The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาเขตอีอีซี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2022-04-18 07:42:31

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาเขตอีอีซี

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาเขตอีอีซี

สารบัญั

ระดับั ปริญิ ญาตรีี “การจัดั การธุุรกิิจอาหาร”

หน้้า หน้้า
ส่ว่ นที่�่ 1: สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)” ส่่วนที่่� 4 : รู้้�รอบ “PIM EEC” 4-1
1-1 ที่่�ตั้�งและการเดินิ ทาง 4-2
พีี ไอ เอ็ม็ (PIM) 1-2 ช่อ่ งทางสื่่อ� สารใน PIM-EEC 4-4
ตราสััญลักั ษณ์์ 1-3 อาคาร ห้้องเรีียน ห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ าร หอพักั นัักศึึกษา 4-5
สีปี ระจำสถาบันั 1-3 เที่่�ยวรอบบ้้าน.. PIM-EEC 4-10
ดอกไม้้ประจำสถาบันั 1-3 ปฏิิทิินการศึกึ ษาและรููปแบบการเรีียน 4-12
ปรััชญา 1-4 เทคโนโลยีแี ละระบบสนับั สนุุนนัักศึกึ ษา 4-14
วิสิ ััยทััศน์์ 1-4 - Single Sign-On 4-14
พันั ธกิจิ 1-4 - PIM Application 4-15
เอกลักั ษณ์ส์ ถาบััน 1-4 - PIM CONNECT (PIM Line Official) 4-17
อัตั ลัักษณ์น์ ัักศึึกษา 1-5 - Wi-Fi PIMHotspot 4-18
คณะวิชิ า สำนักั วิทิ ยาลััยในสถาบันั 1-6 - e-mail 4-19
เพลงสถาบััน 1-8 - Office 365 4-20

ส่่วนที่่� 2 : รู้้�จักั สำำ�นักั การศึกึ ษาทั่่�วไป 2-1 บััตรนัักศึกึ ษา 4-21
2-2 การแต่ง่ กาย 4-22
ปรัชั ญา 2-2 เมื่�่อมาเรียี นที่่� PIM 4-23
วิสิ ััยทัศั น์์ 2-2 - ดูตู ารางเรียี น 4-23
พัันธกิจิ 2-2 - ตารางหน้า้ ห้้องเรียี น 4-24
สัญั ลัักษณ์แ์ ละสีปี ระจำสำนักั 2-3 - การยืืนยันั การเข้า้ เรีียน 4-25
บทบาทหน้า้ ที่่� 2-4 - PIM e-Learning 4-26
โครงการ PIM 3L: Lifelong Learner Building your 2-6 - PIM MOOC 4-27
Future Skills 2-8 - เตรีียมตัวั อย่่างไรเมื่�อ่ ไปฝึกึ ปฏิบิ ััติิ 4-28
ศููนย์พ์ ัฒั นาทักั ษะและภาษา แหล่่งเรีียนรู้�นอกห้้องเรีียน 4-29
ศูนู ย์์รับั รองคุณุ วุฒุ ิิวิิชาชีพี อุุตสาหกรรมดิจิ ิทิ ััล

ส่ว่ นที่่� 3 : คณะเรา - ห้้องสมุุด PIM และแหล่่งเรีียนรู้�ออนไลน์์ 4-29
“การจััดการธุรุ กิิจอาหาร” 3-1 - วารสารวิิชาการ 4-33
3-2 ใกล้ส้ อบแล้้ว..ต้้องทำอย่่างไร 4-34
ปรัชั ญา ปณิิธาน วิสิ ััยทัศั น์์ และพันั ธกิิจคณะ 3-3 เกรดออกแล้ว้ 4-36
สััญลัักษณ์์ และสีปี ระจำคณะ 3-3 มีปี ัญั หา..ปรึึกษาใคร 4-37
หลักั สููตร / สาขาวิชิ าที่่�เปิดิ สอน 3-4 - อาจารย์ท์ ี่่ป� รึกึ ษา 4-37
การเข้า้ ถึงึ ข้อ้ มูลู คณะ 3-5 - CCDS 4-38
3-11 - Smile Center 4-39
- หลักั สูตู รบริหิ ารธุุรกิจิ บััณฑิติ - Friends Care PIM 4-39
สาขาวิิชาการจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร เข้า้ ภาคเรีียนใหม่ต่ ้้องทำอย่่างไร 4-40
- หลัักสููตรบริิหารธุุรกิิจบัณั ฑิิต - ลงทะเบียี นเรียี น 4-40
สาขาวิชิ าการจััดการธุุรกิิจอาหาร (ต่่อเนื่่�อง)

- ชำระค่า่ เล่่าเรีียนและค่่าธรรมเนียี มต่า่ งๆ 4-41
เรียี นดีี ประพฤติิดีี มีที ุนุ 4-42
วิินัยั นัักศึกึ ษา 4-43
ชมรมและกิจิ กรรมต่า่ งๆ 4-44
สวัสั ดิิการนัักศึกึ ษา 4-45
การลาพัักการศึกึ ษา และการรัักษาสถานภาพนัักศึึกษา 4-46
ทำอย่า่ งไรให้้ได้้เกีียรตินิ ิิยม 4-48
ทำอย่า่ งไร..ไม่่ Retire 4-49
ระบบต่่างๆ ที่่�เกี่ย� วข้อ้ งกับั นัักศึึกษา 4-50
ช่่องทางสื่่อ� สาร .. บริิการนักั ศึึกษา 4-52

ส่ว่ นที่�่ 1

สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)”

1-1

สถาบัันเรา สถาบันั การจัดั การปััญญาภิวิ ัฒั น์์ หรืือ พีีไอเอ็็ม (PIM) เป็็น
สถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�ได้้รัับการสนัับสนุุนในการจััดตั้ �งจากบริิษััทซีีพีี
“พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” ออลล์์ จำกัดั (มหาชน) ในเครืือเจริญิ โภคภัณั ฑ์์ โดยได้ร้ ับั การรับั รอง
จากกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม เพื่่�อ
ให้้ปริิญญาในระดัับปริิญญาตรีี ปริิญญาโท และปริิญญาเอก ซึ่�ง
จััดการเรีียนการสอนทั้้�งภาคภาษาไทย ภาษาจีีนและภาษาอัังกฤษ

ในฐานะที่่ส� ถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์เ์ ป็น็ มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่
องค์ก์ รธุุรกิจิ (Corporate University) ที่่�มีีการเรีียนการสอนแบบ
Work-based Education จึงึ แตกต่า่ งด้ว้ ยความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการ
มุ่ง่� เน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาเรียี นรู้้�จากการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ กับั กลุ่ม่� ธุรุ กิจิ
ซีพี ีี ออลล์์ เครือื ซีพี ีี และพันั ธมิิตรทางธุรุ กิิจ เพื่่�อให้น้ ัักศึึกษาได้้
รัับประสบการณ์์ในการทำงานจนเกิิดความเชี่่�ยวชาญ ดัังนั้้�น
บััณฑิิตพีีไอเอ็็มจึึงเป็็นบุุคลากรคุุณภาพผู้้�มีีความรู้้�ทางวิิชาการและ
มีคี วามพร้้อมในการปฏิิบััติิงานอย่า่ งมืืออาชีีพ

ปัจั จุบุ ันั PIM (พีไี อเอ็ม็ ) มีกี ารจัดั การศึกึ ษาในสถานที่่ต� ่า่ ง ๆ คืือ

1. สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ แจ้ง้ วัฒั นะ จ.นนทบุุรีี (PIM)
ตั้�งอยู่่�บนถนนแจ้้งวััฒนะ (ฝั่�งขาออกมุ่�งหน้้าห้้าแยปากเกร็็ด)
โดยตั้�งอยู่�เลขที่่� 85/1 หมู่� 2 ถนนแจ้้งวััฒนะ ต.บางตลาด
อ.ปากเกร็็ด จ.นนทบุรุ ีี 11120

2. สถาบัันการจััดการปััญญาภิิวััฒน์์ วิิทยาเขตอีีอีีซีี จ.ชลบุุรีี
(PIM-EEC)
ตั้�งอยู่�เลขที่่� 1 หมู่� 7 ต.นาจอมเทียี น อ.สัตั หีีบ จ.ชลบุุรีี 20250

นอกจากนี้้ส� ถาบัันยังั มีีสถานที่่�เพื่่�อใช้ใ้ นการเรียี นรู้� 12 แห่ง่ ดัังนี้้�

ภาคเหนืือ เชีียงใหม่่ ลำปาง

ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือ ขอนแก่น่ นครราชสีีมา อุุดรธานีี

ภาคกลาง พระนครศรีอี ยุธุ ยา นครสวรรค์์
สมุุทรปราการ เพชรบุรุ ีี

ภาคตะวันั ออก ชลบุุรีี

ภาคใต้้ สงขลา สุรุ าษฎร์ธ์ านีี

1-2

ตราสัญั ลักั ษณ์์ ช่่อมะกอก โล่่ ริิบบิ้้�น
สีีประจำ�ำ สถาบััน หมายถึงึ ความมีชี ัยั ชนะเหนืือสิ่ง� อื่�่นใด
ดอกไม้้ประจำำ�สถาบััน มงกุฎุ
หมายถึึง การศึกึ ษาแสดงถึึงความสำเร็็จอย่่างสููงสุดุ และยิ่�งใหญ่่
สีีเขียี ว/เหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็็นเลิศิ ทางวิิชาการ และความถึึงพร้อ้ มด้ว้ ย
คุุณธรรม เป็็นหนทางแห่ง่ ความเจริญิ รุ่�งเรืืองในชีวี ิติ
ชื่่�อสถาบันั
มีชี ื่อ่� สถาบัันภาษาอัังกฤษ และตัวั ย่อ่ อยู่�ในโล่่
ส่ว่ นชื่อ�่ สถาบันั ภาษาไทยอยู่�ในริิบบิ้้น�

สีีเขียี ว
หมายถึึง ความเจริิญรุ่�งเรืือง ความงอกงาม ความสมบููรณ์์
สีีเหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการและถึึงพร้อ้ มด้ว้ ยคุุณธรรม
สีีประจำ�ำ สถาบันั
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการและความถึงึ พร้้อมด้ว้ ย
คุณุ ธรรมเป็็นหนทางแห่่งความเจริญิ รุ่�งเรืืองในชีีวิติ

ดอกบััวมังั คลอุุบล (มััง-คะ-ละ-อุุบล)
ซึ่ง� เปรีียบเสมืือนตัวั แทนของ
1. ความเพียี รพยายาม
2. ความอดทน
3. ความสำเร็็จอัันงดงาม

1-3

ปรัชั ญา

"การศึกึ ษาคือื บ่อ่ เกิิดแห่ง่ ภููมิิปัญั ญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิสิ ััยทัศั น์์

“สร้า้ งมือื อาชีีพด้้วยการเรีียนรู้�้จากประสบการณ์์จริงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันั ธกิจิ

“มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่ องค์ก์ รธุรุ กิจิ (Corporate University)”

1. สร้้างคนที่่�มีีคุุณภาพและตรงกับั ความต้อ้ งการของภาคธุรุ กิิจ สัังคมและประชาคมโลก โดย
เน้้นการเรียี นรู้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ (Work-based Education)

2. ผสมผสานองค์์ความรู้�เชิิงวิิชาการและองค์์กรธุุรกิิจเพื่่�อการจััดการเรีียนการสอน การวิิจััย
การบริิการวิชิ าการ และทำนุุบำรุงุ ศิลิ ปะวััฒนธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)

3. สร้า้ งเครืือข่า่ ยความร่ว่ มมืือ เพื่อ�่ พัฒั นาองค์ค์ วามรู้�และส่ง่ เสริมิ นวัตั กรรม (Collaborative
Networking)

4. พััฒนาองค์์กรที่่�พร้้อมรัับความเปลี่�ยนแปลง และมีีระบบการบริิหารจััดการที่่�ดีี
(Transformative Organization & Good Governance)

เอกลักั ษณ์ส์ ถาบันั

การเป็น็ Corporate University บนพื้้น� ฐานของการจัดั การศึกึ ษาแบบ Work-based
Education ประกอบด้้วย

1. การสอนโดยมือื อาชีพี (Work-based Teaching) เป็น็ การเรียี นภาคทฤษฎีคี วบคู่่�กับั การ
เรียี นรู้�จากกรณีศี ึกึ ษา จากผู้ป�้ ฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ ในองค์ก์ ร เพื่อ�่ เตรียี มความพร้อ้ มที่่จ� ะฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ

2. การเรียี นรู้�้ จากการปฏิบิ ัตั ิิ (Work-based Learning) เป็น็ การเรียี นรู้�โดยการลงมืือปฏิบิ ัตั ิิ
งานจริงิ ที่่ม� ีกี ารจัดั วางโปรแกรมครูฝู ึกึ และมีรี ะบบการติดิ ตามประเมินิ อย่า่ งเป็น็ ระบบตาม
วิิชาชีีพของหลัักสููตร เพื่�่อทำให้้มีกี ารบููรณาการระหว่า่ งทฤษฎีีกับั ภาคปฏิบิ ััติอิ ย่่างแท้จ้ ริิง

