The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2021-04-25 23:29:20

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

สารบัญั

คู่ม�่ ือื นัักศึึกษาใหม่่ “วิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยี”ี

หน้้า หน้้า

ส่่วนที่่� 1: สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” 3 ส่่วนที่่� 4 : รอบรู้้� “พีี ไอ เอ็็ม (PIM)” 54
ตราสัญั ลัักษณ์ ์ 4 54
สีปี ระจำำ�สถาบันั 4 ที่่�ตั้ �งและการเดิินทาง 56
ลัดั เลาะ..รอบบ้้าน PIM : แจ้้งวัฒั นะ
ดอกไม้้ประจำำ�สถาบััน 4 อาคาร ห้อ้ งเรีียน ห้อ้ งปฏิบิ ััติิการ 57
ปรัชั ญา 5 ปฏิิทิินการศึกึ ษาและรูปู แบบการเรียี น 63
วิิสััยทััศน์ ์ 5 เทคโนโลยีแี ละระบบสนัับสนุุนนัักศึึกษา 64
พัันธกิจิ 5 - Single Sign-On 64
เอกลัักษณ์ส์ ถาบันั 5 - PIM Application 65
อััตลัักษณ์์นัักศึึกษา 6 - Wi-Fi PIMHotspot 67
คณะวิชิ า สำ�ำ นักั วิิทยาลััยในสถาบััน 7 - e-mail 68
เพลงสถาบันั 9 - Office 365 69
บัตั รนัักศึกึ ษา 70
ส่่วนที่่� 2 : รู้้จ� ัักสำ�ำ นักั การศึึกษาทั่่�วไป 10 การแต่่งกาย 71
ปรััชญา 10
วิสิ ััยทัศั น์์ 10 เมื่่�อมาเรีียนที่่� PIM 72
- ดูตู ารางเรีียน 72
พัันธกิิจ 10 - ตารางหน้้าห้้องเรียี น 73
สััญลักั ษณ์แ์ ละสีปี ระจำ�ำ สำ�ำ นััก 10
บทบาทหน้้าที่่� 11 - การยืืนยัันการเข้้าเรียี น 74
- PIM e-Learning 75
ศูนู ย์พ์ ัฒั นาทักั ษะและภาษา 11 - PIM MOOC 76
โครงการ PIM 3L : 13
Lifelong Learner Building your future skills ห้อ้ งสมุุด PIM และแหล่่งเรียี นรู้�ออนไลน์์ 77
วารสารวิิชาการของ 81
15 สถาบันั การจััดการปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์
ส่่วนที่่� 3 : รู้้�จัักคณะเรา 15 ใกล้ส้ อบแล้้ว..ต้้องทำำ�อย่่างไร 82
16 เกรดออกแล้้ว 84
“วิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี” 16 การยื่�่นแบบคำำ�ร้้องออนไลน์ ์ ลงทะเบีียนเรีียน 85
17 ประเมิินต่่างๆ และอื่่�นๆ
ปรัชั ญา ปณิธิ าน วิิสัยั ทััศน์์ และพันั ธกิิจคณะ 18 เตรียี มตััวอย่่างไรเมื่�่อไปฝึึกปฏิบิ ัตั ิิ 87
สััญลัักษณ์์ และสีีประจำ�ำ คณะ 25 มีปี ััญหา..ปรึกึ ษาใคร 88
หลัักสููตร/ สาขาวิิชาที่่�เปิิดสอน - อาจารย์ท์ ี่่ป� รึึกษา 88
การเข้้าถึึงข้อ้ มูลู คณะ 32 - CCDS 89
- หลักั สููตรวิทิ ยาศาตรบัณั ฑิติ - Smile Center 90
สาขาวิิชาเทคโนโลยีีดิจิ ิทิ ััลและสารสนเทศ 39 - Friends Care PIM 90
- หลักั สููตรวิศิ วกรรมศาสตรบัณั ฑิติ 46 เข้า้ ภาคเรีียนใหม่่ต้้องทำ�ำ อย่่างไร 91
สาขาวิชิ าวิศิ วกรรมคอมพิวิ เตอร์์ - ลงทะเบียี นเรียี น 91
และปััญญาประดิิษฐ์ ์ - ชำำ�ระค่่าเล่่าเรียี นและค่่าธรรมเนีียมต่่างๆ 92
- หลัักสูตู รวิศิ วกรรมศาสตรบัณั ฑิติ เรียี นดีี ประพฤติิดีี มีที ุุน 93
สาขาวิิชาวิศิ วกรรมอุตุ สาหการและ วิินัยั นัักศึึกษา 94
การผลิิตอัจั ฉริยิ ะ ทำำ�อย่่างไรให้ไ้ ด้้เกีียรติินิิยม 95
- หลักั สููตรวิศิ วกรรมศาสตรบัณั ฑิิต ทำำ�อย่่างไรไม่่ให้ถ้ ูกู Retire 96
สาขาวิิชาวิศิ วกรรมการผลิติ ยานยนต์์ สวััสดิกิ ารสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา 97
- หลัักสูตู รวิิศวกรรมศาสตรบัณั ฑิิต ชมรมและกิิจกรรมต่่างๆ 98
สาขาวิชิ าวิิศวกรรมหุ่่�นยนต์แ์ ละ
ระบบอัตั โนมััติิ

ชิิลล์์ ฟิิน ช๊อ๊ ป ก๊๊อปปี้้� รีแี ลคซ์์ หอพักั 99
ช่่องทางการสื่อ�่ สาร..บริิการนัักศึึกษา 104

สถาบันั เรา
“พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)”

สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ หรืือ พีีไอเอ็ม็ รูปู แผนที่่�ประเทศไทยที่�่แสดงพื้้�นที่�่
(PIM) เป็น็ สถาบันั อุดุ มศึกึ ษาที่่�ได้ร้ับั การสนับั สนุนุ 1. วิิทยาเขต แจ้ง้ วัฒั นะ
ในการจัดั ตั้ง� จากบริษิ ัทั ซีพี ีี ออลล์์ จำำ�กัดั (มหาชน) 2. วิทิ ยาเขตอีีอีซี ีี จ.ชลบุรุ ีี
ในเครืือเจริญิ โภคภัณั ฑ์์ โดยได้ร้ับั การรับั รองจาก 3. หน่่วยการเรีียนทางไกล
กระทรวงการอุดุ มศึกึ ษา วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และ
นวัตั กรรม เพื่อ่� ให้ป้ ริญิ ญาในระดับั ปริญิ ญาตรีี • จัังหวััดพระนครศรีอี ยุุธยา
ปริญิ ญาโท และปริญิ ญาเอก ซึ่่ง� จัดั การเรียี นการ • จัังหวััดชลบุุรีี
สอนทั้ง้� ภาคภาษาไทย ภาษาจีนี และภาษาอังั กฤษ • จังั หวัดั เชียี งใหม่่
ในฐานะที่่ส� ถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์เ์ ป็น็ • จัังหวััดขอนแก่่น
มหาวิิทยาลัยั แห่่งองค์ก์ รธุรุ กิิจ (Corporate • จัังหวััดลำำ�ปาง
University) ที่่ม� ีกี ารเรียี นการสอนแบบ Work- • จัังหวััดนครราชสีีมา
based Education จึงึ แตกต่่างด้ว้ ยความเป็น็ เลิศิ • จัังหวััดนครสวรรค์์
ทางวิชิ าการ มุ่่ง� เน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาเรียี นรู้้�จากการฝึกึ • จังั หวัดั เพชรบุุรีี
ปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ กับั ธุรุ กิจิ เช่่น กลุ่ม� ซีพี ีี ออลล์์ เครืือ • จังั หวัดั สงขลา
ซีพี ีี และพันั ธมิติ รทางธุรุ กิจิ เพื่อ�่ ให้น้ ักั ศึกึ ษาได้ร้ับั • จังั หวััดสมุุทรปราการ
ประสบการณ์์ในการทำ�ำ งานจนเกิดิ ความเชี่ย� วชาญ • จัังหวัดั สุุราษฎร์์ธานีี
ดังั นั้้น� บัณั ฑิติ พีีไอเอ็ม็ จึงึ เป็น็ บุคุ ลากรคุณุ ภาพผู้้�มีี • จังั หวัดั อุดุ รธานีี
ความรู้้�ทางวิชิ าการและมีคี วามพร้อ้ มในการปฏิบิ ัตั ิิ
งานอย่่างมืืออาชีพี 33
นักั ศึกึ ษาของสถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์
มีีการเรีียนหรืือศึึกษาตลอดทั้้ง� หลัักสููตรใน
สถานที่่ต� ่่างๆ คืือ

1 . ส ถ า บัั น ก า ร จัั ด ก า ร ปัั ญ ญ า ภิิ วัั ฒ น์ ์
ถนนแจ้ง้ วััฒนะ อ.ปากเกร็ด็ จ.นนทบุรุ ีี

2 . ส ถ า บัั น ก า ร จัั ด ก า ร ปัั ญ ญ า ภิิ วัั ฒ น์์
วิิทยาเขตอีีอีีซีี อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี
(PIM-EEC)

3. หน่่วยการเรียนทางไกล ใน 12 จังั หวัด
ทั่่�วประเทศ

ตราสัญลักษณ์ ช่่อมะกอก โล่่ ริบิ บิ้้น�
สีประจ�ำสถาบนั หมายถึงึ ความมีชี ััยชนะเหนืือสิ่�งอื่น�่ ใด
มงกุฎุ
หมายถึงึ การศึกึ ษาแสดงถึงึ ความสำ�ำ เร็จ็ อย่่างสูงู สุดุ และยิ่ง� ใหญ่่
สีเี ขีียว/เหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็็นเลิศิ ทางวิิชาการ และความถึงึ พร้้อมด้ว้ ย
คุณุ ธรรม เป็น็ หนทางแห่่งความเจริญิ รุ่�งเรืืองในชีวี ิิต
ชื่่�อสถาบััน
มีีชื่�่อสถาบันั ภาษาอัังกฤษ และตััวย่่ออยู่�ในโล่่
ส่่วนชื่่อ� สถาบันั ภาษาไทยอยู่ใ� นริบิ บิ้้น�

สีีเขีียว
หมายถึึง ความเจริญิ รุ่ง� เรืือง ความงอกงาม ความสมบููรณ์์
สีีเหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการและถึงึ พร้อ้ มด้้วยคุณุ ธรรม
สีีประจำ�ำ สถาบันั
หมายถึงึ ความเป็็นเลิศิ ทางวิิชาการและความถึึงพร้อ้ มด้ว้ ย
คุณุ ธรรมเป็็นหนทางแห่่งความเจริญิ รุ่ง� เรืืองในชีวี ิิต

ดอกไม้ประจ�ำสถาบนั

ดอกบััวมัังคลอุุบล (มังั -คะ-ละ-อุุบล)
ซึ่่�งเปรียี บเสมืือนตััวแทนของ
1) ความเพีียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความสำ�ำ เร็จ็ อัันงดงาม

4

ปรััชญา

"การศึกึ ษาคือื บ่่อเกิดิ แห่่งภููมิิปัญั ญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิสิ ััยทััศน์์

“สรา้ งมอื อาชีพด้วยการเรยี นรู้จากประสบการณ์จริง”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พัันธกิิจ

“มหาวิิทยาลััยแห่่งองค์์กรธุรุ กิิจ (Corporate University)” ที่่�มีีพันั ธกิจิ ดังั นี้้�
1. สร้้างคนที่่�มีีคุุณภาพและตรงกัับความต้้องการของภาคธุุรกิิจ สัังคมและประชาคมโลก โดยเน้้นการเรีียนรู้�

จากประสบการณ์์จริงิ (Work-based Education)
2. ผสมผสานองค์ค์ วามรู้้�เชิงิ วิชิ าการและองค์ก์ รธุรุ กิจิ เพื่อ�่ การจัดั การเรียี นการสอน การวิจิ ัยั การบริกิ ารวิชิ าการ

และทำำ�นุบุ ำ�ำ รุุงศิิลปะวัฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือ เพื่อ�่ พััฒนาองค์ค์ วามรู้้�และส่่งเสริิมนวัตั กรรม (Collaborative Networking)
4. พััฒนาองค์์กรที่่�พร้้อมรัับความเปลี่�ยนแปลง และมีีระบบการบริิหารจััดการที่่�ดีี (Transformative

