนรายวิชา (ไมต่ ิด W) 16-28 ม.ี ค. 8 – 20 ม.ิ ย. 64 7 – 19 ก.ย. 64 7 – 19 ธ.ค. 64 8 – 20 มี.ค.65 7 – 19 ม.ิ ย. 65
และชำ� ระเงนิ กรณเี พิม่ รายวิชา* 64

ถอนรายวิชา (ติด W) 29 ม.ี ค.-23 21 มิ.ย. – 6 ส.ค. 20 ก.ย. – 29 ต.ค. 64 20 ธ.ค. 64 – 4 ก.พ. 65 21 มี.ค. – 6 พ.ค. 65 20 มิ.ย. – 5 ส.ค. 65
เม.ย.64 64

สอบปลายภาค 10–16 พ.ค. 18 – 25 ส.ค. 64 17 – 24 พ.ย. 64 16 – 23 ก.พ. 65 18 – 25 พ.ค. 65 17 – 24 ส.ค. 65
“แจง้ วัฒนะ หนว่ ยการเรียน 64
ทางไกล และวทิ ยาเขตออี ซี ”ี

ประกาศผลการเรียน/ 17 มิ.ย.64 9 ก.ย. 64 9 ธ.ค. 64 10 ม.ี ค. 65 9 ม.ิ ย. 65 8 ก.ย. 65
ผลการฝกึ ปฏิบัติงาน Online

วันสุดท้าย การแก้ไขเกรด “I” 19 ก.ค.64 11 ต.ค. 64 10 ม.ค. 65 11 เม.ย. 65 11 ก.ค. 65 10 ตุ.ค. 65

วนั เปดิ ภาคการศึกษา 16 มี.ค.65 1 ม.ิ ย.65 1 ก.ย. 65 1 ธ.ค. 65 1 มี.ค. 66 1 ม.ิ ย. 66
ปกี ารศึกษา 2565

หมายเหตุ :
* หากพ้นกำ� หนด มีคา่ ปรับตามประกาศสถาบนั ฯ
** นักศึกษาปี 1 (รุ่น 640) คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ และหลักสูตรการจัดการ
ธรุ กิจการคา้ สมยั ใหม่ (ระบบการศกึ ษาทางไกล) กลมุ่ ทวภิ าคี
*** นกั ศึกษาปี 1 (รนุ่ 641) คณะการจัดการการศึกษาเชงิ สรา้ งสรรค์ ระยะเวลาเรียน/ฝกึ ปฏิบัตงิ าน เป็นไปตาม
แผนการเรียนของแต่ละหลกั สูตร
ข้อมูลปฏิทินการศกึ ษา: https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-undergraduate-th

47

เทคโนโลยแี ละระบบสนบั สนนุ นกั ศกึ ษา

ข้อแนะน�ำการใช้งานเทคโนโลยีและระบบบริการ • Single Sign-On
สารสนเทศส�ำหรับนักศึกษาของสถาบัน เพ่ือให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ นกั ศกึ ษาควรมอี ปุ กรณ์ Smart Devices
ทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ เี่ หมาะสมทเ่ี พยี งพอกบั การใชง้ านในปจั จบุ นั นักศึกษาสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ที่จุดบริการ
ภายในสถาบันและระบบบริการสารสนเทศส�ำหรับ
นกั ศึกษา เช่น เว็บไซต์บริการการศึกษา ระบบการเรียน
การสอนออนไลน์ PIM Application และระบบอน่ื ๆ โดย
ใช้ชือ่ ผู้ใชง้ าน (Username) และรหสั ผ่าน (Password)
เดยี วกนั ในทุกระบบ (Single Sign-On)

48

• PIM Application

PIM Application เปน็ แอปพลเิ คชนั ทน่ี กั ศกึ ษาควรตดิ ตงั้ ในอปุ กรณ์ Smart Devices ของตนเอง เพอ่ื เปน็ ประโยชน์
และอำ� นวยความสะดวกในด้านตา่ งๆ ของนักศึกษา

ตัวอยา่ งฟังก์ชนั่ ของ PIM Application
เพือ่ อำ� นวยความสะดวกแก่นักศึกษา

1. แสดงตัวตนการเปน็ นกั ศึกษา 5. ตรวจสอบชอ่ื อาจารย์ทีป่ รกึ ษา

>> ผา่ นเมนูบัตรนกั ศกึ ษาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ >> ผา่ นเมนู Advisor

2. ยืนยันการเข้าเรยี นผ่านเมนใู นแต่ละรายวิชา 6. รับการแจ้งเตอื นต่างๆ จากสถาบัน

>> ผ่านเมนู Check Room Tracking >> ผา่ นเมนู Notifications

3. ดตู ารางเรยี น หอ้ งเรยี น หอ้ งสอบ ผลการเรยี น 7. เขา้ ลงิ ค์ URL ทสี่ ำ� คญั เชน่ e-Learning, REG
(ระบบบรกิ ารการศกึ ษา), แบบคำ� ร้องออนไลน์,
>> ผ่านเมนู Academic บรกิ ารยืม-คืนหนังสือห้องสมดุ เป็นต้น

4. ตรวจสอบปฏทิ นิ การศกึ ษาและกจิ กรรมตา่ งๆ

>> ผ่านปฏทิ นิ กจิ กรรม

49

หมายเหตุ :

กรณีนกั ศึกษาเปลี่ยน Smart Devices ทใ่ี ช้งาน และต้องการลง PIM Application ใน Smart
Devices ใหม่ ให้ติดต่อส�ำนกั เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 12 อาคาร CP ALL Academy หรือ
ตดิ ต่อผ่านทาง Facebook: สำ� นักเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการจัดการปญั ญาภิวัฒน์

50


Click to View FlipBook Version