3. การวิจิ ัยั สู่น� วัตั กรรม (Work-based Researching) เป็น็ การศึกึ ษาวิจิ ัยั ของคณาจารย์์
จากปัญั หาวิจิ ัยั จริงิ ในองค์ก์ รที่่น� ำผลการวิจิ ัยั ไปใช้ป้ ฏิบิ ัตั ิไิ ด้โ้ ดยตรง และนำองค์ค์ วามรู้�ใหม่ๆ่
กลัับมาสู่�การเรีียนการสอนในห้อ้ งเรียี น

4. มหาวิทิ ยาลัยั แห่่งการสร้า้ งเครือื ข่่าย (Networking University) เป็น็ การสร้า้ งเครืือข่า่ ย
ความร่ว่ มมืือกับั สถาบันั การศึึกษา ภาครัฐั และเอกชน ทั้้�งในและต่า่ งประเทศเพื่่�อสร้า้ งการ
มีีส่่วนร่ว่ มในกระบวนการสอน การเรีียนรู้�จากการปฏิิบััติงิ าน และการวิิจัยั สู่�นวััตกรรม

1-4

อัตั ลักั ษณ์น์ ักั ศึึกษา PIM

“READY to WORK”

เรีียนเป็น็

1. มีีความใฝ่่รู้� ใฝ่่เรีียน สามารถแสวงหาความรู้�ได้ด้ ้้วยตัวั เอง
2. มีคี วามรอบรู้้�และบููรณาการในศาสตร์ส์ าขาวิิชาที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง
3. สามารถนำเครื่อ�่ งมืือ หรืือ เทคโนโลยีมี าใช้ง้ านได้อ้ ย่่างเหมาะสมกับั ผลลัพั ธ์์ที่่�ต้อ้ งการ

(ตามศาสตร์ข์ องตัวั เอง)
4. สามารถเข้้าถึึงแหล่ง่ ข้้อมูลู ข่า่ วสารและเลืือกใช้ข้ ้้อมููลความรู้้�ต่า่ งๆ ได้อ้ ย่่างเหมาะสม

คิดิ เป็น็

1. มีคี วามสามารถในการคิดิ วิเิ คราะห์์ (Analytical Thinking) การคิดิ วิพิ ากษ์์ (Critical Thinking)
การคิดิ เชิิงสังั เคราะห์์ (Synthesis Thinking) การคิดิ เชิิงนวัตั กรรม (Innovative Thinking)

2. กล้า้ คิดิ และสามารถผลักั ดันั ความคิดิ และแรงบันั ดาลใจของตนให้ก้ ่อ่ เกิดิ เป็น็ ผลงานตามศาสตร์์
หรืือผลงานเชิิงนวัตั กรรมต่่างๆ ได้้

3. มีแี นวคิิดการบริิหารจััดการอย่า่ งผู้ป้� ระกอบการ

ทำำ�งานเป็น็

1. มีกี ารทำงานข้้ามสายงานและสามารถจูงู ใจผู้้�อื่น� เพื่่อ� ให้้บรรลุเุ ป้้าหมาย
2. มีีทัักษะในกรสื่�่อสารหลากภาษา ทั้้�งการฟััง การอ่่าน การเขีียน การพููด การแปลความ

การเลืือกช่่องทางและเครื่่อ� งมืือในการสื่่�อสาร
3. มีกี ารตััดสิินใจและรัับผิิดชอบต่่อผลที่่เ� กิดิ ขึ้น�
4. สามารถสร้้างความพอใจระหว่า่ งสุขุ ภาพ การเรีียน ชีวี ิติ ส่่วนตััว ความสัมั พันั ธ์์กับั บุุคคลอื่่น�

เน้้นวัฒั นธรรม

1. สืืบสานวัฒั นธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับั ตััวเข้า้ กับั สภาพแวดล้้อมขององค์ก์ รได้้

รักั ความถููกต้้อง

1. ยึึดมั่่�นในจรรยาบรรณวิชิ าชีีพหรืือจรรยาบรรณในการดำเนินิ ธุรุ กิิจ
2. ยืืนหยััดปกป้้องในความถููกต้้อง
3. เคารพและชื่�่นชมต่่อความดีีงามของผู้้�อื่�น

1-5

คณะวิชิ าใน PIM ชื่่อ� ย่่อ สถานที่่เ� รีียน
หลักั สููตร
คณะ หลักั สููตร แจ้้งวัฒั นะ วิิทยาเขต เครือื ข่่าย
GE EEC Internet
จััดการเรีียนการสอนในหมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป
สำหรับั นัักศึกึ ษาระดับั ปริญิ ญาตรีีทุุกหลักั สููตร
1) กลุ่�มวิชิ าภาษาไทย
2) กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ
3) กลุ่�มวิชิ าภาษาจีนี
4) กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์
5) กลุ่�มวิชิ าวิิทยาศาสตร์แ์ ละคณิิตศาสตร์์

หลัักสููตรระดับั ปริญิ ญาตรีี

การจัดั การธุรุ กิจิ การค้า้ สมัยั ใหม่่ MTM -
-
การจััดการธุรุ กิจิ การค้้าสมัยั ใหม่่ (ต่่อเนื่�อ่ ง) CMTM
-
การจัดั การธุรุ กิจิ การค้า้ สมัยั ใหม่่ IMM -
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ) CIMM - -
การจััดการธุรุ กิจิ การค้า้ สมััยใหม่่ (ต่อ่ เนื่่�อง)
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอินิ เทอร์์เน็ต็ ) -
--
เทคโนโลยีีดิิจิทิ ัลั และสารสนเทศ DIT
-
วิศิ วกรรมคอมพิวิ เตอร์์และปัญั ญาประดิษิ ฐ์์ CAI --
วิิศวกรรมอุุตสาหการและการผลิติ อััจฉริยิ ะ IEM --
--
วิศิ วกรรมการผลิติ ยานยนต์์ AME --
วิิศวกรรมหุ่�นยนต์์และระบบอัตั โนมัตั ิิ RAE --
ภาษาจีีนธุรุ กิิจ BC --

ภาษาญี่่ป� ุ่ �นธุุรกิจิ BJ --

ภาษาอัังกฤษเพื่อ่� การสื่่�อสารทางธุุรกิิจ CEB --
--
การจััดการอสัังหาริิมทรััพย์์และทรัพั ย์ส์ ิินอาคาร RPM --

การบริิหารทรััพยากรมนุษุ ย์์ HROM --
และการจััดการองค์์การ
การจััดการธุุรกิจิ การบินิ AVI
อุุตสาหกรรมการบริกิ ารและการท่่องเที่่ย� ว HTM

วิชิ าเอกการสื่�่อสารองค์ก์ รและแบรนด์์ CB

วิชิ าเอกวารสารศาสตร์์คอนเวอร์เ์ จ้้นและ CJ
สื่�อ่ ดิิจิิทััลสร้า้ งสรรค์์

นวััตกรรมการจััดการเกษตร IAM --

การสอนภาษาจีีน TCL
การสอนภาษาอังั กฤษ ELT - -

1-6

ชื่่�อย่อ่ สถานที่่เ� รีียน
หลัักสููตร
คณะ หลักั สููตร แจ้้งวััฒนะ วิิทยาเขต เครือื ข่่าย
EEC Internet

การจัดั การเทคโนโลยีอี ุุตสาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดั การธุรุ กิิจอาหาร FBM -
การจัดั การธุุรกิิจอาหาร (ต่่อเนื่�่อง) CFBM -
การจัดั การธุรุ กิิจภััตตาคาร RBM --

การจััดการโลจิิสติิกส์แ์ ละการคมนาคมขนส่่ง LTM --

พยาบาลศาสตร์์ NS - -
พยาบาลศาสตร์์ NS - --
(สำหรัับผู้้�สำเร็จ็ ปริิญญาตรีีสาขาอื่�่น)
การจััดการธุุรกิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ iMTM --
(หลักั สูตู รนานาชาติ)ิ

หลัักสููตรประกาศนีียบััตรบัณั ฑิติ

ประกาศนียี บัตั รบัณั ฑิิต สาขาวิชิ าชีีพครูู ป.บัณั ฑิิต

หลัักสููตรระดับั ปริิญญาโท

การจััดการธุุรกิิจการค้า้ สมััยใหม่่ MBA-MTM --
--
วิศิ วกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี MET --
(หลัักสููตรนานาชาติ)ิ

การบริหิ ารคนและกลยุุทธ์์องค์ก์ าร POS

การสื่อ�่ สารเชิงิ นวััตกรรมเพื่อ�่ องค์ก์ รสมัยั ใหม่่ MCA --

ภาวะผู้�้นำการบริหิ ารและการจัดั การการศึึกษา EML --

ธุรุ กิจิ ระหว่า่ งประเทศ (หลัักสูตู รนานาชาติิ) iMBA --
--
บริหิ ารธุุรกิิจ (หลักั สููตรภาษาจีีน) C-MBA --
การจัดั การทางศิิลปะ (หลัักสููตรภาษาจีนี ) C-MA
--
หลักั สููตรระดับั ปริิญญาเอก --

บริหิ ารธุรุ กิจิ (หลักั สููตรภาษาจีีน) C.Ph.D

การจัดั การการศึกึ ษา (หลัักสููตรภาษาจีนี ) C-PhD-ED

1-7

เพลงสถาบันั

เพลงประจำำ� เพลงมัังคลอุุบล

สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิิวัฒั น์์

เกิดิ มาเป็น็ คน ต้้องพร้อ้ มจะอดทนทุกุ เรื่่อ� งราว * มังั คลอุุบล ดั่ง� พวกเราทุุกคน
ไม่ว่ ่่าจะดีีจะร้้ายซักั เท่า่ ไหร่่ ต้อ้ งมองว่่าเป็น็ บทเรีียน หนัักเบาพร้อ้ มผจญ งดงามปนเข้ม้ แข็ง็

สิ่ง� ที่่�เรีียนคืือความจำ สิ่�งที่่�ทำคืือความจริงิ ใต้้เงาหูกู ระจง แผ่่กิ่ง� ใบมั่่�นคง
สิ่�งที่่�ทำได้ย้ ากเย็็นนั้้น� จะยิ่ง� ใหญ่่ หยััดยืืนทรนง...ซื่�อ่ ตรงและแข็็งแกร่่ง

สิ่ง� ที่่�ทำโดยตััวเอง ยิ่ง� ทำจะยิ่�งเข้้าใจ P (Practicality)
แม้้นานเพียี งใดก็ไ็ ม่ล่ ืืม I (Innovation)
M (Morality)
**ต้อ้ งคิดิ เป็็น ทำเป็น็ เรียี นเป็น็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้้นความเป็น็ ธรรมในใจ
(ซ้้ำ*)
สิ่ง� ที่่ถ� ููกรักั ษาไว้้ ที่่ผ� ิิดเราต้อ้ งทิ้้�งไป **ในโลกแห่่งความจริิง ต้อ้ งเรียี นรู้้�กันั จริงิ ๆ
แล้้วเราจะก้้าวไป..ด้้วยกััน ต้อ้ งออกไปหาความจริิง วิ่ง� ชนเรื่�อ่ งราวแท้้จริิง
ต้้องเหนื่�อ่ ยต้อ้ งท้้อจริงิ ๆ ต้้องเจอผู้ค�้ นจริิงๆ
***สถาบัันปัญั ญาภิวิ ััฒน์์ สถาบัันแห่ง่ ปัญั ญา เรียี นจากคนรู้�ความจริิง แล้้วเราจะเป็็นคนจริิง
เราจะคอยเป็น็ ผู้้�สอน เราจะคอยเป็น็ เบ้า้ หลอม คนเก่่งนั้้น� ยัังไม่่พอ เก่ง่ จริงิ ต้อ้ งจััดการได้้

จะหล่่อและก็ห็ ลอมให้ท้ ุกุ คน แค่ก่ ล้า้ ก็็ยัังไม่่พอ กล้้าจริิงต้้องมีีวิินััย
ให้้พร้อ้ มกลายเป็็นคนดีี (ให้ท้ ุกุ คนเป็น็ คนดีี) คนฉลาดนั้้น� ยัังไม่่พอ คนฉลาดต้้องไม่โ่ กงใคร
เกิดิ มาเป็็นคน ต้้องมุ่�งมั่�นฝึกึ ฝนประสบการณ์์
ค่า่ ความเป็น็ คนอยู่�ที่ใ� จวัดั กันั ที่่ผ� ลงาน อันั มีคี ่า่ ควรจดจำ แข็็งแรงก็็ยัังไม่่พอ เพราะว่่าต้อ้ งมีีน้้ำใจ
***ธงสีีเขียี วขจีี ฉาบสีีเหลืืองเรืืองรอง
(ซ้้ำ *, **, ***) บนแผ่น่ ดินิ สีีทอง นี่่�คืือบ้้านของเรา
เราก็เ็ หมืือนอิฐิ คนละก้้อนวางซ้อ้ นเรีียงกัันจึึงแน่น่ หนา