Organization & Good Governance)

เอกลัักษณ์ส์ ถาบันั

การเป็น็ Corporate University บนพื้้น� ฐานของการจัดั การศึกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบด้ว้ ย
1. การสอนโดยมืืออาชีีพ (Work-based Teaching) เป็็นการเรีียนภาคทฤษฎีีควบคู่่�กัับการเรีียนรู้้�จากกรณีี

ศึกึ ษา จากผู้�ปฏิิบัตั ิงิ านจริิงในองค์์กร เพื่่อ� เตรีียมความพร้้อมที่่จ� ะฝึกึ ปฏิิบัตั ิจิ ริิง
2. การเรียี นรู้้�จากการปฏิบิ ััติิ (Work-based Learning) เป็น็ การเรียี นรู้�โดยการลงมืือปฏิบิ ััติงิ านจริงิ ที่่ม� ีกี ารจัดั

วางโปรแกรมครูฝู ึกึ และมีีระบบการติดิ ตามประเมินิ อย่่างเป็็นระบบตามวิิชาชีพี ของหลัักสููตร เพื่่�อทำ�ำ ให้้มีี
การบูรู ณาการระหว่่างทฤษฎีีกับั ภาคปฏิบิ ัตั ิิอย่่างแท้้จริงิ
3. การวิจิ ัยั สู่น� วัตั กรรม (Work-based Researching) เป็น็ การศึกึ ษาวิจิ ัยั ของคณาจารย์จ์ ากปัญั หาวิจิ ัยั จริงิ ใน
องค์์กรที่่�นำำ�ผลการวิิจััยไปใช้้ปฏิิบััติิได้้โดยตรง และนำ�ำ องค์์ความรู้้�ใหม่่ๆ กลัับมาสู่�การเรีียนการสอนใน
ห้อ้ งเรีียน
4. มหาวิิทยาลััยแห่่งการสร้้างเครืือข่่าย (Networking University) เป็็นการสร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือกัับ
สถาบัันการศึึกษา ภาครััฐและเอกชน ทั้้�งในและต่่างประเทศเพื่�่อสร้้างการมีีส่่วนร่่วมในกระบวนการสอน
การเรีียนรู้้�จากการปฏิบิ ัตั ิิงาน และการวิจิ ััยสู่น� วัตั กรรม

5

อัตั ลัักษณ์์นัักศึึกษา PIM

“READY to WORK.”

เรีียนเป็็น

1. มีคี วามใฝ่่รู้� ใฝ่เ่ รียี น สามารถแสวงหาความรู้้�ได้ด้ ้้วยตััวเอง
2. มีคี วามรอบรู้้�และบููรณาการในศาสตร์ส์ าขาวิชิ าที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง
3. สามารถนำำ�เครื่่อ� งมืือ หรืือเทคโนโลยีมี าใช้้งานได้้อย่่างเหมาะสมกับั ผลลััพธ์์ที่่ต� ้อ้ งการ
(ตามศาสตร์ข์ องตััวเอง)
4. สามารถเข้า้ ถึึงแหล่่งข้้อมูลู ข่่าวสารและลืือกใช้้ข้อ้ มูลู ความรู้้�ต่่างได้อ้ ย่่างเหมาะสม

คิดิ เป็น็

1. มีคี วามสามารถในการคิดิ วิเิ คราะห์์ (Analytical thinking) การคิดิ วิพิ ากษ์์ (Critical thinking) การคิดิ เชิงิ
สังั เคราะห์์ (Synthesis thinking) การคิดิ เชิงิ นวัตั กรรม (Innovative Thinking)

2. กล้า้ คิดิ และสามารถผลักั ดันั ความคิดิ และแรงบันั ดาลใจของตนให้ก้ ่่อเกิดิ เป็น็ ผลงานตามศาสตร์ห์ รืือผลงาน
เชิิงนวััตกรรมต่่างๆ ได้้

3. มีแี นวคิิดการบริิหารจัดั การอย่่างผู้�ประกอบการ

ทำ�ำ งานเป็็น

1. มีีการทำ�ำ งานข้้ามสายงานและสามารถจูงู ใจผู้้�อื่่น� เพื่�อ่ ให้้บรรลุเุ ป้า้ หมาย
2. มีที ัักษะในการสื่อ่� สารหลากภาษา ทั้้�งการฟััง การอ่่าน การเขียี น การพููด การแปลความ การเลืือกช่่องทาง

และเครื่่�องมืือในการสื่่อ� สาร
3. มีีการตััดสิินใจและรัับผิิดชอบต่่อผลที่่เ� กิดิ ขึ้�น
4. สามารถสร้้างความพอใจระหว่่างสุุขภาพ การเรียี น ชีวี ิติ ส่่วนตััว ความสััมพันั ธ์์กัับบุุคคลอื่่น�

เน้้นวัฒั นธรรม

1. สืืบสานวััฒนธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับั ตัวั เข้า้ กับั สภาพแวดล้้อมขององค์ก์ รได้้

รักั ความถููกต้้อง

1. ยึดึ มั่น� ในจรรยาบรรณวิิชาชีพี หรืือจรรยาบรรณในการดำ�ำ เนินิ ธุรุ กิิจ
2. ยืืนหยััดปกป้อ้ งในความถููกต้อ้ ง
3. เคารพและชื่�่นชมต่่อความดีีงามของผู้�อื่น�

6

สถานที่่�เรีียน

คณะ หลัักสูตู ร ชื่�อ่ ย่่อ วิิทยาเขต หน่ว่ ย
หลักั สูตู ร EEC การเรีียน
แจ้ง้ วััฒนะ ทางไกล

จััดการเรียี นการสอนในหมวดวิชิ าศึึกษาทั่่ว� ไป -
1) กลุ่ม� วิิชาภาษาไทย
2) กลุ่ม� วิชิ าภาษาอัังกฤษ
3) กลุ่�มวิิชาภาษาจีีน
4) กลุ่ม� วิิชามนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์
5) กลุ่�มวิชิ าวิิทยาศาสตร์์และคณิติ ศาสตร์์

หลักั สูตู รระดัับปริิญญาตรีี

การจััดการธุรุ กิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ MTM -

การจััดการธุุรกิิจการค้้าสมััยใหม่่ (ต่่อเนื่อ�่ ง) CMTM -

การจัดั การธุรุ กิิจการค้้าสมัยั ใหม่่ (ต่่อเนื่อ่� ง) CIMM --
ระบบการศึึกษาทางไกลทางอิินเทอร์เ์ น็็ต

การจัดั การธุรุ กิิจการค้้าสมัยั ใหม่่ DMTM - -
(ระบบการศึึกษาทางไกล)

เทคโนโลยีดี ิิจิทิ ััลและสารสนเทศ DIT -

วิศิ วกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละปััญญาประดิษิ ฐ์์ CAI --

วิิศวกรรมอุตุ สาหการและการผลิิตอััจฉริิยะ IEM -

วิิศวกรรมการผลิติ ยานยนต์์ AME --
RAE --
วิิศวกรรมหุ่่�นยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมัตั ิิ BC --
BJ --
ภาษาจีีนธุรุ กิจิ CEB --

ภาษาญี่่�ปุ่�นธุรุ กิิจ RPM --

ภาษาอัังกฤษเพื่�อ่ การสื่�่อสารทางธุรุ กิจิ HROM --
การจัดั การอสัังหาริิมทรัพั ย์แ์ ละ
ทรััพย์ส์ ินิ อาคาร AVI --
การบริิหารทรััพยากรมนุษุ ย์์คนและ HTM --
การจััดการองค์ก์ าร BM --
การจััดการธุรุ กิิจการบิิน CB --
การจััดการการบริกิ ารและการท่่องเที่่�ยว
การจัดั การบััณฑิติ CJ --
วิิชาเอกการสื่�อ่ สารองค์์กรและแบรนด์์
วิิชาเอกวารสารศาสตร์ค์ อนเวอร์์เจ้น้ และ
สื่่�อดิจิ ิทิ ัลั สร้้างสรรค์์

นวัตั กรรมการจัดั การเกษตร IAM --

7

สถานที่่�เรีียน

คณะ หลัักสููตร ชื่่อ� ย่่อ วิทิ ยาเขต หน่ว่ ย
หลัักสููตร แจ้ง้ วััฒนะ EEC การเรีียน
การสอนภาษาจีีน (4 ปีี) ทางไกล
การสอนภาษาอัังกฤษ (4 ปีี)
TCL - -

ELT - -

การจัดั การเทคโนโลยีีอุตุ สาหกรรมเกษตร ATM --

การจัดั การธุุรกิิจอาหาร FBM -
การจัดั การธุุรกิิจอาหาร (ต่่อเนื่่อ� ง) CFBM -
การจัดั การธุรุ กิิจภััตตาคาร RBM --

การจัดั การโลจิิสติกิ ส์์และการคมนาคมขนส่่ง LTM --

การจัดั การธุุรกิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ (หลักั สููตร iMTM --
นานาชาติิ)

การจััดการธุรุ กิิจโรงแรมและอาหาร (หลักั สูตู ร iHFM - -
นานาชาติิ)

หลักั สููตรระดัับปริญิ ญาโท

การจััดการธุรุ กิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ MBA-MTM --

วิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี MET --
(หลัักสููตรนานาชาติ)ิ

การบริหิ ารคนและกลยุทุ ธ์์องค์์การ POS --

การสื่อ่� สารเชิิงนวััตกรรมเพื่�อ่ องค์์กรสมัยั ใหม่่ MCA --

สาขาวิิชาธุุรกิิจระหว่่างประเทศ iMBA --
(หลัักสููตรนานาชาติิ)
--
ภาวะผู้้�นำำ�การบริิหารและการจััดการ EML --
การศึกึ ษา --
บริหิ ารธุรุ กิิจ (หลัักสูตู รภาษาจีนี ) C-MBA
การจััดการทางศิิลปะ (หลักั สููตรภาษาจีนี ) C-MA --
--
หลักั สููตรระดัับปริิญญาเอก

บริหิ ารธุรุ กิิจ (หลักั สูตู รภาษาจีีน) C-PhD

การจััดการการศึึกษา (หลัักสููตรภาษาจีนี ) C-PhD-Ed

8

เพลงสถาบันั

เพลงประจำ�ำ เพลงมัังคลอุุบล

สถาบัันการจััดการปัญั ญาภิิวััฒน์์

เกิดิ มาเป็็นคน ต้อ้ งพร้้อมจะอดทนทุุกเรื่่�องราว * มังั คลอุุบล ดั่่�งพวกเราทุกุ คน
ไม่่ว่่าจะดีีจะร้า้ ยซัักเท่่าไหร่่ ต้้องมองว่่าเป็น็ บทเรีียน หนัักเบาพร้อ้ มผจญ งดงามปนเข้ม้ แข็ง็