ก่อ่ ด้้วยความรักั ในปัญั ญา
ฉาบด้ว้ ยศรัทั ธา..ในสถาบันั ..ของเรา

(ซ้้ำ*, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

1-8

ส่่วนที่�่ 2

รู้้จ� ักั “สำ�ำ นัักการศึึกษาทั่่�วไป”

2-1

รู้้�จักั

“สำ�ำ นักั การศึึกษาทั่่�วไป”

ปรัชั ญาสำ�ำ นักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไป

วิิชาศึึกษาทั่่�วไปสร้้างความเป็็นมนุุษย์์ที่่�มีีคุุณภาพในสัังคมโลก มีีทัักษะการสื่�่อสารภาษา
ก้า้ วหน้้าเทคโนโลยีี มีีกระบวนการคิดิ และมีจี ิติ สาธารณะ

วิสิ ัยั ทัศั น์์

“สร้้างบัณั ฑิติ มือื อาชีพี ด้้วยการเรียี นรู้้จ� ากประสบการณ์จ์ ริงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันั ธกิจิ

1. สร้้างคนที่่�มีีคุุณภาพและตรงกัับความต้้องการของภาคธุุรกิิจ สัังคม และประชาคมโลก โดย
เน้น้ การเรียี นรู้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ (Work-based Education)

2. ผสมผสานองค์ค์ วามรู้�เชิงิ วิชิ าการและองค์ก์ รธุรุ กิจิ เพื่อ�่ การจัดั การเรียี นการสอนการวิจิ ัยั การ
บริิการวิิชาการและทำนุุบำรุุงศิิลปะวััฒนธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)

3. สร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือ เพื่่�อพััฒนาองค์์ความรู้�และส่่งเสริิมนวััตกรรม (Collaborative
Networking)

4. พัฒั นาองค์ก์ รที่่พ� ร้อ้ มรับั ความเปลี่ย� นแปลง และมีรี ะบบการบริหิ ารจัดั การที่่ด� ีี (Transformative
Organization & Good Governance)

สัญั ลักั ษณ์แ์ ละสีีประจำำ�สำำ�นักั

ต้้นปัญั ญพฤกษ์์

หรืือต้้นไม้แ้ ห่ง่ ปัญั ญาที่่�แผ่่ร่่มเงาทางการศึกึ ษา เปรียี บเสมืือนการเรีียนรู้�ตลอดชีีวิติ

สีีประจำ�ำ คณะ / สีนี ้ำ�ำ�ตาลทอง

2-2

บทบาทหน้้าที่่�

สำนักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไป มีโี ครงสร้้างการทำงานประกอบด้ว้ ย 5 กลุ่�มวิิชา และ 2 ศูนู ย์์ คืือ
1. กลุ่�มวิชิ าภาษาไทย
2. กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ
3. กลุ่�มวิชิ าภาษาจีีน
4. กลุ่�มวิิชามนุุษยศาสตร์์และสังั คมศาสตร์์
5. กลุ่�มวิิชาวิิทยาศาสตร์์และคณิติ ศาสตร์์
6. ศูนู ย์พ์ ัฒั นาทัักษะและภาษา
7. ศูนู ย์์รัับรองคุุณวุฒุ ิวิ ิิชาชีพี อุตุ สาหกรรมดิิจิทิ ัลั

สำำ�นักั การศึกึ ษาทั่่�วไปจัดั การเรีียนการสอนหมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่ว� ไปให้้แก่่

“นักั ศึกึ ษาทุุกหลักั สููตรของ PIM”

และจัดั กิจิ กรรมเพื่่อ� พัฒั นานักั ศึกึ ษาให้เ้ ป็น็ ไปตามอัตั ลักั ษณ์บ์ ัณั ฑิติ ของ PIM
ตลอดจนเป็น็ ที่่�ต้้องการของผู้ใ�้ ช้บ้ ััณฑิติ และสัังคม

2-3

โครงการ PIM 3L: Lifelong Learners Building your Future Skills

โครงการ PIM 3L: Lifelong Learners ของสำนักั การศึกึ ษา กิจิ กรรม PIM 3L แบ่่งเป็น็ 3 หมวดหมู่� คืือ
ทั่่ว� ไป เป็น็ การดำเนินิ งานในรูปู แบบกิจิ กรรม เพื่อ�่ พัฒั นาทักั ษะและ
ส่ง่ เสริมิ การเรียี นรู้�ตลอดชีวี ิติ สำหรับั นักั ศึกึ ษา ภายใต้ค้ ติพิ จน์ป์ ระจำ 1. ความชอบและไลฟ์์สไตล์์
โครงการคืือ “ไม่่มีกี ารลงทุุนใด จะได้ผ้ ลตอบแทนเท่่ากับั การลงทุุน 2. ทักั ษะอย่่างมือื อาชีพี
เรียี นรู้”�้ 3. คุุณค่่าในตััวตนและสังั คม

วัตั ถุปุ ระสงค์ห์ ลักั ของโครงการ เพื่อ่� เสริมิ สร้า้ งการเรียี นรู้� และ เพราะการเรียี นรู้�ไม่ม่ ีวี ันั หยุดุ นิ่่ง� หากเราต้อ้ งก้า้ วเดินิ ต่อ่ ไป ให้้
พัฒั นาทัักษะชีวี ิติ ให้แ้ ก่่นักั ศึกึ ษา มุ่�งเน้น้ ให้น้ ัักศึึกษามีี Essential ทัันต่่อการเปลี่ย� นแปลงในศตวรรษที่่� 21 การเข้า้ ร่่วมกิจิ กรรม PIM
Skills ต่่อยอดศัักยภาพที่่�มีีในตััวตนและพััฒนาให้้เกิิดทัักษะใหม่่ 3L จึงึ เป็น็ ส่่วนหนึ่่ง� ของการเรียี นรู้�ตลอดชีีวิติ สำหรัับนัักศึึกษา PIM
พร้้อมรัับการเปลี่�ยนแปลงในอนาคต โครงการ PIM 3L มีีการวาง
เป้้าหมายไว้้อย่า่ งชััดเจน คืือ “การพัฒั นาตน พัฒั นาคน และนำไป
สู่ก� ารพัฒั นาสังั คมต่่อไป”

ภาพตัวั อย่า่ งโปสเตอร์ป์ ระชาสัมั พันั ธ์ก์ ิจิ กรรม

2-4

สำนักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไปมีกี ารนำโปรแกรมประยุกุ ต์ด์ ้า้ นการสื่อ่� สารภาษาอังั กฤษ มาใช้้
ประกอบการจัดั การเรียี นการสอนในห้อ้ งเรียี น โดยมีจี ุดุ มุ่�งหมายให้น้ ักั ศึกึ ษาผ่า่ นเกณฑ์ก์ าร
ประเมิินตามกรอบความเชี่�ยวชาญภาษาอัังกฤษอ้้างอิิงของยุุโรป หรืือ Common
European Framework of Reference for Languages (CEFR) ในระดับั B2 เป็็น
อย่่างน้้อย

2-5

ศููนย์พ์ ัฒั นาทัักษะและภาษา

ศูนู ย์พ์ ััฒนาทักั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development
หรืือ CLSD) เป็น็ หน่ว่ ยงานภายใต้ส้ ำนักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไปที่่ม� ีหี น้า้ ที่่เ� สริมิ ทักั ษะ ประเมินิ ทักั ษะ
และออกใบรัับรองมาตรฐานที่่จ� ำเป็น็ ต่่อการทำงานของนักั ศึกึ ษา ได้แ้ ก่่ ทัักษะการสื่�อ่ สาร
ภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศ ทักั ษะชีีวิติ และทักั ษะดิจิ ิิทััล ตามแผนการดำเนินิ ทั้้ง� 4
ชั้�นปีี โดยมีีการบัันทึึกผลการประเมิิน และผลการเข้้าร่่วมกิิจกรรมของนัักศึึกษาเป็็น
โปรแกรมประยุกุ ต์์ (Application Program) ชื่อ�่ “PIM SMART PASSPORT” ที่่เ� ป็น็ ฐาน
ข้อ้ มูลู ของนักั ศึกึ ษาสำหรับั นำไปใช้ป้ ระกอบการตัดั สินิ ใจเลืือกพนักั งานเข้า้ ทำงานของสถาน
ประกอบการต่่าง ๆ

2-6

สำนัักการศึึกษาทั่่�วไปมีีการจััดทำชุุดฝึึกฝน
ทักั ษะการใช้ง้ านโปรแกรมสำนักั งาน ผ่า่ นโปรแกรม
ประยุกุ ต์์ “Microsoft Office Simulation” เพื่อ�่
ให้้นัักศึึกษาได้้ฝึึกฝนการใช้้เครื่�่องมืือในการจััดทำ
เอกสารสำนักั งาน ตลอดจนการนำเสนองานอย่่าง
มืืออาชีพี ที่่�ตอบสนองการเรีียนรู้�ได้ท้ ุุกที่่� ทุุกเวลา

2-7

ศููนย์์รับั รองคุุณวุฒุ ิิวิิชาชีีพอุุตสาหกรรมดิจิ ิทิ ัลั
(Digital Industry Certification Center)

ศููนย์์รัับรองคุุณวุุฒิิวิิชาชีีพอุุตสาหกรรม
ดิจิ ิทิ ัลั มีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่อ�่ การรับั รองสมรรถนะ
บุคุ คลด้ว้ ยมาตรฐานคุณุ วุฒุ ิวิ ิชิ าชีพี อุตุ สาหกรรม
ดิจิ ิทิ ััลของนัักศึึกษา บุคุ ลากร และบุคุ คลทั่่ว� ไป
ตลอดจนเห็็นถึึงความสำคััญของการสนัับสนุุน
และสร้า้ งโอกาสการเรียี นรู้้�ด้า้ นดิจิ ิทิ ัลั ที่่เ� ป็น็ ไป
ตามแนวทางการพัฒั นานักั ศึกึ ษา และบุคุ ลากร
ของสถาบัันการจัดั การปัญั ญาภิิวััฒน์์

โดยสาขาวิิชาชีีพอุุตสาหกรรมดิิจิิทััล
ประกอบด้้วย
1. สาขาแอนิเิ มชันั อาชีพี นักั Concept/Visual

Artist ระดับั 4
2. สาขาเครืือข่า่ ยและความปลอดภัยั อาชีพี นักั

บริิหารจััดการระบบเครืือข่่ายคอมพิิวเตอร์์
ระดับั 4
3. สาขาธุรุ กิจิ ดิจิ ิทิ ัลั และพาณิชิ ย์อ์ ิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์
อาชีีพนัักพาณิิชย์อ์ ิิเล็็กทรอนิิกส์์ ระดัับ 4

2-8

ส่่วนที่�่ 3

คณะเรา
“การจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร”

3-1

คณะเรา

“การจัดั การธุรุ กิิจอาหาร”

ปรัชั ญาคณะการจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร

“ผลิิตบัณั ฑิิตที่่�ทำ�ำ งานเป็็น โดดเด่่นด้้านนวััตกรรม
มีคี ุุณธรรมสููง มุ่่�งสู่่�สากล”

ปณิิธาน

คณะการจััดการธุุรกิิจอาหาร ได้้นำอัักษรย่่อของสถาบัันการจััดการปััญญาภิิวััฒน์์ (PIM) มาขยายความ
เพื่่�อใช้้เป็น็ แนวทางผลิิตบััณฑิติ คืือ

P: Practicality (ความรู้้�สู่�การปฏิบิ ัตั ิิ)
หมายถึึง ความมุ่�งมั่�นในการผลิิตบัณั ฑิติ ให้้เป็็นผู้้�มีความรู้้�ดีี นำความรู้�ที่�ได้้จากการศึกึ ษาไปประยุุกต์์ใช้้ใน
การปฏิบิ ััติจิ ริงิ ได้้ ทั้้�งในการประกอบอาชีพี การดำรงชีีวิิต รวมทั้้ง� การพััฒนาและขยายองค์์ความรู้� และการ
วางแผนเพื่�อ่ อนาคตได้อ้ ย่่างมีีประสิิทธิิภาพ
I: Innovation (นวััตกรรมและการสร้้างสรรค์)์
หมายถึึง ความมุ่�งมั่่�นในการผลิิตบััณฑิิตให้้เป็็นผู้้�มีีภููมิิปััญญา และมีีความสามารถในการสร้้างสรรค์์
นวััตกรรม เทคโนโลยีีและแนวคิิดใหม่่ ให้้สอดคล้้องกัับบริิบททางสัังคมและวััฒนธรรมตามยุุคสมััย และ
สอดรับั กับั ความเปลี่ย� นแปลงต่า่ งๆ ในอนาคต เป็น็ ผู้้�มีศักั ยภาพในการผลักั ดันั ความคิดิ และแรงบันั ดาลใจ อันั
เป็็นนามธรรมให้้ก่อ่ เกิิดเป็น็ รูปู ธรรมอย่่างกลมกลืืนทั้้ง� ศาสตร์แ์ ละศิลิ ป์์ เพื่อ�่ พัฒั นาวิถิ ีีชีีวิติ และสัังคม
M: Morality (คุุณธรรมจริยิ ธรรม)
หมายถึึง ความมุ่�งมั่�นในการผลิิตบััณฑิิตให้้เป็็นผู้้�มีีความบริิบููรณ์์พร้้อมด้้วยคุุณธรรม จริิยธรรม เข้้าใจ
ในศิลิ ปะและวัฒั นธรรมทั้้ง� ของชาติติ นและของประชาคมนานาชาติิ มีคี วามมั่่�นคงทางอารมณ์์ ปรับั ตััวให้เ้ ข้้า
กัับสภาวการณ์ต์ ่่างๆ ได้้