สิ่�งที่่เ� รียี นคืือความจำำ� สิ่่ง� ที่่�ทำำ�คืือความจริิง ใต้้เงาหููกระจง แผ่่กิ่่ง� ใบมั่่น� คง
สิ่ง� ที่่ท� ำ�ำ ได้้ยากเย็็นนั้้น� จะยิ่�งใหญ่่ หยััดยืืนทรนง...ซื่�อ่ ตรงและแข็ง็ แกร่่ง
สิ่ง� ที่่ท� ำ�ำ โดยตััวเอง ยิ่่ง� ทำ�ำ จะยิ่�งเข้้าใจ
แม้้นานเพีียงใดก็็ไม่่ลืืม P (Practicality)
**ต้อ้ งคิดิ เป็็น ทำ�ำ เป็็น เรีียนเป็็น I (Innovation)
เน้น้ ความเป็น็ ธรรมในใจ M (Morality)
สิ่�งที่่ถ� ูกู รัักษาไว้ ้ ที่่ผ� ิิดเราต้อ้ งทิ้้ง� ไป P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
แล้้วเราจะก้้าวไป..ด้ว้ ยกันั
(ซ้ำ��ำ *)
***สถาบัันปััญญาภิวิ ัฒั น์ ์ สถาบันั แห่่งปััญญา **ในโลกแห่่งความจริิง ต้้องเรียี นรู้้�กันจริงิ ๆ
เราจะคอยเป็น็ ผู้้�สอน เราจะคอยเป็็นเบ้้าหลอม ต้้องออกไปหาความจริิง วิ่่�งชนเรื่อ่� งราวแท้จ้ ริงิ
ต้อ้ งเหนื่่อ� ยต้อ้ งท้อ้ จริิงๆ ต้อ้ งเจอผู้�คนจริงิ ๆ
จะหล่่อและก็ห็ ลอมให้ท้ ุุกคน เรีียนจากคนรู้�ความจริิง แล้้วเราจะเป็น็ คนจริงิ
ให้พ้ ร้้อมกลายเป็็นคนดีี (ให้้ทุกุ คนเป็็นคนดี)ี คนเก่่งนั้้น� ยังั ไม่่พอ เก่่งจริิงต้้องจัดั การได้้
เกิดิ มาเป็็นคน ต้อ้ งมุ่�งมั่�นฝึกึ ฝนประสบการณ์์
ค่่าความเป็น็ คนอยู่ท�ี่่ใ� จวัดั กันั ที่่ผ� ลงาน อันั มีคี ่่าควรจดจำ�ำ แค่่กล้า้ ก็็ยัังไม่่พอ กล้า้ จริงิ ต้้องมีีวินิ ััย
คนฉลาดนั้้�นยัังไม่่พอ คนฉลาดต้้องไม่่โกงใคร
(ซ้ำำ�� *, **, ***)
เราก็็เหมืือนอิฐิ คนละก้้อนวางซ้อ้ นเรีียงกันั จึงึ แน่่นหนา แข็ง็ แรงก็ย็ ัังไม่่พอ เพราะว่่าต้อ้ งมีนี ้ำ�ำ� ใจ
***ธงสีเี ขียี วขจีี ฉาบสีเี หลืืองเรืืองรอง
ก่่อด้้วยความรักั ในปัญั ญา บนแผ่่นดินิ สีีทอง นี่่�คืือบ้้านของเรา
ฉาบด้ว้ ยศรััทธา..ในสถาบันั ..ของเรา

(ซ้ำ�ำ�*, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

9

รู้้�จักั
“สำ�ำ นักั การศึกึ ษาทั่่�วไป”

ปรััชญาสำ�ำ นัักการศึกึ ษาทั่่�วไป
วิชิ าศึกึ ษาทั่่�วไปสร้า้ งความเป็็นมนุุษย์์ที่ม่� ีีคุณุ ภาพในสังั คมโลก มีีทักั ษะการสื่่อ� สาร
ภาษา ก้้าวหน้้าเทคโนโลยีี มีีกระบวนการคิดิ และมีีจิิตสาธารณะ

วิสิ ััยทััศน์์

“สร้้างบััณฑิิตมืืออาชีพี ด้้วยการเรียี นรู้้จ� ากประสบการณ์จ์ ริงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พัันธกิจิ
1. สร้้างคนที่่�มีีคุุณภาพและตรงกัับความต้้องการของภาคธุุรกิิจ สัังคม และ

ประชาคมโลก โดยเน้้นการเรีียนรู้้�จากประสบการณ์์จริิง (Work-based
Education)
2. ผสมผสานองค์์ความรู้�เชิิงวิิชาการและองค์์กรธุุรกิิจ เพื่่�อการจััดการเรีียน
การสอน การวิิจััย การบริิการวิิชาการ และทำ�ำ นุุบำ�ำ รุุงศิิลปะและวััฒนธรรม
(Combination of Academic and Professional Expertise)
3. สร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือ เพื่่�อพััฒนาองค์์ความรู้�และส่่งเสริิมนวััตกรรม
(Collaborative Networking)
4. พััฒนาองค์ก์ รที่พ�่ ร้้อมรับั ความเปลี่ย�่ นแปลง และมีีระบบการบริิหารจััดการที่�่ดีี
(Transformative Organization & Good Governance)

สััญลัักษณ์์และสีีประจำ�ำ สำำ�นััก

ต้้นปัญั ญพฤกษ์์

หรืือต้น้ ไม้้แห่่งปัญั ญา
ที่่�แผ่ร่ ่่มเงาทางการศึึกษา
เปรีียบเสมืือนการเรีียนรู้�ตลอดชีีวิติ

สีีประจำำ�คณะ สีนี ้ำำ��ตาลทอง

10

บทบาทหน้้าที่่�

สำำ�นักั การศึึกษาทั่่ว� ไปมีีโครงสร้้างการทำ�ำ งานประกอบด้้วย 5 กลุ่ม� วิิชา และ 1 ศููนย์์ คืือ

1. กลุ่ม� วิิชาภาษาไทย 4. กลุ่�มวิิชามนุุษยศาสตร์แ์ ละสัังคมศาสตร์์
2. กลุ่ม� วิชิ าภาษาอังั กฤษ 5. กลุ่�มวิิชาวิทิ ยาศาสตร์แ์ ละคณิติ ศาสตร์์
3. กลุ่ม� วิิชาภาษาจีีน 6. ศููนย์์พัฒั นาทัักษะและภาษา

โดยเน้้นการจััดการเรีียนการสอนหมวดวิิชาศึึกษาทั่่�วไปให้้กัับนัักศึึกษาทุุกหลัักสููตรของสถาบัันการจััดการ
ปััญญาภิิวััฒน์์ และจััดกิจิ กรรมเพื่่�อพััฒนานักั ศึึกษาให้้เป็น็ ไปตามอััตลัักษณ์์บัณั ฑิติ ของสถาบันั ตลอดจนเป็็นที่่�ต้้องการ
ของผู้�ใช้้บัณั ฑิติ และสัังคม โดยตลอดปีีการศึึกษาได้้จััดกิจิ กรรมพัฒั นานัักศึึกษาตามกลุ่�มวิชิ า

ศููนย์์พัฒั นาทัักษะและภาษา

ศูนู ย์พ์ ัฒั นาทักั ษะและภาษา (Center of Languages and Skills Development หรืือ CLSD) เป็น็ หน่่วยงาน
ภายใต้ส้ ำำ�นักั การศึกึ ษาทั่่ว� ไปที่่ม� ีหี น้า้ ที่่�เสริมิ ทักั ษะ ประเมิินทัักษะ และออกใบรับั รองมาตรฐานที่่�จำ�ำ เป็น็ ต่่อการทำ�ำ งาน
ของนักั ศึกึ ษา ได้แ้ ก่่ ทักั ษะการสื่อ�่ สารภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศ ทักั ษะชีวี ิติ และทักั ษะดิจิ ิทิ ัลั ตามแผนการดำ�ำ เนินิ
ทั้้�ง 4 ชั้้�นปีี โดยมีีการบัันทึึกผลการประเมิิน และผลการเข้้าร่่วมกิิจกรรมของนัักศึึกษาเป็็นโปรแกรมประยุุกต์์
(Application Program) ชื่อ่� “PIM SMART PASSPORT” ที่่เ� ป็น็ ฐานข้อ้ มูลู ของนักั ศึกึ ษาสำำ�หรับั นำำ�ไปใช้ป้ ระกอบการ
ตัดั สินิ ใจเลืือกพนักั งานเข้า้ ทำำ�งานของสถานประกอบการต่่างๆ

แผนพัฒนาทักษะและภาษา

สำนกั การศึกษาท่วั ไป

ทกั ษะการสื่อสาร ป 1 ผลการฝกทกั ษะช้นั ปที่ 1
ทักษะดิจทิ ัล (ระบุผลแตล ะทกั ษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝกทกั ษะช้นั ปท่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบคุ ะแนนแตล ะทกั ษะ) ป 4
e-Leaming score พฒั นาตอเน่ืองดวยตนเอง
อบรม + ตวิ เขม + PIM ทกุ ท่ี ทุกเวลา
เตรยี มความพรอม SMART ผลการอบรม/ติวเชม ช้นั ปที่ 3
เพ่อื การสมคั รงาน PASSPORT (ระบุผลแตละทกั ษะ)
เพื่อการทำงาน
เพื่อการใชช ีวิต วดั ความพรอมภาษา
รูพฒั นาการดานดจิ ิตอล
ผลการฝกทกั ษะช้นั ปท ี่ 4 ระบจุ ดุ เดน เเละจุดท่ี
(ระบผุ ลแตละทักษะ) ควรพฒั นาในการใชชวี ติ
รวมเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบรุ ะดบั ทกั ษะ ตลอด 4 ปการศึกษา เพอื่ พัฒนา
ทกุ ทักษะ ใหค ณุ เปนคนท่ี “ใช” สำหรับทกุ องคกร

เเสดงพัฒนาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป

ป 1 ป 2 ป 2 ป 4

สะทอนศักยภาพและความสามารถ

11

สำ�ำ นัักการศึึกษาทั่่�วไปมีีการจััดทำ�ำ ชุุดฝึึกฝน
ทัักษะการใช้้งานโปรแกรมสำ�ำ นัักงาน ผ่่านโปรแกรม
ประยุุกต์์ “Microsoft Office Simulation” เพื่�่อให้้
นัักศึึกษาได้้ฝึึกฝนการใช้้เครื่�่องมืือในการจััดทำ�ำ เอกสาร
สำ�ำ นักั งาน ตลอดจนการนำ�ำ เสนองานอย่่างมืืออาชีพี ที่่ต� อบ
สนองการเรียี นรู้�ได้้ทุุกที่่� ทุุกเวลา

12

โครงการ PIM 3L :
Lifelong Learner Building your future skills

โครงการ PIM 3L : Life Long Learners เป็็นการดำ�ำ เนิินงานในรูปู แบบกิิจกรรมเพื่�อ่ พััฒนาทักั ษะและ
ส่่งเสริิมการเรีียนรู้�ตลอดชีีวิิตสำำ�หรัับนัักศึึกษา ภายใต้้สำ�ำ นัักการศึึกษาทั่่�วไป เริ่�มดำำ�เนิินการจััดกิิจกรรมตั้้�งแต่่ปีีการ
ศึกึ ษา 2563 ภายใต้ค้ ติพิ จน์ป์ ระจำำ�โครงการคืือ “ ไม่่มีีการลงทุุนใด จะได้ผ้ ลตอบแทนเท่า่ กับั การลงทุุนเรีียนรู้�”
วัตั ถุุประสงค์์หลัักของโครงการ เพื่่�อเสริิมสร้้างการเรียี นรู้� และพัฒั นาทัักษะชีีวิติ ให้้แก่่นัักศึกึ ษา มุ่่ง� เน้น้ ให้้
นัักศึกึ ษามีี Essential Skills ต่่อยอดศัักยภาพที่่ม� ีใี นตััวตนและพััฒนาให้เ้ กิิดทัักษะใหม่่พร้้อมรับั การเปลี่ย� นแปลงใน
อนาคต โครงการ PIM 3L มีกี ารวางเป้า้ หมายไว้อ้ ย่่างชััดเจน คืือ การพััฒนาตน พัฒั นาคน และนำำ�ไปสู่ก� ารพััฒนา
สังั คมต่่อไป

โครงสร้้างกิจิ กรรม
กิจิ กรรม PIM 3L จััดแบ่่งเป็น็ 3 หมวดหมู่� ดัังนี้้�
1. ความชอบและไลฟ์ส์ ไตล์์ อาทิ ิ กิจิ กรรมปัตั ตาเลี่ย� นตัวั เดียี ว..ก็เ็ ฟี้ย�้ วได้ ้ กิจิ กรรมปลูกู ผักั สวนครัวั ..รั้ว� หลังั ห้อ้ ง กิจิ กรรม

ทำำ�อาหารเพื่่�อสุขุ ภาพ และกิิจกรรมแต่่งหน้า้ สวยด้ว้ ยแรงบันั ดาลใจ เป็็นต้น้
2. ทัักษะอย่่างมืืออาชีีพ อาทิิ กิิจกรรมพููดอย่่างโปร..พููดให้้เป็็น กิิจกรรมขายของออนไลน์์..ง่ายนิิดเดีียว กิิจกรรม