วิสิ ััยทัศั น์์

“สร้า้ งนัักจัดั การธุุรกิิจอาหารและภัตั ตาคารมือื อาชีพี
ด้้วยการเรีียนรู้้จ� ากประสบการณ์์จริิง”

3-2

พัันธกิิจ

1) จัดั และพัฒั นาการศึกึ ษาระดับั อุดุ มศึกึ ษาด้า้ นการจัดั การธุรุ กิจิ อาหารที่่ท� ันั สมัยั และเท่า่ ทันั กระแสพลวัตั
ต่่างๆ ของโลก

2) ผลิติ บััณฑิิตคณะการจัดั การธุุรกิจิ อาหารตามปณิธิ านของสถาบัันการจััดการปััญญาภิวิ ัฒั น์์ โดยมุ่�งเน้น้ ใน
3 ด้า้ นหลััก ดังั ต่่อไปนี้้�

- ความรู้�สู่�การปฏิบิ ัตั ิิการ (Practicality)
- นวััตกรรมและประยุุกต์ใ์ ช้้ (Innovation)
- คุณุ ธรรมจริิยธรรม (Morality)
3) ส่่งเสริิมให้้มีีการวิิจััยค้้นคว้้าทางด้้านการจััดการธุุรกิิจอาหาร เพื่�่อนำองค์์ความรู้�ไปพััฒนานวััตกรรมหรืือ

งานสร้า้ งสรรค์ท์ ี่่�เป็็นประโยชน์ต์ ่อ่ สัังคม และภาคธุุรกิจิ
4) บริกิ ารวิิชาการ โดยประสานความคิิดและความร่ว่ มมืือกัับเครืือข่่ายวิชิ าการและอาชีพี ต่่าง ๆ
5) เสริิมสร้้างและพััฒนาบุุคลากรรุ่�นใหม่่ที่่�มีีคุุณธรรม จริิยธรรม อุุดมการณ์์ ในอาชีีพ มีีความรัับผิิดชอบ

ต่อ่ สัังคม และมีีจิิตสำนึกึ ในการทำนุบุ ำรุุงศิิลปวัฒั นธรรมอาหารของชาติิ
6) เสริมิ สร้้างระบบและกลไกการประกัันคุณุ ภาพการศึกึ ษาที่่�มีีประสิทิ ธิิภาพ

สัญั ลักั ษณ์แ์ ละสีีประจำำ�คณะ

มงกุฎุ

หมายถึึง ความเป็น็ เลิิศ

ต้้นอ่อ่ นข้้าว

หมายถึงึ ตัวั แทนผลผลิิตทางการเกษตร

ฟันั เฟือื ง

หมายถึงึ การแปรรููปผลผลิติ การจััดการห่่วงโซ่ค่ ุณุ ค่า่ อาหารเพื่�อ่ ขับั เคลื่่�อนทางเศรษฐกิจิ

สีปี ระจำ�ำ คณะ / สีเี ขีียว

เป็็นสัญั ลักั ษณ์ข์ องความเจริญิ งอกงามและความอุดุ มสมบููรณ์์ เป็น็ ตัวั แทนของอาหาร
ธรรมชาติิ อาหารออร์์แกนิคิ และผลิติ ภัณั ฑ์อ์ าหารเพื่อ�่ สุุขภาพ แสดงถึึงการจัดั การห่่วงโซ่่

คุุณค่่าอาหารที่่ม� ีปี ระสิทิ ธิิภาพได้ม้ าตรฐานและปลอดภัยั

3-3

หลักั สููตร / สาขาวิิชาที่่�เปิิดสอน

หลัักสููตรระดับั ปริิญญาตรีี

1. หลัักสูตู รบริิหารธุรุ กิจิ บััณฑิิต สาขาวิิชาการจััดการธุุรกิจิ อาหาร
2. หลักั สูตู รบริหิ ารธุุรกิจิ บััณฑิิต สาขาวิิชาการจัดั การธุุรกิิจอาหาร (ต่อ่ เนื่อ่� ง)
3. หลัักสูตู รบริิหารธุุรกิิจบัณั ฑิิต สาขาวิิชาการจััดการธุรุ กิิจภััตตาคาร

ติดิ ต่่อคณะ

ชั้้น� 9 อาคาร 4 หรืืออาคาร CP ALL Academy
โทรศััพท์์ 0 2855 0786 หรือื 0 2855 0917

การเข้้าถึึงข้้อมููลคณะ

1. เว็็บไซต์ค์ ณะการจััดการธุรุ กิจิ อาหาร: https://fbm.pim.ac.th/

3-4

หลักั สููตรบริหิ ารธุุรกิจิ บััณฑิติ

สาขาวิชิ าการจััดการธุรุ กิจิ อาหาร

Bachelor of Business Administration Program
in Food Business Management

ชื่่อ� ปริญิ ญา

ภาษาไทย (ชื่่�อเต็็ม) : บริหิ ารธุุรกิจิ บััณฑิติ (การจััดการธุุรกิิจอาหาร)
(อัักษรย่่อ) : บธ.บ. (การจััดการธุุรกิจิ อาหาร)
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่�อเต็ม็ ) : Bachelor of Business Administration
(Food Business Management)
(อักั ษรย่่อ) : B.B.A. (Food Business Management)

หมายเหตุุ: ได้ร้ ัับอนุุมััติิหลัักสููตรจากสภาสถาบันั ในการประชุุมครั้ง� ที่่� 1/2565
เมื่อ�่ วันั ที่่� 25 เดืือน มกราคม พ.ศ. 2565

จุุดเด่น่ ของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร

หลัักสููตรบริิหารธุุรกิิจ สาขาวิิชาการจััดการธุุรกิิจอาหาร มีีการจััดการเรีียนการสอนแบบ
การเรีียนรู้�ควบคู่่�การฝึึกปฏิิบััติิในสถานประกอบการจริิง (Work–based Education: WBE)
การจัดั การเรียี นการสอนของหลักั สูตู รเน้น้ ให้ผ้ ู้เ�้ รียี นมีอี งค์ค์ วามรู้�และการปฏิบิ ัตั ิเิ กี่ย� วกับั การบริหิ าร
จััดการธุุรกิิจอาหาร ความรู้�เบื้้�องต้้นของห่่วงโซ่่อาหาร ตั้�งแต่่วััตถุุดิิบ กระบวนการผลิิต จนถึึง
ผลิติ ภััณฑ์อ์ าหาร การควบคุมุ คุณุ ภาพ การให้้บริกิ ารด้า้ นอาหารและเครื่�อ่ งดื่�ม่ การจััดการเชิงิ กล
ยุุทธ์์และการตลาด เพื่่�อตอบสนองกลุ่�มผู้�้ประกอบการด้้านธุุรกิิจอาหารและเครื่่�องดื่่�มที่่�ต้้องการ
กลุ่�มบุุคลากรที่่�มีีความรู้�และประสิิทธิิภาพในการทำงานไปเป็็นส่่วนหนึ่่�งขององค์์กร รวมถึึงให้้
สอดคล้อ้ งกัับการเจริิญเติิบโตของภาคอุุตสาหกรรมอาหารและเครื่่�องดื่ม�่ ในประเทศไทย

3-5

ผลลัพั ธ์ก์ ารเรีียนรู้้�ของหลักั สููตร

• ด้้านคุุณธรรม จริิยธรรม

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป

1. บููรณาการและประยุกุ ต์์ใช้อ้ งค์์ความรู้�ในการเรียี น การทำงานและการดำเนินิ ชีีวิิตได้้
2. ใช้้ภาษาในการสื่่อ� สารทั้้ง� ภาษาไทยและ/หรืือภาษาต่่างประเทศได้้อย่่างสอดคล้้องเหมาะสมกับั สถานการณ์์
3. แสดงออกถึึงความมีวี ินิ ัยั ขยันั อดทน ซื่อ�่ สััตย์์ และรัับผิดิ ชอบต่อ่ หน้้าที่่�
4. รู้�เท่่าทัันสื่อ�่ เลืือกใช้้และประยุกุ ต์์ใช้้เทคโนโลยีดี ิจิ ิิทััลในการสร้้างสรรค์ผ์ ลงานได้้อย่า่ งเหมาะสม
5. นำเสนอ จัดั ลำดัับการเล่า่ เรื่่อ� งได้อ้ ย่่างเป็็นระบบ วิพิ ากษ์์ โน้ม้ น้้าวผู้้�อื่น� และควบคุุมสถานการณ์ไ์ ด้้
6. วิเิ คราะห์์ วางแผน ตััดสินิ ใจอย่า่ งมีีวิจิ ารณญาณ และแก้ไ้ ขปัญั หาอย่า่ งสร้า้ งสรรค์์
7. ออกแบบนวััตกรรม สามารถผลัักดัันความคิิดและแรงบัันดาลใจก่อ่ ให้้เกิิดผลงาน และนำไปสู่�ฐานคิิดของการ

เป็น็ ผู้�ป้ ระกอบการ
8. ทำงานร่่วมกับั ผู้้�อื่�น มีีมนุษุ ยสัมั พัันธ์์ กล้้าเผชิิญปััญหา สามารถทำงานที่่ห� ลากหลาย และปรัับตัวั ให้้

สอดคล้้องกับั วััฒนธรรมที่่แ� ตกต่า่ งได้้
9. ปฏิบิ ััติิตนตามกฎระเบียี บขององค์ก์ ร สังั คม ประเทศชาติิ มีีจิิตสาธารณะ และยึึดมั่ �นในจรรยาบรรณวิชิ าชีพี
10. สร้า้ งสมดุลุ ให้ช้ ีีวิิตและการทำงาน บริหิ ารจัดั การทั้้ง� ด้้านสุุขภาพ การเงินิ เวลา และบุุคคลได้อ้ ย่่าง

เหมาะสม
11. ใฝ่รู่้� ใฝ่่เรียี น แสวงหาความรู้้�ด้้วยตนเอง

3-6

หมวดวิิชาเฉพาะ

1. อธิิบายความรู้้�ด้้านการควบคุมุ ความปลอดภััย กฎหมายอาหารตามมาตรฐานอาหารระดัับชาติแิ ละ
นานาชาติิและการจััดการธุรุ กิจิ ตลอดห่ว่ งโซ่อ่ าหาร

2. สรุุปความรู้้�ด้้านการจััดการธุรุ กิจิ ตลอดห่ว่ งโซ่่อาหาร
3. สื่่อ� สารภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศได้้อย่า่ งถููกต้อ้ งตามบริิบททางวิิชาการและการปฏิบิ ัตั ิิงาน
4. ปฏิิบััติกิ ารผลิติ อาหารโดยใช้ค้ วามรู้้�ด้้านโภชนาการและการแปรรููปอาหารได้้ถูกู ต้อ้ งตามมาตรฐานการผลิิต

อาหาร
5. ประยุกุ ต์เ์ ทคโนโลยีสี ารสนเทศในการนำเสนอข้อ้ มูลู ด้า้ นธุรุ กิจิ อาหารได้ต้ รงตามความต้อ้ งการของผู้้�มีส่ว่ นได้เ้ สียี
6. วิิเคราะห์์ข้้อมูลู เชิิงตััวเลขเพื่อ่� การตััดสิินใจในด้า้ นธุรุ กิจิ อาหารได้อ้ ย่า่ งถูกู ต้้องตามหลักั การทางคณิติ ศาสตร์์
7. อภิิปรายแนวคิิดในการดำเนิินงานเป็น็ เจ้า้ ของธุรุ กิจิ อาหารในรููปแบบออฟไลน์แ์ ละ/หรืือออนไลน์อ์ ย่่างมีี

เหตุุผลในเชิิงการบริหิ ารธุุรกิิจ
8. สร้า้ งสรรค์น์ วััตกรรมในธุรุ กิจิ อาหารในรููปแบบต่า่ งๆที่่ส� อดคล้้องกัับการเปลี่�ยนแปลงของธุรุ กิิจในปััจจุุบััน
9. เชื่อ�่ มโยงความรู้้�ด้า้ นการจััดการธุุรกิจิ อาหารและนำสู่�งานวิจิ ัยั ที่่ต� อบสนองความต้อ้ งการของผู้ป�้ ระกอบการ
10. ปฏิิบัตั ิติ ามหน้้าที่่ค� วามรัับผิิดชอบต่่อตนเองและส่่วนรวม
11. ประพฤติติ ามระเบียี บวินิ ัยั และข้้อบัังคัับต่า่ ง ๆ ขององค์ก์ รและสัังคม
12. สนับั สนุนุ การทำงานเป็็นทีีมทั้้ง� การเป็็นผู้้�นำและผู้้ต� าม
13. แก้ไ้ ขข้้อขัดั แย้้ง และปััญหาที่่�เกิิดจากการเรีียนและการฝึึกปฏิิบััติงิ านได้้
14. แสดงออกถึงึ ความซื่่�อสัตั ย์์ต่อ่ บุคุ คลอื่่น� และองค์ก์ ร

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. เจ้้าของกิจิ การธุุรกิิจอาหาร
2. ผู้้�จัดการร้า้ นค้า้ ปลีีกประเภทอาหาร
3. ผู้้�จัดการธุุรกิจิ แปรรููปอาหาร
4. เจ้า้ หน้า้ ที่่ป� ฏิิบััติิการในธุุรกิจิ อาหาร
5. เจ้้าหน้้าที่่�การตลาดและการขายในธุุรกิิจอาหาร
6. เจ้้าหน้้าที่่พ� ััฒนาผลิิตภััณฑ์อ์ าหาร
7. เจ้้าหน้้าที่่�ฝ่า่ ยประกัันคุุณภาพอาหาร

3-7

รายละเอีียดค่่าเล่า่ เรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 300,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตราที่่ส� ถาบันั กำหนด ตามแผนการเรียี นปกติิ 8 ภาคการศึึกษา ดัังนี้้�

ภาคการศึกึ ษาที่่� ค่่าเล่า่ เรีียนสำำ�หรับั นัักศึกึ ษา ค่า่ เล่่าเรีียนสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา
ที่่�เข้า้ เรีียนในภาคการศึึกษาพิเิ ศษ ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคปกติิ
ครั้�งที่่� 1
ครั้�งที่่� 2 – 7 20,000 40,000
ครั้ง� ที่่� 8 40,000 40,000
40,000 20,000

2. อััตราค่า่ เล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา ไม่่รวมค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดัังต่่อไปนี้้�
- ค่า่ หนังั สืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรียี น
- ค่า่ ชุุดปฏิบิ ััติิการ วััตถุดุ ิบิ และอุุปกรณ์อ์ ื่น�่ ๆ ที่่�เกี่�ยวข้อ้ ง
- ค่า่ รายวิิชาปรับั พื้้�นฐาน
- ค่า่ ใช้้จ่่ายในการสอบขึ้้น� ทะเบีียนการประเมินิ สมรรถนะบุคุ คลตามมาตรฐานอาชีพี
- ค่า่ ธรรมเนียี มอื่น่� ๆ และค่า่ เบ็ด็ เตล็็ดนอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา

ตัวั อย่า่ งสถานประกอบการที่น�่ ักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

3-8

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีีการศึึกษาที่่� 1

รหัสั วิิชา ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 หน่ว่ ยกิติ รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่�่ 2 หน่ว่ ยกิิต

10xxxxx รายวิิชา 3 10xxxxx รายวิิชา 3
10xxxxx 2 10xxxxx 3
1101111 หมวดอััตลักั ษณ์ข์ องพีไี อเอ็็ม (PIM) 3 10xxxxx หมวดอััตลัักษณ์์ของพีีไอเอ็็ม (PIM) 2
หมวดศาสตร์์แห่ง่ ชีวี ิติ หมวดศาสตร์์แห่ง่ ชีวี ิิต
1101112 การจัดั การธุรุ กิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ 3 1101113 หมวดศาสตร์แ์ ห่ง่ ชีีวิิต
ในยุคุ ดิจิ ิิทััล
2312108 การตลาดดิิจิิทัลั การบััญชีแี ละการเงินิ เพื่�่อการ 3
จััดการธุรุ กิิจ 3
2312109 การจััดการระบบคุุณภาพอาหารและ 3 2312110 การจัดั การโภชนาการเพื่�่อ 3
ความปลอดภัยั ด้้านอาหาร ธุุรกิิจอาหาร
2312159 การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบััติดิ ้้านการ
การขายและมาตรฐานการบริิการ 3 2312160 จััดการธุุรกิิจอาหาร 2
ในธุุรกิจิ อาหาร

การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบััติิด้้านการจััดการ 3
ธุุรกิจิ อาหาร 1

รวม 20 รวม 17

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่�่ 2

รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิติ รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต

10xxxxx หมวดอััตลักั ษณ์์ของพีไี อเอ็็ม (PIM) 3 10xxxxx หมวดอััตลักั ษณ์์ของพีีไอเอ็ม็ (PIM) 3
10xxxxx หมวดศาสตร์แ์ ห่่งชีีวิติ 3
10xxxxx หมวดศาสตร์์แห่่งชีวี ิติ 3 10xxxxx หมวดศาสตร์์แห่่งชีวี ิิต 3
1101214 เศรษฐศาสตร์เ์ พื่อ�่ การจััดการธุุรกิจิ 3
1101215 หมวดศาสตร์์แห่่งชีีวิิต 2 10xxxxx กฎหมายและข้อ้ บังั คัับสำหรับั 3
ธุุรกิิจอาหาร
2312211 การจัดั การโลจิิสติิกส์์และห่ว่ งโซ่อ่ ุุปทาน 3 1101216 การจััดการห่ว่ งโซ่่อุุปทานใน 3
ธุรุ กิจิ อาหาร
2312261 การจััดการองค์ก์ ารและทรััพยากร 3 2312212 การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้า้ นการจัดั การ 3
มนุษุ ย์ใ์ นยุคุ ดิิจิทิ ัลั ธุรุ กิจิ อาหาร 4
21
การจัดั การวัตั ถุดุ ิบิ และเทคโนโลยีี 3 2312213 รวม
การแปรรูปู อาหาร

การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้า้ นการจััดการ 3 2312262
ธุรุ กิจิ อาหาร 3

รวม 20

3-9

ปีีการศึึกษาที่่� 3

ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหัสั วิชิ า รายวิชิ า หน่ว่ ยกิติ รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต

xxxxxx วิชิ าเลืือก (1) 3 xxxxxx วิิชาเลืือก (2) 3
2312314 วิชิ าเลืือก (3) 3
การจัดั การเพื่�อ่ เป็น็ ผู้�ป้ ระกอบการ 3 xxxxxx
2312315 ธุรุ กิจิ อาหารในยุุคดิิจิิทัลั
2312363
การจััดการต้้นทุุนในธุุรกิิจอาหาร 3 xxxxxx วิชิ าเลืือกเสรีี (1) 3
การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้า้ นการจัดั การ 3
การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้านการจัดั การ 3 2312364 ธุรุ กิจิ อาหาร 6
ธุรุ กิิจอาหาร 5 12
รวม
รวม 12

ปีกี ารศึึกษาที่่� 4

ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่�่ 2

รหััสวิิชา รายวิิชา หน่ว่ ยกิติ รหััสวิชิ า รายวิชิ า หน่ว่ ยกิิต

xxxxxx วิชิ าเลืือก (4) 3 xxxxxx วิชิ าเลืือกเสรีี (2) 3
2312416 การวิจิ ัยั ธุรุ กิจิ อาหาร 3
2312465 นวัตั กรรมการจัดั การธุุรกิจิ อาหาร 3 2312417 การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้า้ นการจัดั การ 3
ธุรุ กิิจอาหาร 8
การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ััติดิ ้า้ นการจััดการ 3 2312466 9
ธุุรกิจิ อาหาร 7 รวม

รวม 9

3-10

หลัักสููตรบริหิ ารธุุรกิิจบััณฑิิต

สาขาวิชิ าการจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร (ต่่อเนื่่�อง)

Bachelor of Business Administration Program
in Food Business Management (Continuing Program)

ชื่่อ� ปริญิ ญา

ภาษาไทย (ชื่่อ� เต็ม็ ) : บริหิ ารธุรุ กิิจบััณฑิติ (การจััดการธุุรกิจิ อาหาร)
(อักั ษรย่่อ) : บธ.บ. (การจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร)
ภาษาอัังกฤษ (ชื่่อ� เต็็ม) : Bachelor of Business Administration
(Food Business Management)
(อัักษรย่่อ) : B.B.A. (Food Business Management)

หมายเหตุุ: ได้ร้ ับั อนุุมััติิหลัักสูตู รจากสภาสถาบันั ในการประชุมุ ครั้ง� ที่่� 1/2565
เมื่อ่� วัันที่่� 25 เดืือน มกราคม พ.ศ. 2565

จุดุ เด่น่ ของสาขาวิิชา / หลักั สููตร

ผลิิตบััณฑิิตที่่�มีีความรู้�และประสบการณ์์ด้้านการจััดการธุุรกิิจอาหารตลอดห่่วงโซ่่อาหาร
และมีอี งค์ค์ วามรู้้�ด้า้ นการประกันั คุณุ ภาพ ความปลอดภัยั อาหารและนวัตั กรรมอาหาร ซึ่ง� บัณั ฑิติ
สามารถปฏิบิ ััติงิ านในสาขาวิิชาได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ จากการใช้้ทัักษะการคิิดวิเิ คราะห์์ ความ
คิดิ ริเิ ริ่ม� สร้า้ งสรรค์์ รวมถึงึ การใช้ค้ อมพิวิ เตอร์แ์ ละเทคโนโลยีสี ารสนเทศในการศึกึ ษาค้น้ คว้า้ ด้ว้ ย
ตนเอง การนำเสนอ และการสื่่อ� สารอย่า่ งมีีคุุณธรรม จริยิ ธรรม ธรรมมาภิบิ าล จรรยาบรรณทาง
วิชิ าการและอาชีพี

3-11

ผลลัพั ธ์์การเรีียนรู้้ข� องหลัักสููตร

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป

1. บููรณาการและประยุุกต์์ใช้้องค์ค์ วามรู้�ในการเรียี น การทำงานและการดำเนิินชีีวิิตได้้1.
2. ใช้้ภาษาในการสื่่�อสารทั้้ง� ภาษาไทยและ/หรืือภาษาต่่างประเทศได้้อย่า่ งสอดคล้อ้ งเหมาะสมกับั สถานการณ์์
3. แสดงออกถึงึ ความมีีวิินััย ขยันั อดทน ซื่อ�่ สััตย์์ และรับั ผิิดชอบต่อ่ หน้้าที่่�
4. รู้�เท่า่ ทันั สื่่�อ เลืือกใช้แ้ ละประยุกุ ต์ใ์ ช้้เทคโนโลยีดี ิจิ ิิทัลั ในการสร้า้ งสรรค์์ผลงานได้้อย่่างเหมาะสม
5. นำเสนอ จััดลำดับั การเล่า่ เรื่อ่� งได้้อย่า่ งเป็น็ ระบบ วิิพากษ์์ โน้ม้ น้า้ วผู้้�อื่น� และควบคุุมสถานการณ์์ได้้
6. วิเิ คราะห์์ วางแผน ตัดั สิินใจอย่า่ งมีีวิิจารณญาณ และแก้ไ้ ขปัญั หาอย่า่ งสร้้างสรรค์์
7. ออกแบบนวัตั กรรม สามารถผลักั ดัันความคิิดและแรงบัันดาลใจก่่อให้เ้ กิดิ ผลงาน และนำไปสู่�ฐานคิดิ ของการ

เป็็นผู้้�ประกอบการ
8. ทำงานร่่วมกับั ผู้้�อื่น� มีมี นุษุ ยสััมพัันธ์์ กล้้าเผชิิญปััญหา สามารถทำงานที่่�หลากหลาย และปรับั ตััวให้้

สอดคล้้องกับั วัฒั นธรรมที่่แ� ตกต่่างได้้
9. ปฏิบิ ััติติ นตามกฎระเบียี บขององค์ก์ ร สังั คม ประเทศชาติิ มีจี ิิตสาธารณะ และยึดึ มั่ น� ในจรรยาบรรณวิิชาชีีพ
10. สร้า้ งสมดุลุ ให้ช้ ีีวิิตและการทำงาน บริิหารจััดการทั้้�งด้า้ นสุขุ ภาพ การเงินิ เวลา และบุคุ คลได้้อย่่าง

เหมาะสม
11. ใฝ่่รู้� ใฝ่่เรียี น แสวงหาความรู้้�ด้ว้ ยตนเอง

3-12

หมวดวิิชาเฉพาะ

1. อธิิบายความรู้้�ด้้านการควบคุมุ ความปลอดภััย กฎหมายอาหารตามมาตรฐานอาหารระดัับชาติแิ ละ
นานาชาติิและการจััดการธุรุ กิจิ ตลอดห่ว่ งโซ่อ่ าหาร