Innovative Video Creator กิิจกรรมการนำำ�เสนอและการอ่่านข่่าวภาษาอัังกฤษ เป็น็ ต้น้
3. คุณุ ค่่าในตัวั ตนและสัังคม อาทิิ กิิจกรรมรักั อย่่างไร..ปลอดภัยั ในวััยเรา กิิจกรรมเข้า้ สัังคม..ใครว่่ายาก กิิจกรรม

สร้้างแรงบันั ดาลใจให้ต้ ัวั เรา เป็น็ ต้้น
การเรียี นรู้�ไม่่มีวี ันั หยุดุ นิ่่ง� หากเราต้อ้ งก้า้ วเดินิ ต่่อไปให้ท้ ันั ต่่อการเปลี่ย� นแปลงในศตวรรษที่่� 21 การเข้า้ ร่่วม
กิจิ กรรม PIM 3L เป็น็ ส่่วนหนึ่่�งของการเรีียนรู้�ตลอดชีวี ิิต สำ�ำ หรัับนัักศึกึ ษาสถาบัันการจัดั การปััญญาภิวิ ัฒั น์์

ภาพตััวอย่่างโปสเตอร์์ประชาสัมั พัันธ์ก์ ิจิ กรรม

13

เป้า้ หมายการเรีียนรู้้�ผ่่านโปรแกรม นอกจากนี้้�สำำ�นัักการศึึกษา
ส่่งเสริิมการเรีียนรู้้�ภาษาอัังกฤษ ทั่่�วไปมีีการนำำ�โปรแกรมประยุุกต์์ด้้าน
Common European Framework of Reference การสื่่�อสารภาษาอังั กฤษ มาใช้้ประกอบ
for Languages : CEFR กับั การจัดั การเรียี นการสอนในห้อ้ งเรียี น
โดยมีจี ุดุ มุ่ง� หมายให้น้ ักั ศึกึ ษาผ่่านเกณฑ์์
การประเมิินตามกรอบความเชี่ �ยวชาญ
ภาษาอัังกฤษอ้้างอิิงของยุุโรป หรืือ
Common European Framework
of Reference for Languages
(CEFR) ในระดัับ B2 เป็น็ อย่า่ งน้้อย

ID64 (ปีีที่่� 3)

ID64 (ปีีที่่� 2)

ID64 (ปีีที่่� 1)

ID64 (ปีีที่่� 3)

แผนสำ�ำ หรับั นักั ศึกึ ษารหัสั 64 (ต่อ่ Block)

ศึกษาวิธีการใชงาน สอบวัดระดับความรู ทำแบบฝก หดั สอบวดั ผลครง้ั ท่ี 1 สอบวดั ผลคร้ังที่ 2
(Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศกึ ษารหสั 64 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยูชน้ั ปที่ 1

สอบวดั ระดับความรู ทำแบบฝกหดั สอบวดั ผลครง้ั ที่ 1 สอบวดั ผลคร้ังที่ 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)

นักศกึ ษารหัส 64 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยชู นั้ ปท ่ี 2 และ 3

14

รู้้�จักั คณะ
“วิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี”

ปรััชญาคณะวิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี
“นำำ�ความรู้�้ สู่่ก� ารปฏิบิ ััติิ

สร้้างนวัตั กรรม มีคี ุุณธรรม รับั ผิดิ ชอบสังั คม”

ปณิธิ าน
มุ่�ง่ ผลิิตบุุคลากรที่่ร� ู้จ้� ริงิ พร้้อมทำำ�งานทันั ทีี

มีคี วามคิิดสร้้างสรรค์์ ยึดึ มั่่น� ในคุุณธรรมและจริยิ ธรรม

วิิสััยทัศั น์์
สร้า้ งมืืออาชีพี ด้้านวิศิ วกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี

ด้ว้ ยการเรียี นรู้จ�้ ากประสบการณ์์จริงิ

พัันธกิิจ

1. สร้า้ งบัณั ฑิติ ด้า้ นวิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีที ี่่ม� ีคี ุณุ ภาพได้ม้ าตรฐาน และตรงกับั ความต้อ้ งการของภาคธุรุ กิจิ
อุุตสาหกรรม เป็น็ ที่่ต� ้อ้ งการของสัังคม โดยเน้้นให้น้ ักั ศึกึ ษาเรีียนรู้้�จากประสบการณ์จ์ ริิง

2. สร้า้ งองค์ค์ วามรู้้�วิจิ ัยั และพัฒั นาองค์ค์ วามรู้้�ใหม่่ด้า้ นวิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยี ี อันั ก่่อให้เ้ กิดิ องค์ค์ วามรู้้�และ
การสร้า้ งสรรค์น์ วััตกรรม ซึ่่�งเป็น็ พื้้น� ฐานในการพัฒั นาองค์์กร สัังคมและประเทศชาติิ

3. สร้า้ งสรรค์ส์ ังั คมและบริกิ ารชุมุ ชน จัดั บริกิ ารวิชิ าการด้า้ นวิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีที ี่่เ� ป็น็ ประโยชน์ต์ ่่อภาค
อุุตสาหกรรม ชุมุ ชน สังั คม และประเทศชาติิ

4. สร้้างเสริิมคุุณธรรมปลููกฝัังจิิตสำำ�นึึกของนัักศึึกษาให้้เป็็นบััณฑิิตที่่�มีีคุุณธรรม เสริิมสร้้างจรรยาบรรณในวิิชาชีีพ
และสืืบสานวััฒนธรรมที่่ด� ีีงาม

5. สร้า้ งองค์ก์ รพัฒั นาคณะวิศิ วกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีใี ห้เ้ กิดิ ประสิทิ ธิภิ าพและประสิทิ ธิผิ ล รวมทั้้ง� เพิ่่ม� ขีดี ความ
สามารถในการแข่่งขันั สามารถเจริญิ เติบิ โตอย่่างยั่ง� ยืืน และสร้า้ งความสุขุ ในการทำำ�งานให้ก้ ับั อาจารย์แ์ ละบุคุ ลากร

15

สััญลักั ษณ์แ์ ละสีปี ระจำ�ำ คณะ
เฟืือง ภาพแทนกลไกวิศิ วกรรมและ
อุุตสาหกรรม

สีปี ระจำ�ำ คณะ สีีแดงเลือื ดหมูู I และ O เลขฐานสองซึ่่�งเป็็นสัญั ลัักษณ์์สากลด้้าน
อิิเล็็กทรอนิิกส์์ ในที่่�นี้้�เปรีียบเสมืือนพลัังงานที่�่
ขับั เคลื่อ� นกลไกจากภายใน โดยภาพทั้้ง� หมดวางอยู่่�
ในรูปู ทรงเรขาคณิติ 5 เหลี่ย่� ม อันั สื่อ� ถึงึ คุณุ ลักั ษณะ
บัณั ฑิิตที่พ่� ึงึ ประสงค์์ 5 ประการ ได้้แก่่ เรีียนเป็น็
คิดิ เป็น็ ทำ�ำ งานเป็็น เน้้นวััฒนธรรม และรัักความ
ถููกต้้อง

สีีแดงเลืือดหมูู สีีเลืือดของพระวิิษณุุกรรม หรืือ
พระวิิศวกรรม ผู้�เป็็นเทพแห่่งช่่างผู้�สร้้างสรรค์์
ดลบัันดาลให้้เกิิดการสร้้างสรรค์์สิ่ �งประดิิษฐ์์และ
ประติมิ ากรรมบนโลก
"วิิศวกรรมศาสตร์์" จึึงหมายถึึง ศาสตร์์ที่�่มีี
พระวิษิ ณุเุ ทพเจ้้าแห่ง่ ช่่าง เป็็น ครูู

หลัักสููตร / สาขาวิชิ าที่่�เปิิดสอน

หลัักสููตรระดับั ปริิญญาตรีี

1. หลัักสููตรวิิทยาศาตรบััณฑิติ สาขาวิิชาเทคโนโลยีีดิิจิทิ ัลั และสารสนเทศ
2. หลัักสูตู รวิศิ วกรรมศาสตรบััณฑิิต สาขาวิิชาวิิศวกรรมคอมพิวิ เตอร์์

และปััญญาประดิษิ ฐ์์
3. หลัักสููตรวิิศวกรรมศาสตรบัณั ฑิิต สาขาวิิชาวิศิ วกรรมอุตุ สาหการและ

การผลิิตอัจั ฉริิยะ
4. หลักั สูตู รวิศิ วกรรมศาสตรบัณั ฑิิต สาขาวิิชาวิิศวกรรมการผลิติ ยานยนต์์
5. หลักั สูตู รวิิศวกรรมศาสตรบััณฑิิต สาขาวิิชาวิิศวกรรมหุ่�นยนต์์และ

ระบบอัตั โนมัตั ิิ

หลัักสููตรระดับั ปริิญญาโท

1. หลักั สููตรวิศิ วกรรมศาสตร์ม์ หาบัณั ฑิิต สาขาวิิศวกรรมและเทคโนโลยีี
(หลักั สูตู รนานาชาติ)ิ

ติดิ ต่่อคณะ
ชั้้น� 11 อาคาร 4 หรืืออาคาร CP ALL Academy
โทรศัพั ท์์ 0 2855 1005, 0 2855 0930

16

การเข้้าถึงึ ข้้อมููลคณะ
1. เว็็บไซต์ค์ ณะวิิศวกรรมศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี: https://et.pim.ac.th/

17

หลัักสููตรวิิทยาศาสตรบัณั ฑิติ

สาขาวิชิ าเทคโนโลยีีดิิจิทิ ัลั
และสารสนเทศ

Bachelor of Science Program
in Digital and Information Technology

ชื่่�อปริญิ ญา

ภาษาไทย (ชื่่�อเต็็ม) : วิิทยาศาสตรบัณั ฑิติ (เทคโนโลยีีดิจิ ิิทััลและสารสนเทศ)
(อักั ษรย่่อ) : วท.บ. (เทคโนโลยีีดิิจิทิ ัลั และสารสนเทศ)
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่อ� เต็ม็ ) : Bachelor of Science
(Digital and Information Technology)
(อัักษรย่่อ) : B.Sc. (Digital and Information Technology)

หมายเหตุุ : สำำ�นัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม
(สป.อว.) รับั ทราบหลัักสููตรเมื่�อ่ 2 มีนี าคม พ.ศ. 2563

จุุดเด่่นของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร

ปััจจุุบััน เทคโนโลยีีคอมพิิวเตอร์์และสารสนเทศมีีความเจริิญก้้าวหน้้ารวดเร็็ว และได้้เข้้ามามีีบทบาทต่่อการ
ดำำ�เนิินงานขององค์์กรต่่างๆ ไม่่ว่่าจะเป็็นอุุตสาหกรรม พาณิชิ ยกรรม ทั้้ง� ในภาครััฐและเอกชนเป็น็ อย่่างมาก ยังั ส่่งผล
ให้้ความต้อ้ งการบุุคลากรที่่�เชี่�ยวชาญในเทคโนโลยีีคอมพิวิ เตอร์แ์ ละสารสนเทศเพิ่่ม� มากขึ้�นทุุกปีี

สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์เ์ ล็ง็ เห็น็ ถึงึ ความสำ�ำ คัญั ในการผลิติ บุคุ ลากรที่่ม� ีคี วามเชี่ย� วชาญด้า้ นคอมพิวิ เตอร์์
และเทคโนโลยีีสารสนเทศ จึงึ เปิดิ ดำ�ำ เนินิ การเรีียนการสอน หลักั สููตรวิทิ ยาศาสตรบััณฑิิต สาขาวิชิ าเทคโนโลยีดี ิิจิิทัลั
และสารสนเทศ เพื่อ�่ ผลิติ บัณั ฑิติ ที่่ม� ีคี วามรู้้�ในด้า้ นเทคโนโลยีสี ารสนเทศสมัยั ใหม่่ ซึ่่ง� รวมถึงึ การออกแบบและสร้า้ งระบบ
งานฐานข้อ้ มูลู การพัฒั นาโปรแกรมคอมพิวิ เตอร์์ การบริหิ ารโครงการทางเทคโนโลยีสี ารสนเทศขนาดเล็ก็ ถึงึ ขนาดกลาง
การสื่�่อสารข้้อมููล การบริิหารความปลอดภััยข้้อมููลสารสนเทศและความรู้้�สมััยใหม่่ด้้านวิิทยาศาสตร์์บริิการ โดยเน้้น
การเรีียนรู้�เชิิงทฤษฎีีควบคู่่�กัับการปฏิิบััติิและการทำ�ำ งานจริิง (Work-based Learning) เพื่่�อให้้บััณฑิิตสามารถนำ�ำ
ความรู้้�ที่่ไ� ด้ม้ าใช้ใ้ นการปฏิบิ ัตั ิงิ านในสถานประกอบการได้ท้ ันั ทีภี ายหลังั สำำ�เร็จ็ การศึกึ ษา ประกอบกับั ได้ม้ ีกี ารจัดั เนื้้อ� หา
วิชิ าและกิจิ กรรมเสริมิ หลักั สูตู รเพื่อ่� หล่่อหลอมให้บ้ ัณั ฑิติ เป็น็ ผู้�ที่ม� ีคี ุณุ ธรรมจริยิ ธรรมในการทำ�ำ งานและการดำ�ำ เนินิ ชีวี ิติ
ทั้้ง� ยัังปลูกู ฝัังให้เ้ ป็น็ ผู้�ที่ม� ีีการศึึกษาค้้นคว้า้ หาความรู้้�ไปตลอดชีีวิติ (Life Long Learning)

18

ผลลพั ธก ารเรยี นรขู องหลักสูตร

• ด้้านคุุณธรรม จริิยธรรม

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีวี ิินััย ตรงเวลา 1. ตระหนัักในคุณุ ค่่าและคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม เสีียสละ
2. มีีความซื่อ่� สััตย์ส์ ุจุ ริติ และซื่อ่� สััตย์์สุจุ ริติ
3. มีคี วามรัับผิิดชอบทั้้�งต่่อตนเอง สังั คมและ
การประกอบอาชีีพ 2. มีีวิินัยั ตรงต่่อเวลาและความรับั ผิดิ ชอบต่่อตนเอง
4. ปฏิิบััติิหน้้าที่่ด� ้ว้ ยคุณุ ธรรม จริิยธรรม และสังั คม
และมีีจิติ สาธารณะ
3. มีภี าวะความเป็็นผู้้�นำำ�และผู้�ตาม สามารถทำ�ำ งานเป็็น
ทีมี และสามารถแก้้ไขข้้อขัดั แย้้งและลำ�ำ ดับั ความ
สำ�ำ คััญ

4. เคารพสิทิ ธิิและรับั ฟังั ความคิิดเห็น็ ของผู้�อื่น� รวมทั้้�ง
เคารพในคุณุ ค่่าและศักั ดิ์�ศรีีของความเป็็นมนุุษย์์

5. เคารพในระเบีียบและกฎเกณฑ์์ขององค์์กรและสังั คม 5. เคารพกฎระเบีียบและข้อ้ บัังคับั ต่่างๆ ขององค์ก์ ร
เคารพ และสังั คม

6. สามารถวิิเคราะห์ผ์ ลกระทบจากการใช้้คอมพิวิ เตอร์์
ต่่อบุุคคล องค์์กรและสังั คม

7. มีจี รรยาบรรณทางวิิชาการและวิิชาชีพี

• ด้้านความรู้้�

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีคี วามรู้้�อย่่างกว้้างขวางและสามารถนำ�ำ ความรู้้�นั้้น� 1. มีคี วามรู้้�และความเข้า้ ใจเกี่�ยวกับั หลัักการและทฤษฎีี
ไปใช้้ในชีีวิิตประจำำ�วััน ที่่�สำ�ำ คััญในเนื้้�อหาสาขาวิิชาที่่ศ� ึกึ ษา

2. เข้้าใจและวิิเคราะห์ห์ ลักั การของศาสตร์์อื่น�่ 2. สามารถวิิเคราะห์์ปัญั หา เข้า้ ใจและอธิบิ ายความ
ที่่เ� กี่�ยวข้อ้ งและนำำ�มาใช้้เป็็นพื้้น� ฐานของศาสตร์ ์ ต้้องการของระบบงาน รวมทั้้ง� ประยุุกต์ค์ วามรู้้�
เฉพาะนั้้น� ๆ (เฉพาะสาขาวิิชา) ทัักษะ และการใช้เ้ ครื่่อ� งมืือที่่�เหมาะสมกับั การแก้้ไข
ปััญหา
3. มีคี วามรู้้�ความเข้า้ ใจในหลัักการและทฤษฎีีในศาสตร์์
เฉพาะนั้้�น ๆ และสามารถนำ�ำ ไปประยุกุ ต์์ใช้แ้ ก้ไ้ ข 3. สามารถวิเิ คราะห์์ ออกแบบ ติดิ ตั้�ง ปรับั ปรุงุ และ/
ปััญหาในการปฏิบิ ััติิงานจริิงได้้ หรืือประเมิินระบบองค์ป์ ระกอบต่่าง ๆ ของระบบ
งานให้้ตรงตามข้้อกำ�ำ หนด

4. สามารถติิดตามความก้้าวหน้้าทางวิชิ าการและ
วิวิ ัฒั นาการด้้านเทคโนโลยีสี ารสนเทศ รวมทั้้�งการนำ�ำ
ไปประยุุกต์์

5. รู้้� เข้้าใจและสนใจพััฒนาความรู้้� ความชำ�ำ นาญทาง
เทคโนโลยีีสารสนเทศอย่่างต่่อเนื่่อ� ง

6. มีคี วามรู้้�ในแนวกว้้างของสาขาวิชิ าที่่ศ� ึึกษาเพื่่อ� ให้ ้
เล็็งเห็็นการเปลี่�ยนแปลง และเข้า้ ใจผลกระทบ
ของเทคโนโลยีใี หม่่ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง

7. มีปี ระสบการณ์์ในการพััฒนาและ/หรืือการประยุุกต์์
ความรู้้�ที่่�ใช้้งานได้จ้ ริิง

8. สามารถบููรณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่ศ� ึึกษากัับ
ความรู้้�ในศาสตร์์อื่�น่ ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง

19

• ด้้านทักั ษะทางปัญั ญา

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. มีีความคิดิ ริเิ ริ่ม� สร้า้ งสรรค์ ์ ต่่อยอดกรอบความรู้้�เดิิม 1. คิิดอย่่างมีวี ิจิ ารณญาณและอย่่างเป็น็ ระบบ
สามารถบููรณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่ศ� ึกึ ษาและ
ประสบการณ์เ์ พื่อ�่ ให้เ้ กิดิ นวััตกรรม กิจิ กรรมหรืือ
แนวทางในศาสตร์์เฉพาะนั้้น� ๆ

2. สามารถคิิดวิิเคราะห์์และเชื่�อ่ มโยงความรู้้�อย่่างเป็น็ 2. สามารถสืืบค้้น ตีีความ และประเมิินสารสนเทศ เพื่อ่�
องค์ร์ วม ใช้ใ้ นการแก้้ไขปัญั หาอย่่างสร้้างสรรค์์

3. มีีความกระตืือรืือร้น้ ในการใฝ่ห่ าความรู้้� 3. สามารถรวบรวม ศึึกษา วิิเคราะห์์ และสรุุปประเด็น็
ปัญั หาและความต้้องการ

4. สามารถประยุกุ ต์์ความรู้้�และทัักษะเพื่่�อใช้้แก้ไ้ ข
ปััญหาอย่่างเหมาะสม

• ด้้านทักั ษะความสััมพัันธ์์ระหว่่างบุคุ คลและความรัับผิิดชอบ

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรับั ตัวั เข้้ากับั สถานการณ์์และวัฒั นธรรม 1. สามารถสื่�อ่ สารกัับกลุ่�มคนหลากหลายและสามารถ
องค์ก์ ร สนทนาทั้้ง� ภาษาไทยและภาษา
ต่่างประเทศอย่่างมีีประสิทิ ธิิภาพ

2. สามารถทำำ�งานกัับผู้้�อื่น�่ ได้้เป็็นอย่่างดีีและมีภี าวะผู้้�นำ�ำ 2. สามารถให้้ความช่่วยเหลืือและอำำ�นวยความสะดวก
แก่่การแก้้ปััญหาสถานการณ์ต์ ่่างๆ ในกลุ่ม� ทั้้ง� ใน
บทบาทของผู้้�นำ�ำ หรืือในบทบาทของผู้้�ร่่วมทีีมทำ�ำ งาน

3. มีคี วามรับั ผิดิ ชอบต่่อหน้้าที่่�และงานที่่�ได้้รับั 3. สามารถใช้ค้ วามรู้้�ในศาสตร์ท์ ี่่เ� รีียนมาชี้�นำ�ำ สัังคมใน
มอบหมาย ประเด็น็ ที่่�เหมาะสม

4. มีีมนุษุ ยสัมั พัันธ์ท์ ี่่ด� ีกี ับั ผู้้�ร่่วมงานในองค์ก์ รและบุุคคล 4. มีคี วามรัับผิดิ ชอบในการกระทำ�ำ ของตนเองและ
ทั่่ว� ไป รัับผิดิ ชอบงานในกลุ่ม�

5. สามารถเป็น็ ผู้้�ริเริ่�มแสดงประเด็็นในการแก้้ไข
สถานการณ์ท์ ั้้ง� ส่่วนตััวและส่่วนรวมพร้้อมทั้้�งแสดง
จุดุ ยืืนอย่่างพอเหมาะทั้้�งของตนเองและของกลุ่ม�

6. มีคี วามรัับผิดิ ชอบการพััฒนาการเรีียนรู้�ทั้ง� ของตนเอง
และทางวิิชาชีพี อย่่างต่่อเนื่อ�่ ง

20

• ด้้านทัักษะการวิเิ คราะห์์เชิิงตัวั เลข การสื่่อ� สาร และการใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศ

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. ใช้ค้ วามรู้้�ทางคณิติ ศาสตร์์และสถิติ ิิในการวิิเคราะห์์ 1. มีีทักั ษะในการใช้เ้ ครื่อ�่ งมืือที่่จ� ำำ�เป็็นที่่ม� ีอี ยู่�ในปัจั จุบุ ันั
และนำ�ำ เสนอ ต่่อการทำ�ำ งานที่่�เกี่�ยวกัับคอมพิิวเตอร์์

2. มีีทัักษะการใช้้ภาษาไทยได้อ้ ย่่างมีีประสิทิ ธิภิ าพ 2. สามารถแนะนำำ�ประเด็็นการแก้้ไขปัญั หาโดยใช้้
สารสนเทศทางคณิติ ศาสตร์์หรืือการแสดงสถิิติิ
3. มีีทัักษะการใช้ภ้ าษาต่่างประเทศเพื่่อ� การติิดต่่อ ประยุกุ ต์ต์ ่่อปััญหาที่่�เกี่ย� วข้อ้ งอย่่างสร้้างสรรค์์
สื่อ�่ สารอย่่างน้้อยหนึ่่ง� ภาษา
3. สามารถสื่อ�่ สารอย่่างมีปี ระสิทิ ธิภิ าพทั้้ง� ปากเปล่่าและ
4. สามารถใช้เ้ ทคโนโลยีีสารสนเทศในการสืืบค้้น การเขียี น เลืือกใช้้รูปู แบบของสื่�อ่ การนำำ�เสนออย่่าง
เก็บ็ รวบรวมข้อ้ มููลตลอดจนการนำำ�เสนอ เหมาะสม

4. สามารถใช้้สารสนเทศและเทคโนโลยีสี ารสนเทศ
อย่่างเหมาะสม

แนวทางการประกอบอาชีพี
1. นักั เทคโนโลยีีสารสนเทศ
2. นักั วิิเคราะห์์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ
3. นักั โปรแกรม/ นักั พััฒนาระบบ
4. นัักวิเิ คราะห์ข์ ้้อมููล นักั วิทิ ยาศาสตร์์ข้อ้ มููล
5. นัักพััฒนา/จััดการเว็บ็ ไซต์/์ จัดั การกระบวนการทางธุุรกิิจ
6. ผู้้�ดูแู ลระบบโครงข่่าย เครื่�องแม่ข่ ่า่ ย และระบบกลุ่�มเมฆ
7. ผู้้�ออกแบบดิจิ ิทิ ััลกราฟฟิิก และแอนิิเมชััน