2. สรุุปความรู้้�ด้้านการจััดการธุรุ กิจิ ตลอดห่ว่ งโซ่่อาหาร
3. สื่่อ� สารภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศได้้อย่า่ งถููกต้อ้ งตามบริิบททางวิิชาการและการปฏิบิ ัตั ิิงาน
4. ปฏิิบััติกิ ารผลิติ อาหารโดยใช้ค้ วามรู้้�ด้้านโภชนาการและการแปรรููปอาหารได้้ถูกู ต้อ้ งตามมาตรฐานการผลิติ

อาหาร
5. ประยุกุ ต์เ์ ทคโนโลยีสี ารสนเทศในการนำเสนอข้อ้ มูลู ด้า้ นธุรุ กิจิ อาหารได้ต้ รงตามความต้อ้ งการของผู้้�มีส่ว่ นได้เ้ สียี
6. วิิเคราะห์์ข้้อมูลู เชิิงตััวเลขเพื่อ่� การตััดสิินใจในด้า้ นธุรุ กิิจอาหารได้อ้ ย่า่ งถูกู ต้้องตามหลักั การทางคณิติ ศาสตร์์
7. อภิิปรายแนวคิิดในการดำเนิินงานเป็น็ เจ้า้ ของธุรุ กิจิ อาหารในรููปแบบออฟไลน์แ์ ละ/หรืือออนไลน์อ์ ย่่างมีี

เหตุุผลในเชิิงการบริหิ ารธุุรกิิจ
8. สร้า้ งสรรค์น์ วััตกรรมในธุรุ กิจิ อาหารในรููปแบบต่า่ งๆที่่�สอดคล้้องกัับการเปลี่�ยนแปลงของธุรุ กิิจในปััจจุุบันั
9. เชื่อ�่ มโยงความรู้้�ด้า้ นการจััดการธุุรกิจิ อาหารและนำสู่�งานวิจิ ัยั ที่่ต� อบสนองความต้อ้ งการของผู้ป�้ ระกอบการ
10. ปฏิิบัตั ิติ ามหน้้าที่่ค� วามรัับผิิดชอบต่่อตนเองและส่่วนรวม
11. ประพฤติติ ามระเบียี บวินิ ัยั และข้้อบัังคัับต่า่ ง ๆ ขององค์ก์ รและสัังคม
12. สนับั สนุนุ การทำงานเป็็นทีีมทั้้ง� การเป็็นผู้้�นำและผู้้ต� าม
13. แก้ไ้ ขข้้อขัดั แย้้ง และปััญหาที่่�เกิิดจากการเรีียนและการฝึึกปฏิิบััติงิ านได้้
14. แสดงออกถึงึ ความซื่่�อสัตั ย์์ต่อ่ บุคุ คลอื่่น� และองค์ก์ ร

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. เจ้้าของกิจิ การธุุรกิิจอาหาร
2. ผู้้�จัดการร้า้ นค้า้ ปลีีกประเภทอาหาร
3. ผู้้�จัดการธุุรกิจิ แปรรููปอาหาร
4. เจ้า้ หน้า้ ที่่ป� ฏิิบััติิการในธุุรกิจิ อาหาร
5. เจ้้าหน้้าที่่�การตลาดและการขายในธุุรกิิจอาหาร
6. เจ้้าหน้้าที่่พ� ััฒนาผลิิตภััณฑ์อ์ าหาร
7. เจ้้าหน้้าที่่�ฝ่า่ ยประกัันคุุณภาพอาหาร

3-13

รายละเอีียดค่่าเล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 165,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตราที่่ส� ถาบันั กำหนด ตามแผนการเรียี นปกติิ 5 ภาคการศึึกษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่า่ เล่า่ เรีียนสำ�ำ หรับั นัักศึกึ ษา ค่่าเล่่าเรียี นสำ�ำ หรัับนัักศึกึ ษา
ที่่เ� ข้า้ เรียี นในภาคการศึกึ ษาพิเิ ศษ ที่่�เข้า้ เรียี นในภาคปกติิ
ครั้�งที่่� 1
ครั้ง� ที่่� 2 – 4 17,000 37,000
ครั้ง� ที่่� 8 37,000 37,000
37,000 17,000

2. อัตั ราค่า่ เล่า่ เรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา ไม่่รวมค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย ดัังต่่อไปนี้้�
- ค่า่ หนังั สืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรียี น
- ค่า่ ชุุดปฏิบิ ััติกิ าร วััตถุุดิิบและอุุปกรณ์์อื่่�นๆ ที่่�เกี่ย� วข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรัับพื้้�นฐาน
- ค่า่ ใช้จ้ ่่ายในการสอบขึ้้�นทะเบียี นการประเมินิ สมรรถนะบุคุ คลตามมาตรฐานอาชีพี
- ค่่าธรรมเนีียมอื่น�่ ๆ และค่่าเบ็ด็ เตล็็ดนอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่อ่ ภาคการศึกึ ษา

ตัวั อย่า่ งสถานประกอบการที่น่� ักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

3-14

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีีการศึกึ ษาที่่� 1

รหััสวิิชา ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 หน่ว่ ยกิติ รหัสั วิชิ า ภาคการศึึกษาที่�่ 2 หน่่วยกิิต

10xxxxx รายวิิชา 3 10xxxxx รายวิิชา 2
10xxxxx 2 10xxxxx 3
1101111 หมวดอัตั ลักั ษณ์์ของพีไี อเอ็็ม(PIM) 3 10xxxxx หมวดศาสตร์์แห่่งชีวี ิิต 3
หมวดศาสตร์์แห่่งชีวี ิติ หมวดศาสตร์์แห่ง่ ชีีวิติ
1101112 การจัดั การธุุรกิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ 3 1101113 หมวดอัตั ลัักษณ์์ของพีไี อเอ็็ม(PIM)
ในยุคุ ดิจิ ิทิ ัลั
2332106 การตลาดดิจิ ิทิ ััล การบัญั ชีแี ละการเงิินเพื่อ่� การ 3
จััดการธุรุ กิิจ 3
2332155 การจััดการระบบคุณุ ภาพอาหารและ 3 1101214 การจััดการโลจิิสติิกส์์และห่่วงโซ่่ 3
ความปลอดภััยด้า้ นอาหาร 3 2332107 อุุปทาน 3
การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิ การจัดั การวััตถุดุ ิิบและ 20
ด้้านการจัดั การธุุรกิจิ อาหาร 1 2332156 เทคโนโลยีกี ารแปรรูปู อาหาร
การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบััติิ
รวม 17 ด้า้ นการจััดการธุรุ กิิจอาหาร 2

รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่�่ 1 หน่ว่ ยกิติ รหััสวิิชา ภาคการศึกึ ษาที่่� 2 หน่ว่ ยกิติ

10xxxxx รายวิชิ า 3 2332210 รายวิชิ า 3

1101215 หมวดศาสตร์์แห่่งชีีวิติ การจัดั การเพื่�่อเป็น็ ผู้้ป� ระกอบการ 3
ธุุรกิจิ อาหารในยุุคดิจิ ิิทััล
2332208 การจัดั การองค์ก์ ารและทรัพั ยากร 3 2332211 การจัดั การต้้นทุุนในธุุรกิิจอาหาร
2332209 มนุุษย์ใ์ นยุคุ ดิจิ ิิทัลั
1101216
2332257 นวัตั กรรมการจััดการธุรุ กิิจอาหาร 3 23332xx กลุ่�มวิิชาเลืือก (1) 3
กลุ่�มวิิชาเลืือก (2) 3
การวิิจััยธุุรกิิจอาหาร 3 23332xx กลุ่�มวิชิ าเลืือกเสรีี 3
การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิ 3
เศรษฐศาสตร์์เพื่อ่� การจัดั การธุรุ กิจิ 3 xxxxxxx ด้้านการจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร 4
18
การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิ 3 2332258 รวม
ด้้านการจัดั การธุุรกิจิ อาหาร 3

รวม 18

3-15

ส่่วนที่�่ 4

รู้้ร� อบ “PIM-EEC”

4-1

รู้จ้� ักั .. PIM - EEC

สถาบันั การจัดั การปััญญาภิิวัฒั น์์ วิทิ ยาเขตอีอี ีซี ีี หรืือ พีไี อเอ็็ม อีอี ีซี ีี (PIM-EEC) ตั้�งอยู่�เลขที่่� 1 หมู่� 7 ต.นาจอมเทียี น
อ.สัตั หีีบ จ.ชลบุุรีี 20250

พัทั ยา ที่ม�่ ารููปภาพ : https://www.nongnoochpattaya.com/
สััตหีีบ
4-2

เดินิ ทางมา PIM-EEC

รถประจำำ�ทาง รถตู้�้โดยสารประจำ�ำ ทาง

สาย 57 (หมอชิติ – ระยอง) สายสััตหีีบ – กทม.
สาย 46 (เอกมัยั – ระยอง) (หมอชิติ – สายใต้้ใหม่่ – เอกมััย – ฟิิวเจอร์์พาร์ค์ รังั สิิต)
สาย 163 จ. (ชลบุุรีี – สััตหีีบ)
สาย 303 (ชลบุรุ ีี – ระยอง)

นักั ศึึกษาลงรถประจำำ�ทาง หรืือรถตู้�้โดยสารประจำ�ำ ทาง

ที่่�บริเิ วณแยกหนองจับั เต่่า หรือื 7-ELEVEn สาขาหนองจับั เต่า่ และต่อ่ มอเตอร์ไ์ ซค์์รัับจ้า้ ง

เพื่่อ� เข้้ามายังั PIM-EEC

ทั้้�งนี้้�ปััจจุุบัันอยู่�ระหว่่างการก่่อสร้้างรถไฟความเร็็วสููงซึ่�งเชื่�่อม 3 สนามบิิน คืือ สนามบิิน
ดอนเมืือง – สนามบิินสุุวรรณภูมู ิิ – สนามบินิ อู่�ตะเภา โดยมีแี ผนเปิิดให้้บริกิ ารในปีี พ.ศ.2568
ทั้้ง� นี้้ส� ถานีรี ถไฟพััทยา จะเป็น็ สถานีรี ถไฟที่่�อยู่�ใกล้เ้ คียี งกัับ PIM-EEC

4-3

ช่อ่ งทางสื่่�อสารใน PIM-EEC

4-4

อาคาร ห้้องเรีียน ห้้องปฏิิบัตั ิกิ าร

ทำำ�ความรู้้�จักั อาคารเรียี น ห้้องเรีียน ใน PIM-EEC
CLICK >>
https://www.youtube.com/watch?v=dQagjD2-2D0

อาคาร Sky Bright Center

ชั้้น� 1
งานประชาสัมั พัันธ์์และรัับสมัคั รนัักศึกึ ษา
ห้อ้ งงานทะเบียี นและประมวลผล บััญชีีและการเงิิน
งานจัดั ซื้�อและพััสดุุ
ห้้องพยาบาล
ห้้องละหมาด
ห้้องปฏิิบัตั ิิการกายวิิภาคศาสตร์์
ห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ ารไฟฟ้า้ -ฟิิสิิกส์์
ห้อ้ งปฏิบิ ััติิการเคมีี
ห้้องปฏิบิ ััติิการเบเกอรี่� อาหารและเครื่อ�่ งดื่ม่� กาแฟ
ห้อ้ ง Food and Beverage Training Center
ห้อ้ งกิจิ กรรมนักั ศึกึ ษา สโมสรนัักศึึกษาและชมรม

ชั้น้� 2
ห้้องเรียี น
ห้อ้ งเรีียนอัจั ฉริยิ ะ Smart Classroom
ห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ ารคอมพิิวเตอร์แ์ ละภาษา
ชั้้�น 3
สำนัักงานผู้้�บริิหารและห้้องพัักอาจารย์แ์ ละบุุคลากร
คณะพยาบาลศาสตร์์
ห้้องปฏิิบััติิการต่า่ งๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์์ อาทิิ

· ห้อ้ งปฏิิบััติิการพยาบาลหุ่่�นเสมืือนจริงิ
· ห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารพยาบาลชุุมชน
· ห้้องปฏิิบััติกิ ารพยาบาลสุขุ ภาพจิติ และจิติ เวช
· ห้อ้ งปฏิิบััติิการพยาบาลเด็็ก
· ห้อ้ งปฏิิบััติกิ ารพยาบาลมารดาและทารก
· ห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ ารพยาบาลพื้้�นฐาน
ห้อ้ งประชุุมและสำนัักงาน

4-5

อาคารแคนทีีน (Canteen Building)

ชั้น�้ 1

· พื้้�นที่่ส� ัันทนาการ
· ร้า้ นอาหาร โดยร้้านค้้าให้บ้ ริิการทุกุ วันั
ตั้�งแต่เ่ วลา 07.00 น. – 19.00 น.