21

รายละเอียี ดค่่าเล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรียี นรวมตลอดหลักั สููตร 360,000 บาท และชำำ�ระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษาในอััตรา
ที่่ส� ถาบัันกำำ�หนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 8 ภาคการศึกึ ษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่่าเล่่าเรีียนสำ�ำ หรัับนักั ศึึกษา ค่่าเล่่าเรียี นสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา

ครั้�งที่่� 1 ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคการศึึกษาพิิเศษ ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 2 – 7
ครั้ง� ที่่� 8 24,000 48,000

48,000 48,000
48,000 24,000

2. อััตราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา ไม่ร่ วมค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดังั ต่่อไปนี้้�
- ค่่าหนัังสืือ เอกสารประกอบวิิชาเรียี น
- ค่่าชุดุ ปฏิิบัตั ิกิ าร วััตถุดุ ิิบและอุุปกรณ์อ์ ื่น่� ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรับั พื้้น� ฐาน
- ค่่าธรรมเนีียมอื่่น� ๆ และค่่าเบ็็ดเตล็ด็ นอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา

ตัวั อย่่างสถานประกอบการที่่�นักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิิบัตั ิิ

22

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึึกปฏิบิ ัตั ิิ

ปีีการศึึกษาที่่� 1

รหััสวิชิ า ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่่วยกิิต รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 2 หน่่วยกิติ

EN xxxxx รายวิิชา 2 EN xxxxxx รายวิชิ า 2
1311101 3 1311103 3
กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ กลุ่�มวิชิ าภาษาอัังกฤษ
1311102 พื้้�นฐานเทคโนโลยีสี ารสนเทศและ 3 1301107 สถิิติิสำ�ำ หรับั เทคโนโลยีีสารสนเทศ
ปัญั ญาประดิษิ ฐ์์
1312104 คณิติ ศาสตร์์สำ�ำ หรัับเทคโนโลยีี 3 1312103 โครงงานทางวิิศวกรรมและ 1
สารสนเทศ เทคโนโลยีี 3
1312101 พื้้�นฐานการเขีียนโปรแกรม 3 1312102 การออกแบบกราฟิกิ และสื่่อ� ดิิจิิทััล 3
สำำ�หรับั อุุตสาหกรรมดิิจิทิ ัลั 3
1311104 เทคโนโลยีีดิจิ ิิทััลและสารสนเทศ 3 1302151 จริิยธรรมและมาตรฐานทาง 15
ในธุรุ กิิจ เทคโนโลยีีสารสนเทศ
การสื่�อ่ สารและการนำำ�เสนอทาง 17 การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิสำ�ำ หรัับ
วิิชาชีพี เทคโนโลยีสี ารสนเทศ วิศิ วกรและนักั เทคโนโลยีี

รวม รวม

ปีีการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิชิ า ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่่วยกิติ รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 2 หน่่วยกิิต

EN xxxxx รายวิิชา 2 TH xxxxx รายวิชิ า 3
SO xxxxx 3 HM xxxxx 3
1312208 กลุ่ม� วิิชาภาษาอังั กฤษ 3 1312209 กลุ่ม� วิชิ าภาษาไทย 3
กลุ่�มวิชิ าสัังคมศาสตร์์ กลุ่ �มวิิชาสัังคมศาสตร์์
1312211 ระบบฐานข้้อมููลและข้้อมูลู ขนาด โครงสร้้างข้อ้ มููลและขั้น� ตอนวิิธีี
ใหญ่่
1312205 โครงสร้า้ งคอมพิวิ เตอร์์และ 3 131xxxx วิชิ าเลืือกเฉพาะด้้านอุตุ สาหกรรม 3
ระบบปฏิิบัตั ิิการ ดิิจิิทัลั 1 3
1312251 การวางแผนทรัพั ยากรทางธุรุ กิจิ 3 1312206 ความมั่่�นคงของเทคโนโลยีี
ขององค์์กรโดยรวมสำำ�หรับั ธุุรกิจิ สารสนเทศและเทคโนโลยีี 3
บล็็อกเชน
การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้าน 3 1312207 พาณิิชย์อ์ ิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์
เทคโนโลยีสี ารสนเทศ 1

1311205 โครงงานดิจิ ิิทััลเทคโนโลยีี 1 1
รวม 19
รวม 17

23

ปีกี ารศึึกษาที่่� 3

รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่่วยกิิต รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 2 หน่่วยกิติ

Xx xxxxx รายวิิชา 3 HM xxxxx รายวิชิ า 3
SC xxxxx 3 SC xxxxx 3
1312313 กลุ่ม� วิิชาเลืือกภาษาต่่างประเทศ กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์์ 3
1312210 กลุ่ม� วิิชาวิิทยาศาสตร์แ์ ละ 3 131xxxx กลุ่ม� วิชิ าวิทิ ยาศาสตร์แ์ ละคณิิตศาสตร์์ 2
1312212 คณิติ ศาสตร์์ 3
10xxxxx วิิศวกรรมซอฟต์์แวร์์และการ 3 1311306 วิชิ าเลืือกเฉพาะด้า้ นอุตุ สาหกรรม
วิิเคราะห์์ระบบ ดิิจิทิ ััล 2 14
รหััสวิิชา การเขีียนโปรแกรมเชิิงวัตั ถุขุ ้้าม 3 1312352 โครงงานดิิจิิทััลเทคโนโลยีี 2
แพลตฟอร์ม์
XX xxxxx ระบบโครงข่่ายและคลาวด์์ 3 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้าน
18 เทคโนโลยีสี ารสนเทศ 2
กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์์
หน่่วยกิิต รวม
รวม
3
ภาคการศึึกษาฤดููร้้อน 3

รายวิิชา

วิชิ าเลืือกเสรีี 1

รวม

ปีกี ารศึึกษาที่่� 4

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิติ

1312413 การจัดั การโครงการเทคโนโลยีี 3 1312453 การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิดิ ้้าน 6
สารสนเทศ เทคโนโลยีสี ารสนเทศ 3
1312414 วิชิ าเลืือกเสรีี 2 3
131xxxx วิิทยาการข้้อมูลู 3 XX xxxxx วิิชาเลืือกเฉพาะสาขา 3

131xxxx วิิชาเลืือกเฉพาะด้้านอุตุ สาหกรรม 3 131xxxx
ดิจิ ิทิ ัลั 3

วิิชาเลืือกเฉพาะด้า้ นอุุตสาหกรรม 3
ดิจิ ิิทััล 4

รวม 12 รวม 12

สามารถศึึกษาข้อ้ มูลู หลัักสููตรเพิ่่ม� เติิมได้้ที่่�

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25522501102615_2118_IP&b=0&u=25000&y=

24

หลักั สููตรวิิศวกรรมศาสตรบััณฑิติ

สาขาวิชิ าวิิศวกรรมคอมพิวิ เตอร์์
และปัญั ญาประดิิษฐ์์

Bachelor of Engineering Program
in Computer Engineering and Artificial Intelligence

ชื่่อ� ปริิญญา

ภาษาไทย (ชื่่�อเต็ม็ ) : วิิศวกรรมศาสตรบัณั ฑิิต
(วิิศวกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละปััญญาประดิษิ ฐ์์)
(อัักษรย่อ่ ) : วศ.บ. (วิศิ วกรรมคอมพิิวเตอร์์และปััญญาประดิษิ ฐ์์)
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่�อเต็ม็ ) : Bachelor of Engineering (Computer Engineering
and Artificial Intelligence)
(อักั ษรย่อ่ ) : B.Eng. (Computer Engineering and
Artificial Intelligence)

หมายเหตุุ : สำำ�นัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม
(สป.อว.) รับั ทราบหลักั สูตู รเมื่อ�่ 13 เมษายน พ.ศ. 2563

จุุดเด่่นของสาขาวิิชา / หลัักสููตร

ปัจั จุบุ ันั ทุกุ ประเทศมีกี ารเปลี่ย� นแปลงอย่่างก้า้ วกระโดดในเทคโนโลยีสี ารสนเทศ สาขาวิชิ าวิศิ วกรรมคอมพิวิ เตอร์์
และปัญั ญาประดิษิ ฐ์์ เน้น้ การพัฒั นาอุตุ สาหกรรมคอมพิวิ เตอร์ ์ จึงึ มีคี วามจำ�ำ เป็น็ อย่่างยิ่ง� ที่่ต� ้อ้ งมีรี ะบบการบริหิ ารจัดั การ
องค์ค์ วามรู้้� การพัฒั นาหรืือสร้า้ งองค์ค์ วามรู้้�ด้า้ นเทคโนโลยีสี ารสนเทศอย่่างเป็น็ ระบบ ซึ่่ง� รวมถึงึ การเตรียี มบุคุ ลากรทาง
วิศิ วกรรมคอมพิวิ เตอร์จ์ ำำ�นวนมากที่่ส� ามารถประยุกุ ต์ใ์ ช้เ้ ทคโนโลยีที ี่่เ� หมาะสมมาผสมผสานร่่วมกับั จุดุ แข็ง็ ในสังั คมไทย
จึงึ มีคี วามจำำ�เป็น็ ที่่จ� ะต้อ้ งพัฒั นาหลักั สูตู รในเชิงิ รุกุ ที่่ม� ีศี ักั ยภาพและสามารถปรับั เปลี่ย� นได้ต้ ามวิวิ ัฒั นาการของสาขาวิชิ า
วิิศวกรรมคอมพิวิ เตอร์์ และรองรับั การแข่่งขัันทางธุุรกิจิ คอมพิิวเตอร์์ทั้้�งในประเทศไทยและต่่างประเทศ โดยการผลิิต
บุุคลากรทางวิิศวกรรมคอมพิิวเตอร์์ จำำ�เป็็นต้้องมีีความพร้้อมที่่�จะปฏิิบััติิงานได้้ทัันทีี และมีีศัักยภาพสููงในการพััฒนา
ตนเองให้เ้ ข้า้ กับั ลักั ษณะงานทั้้ง� ด้า้ นวิชิ าการและวิชิ าชีพี ซึ่่ง� เป็น็ ไปตามนโยบายและวิสิ ัยั ทัศั น์ข์ องสถาบันั ฯ ด้า้ นมุ่ง� สู่ค� วาม
เป็น็ เลิศิ ในเทคโนโลยีีและการวิจิ ััยซึ่�งสอดคล้้องกับั พัันธกิิจและแผนกลยุุทธ์์สถาบัันการจััดการปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์

25

ผลลพั ธก ารเรยี นรขู องหลกั สูตร

• ด้้านคุณุ ธรรม จริิยธรรม

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. มีีวิินัยั ตรงเวลา 1. ตระหนักั ในคุุณค่่าและคุุณธรรม จริยิ ธรรม เสียี สละ
และซื่่�อสััตย์์สุุจริติ

2. มีคี วามซื่อ่� สััตย์์สุจุ ริติ 2. มีีวินิ ััย ตรงต่่อเวลา และความรับั ผิดิ ชอบต่่อตนเอง
และสังั คม

3. มีีความรับั ผิิดชอบทั้้ง� ต่่อตนเอง สัังคมและการ 3. มีภี าวะความเป็น็ ผู้้�นำำ�และผู้�ตาม สามารถทำำ�งานเป็น็
ประกอบอาชีพี ทีีมและสามารถแก้้ไขข้้อขัดั แย้ง้ และลำ�ำ ดัับความ
สำำ�คััญ
4. ปฏิบิ ััติิหน้้าที่่�ด้ว้ ยคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม และมีีจิติ 4. เคารพสิิทธิแิ ละรัับฟัังความคิิดเห็น็ ของผู้�อื่�น รวมทั้้ง�
สาธารณะ เคารพในคุุณค่่าและศัักดิ์ศ� รีีของความเป็็นมนุุษย์์
5. เคารพในระเบียี บและกฎเกณฑ์์ขององค์ก์ รและสัังคม 5. เคารพกฎระเบียี บและข้้อบัังคัับต่่างๆ ขององค์ก์ ร
และสังั คม
6. สามารถวิิเคราะห์์ผลกระทบจากการใช้้คอมพิิวเตอร์์
ต่่อบุคุ คล องค์ก์ รและสัังคม
7. มีจี รรยาบรรณทางวิิชาการและวิิชาชีีพ