ชั้้น� 2

· ห้้องสมุุด (ชั่ว� คราว)

4-6

หอพักั นักั ศึกึ ษา

อาคาร A: อพาร์ท์ เม้้นท์ส์ ำ�ำ หรับั บุุคลากร
อาคาร B: หอพัักสำ�ำ หรับั นักั ศึึกษาหญิิง
อาคาร C: หอพัักสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษาชาย

หมายเหตุุ: อาคาร D และ E อยู่่�ระหว่่างการดำำ�เนิินการ

ห้้องพักั

น้อ้ งๆ จะมีี Roommate หรืือเพื่�อ่ นร่ว่ มห้อ้ งพััก โดย
ในห้้องหนึ่่�งจะมีีนัักศึึกษาเข้้าพััก 2 คน ภายในห้้องพััก
ประกอบด้้วย

• เตีียงเดี่ย� ว จำนวน 2 เตียี ง
• โต๊ะ๊ สำหรับั อ่่านหนังั สืือ จำนวน 2 โต๊ะ๊
• ตู้�เสื้�อผ้า้ จำนวน 2 ตู้�
• ห้้องน้้ำ 1 ห้้อง และห้อ้ งสุขุ า 1 ห้อ้ ง
• อ่า่ งสำหรัับล้า้ งมืือ ล้า้ งหน้า้
• ชั้น� วางรองเท้้า
• ระเบีียงสำหรับั ตากผ้้า
• ระบบปรับั อากาศ

Review ชีีวิิตนักั ศึกึ ษาในหอพักั และรั้้�ว PIM-EEC
CLICK >> https://www.youtube.com/watch?v=oSbYGIRbLLc

4-7

สิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกในหอพััก

ตู้บ�้ ริกิ ารสินิ ค้้า 7-11 และมวลชน หน้้าหอพักั

หิิวเมื่อ่� ไหร่ก่ ็็แวะมา ที่่�หน้า้ หอพักั จะมีสี ินิ ค้้าต่า่ งๆ บริิการน้อ้ งๆ
ผ่่านตู้้�บริกิ ารสิินค้า้ 7-11 และตู้้�บริิการสินิ ค้้าของมวลชน

ห้้อง Co-Working Space

จะนั่่�งพัักผ่่อน ทานอาหาร และพููดคุยุ กัับเพื่�่อนร่ว่ มหอพักั ต้้องที่่�
นี่่�เลย แถมยัังมีีเครื่�่องทำน้้ำร้้อน น้้ำเย็็น ตู้�เย็็น ไมโครเวฟ และจุุด
สำหรับั ล้า้ งจานชามบริกิ ารน้อ้ งๆ ในหอพัักอีกี ด้ว้ ย

น้อ้ งๆ สามารถมานั่่ง� พักั ผ่อ่ นที่่ห� ้อ้ ง Co-Working Space ได้ท้ ี่่ช�ั้น�
1 และ ชั้�น 3 ของอาคารหอพััก

ห้้องซัักอบ

หากต้้องการ ซักั และอบแห้้งเสื้�อผ้้า น้อ้ งๆ นักั ศึึกษาสามารถมา
ใช้้บริกิ ารได้ท้ ี่่�ห้้องซัักอบ บริิเวณชั้้น� 1 อาคารหอพััก (มีีค่่าบริกิ าร)

ห้้องรีีดผ้้า

ที่่บ� ริเิ วณชั้้น� 2 และชั้�น 4 ของอาคารหอพักั มีีให้บ้ ริกิ ารอุปุ กรณ์์
แก่น่ ักั ศึกึ ษาสำหรัับรีดี ผ้า้ (ไม่่มีคี ่่าใช้จ้ ่่าย)

บริิการ WIFI ฟรีี ตลอด 24 ชั่่�วโมง

และเพื่อ่� ความปลอดภัยั ของนักั ศึกึ ษา PIM-EEC มีรี ะบบกล้อ้ งวงจรปิดิ (CCTV) รอบอาคาร และภายในพื้้น� ที่่� และ
ยัังมีีเจ้า้ หน้า้ ที่่ร� ักั ษาความปลอดภัยั และช่่างประจำอาคารที่่�คอยดููแลตลอด 24 ชั่�วโมง

4-8

การจองหอพัักและกฎระเบีียบหอพักั นักั ศึกึ ษา

สำหรัับนัักศึึกษาใหม่่ที่่�ต้้องการเข้้าพัักหอพัักนัักศึึกษา PIM-EEC สามารถดำเนิินการได้้โดยผ่่าน ระบบการจอง
หอพักั นักั ศึกึ ษา วิทิ ยาเขต EEC โดยนักั ศึกึ ษาสามารถเข้้าสู่�ระบบดัังกล่่าวผ่า่ นทาง PIM-EEC Family Line Official
หรืือ https://www.pim.ac.th/faculty/bachelor/pimeec และต้อ้ งปฏิบิ ัตั ิิตามกฎระเบียี บหอพัักอย่่างเคร่่งครััด

นอกจากนี้้� PIM-EEC ยัังให้้ความสำคััญในการใช้้ชีีวิิตของนัักศึึกษาในรั้�วมหาวิิทยาลััย จึึงจััดให้้มีี PIM-EEC
Campus Bike Sharing เพื่อ่� เป็น็ การแบ่ง่ ปันั จักั รยานกันั ภายใน PIM-EEC สำหรับั ให้บ้ ริกิ ารเช่า่ จักั รยานเพื่อ่� ใช้ภ้ ายใน
PIM-EEC และรอบรั้้ว� PIM-EEC เพื่�่อให้้นัักศึึกษาออกกำลัังกายและเดินิ ทางในระยะทางใกล้้ๆ โดยทำรายการยืืมผ่่าน
PIM-EEC Family Line Official

4-9

เที่ย�่ วรอบบ้้าน..PIM-EEC รอบๆ PIM-EEC จะมีีสถานที่่�
ท่อ่ งเที่่�ยวมากมาย เพื่�่อให้้นัักศึกึ ษา
พัักผ่่อนและท่่องเที่่�ยวในวัันหยุุด
หรืือตลอดเวลาที่่�ศึึกษาที่่�วิิทยาเขต
อีอี ีีซีี อาทิิ
สวนนงนุุช

สวนนงนุชุ สถานที่่เ� ที่่ย� วระดัับโลกสุดุ อลังั การ มีีสวนสวย หุุบเขาไดโนเสาร์น์ านา
ชนิิด คิิดว่่ายกจููราสสิิคพาร์์คมาเลยทีีเดีียว นอกจากนั้้�นแล้้วสวนแต่่ละที่่�นั้้�นยัังจััดให้้
เหมาะแก่ก่ ารมาถ่่ายรูปู ชิคิ ๆ เก๋๋ ๆ ลงบนโซเชียี ลอวดเพื่่�อนได้แ้ บบสุดุ ปังั

สิิทธิิพิิเศษสำหรัับนัักศึึกษา PIM-EEC เพีียงแสดงบััตรนัักศึึกษา (บััตร
อิิเล็ก็ ทรอนิกิ ส์)์ ก็็สามารถเข้า้ ชมและพักั ผ่่อนที่่�สวนนงนุุชฟรีี ไม่่เสียี ค่่าใช้จ้ ่่าย

วิิหารเซีียน

สถานที่่�ท่่องเที่่�ยวจััดแสดงโบราณสถานและโบราณวััตถุุที่่�มีีอายุุกว่่าพัันปีีถึึงสอง
พันั ปีขี องประเทศจีนี และไทย ได้แ้ ก่่ รููปหล่่อสำริดิ เทพเจ้้าจีีน จัักรพรรดิจิ ีนี ทหารจีีน
และพระพุุทธรููปไทย และที่่�เป็็นไฮไลท์์ คืือ ตุ๊�กตาจีนี ที่่อ� ยู่�ในสุสุ านจิ๋น� ซีีฮ่อ่ งเต้้

สิิทธิิพิิเศษสำหรัับนัักศึึกษา PIM-EEC เพีียงแสดงบััตรนัักศึึกษา (บััตร
อิิเล็็กทรอนิกิ ส์์) ก็็สามารถเข้้าชมและพัักผ่่อนที่่ว� ิิหารเซีียนฟรีี ไม่่เสีียค่่าใช้จ้ ่่าย

ตลาดน้ำ�ำ� 4 ภาค

สถานที่่ท� ่อ่ งเที่่ย� วเชิงิ อนุรุ ักั ษ์ว์ ัฒั นธรรมและเป็น็ ศูนู ย์ร์ วมของกิจิ กรรมความหลาก
หลายเกี่ย� วกับั การอนุรุ ักั ษ์ศ์ ิลิ ปวัฒั นธรรม ตลาดน้้ำ ให้น้ ้อ้ งๆ เพลิดิ เพลินิ กับั สินิ ค้า้ และ
อาหารจากหลากหลายภูมู ิภิ าคของประเทศไทยที่่ข� นขึ้น� เรืือมาให้เ้ ราได้ล้ องชิมิ หรืือลง
ไปรัับประทานบนเรืือ

เขาชีีจรรย์์

เขาชีจี รรย์์ สถานที่่ท� ่อ่ งเที่่ย� วที่่ม� ีชี ื่อ�่ เสียี งอีกี แห่ง่ หนึ่่ง� ซึ่ง� มีพี ระพุทุ ธรูปู แกะสลักั บน
หน้้าผาหิินในลัักษณะพระพุุทธฉายที่่�ใหญ่่ที่่�สุุดในโลก เพื่�่อเป็็นพระพุุทธรููปประจำ
รััชกาลที่่� 9 เกล้า้ ถวายเป็็นพระราชกุศุ ลเนื่�อ่ งในวโรกาสทรงครองสิริ ิิราชสมบัตั ิิปีีที่่� 50
ของพระบาทสมเด็จ็ พระปรมินิ ทร มหาภูมู ิพิ ลอดุลุ ยเดช เป็น็ พระพุทุ ธรูปู แบบประทับั
นั่่�งปางมารวิิชััยเลีียนแบบพระพุุทธนวราชบพิิตรศิิลปะสุุโขทััยผสมล้้านนา ความสููง
109 เมตร

สวนน้ำ��ำ รามายณะ

สวนน้้ำขนาดใหญ่่กัับธีีมการตกแต่่งแบบหิิมพานต์์ ตั้�งอยู่่�ท่่ามกลางภููเขาและมีี
บรรยากาศปลอดโปร่ง่ โล่ง่ สบาย พร้้อมเครื่่�องเล่น่ มากมาย

4-10

ไร่่องุ่่�นซิิลเวอร์์เลค

สถานที่่�ท่อ่ งเที่่ย� วที่่�โด่่งดังั ของเมืืองพััทยา ด้้วยสถาปัตั ยกรรมที่่�สวยงาม โดดเด่่น
ท่า่ มกลางวิิวภููเขาและทะเลสาบอันั กว้า้ งใหญ่่ เหมาะกับั วัยั รุ่�นสายรักั ธรรมชาติิ

หายหาดบ้้านอำ�ำ เภอ

ชายหาดในชุุมชนบ้้านอำเภอ อยู่�ไม่่ไกลจาก PIM-EEC ของเรา เหมาะสำหรัับ
น้อ้ งๆ ที่่จ� ะมาเดินิ เล่่น ปูเู สื่อ่� ปิคิ นิิคกันั ยามเย็็น นั่่ง� ชมพระอาทิิตย์์ตกดินิ กัับเพื่อ�่ น ๆ
ได้้อย่า่ งสบายใจ

ชายหาดบางเสร่่

อีกี หนึ่่ง� ชายหาดที่่ไ� ม่ไ่ กลจาก PIM-EEC จุดุ เด่น่ ของชายหาดนี้้� คืือ คนไม่เ่ ยอะมาก
และมีมี ุมุ สบายให้ผ้ ูกู เปลนอนเล่น่ หรืือจะนั่่ง� รับั ประทานอาหารริมิ หาดก็ไ็ ด้บ้ รรยากาศ
ไปอีกี แบบ

เกาะล้้าน

เกาะที่่�นัักท่่องเที่่�ยวทั่่�วทุุกสารทิิศต่่างพากัันมาใช้้เวลาพัักผ่่อนในวัันหยุุด เพราะ
นอกจากน้้ำทะเลที่่�สวยใส ชายหาดที่่�ขาวสะอาด อาหารทะเลสดใหม่่ และที่่�พัักให้้
เลืือกหลากหลายราคาไม่่แพง สุุดปััง! และอยู่�ไม่่ห่่างจาก PIM-EEC

วััดญาณสัังวราราม

พระอารามหลวงชั้น� เอกสร้้างขึ้น� ใน พ.ศ.2519 นอกจากนั้้น� ยังั มีศี าลานานาชาติิ
หรืือ ศาลามัังกรเล่่นน้้ำไว้้สำหรัับนั่่ง� พัักผ่อ่ นหย่อ่ นใจริมิ น้้ำแบบชิลิ ๆ ได้้ด้ว้ ย