• ด้้านความรู้้�

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. มีีความรู้้�อย่่างกว้้างขวางและสามารถนำ�ำ ความรู้้�นั้้�นไป 1. มีคี วามรู้้�และความเข้า้ ใจเกี่�ยวกัับหลักั การและทฤษฎีี
ใช้ใ้ นชีวี ิิตประจำำ�วันั ที่่�สำำ�คััญในเนื้้�อหาสาขาวิชิ าที่่ศ� ึึกษา
2. เข้้าใจและวิเิ คราะห์์หลักั การของศาสตร์์อื่่น� ที่่� 2. สามารถวิเิ คราะห์์ปัญั หา เข้า้ ใจและอธิิบายความ
เกี่�ยวข้อ้ งและนำ�ำ มาใช้้เป็น็ พื้้�นฐานของศาสตร์์ ต้อ้ งการของระบบงาน รวมทั้้�งประยุุกต์์ความรู้้�
เฉพาะนั้้�นๆ (เฉพาะสาขาวิชิ า) ทัักษะ และการใช้้เครื่�อ่ งมืือที่่เ� หมาะสมกัับ
การแก้้ไขปัญั หา
3. มีีความรู้้�ความเข้า้ ใจในหลักั การและทฤษฎีีในศาสตร์์ 3. สามารถวิิเคราะห์์ ออกแบบ ติิดตั้�ง ปรับั ปรุุงและ/
เฉพาะนั้้�นๆ และสามารถนำ�ำ ไปประยุุกต์์ใช้้แก้้ไข หรืือประเมิินระบบองค์ป์ ระกอบต่่างๆ ของระบบ
ปััญหาในการปฏิบิ ัตั ิิงานจริิงได้้ งานให้้ตรงตามข้อ้ กำ�ำ หนด
4. สามารถติิดตามความก้้าวหน้้าทางวิิชาการและ
วิวิ ััฒนาการด้้านเทคโนโลยีสี ารสนเทศ รวมทั้้ง� การนำำ�
ไปประยุกุ ต์์
5. รู้้� เข้้าใจและสนใจพััฒนาความรู้้� ความชำำ�นาญทาง
เทคโนโลยีีสารสนเทศอย่่างต่่อเนื่�อ่ ง

6. มีคี วามรู้้�ในแนวกว้้างของสาขาวิชิ าที่่�ศึกึ ษาเพื่่อ� ให้เ้ ล็ง็
เห็น็ การเปลี่�ยนแปลง และเข้า้ ใจผลกระทบ
ของเทคโนโลยีใี หม่่ๆ ที่่�เกี่ย� วข้้อง
7. มีปี ระสบการณ์ใ์ นการพััฒนาและ/หรืือการประยุกุ ต์์
ความรู้้�ที่่ใ� ช้้งานได้จ้ ริิง

8. สามารถบููรณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่�ศึึกษากัับ
ความรู้้�ในศาสตร์์อื่น่� ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง

26

• ด้้านทักั ษะทางปััญญา

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีีความคิิดริิเริ่�มสร้า้ งสรรค์์ ต่่อยอดกรอบความรู้้�เดิิม 1. คิิดอย่่างมีีวิิจารณญาณและอย่่างเป็น็ ระบบ
สามารถบููรณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่ศ� ึกึ ษาและ
ประสบการณ์เ์ พื่�อ่ ให้้เกิิดนวััตกรรม กิจิ กรรมหรืือ
แนวทางในศาสตร์เ์ ฉพาะนั้้�นๆ

2. สามารถคิดิ วิเิ คราะห์์และเชื่่อ� มโยงความรู้้�อย่่างเป็น็ 2. สามารถสืืบค้น้ ตีคี วาม และประเมิินสารสนเทศ เพื่อ่�
องค์์รวม ใช้ใ้ นการแก้้ไขปััญหาอย่่างสร้า้ งสรรค์์

3. มีคี วามกระตืือรืือร้น้ ในการใฝ่ห่ าความรู้้� 3. สามารถรวบรวม ศึึกษา วิิเคราะห์์ และสรุุปประเด็น็
ปััญหาและความต้อ้ งการ

4. สามารถประยุกุ ต์์ความรู้้�และทัักษะเพื่อ�่ ใช้้แก้้ไข
ปัญั หาอย่่างเหมาะสม

• ด้้านทัักษะความสััมพัันธ์ร์ ะหว่่างบุุคคลและความรัับผิิดชอบ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรัับตััวเข้้ากับั สถานการณ์์และวัฒั นธรรม 1. สามารถสื่่อ� สารกับั กลุ่�มคนหลากหลายและสามารถ
องค์ก์ ร สนทนาทั้้ง� ภาษาไทยและภาษา
ต่่างประเทศอย่่างมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ

2. สามารถทำำ�งานกัับผู้้�อื่น�่ ได้เ้ ป็น็ อย่่างดีแี ละมีีภาวะผู้้�นำ�ำ 2. สามารถให้้ความช่่วยเหลืือและอำำ�นวยความสะดวก
แก่่การแก้้ปััญหาสถานการณ์ต์ ่่างๆ ในกลุ่ม� ทั้้ง� ใน
บทบาทของผู้้�นำ�ำ หรืือในบทบาทของผู้้�ร่่วมทีมี ทำำ�งาน

3. มีีความรับั ผิดิ ชอบต่่อหน้า้ ที่่�และงานที่่ไ� ด้ร้ ับั มอบ 3. สามารถใช้ค้ วามรู้้�ในศาสตร์์ที่่เ� รียี นมาชี้�นำำ�สัังคม
หมาย ในประเด็็นที่่�เหมาะสม

4. มีมี นุุษยสััมพันั ธ์ท์ ี่่�ดีกี ัับผู้้�ร่่วมงานในองค์ก์ รและบุุคคล 4. มีีความรับั ผิดิ ชอบในการกระทำำ�ของตนเองและ
ทั่่ว� ไป รับั ผิดิ ชอบงานในกลุ่�ม

5. สามารถเป็น็ ผู้้�ริเริ่�มแสดงประเด็็นในการแก้้ไข
สถานการณ์ท์ ั้้ง� ส่่วนตััวและส่่วนรวมพร้้อมทั้้�งแสดง
จุดุ ยืืนอย่่างพอเหมาะทั้้�งของตนเองและของกลุ่ม�

6. มีคี วามรับั ผิิดชอบการพััฒนาการเรีียนรู้�ทั้ง� ของตนเอง
และทางวิิชาชีพี อย่่างต่่อเนื่�อ่ ง

27

• ด้้านทักั ษะการวิเิ คราะห์เ์ ชิิงตัวั เลข การสื่่อ� สาร และการใช้้เทคโนโลยีสี ารสนเทศ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. ใช้้ความรู้้�ทางคณิิตศาสตร์แ์ ละสถิติ ิใิ นการวิเิ คราะห์์ 1. มีที ักั ษะในการใช้เ้ ครื่�่องมืือที่่�จำำ�เป็น็ ที่่ม� ีอี ยู่�ในปัจั จุบุ ันั
และนำำ�เสนอ ต่่อการทำำ�งานที่่เ� กี่�ยวกัับคอมพิวิ เตอร์์

2. มีที ักั ษะการใช้ภ้ าษาไทยได้อ้ ย่่างมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ 2. สามารถแนะนำ�ำ ประเด็็นการแก้ไ้ ขปััญหาโดยใช้้
สารสนเทศทางคณิิตศาสตร์์หรืือการแสดงสถิิติิ
3. มีที ัักษะการใช้ภ้ าษาต่่างประเทศเพื่่อ� การติดิ ต่่อ ประยุุกต์์ต่่อปััญหาที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งอย่่างสร้า้ งสรรค์์
สื่�่อสารอย่่างน้้อยหนึ่่ง� ภาษา
3. สามารถสื่�อ่ สารอย่่างมีปี ระสิทิ ธิิภาพทั้้�งปากเปล่่าและ
4. สามารถใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศในการสืืบค้น้ การเขียี น เลืือกใช้้รููปแบบของสื่อ่� การนำ�ำ เสนออย่่าง
เก็็บรวบรวมข้อ้ มููลตลอดจนการนำำ�เสนอ เหมาะสม

4. สามารถใช้้สารสนเทศและเทคโนโลยีสี ารสนเทศ
อย่่างเหมาะสม

แนวทางการประกอบอาชีีพ
1. วิศิ วกรคอมพิิวเตอร์์
2. วิิศวกรปััญญาประดิษิ ฐ์์
3. วิิศวกรการเรีียนรู้�ของเครื่อ� ง
4. นัักวิิทยาการข้อ้ มููล
5. นัักวิเิ คราะห์์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ
6. นัักโปรแกรม/ นักั พัฒั นาระบบ
7. นัักทดสอบโปรแกรม/นัักทดสอบระบบ
8. ผู้้�ดููแลระบบโครงข่า่ ย เครื่อ� งแม่ข่ ่่าย และระบบคลาวด์์

28

รายละเอียี ดค่่าเล่่าเรียี น

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลักั สูตู ร 384,000 บาท และชำำ�ระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษาในอัตั รา
ที่่�สถาบัันกำำ�หนด ตามแผนการเรียี นปกติิ 8 ภาคการศึึกษา ดัังนี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่่าเล่่าเรีียนสำ�ำ หรับั นักั ศึึกษา ค่่าเล่่าเรีียนสำำ�หรัับนัักศึึกษา

ครั้ง� ที่่� 1 ที่่�เข้้าเรียี นในภาคการศึึกษาพิิเศษ ที่่�เข้้าเรียี นในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 2 – 7
ครั้�งที่่� 8 25,600 51,200

51,200 51,200
51,200 25,600

2. อััตราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา ไม่่รวมค่่าใช้้จ่า่ ย ดัังต่่อไปนี้้�
- ค่่าหนัังสืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรีียน
- ค่่าชุดุ ปฏิบิ ัตั ิกิ าร วััตถุดุ ิบิ และอุปุ กรณ์์อื่่�นๆ ที่่�เกี่ย� วข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรัับพื้้�นฐาน
- ค่่าธรรมเนีียมอื่น่� ๆ และค่่าเบ็็ดเตล็ด็ นอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา

ตััวอย่่างสถานประกอบการที่่น� ัักศึกึ ษาฝึกึ ปฏิิบััติิ

29

ข้้อมููลการเรียี นและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีกี ารศึึกษาที่่� 1

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่่วยกิิต รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต

TH xxxxx กลุ่ม� วิชิ าภาษาไทย 3 EN xxxxx กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ 2
SO xxxxx กลุ่�มวิิชาสังั คมศาสตร์์ 3 1301102 คณิิตศาสตร์์วิิศวกรรม 2 3
1301101 คณิติ ศาสตร์์วิศิ วกรรม 1 3 1301103 ฟิสิ ิกิ ส์ว์ ิิศวกรรม 1 3
1301105 ฟิสิ ิกิ ส์์วิิศวกรรม 2 3 1301106 ปฏิบิ ัตั ิิการฟิสิ ิิกส์์วิศิ วกรรม 2 1
1301104 ปฏิิบัตั ิิการฟิิสิิกส์์วิศิ วกรรม 1 1 1301107 โครงงานทางวิิศวกรรมและเทคโนโลยีี 1
1312104 พื้้�นฐานการเขีียนโปรแกรม 3 1302151 การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิสำ�ำ หรับั วิิศวกร 3
และนัักเทคโนโลยีี
1312210 การเขียี นโปรแกรมเชิิงวััตถุขุ ้า้ ม 3
แพลตฟอร์ม์
1321101 วงจรไฟฟ้้าและอิิเล็็กทรอนิกิ ส์ส์ ำำ�หรับั 3
วิิศวกรคอมพิิวเตอร์์
1321102 ปฏิบิ ััติิการวงจรไฟฟ้้าและ 1
อิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์์
รวม 16 20
รวม