4-11

ปฏิิทิินการศึึกษา 2565 และรููปแบบการเรีียน

PIM (พีไี อเอ็ม็ ) มีีการจัดั การเรีียนการสอนผ่่านการเรีียนรู้�จากประสบการณ์จ์ ริงิ (Work-based Education) ที่่�
มุ่�งเน้น้ การปฏิบิ ัตั ิเิ พื่อ่� ให้น้ ักั ศึกึ ษาได้ร้ ับั ความรู้�และทักั ษะ (Knowledge & Skill) จากการเรียี นรู้�ในชั้น� เรียี น และสถาน
ประกอบการ ดัังนั้้น� หนึ่่�งภาคการศึกึ ษาจะแบ่่งการเรียี นการสอนออกเป็น็ 2 ช่ว่ ง (ช่่วงละ 3 เดืือน) โดยมีกี ารเรียี นใน
ชั้�นเรียี นและการฝึึกปฏิบิ ััติิในสถานประกอบการต่า่ งๆ แตกต่า่ งกัันตามแผนการเรียี นของแต่ล่ ะหลัักสููตร

ปฏิิทิินการศึึกษาสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษาคณะบริิหารธุุรกิจิ
คณะวิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี และคณะการจัดั การธุุรกิิจอาหาร

กิจิ กรรม ภาคการศึึกษาพิิเศษ ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2
0.1 0.2 1.1 1.2 2.1 2.2

ปฐมนิเิ ทศ/ประชุุมผู้้�ปกครอง/ ตามประกาศ ตามประกาศ ตามประกาศ - --
พบอาจารย์ท์ ี่่�ปรึกึ ษา/ สถาบันั *** สถาบััน *** สถาบันั ***
ลงทะเบียี นอัตั โนมัตั ิิ

วันั สุุดท้้าย ของการชำระเงินิ 8 ส.ค. 65 6 ก.พ. 65
ค่่าเล่่าเรียี นค้า้ งชำระเทอมปัจั จุุบันั

พบอาจารย์ท์ ี่่ป� รึึกษา/ 1 – 9 ส.ค. 65 30 ม.ค. - 7 ก.พ. 65
ลงทะเบียี นเรียี น Online*

ชำระเงินิ ค่่าเล่่าเรีียน* 1 ส.ค. – 10 ก.ย. 65 30 ม.ค. – 10 ก.พ. 66

ระยะเวลาฝึกึ ปฏิิบััติิงาน 16 มี.ี ค. - 1 มิิ.ย. – 31 ส.ค. 65 1 ก.ย. – 30 พ.ย. 65 1 ธ.ค. 65 – 28 ก.พ. 66 1 มีี.ค. – 31 พ.ค. 66 1 มิิ.ย. – 31 ส.ค. 66
31 พ.ค. 65

ระยะเวลาเรียี น - 6 มิ.ิ ย. – 14 ส.ค. 65 5 ก.ย. – 13 พ.ย. 65 5 ธ.ค. 65 – 12 ก.พ. 66 7 มี.ี ค. – 14 พ.ค. 66 5 มิิ.ย. – 13 ส.ค. 66

ระยะเวลาลาพักั / 5 ก.ย. – 5 ธ.ค. 65 – 7 มีี.ค. – 5 มิ.ิ ย. –
รัักษาสภาพการเป็น็ นัักศึกึ ษา 5 ต.ค. 65 5 ม.ค. 66 7 เม.ย. 66 5 ก.ค. 66

ลงทะเบีียนล่่าช้า้ Online 29 ส.ค. – 5 ก.ย. 65 27 ก.พ. – 6 มีี.ค. 66
นศ.ทุุกชั้้น� ปีี และชำระเงิิน*

เพิ่่ม� /ถอนรายวิิชา (ไม่่ติดิ W) 16 – 20 7 – 19 มิิ.ย. 65 6 – 18 ก.ย. 65 6 – 18 ธ.ค. 65 7 – 19 มี.ี ค. 66 6 – 18 มิิ.ย. 66
และชำระเงินิ กรณีีเพิ่่ม� รายวิชิ า* มีี.ค. 65

ถอนรายวิชิ า (ติิด W) 21 มีี.ค. - 20 มิ.ิ ย. – 19 ก.ย. – 19 ธ.ค. 65 – 20 มี.ี ค. – 19 มิ.ิ ย. –
6 พ.ค. 65 5 ส.ค. 65 28 ต.ค. 65 27 ม.ค. 66 28 เม.ย. 66 28 ก.ค. 66

สอบปลายภาค - 17 – 24 ส.ค. 65 16 – 23 พ.ย. 65 15 – 22 ก.พ. 66 17 – 24 พ.ค. 66 16 – 23 ส.ค. 66

ประกาศผลการเรียี น/ 9 มิิ.ย. 65 8 ก.ย. 65 8 ธ.ค. 65 9 มี.ี ค. 66 8 มิ.ิ ย. 66 7 ก.ย. 66
ผลการฝึึกปฏิบิ ัตั ิิงาน Online

วันั สุุดท้้าย การแก้ไ้ ขเกรด “I” 11 ก.ค. 65 10 ต.ค. 65 9 ม.ค. 66 10 เม.ย. 66 10 ก.ค. 66 9 ต.ค. 66

วันั เปิดิ ภาคการศึกึ ษา 16 มี.ี ค. 66 1 มิิ.ย. 66 1 ก.ย. 66 1 ธ.ค. 66 1 มีี.ค. 67 1 มิ.ิ ย. 67
ปีกี ารศึกึ ษา 2565

หมายเหตุุ :
* หากพ้้นกำหนด มีคี ่า่ ปรับั ตามประกาศสถาบัันฯ
** นัักศึึกษาปีี 1 (รุ่�น 6501) คณะบริหิ ารธุรุ กิจิ หลัักสูตู รการจัดั การธุุรกิิจการค้้าสมััยใหม่่ และหลักั สููตรการจััดการ

ธุรุ กิจิ การค้า้ สมัยั ใหม่่ (ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอิินเทอร์์เน็็ต) กลุ่�มทวิิภาคีี
ข้้อมูลู ปฏิทิ ิินการศึึกษา : https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-undergraduate-th

4-12

ปฏิทิ ินิ การศึกึ ษาสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษาคณะพยาบาลศาสตร์์

กิจิ กรรม ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่�่ 2 ภาคฤดููร้้อน
(หลัักสููตร 2.5 ปี)ี

ปฐมนิิเทศ/ ประชุุมผู้�้ ปกครอง/ พบอาจารย์ท์ ี่่�ปรึกึ ษา/ ตามประกาศ - -
ลงทะเบียี นอัตั โนมัตั ิิ สถาบันั

วันั สุุดท้้าย ของการชำระเงินิ ค่่าเล่่าเรียี นค้้างชำระเทอมปัจั จุุบันั - 3 ต.ค. 65 -

พบอาจารย์ท์ ี่่�ปรึึกษา/ ลงทะเบีียนเรียี น Online* - 26 ก.ย. – 4 ต.ค. 65 6 – 14 ก.พ. 66
และชำระเงินิ ค่่าเล่่าเรียี น*

ระยะเวลาเปิดิ ภาคการศึึกษา 30 พ.ค. – 18 ก.ย. 65 24 ต.ค. 65 – 12 ก.พ. 66 6 มี.ี ค. – 30 เม.ย. 66

ระยะเวลาลาพััก/ รักั ษาสภาพการเป็็นนักั ศึึกษา - 24 ต.ค. – 24 พ.ย. 65 6 มี.ี ค. – 6 เม.ย. 66

ลงทะเบีียนล่่าช้้า Online นศ.ทุุกชั้้�นปีี และชำระเงินิ * - 24 – 31 ต.ค. 65 6 – 13 มีี.ค. 66

เพิ่่ม� /ถอนรายวิชิ า (ไม่่ติิด W) และชำระเงิินกรณีเี พิ่่�มรายวิิชา* 7 – 19 มิิ.ย. 65 1 – 13 พ.ย. 65 14 – 26 มี.ี ค. 66

ถอนรายวิชิ า (ติิด W) 20 มิ.ิ ย. – 26 ส.ค. 65 14 พ.ย. – 20 ม.ค. 66 27 มีี.ค. – 7 เม.ย. 66

สอบปลายภาค 12 – 16 ก.ย. 65 6 – 10 ก.พ. 66 24 – 28 เม.ย. 66

กิจิ กรรมเสริิมทักั ษะ (หลัักสููตร 2.5 ปี)ี 19 ก.ย. – 18 ต.ค. 65 - -

กลุ่�มที่่� 1 :

กิจิ กรรมเสริมิ ทักั ษะ (หลักั สููตร 4 ปี)ี - 13 ก.พ. – 15 มี.ี ค. 66 -
กลุ่�มที่่� 2 :

16 มีี.ค. – 15 เม.ย. 66

ประกาศผลการเรีียน/ ผลการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิงาน Online 6 ต.ค. 65 2 มีี.ค. 66 18 พ.ค. 66

วัันสุุดท้้าย การแก้้ไขเกรด “I” 7 พ.ย. 65 3 เม.ย. 66 19 มิ.ิ ย. 66

วัันเปิดิ ภาคการศึึกษาปีกี ารศึกึ ษา 2565 29 พ.ค. 66 23 ต.ค. 66 4 มีี.ค. 67

หมายเหตุุ:
* หากพ้น้ กำหนด มีคี ่า่ ปรัับตามประกาศสถาบันั
ข้้อมูลู ปฏิทิ ิินการศึกึ ษา: https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-undergraduate-th

4-13

เทคโนโลยีีและระบบสนับั สนุนุ นักั ศึกึ ษา
• Single Sign-On

นัักศึึกษาสามารถใช้้คอมพิิวเตอร์์ที่่�จุุดบริิการต่่างๆ ภายใน
สถาบันั และระบบบริกิ ารสารสนเทศสำหรับั นักั ศึกึ ษา เช่น่ เว็บ็ ไซต์์
บริกิ ารการศึกึ ษา (http://reg.pim.ac.th) ระบบการเรียี นการสอน
ออนไลน์์ PIM Application และระบบอื่่น� ๆ โดยใช้้ Username
และ Password เดียี วในทุุกระบบ (Single Sign-On) ที่่ส� ถาบันั
ให้้บริกิ าร

4-14

• PIM Application

แอปพลิเิ คชันั ที่่อ� ำนวยความสะดวกและเป็น็ ประโยชน์ใ์ นเรื่อ่� งต่า่ งๆ แก่น่ ักั ศึกึ ษาของสถาบันั ดังั นั้้น� นักั ศึกึ ษาทุกุ คน
ควรติิดตั้�ง PIM Application ใน Smart Devices ของตนเอง

ตัวั อย่่างฟังั ก์์ชั่่�นของ PIM Application เพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกแก่่นักั ศึกึ ษา

1. ดููตารางเรียี น ห้้องเรียี น ห้อ้ งสอบ ผลการเรียี น >> ผ่่านเมนูู Academic
2. ยืืนยัันการเข้้าเรีียน >> ผ่่านเมนูู Check Room Tracking
3. แสดงบััตรนัักศึึกษา >> ผ่่านเมนููบััตรนักั ศึึกษาอิิเล็ก็ ทรอนิกิ ส์์
4. ตรวจสอบอาจารย์ท์ ี่่�ปรึึกษาที่่�ดููแล >> ผ่่านเมนูู Advisor
5. ตรวจสอบปฏิทิ ินิ การศึึกษาและกิิจกรรมต่่างๆ >> ผ่่านปฏิทิ ินิ กิิจกรรม
6. รับั การแจ้ง้ เตืือนต่่างๆ จากสถาบันั >> ผ่่านเมนูู Notifications
7. เข้้าลิิงค์์ URL ที่่ส� ำคัญั เช่่น e-Learning, REG (ระบบบริิการการศึกึ ษา),

แบบคำร้อ้ งออนไลน์์, บริิการยืืม - คืนื หนังั สือื ห้้องสมุุด เป็็นต้้น

4-15

หมายเหตุุ :

กรณีเี ปลี่ย� น Smart Devices และต้อ้ งการลง PIM Application ใน Smart Devices ใหม่่ กรุณุ า
ติิดต่่อสำนัักเทคโนโลยีีสารสนเทศ ชั้�น 12 อาคาร CP ALL Academy หรืือ Facebook:
สำนักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ สถาบันั การจััดการปััญญาภิวิ ัฒั น์์

4-16

• PIM Line Official หรือื PIM CONNECT

PIM CONNECT เป็น็ Line Official ของสถาบันั เพื่่�ออำนวยความสะดวกในการติิดต่่อ สอบถาม ปรึึกษา และ
เข้้าถึงึ ข้้อมูลู และระบบบริิการต่า่ งๆ ของสถาบันั ผ่า่ น Rich Menu ที่่น� ักั ศึึกษาสามารถติดิ ต่อ่ ได้้ตลอดเวลา

4-17


Click to View FlipBook Version