ปีีการศึึกษาที่่� 2

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิติ

EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ 2 EN xxxxx กลุ่ม� วิิชาภาษาอัังกฤษ 2
SC xxxxx กลุ่�มวิิชาวิทิ ยาศาสตร์์และคณิิตศาสตร์์ 3 SO xxxxx กลุ่ม� วิิชาสังั คมศาสตร์์ 3
1322201 ระบบฐานข้้อมููลและข้อ้ มูลู ขนาดใหญ่่ 3 1321204 คณิิตศาสตร์ส์ ำำ�หรับั ปััญญา 3
ประดิษิ ฐ์์ 2
1312209 โครงสร้้างข้้อมูลู และขั้�นตอนวิธิ ีี 3 1312414 วิทิ ยาการข้้อมููล 3
1321203 3 1321205
คณิิตศาสตร์์สำ�ำ หรับั ปัญั ญา โครงงานวิศิ วกรรมคอมพิิวเตอร์์ 1
1322201 ประดิิษฐ์์ 1 3 1322202 และปััญญาประดิษิ ฐ์์ 1 3
การออกแบบดิจิ ิทิ ัลั ลอจิิก เครื่่อ� งเร่่งฮาร์์ดแวร์์สำ�ำ หรับั การ 3
1312212 เรียี นรู้�เชิิงลึกึ 3
ระบบโครงข่่ายและคลาวด์์ 3 1313310 การประมวลผลคลาวด์์
1322251 การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ััติิด้้าน 21
วิิศวกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละปัญั ญา
รวม 20 ประดิิษฐ์์ 1

รวม

30

ปีีการศึึกษาที่่� 3

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิติ รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่่วยกิติ

Xx xxxxx กลุ่�มวิชิ าเลืือกภาษาต่่างประเทศ 3 HM xxxxx กลุ่�มวิชิ ามนุษุ ยศาสตร์์ 3
HM xxxxx กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์์ 3 1312101 จริยิ ธรรมและมาตรฐานทางเทคโนโลยีี 3
สารสนเทศ
Sc xxxxx กลุ่�มวิชิ าวิิทยาศาสตร์์และ 3 1312206 ความมั่่น� คงของเทคโนโลยีีสารสนเทศ 3
คณิิตศาสตร์์ และเทคโนโลยีีบล็อ็ กเชน
1322301 การสื่�อ่ สารและการประมวลผล 3 1321306 โครงงานวิศิ วกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละ 2
ดิิจิทิ ัลั ปัญั ญาประดิษิ ฐ์์ 2
1322304 ไมโครโพรเซสเซอร์แ์ ละ 3 1322303 สถาปััตยกรรมคอมพิิวเตอร์์ 3
อินิ เตอร์์เน็ต็ ของสรรพสิ่่�ง
1322302 ระบบปฎิิบัตั ิิการ 3 1322302 การเรียี นรู้�ของเครื่่�อง 3
1312313 วิศิ วกรรมซอฟต์์แวร์์และการ 3
วิิเคราะห์ร์ ะบบ 21
รวม 17
รวม หน่่วยกิิต

ภาคการศึึกษาฤดููร้้อน 3

รหัสั วิิชา รายวิิชา 3

1322352 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้า้ น
วิศิ วกรรมคอมพิวิ เตอร์แ์ ละปััญญา
ประดิิษฐ์์ 2

รวม

ปีกี ารศึึกษาที่่� 4

รหัสั วิชิ า ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่่วยกิติ รหััสวิชิ า ภาคการศึึกษาที่่� 2 หน่่วยกิิต

1322303 รายวิิชา 3 1322453 รายวิิชา 6

132xxxx คอมพิิวเตอร์์วิิทััศน์์ การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิด้า้ น 3
xx xxxxx วิศิ วกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละปััญญา
วิิชาเลืือกเฉพาะสาขา 3 xx xxxxx ประดิษิ ฐ์์ 3
วิิชาเลืือกเสรีี วิชิ าเลืือกเสรีี
3
รวม 9 รวม 9

สามารถศึึกษาข้อ้ มููลหลักั สููตรเพิ่่�มเติิมได้้ที่่�

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25542501101256_2114_IP&b=0&u=25000&y=

31

หลักั สููตรวิิทยาศาสตรบััณฑิติ

สาขาวิิชาวิิศวกรรมอุุตสาหการ
และการผลิติ อัจั ฉริยิ ะ

Bachelor of Engineering Program
in Industrial Engineering and Intelligent Manufacturing

ชื่่�อปริิญญา

ภาษาไทย (ชื่่อ� เต็็ม) : วิิศวกรรมศาสตรบััณฑิิต
(วิิศวกรรมอุุตสาหการและการผลิิตอััจฉริิยะ)
(อักั ษรย่อ่ ) : วศ.บ. (วิิศวกรรมอุตุ สาหการ)
ภาษาอัังกฤษ (ชื่่อ� เต็็ม) : Bachelor of Engineering (Industrial Engineering
and Intelligent Manufacturing)
(อักั ษรย่่อ) : B.Eng. (Industrial Engineering and
Intelligent Manufacturing)

หมายเหตุุ : สำ�ำ นัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม
(สป.อว.) รับั ทราบหลัักสููตรเมื่อ�่ 21 กันั ยายน พ.ศ. 2563

จุุดเด่่นของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร

ปัจั จุบุ ันั ภาคธุรุ กิจิ ด้า้ นต่่างๆ มีแี นวโน้ม้ ที่่ข� ยายตัวั เพิ่่ม� มากขึ้น� ทั้้ง� ในส่่วนด้า้ นของอุปุ สงค์แ์ ละอุปุ ทาน โดยเฉพาะ
ในภาคอุุตสาหกรรม จนทำ�ำ ให้้การผลิิตบุุคลากรเฉพาะด้้านที่่�มีีองค์์ความรู้้�ทางด้้านวิิศวกรรมอุุตสาหการและการผลิิต
อัจั ฉริยิ ะในระดับั ปริญิ ญาบัณั ฑิติ เกิดิ สภาวะขาดแคลนทรัพั ยากรบุคุ คลที่่ม� ีอี งค์ค์ วามรู้้�ทั้้ง� ในเชิงิ ทฤษฎีแี ละปฏิบิ ัตั ิเิ ฉพาะ
ด้า้ นร่่วมกันั โดยการบููรณาการการเรีียนการสอน ในทุกุ ๆ ศาสตร์เ์ ชิงิ การจััดการและเทคโนโลยีีอุตุ สาหการที่่ส� ามารถ
ต่่อยอดได้ใ้ นอนาคต ซึ่่ง� ปัจั จุบุ ันั นั้้น� โดยเฉพาะภาคอุตุ สาหกรรมมีคี วามจำำ�เป็น็ ของบุคุ ลากรด้า้ นนี้้เ� พิ่่ม� ขึ้้น� ทำ�ำ ให้ส้ อดคล้อ้ ง
กับั การพััฒนาของธุรุ กิิจทุุกๆ ประเภทที่่เ� กี่�ยวเนื่อ�่ งกัันได้้

32

ผลลัพธก ารเรียนรขู องหลกั สูตร

• ด้้านคุณุ ธรรม จริิยธรรม หมวดวิชิ าเฉพาะ
หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป
1. เข้า้ ใจซาบซึ้้�งในวัฒั นธรรมไทย ตระหนักั ในคุณุ ค่่า
1. แสดงออกถึึงความมีีวิินัยั และตรงต่่อเวลา ของคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม เสีียสละและซื่�่อสััตย์ส์ ุจุ ริิต
2. ปฏิิบััติหิ น้้าที่่ด� ้้วยความซื่่�อสัตั ย์์สุุจริิต มีีคุณุ ธรรม
2. มีีวิินัยั ตรงต่่อเวลา รับั ผิิดชอบต่่อตนเองและสังั คม
จริยิ ธรรม และจิิตสาธารณะ เคารพกฎระเบีียบและข้อ้ บังั คับั ต่่างๆ ขององค์์กร
3. มีีความรับั ผิดิ ชอบทั้้�งต่่อตนเอง สัังคมและการ และสังั คม

ประกอบอาชีีพ 3. มีภี าวะความเป็น็ ผู้้�นำ�ำ และผู้�ตาม สามารถทำ�ำ งานเป็น็
หมู่ค� ณะ สามารถแก้้ไขข้้อขัดั แย้้งตามลำ�ำ ดับั ความสา
4. แสดงออกซึ่ง� ประเพณีแี ละวัฒั นธรรมไทย คััญ เคารพสิทิ ธิิและรับั ฟังั ความคิดิ เห็น็ ของผู้�อื่�น รวม
ทั้้�งเคารพในคุณุ ค่่า และศักั ดิ์�ศรีขี องความเป็็นมนุุษย์์
5. ปฏิิบััติิตามระเบีียบและกฎเกณฑ์์ขององค์์กรและ ร่่วมกััน
สังั คม
4. สามารถวิเิ คราะห์์และประเมินิ ผลกระทบจากการใช้้
ความรู้้�ทางวิิศวกรรมต่่อบุคุ คล องค์ก์ ร สัังคมและสิ่�ง
แวดล้อ้ ม

5. มีจี รรยาบรรณทางวิชิ าการและวิิชาชีพี และมีีความ
รับั ผิดิ ชอบในฐานะผู้�ประกอบวิิชาชีพี รวมถึึงเข้า้ ใจ
ถึงึ บริบิ ททางสัังคมของวิชิ าชีพี วิิศวกรรมในแต่่ละ
สาขา ตั้้�งแต่่อดีีตจนถึึงปัจั จุบุ ััน

• ด้้านความรู้้�

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถอธิิบาย ใช้้ทฤษฎีี หลักั การพื้้น� ฐาน ที่่�เรียี นรู้� 1. มีคี วามรู้้�และความเข้า้ ใจทางคณิิตศาสตร์พ์ ื้้�นฐาน
และนำำ�ไปประยุกุ ต์์ใช้ใ้ นชีีวิิตประจำ�ำ วันั และศาสตร์ท์ ี่่� วิทิ ยาศาสตร์พ์ ื้้�นฐาน วิิศวกรรมพื้้�นฐาน และ
เกี่ �ยวข้้อง เศรษฐศาสตร์์ เพื่�อ่ การประยุุกต์์ใช้ก้ ับั งานทางด้า้ น
วิศิ วกรรมศาสตร์ท์ ี่่�เกี่�ยวข้อ้ ง และการสร้้างนวัตั กรรม
2. สามารถอธิิบาย ใช้้ทฤษฎีี หลัักการของศาสตร์์ที่่� ทางเทคโนโลยีี
เกี่�ยวข้อ้ ง และสามารถนำ�ำ มาประยุุกต์ห์ รืือเป็น็ พื้้�น
ฐานในการเรียี นและการทำำ�งาน 2. มีคี วามรู้้�และความเข้้าใจเกี่�ยวกับั หลัักการที่่�สาคัญั
ทั้้�งในเชิิงทฤษฎีีและปฏิบิ ัตั ิิ ในเนื้้�อหาของสาขาวิชิ า
เฉพาะด้้านทางวิิศวกรรม

3. สามารถวิิเคราะห์แ์ ละเลืือกใช้ค้ วามรู้้�ในศาสตร์์ที่่เ� รียี น 3. สามารถบูรู ณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่�ศึกึ ษากับั
เพื่่�อการวางแผน การเรีียนและการทำ�ำ งาน ความรู้้�ในศาสตร์์อื่�น่ ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง

4. สามารถวิิเคราะห์์และแก้้ไขปััญหา ด้ว้ ยวิธิ ีีการที่่�
เหมาะสม รวมถึึงการประยุุกต์์ใช้้เครื่่�องมืือที่่�เหมาะ
สม เช่่น โปรแกรมคอมพิวิ เตอร์์ เป็น็ ต้้น

5. สามารถใช้ค้ วามรู้้�และทัักษะในสาขาวิชิ าของตน ใน
การประยุกุ ต์แ์ ก้้ไขปััญหาในงานจริิงได้้

33

• ด้้านทัักษะทางปััญญาความรู้้�

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. สามารถวิิเคราะห์แ์ ละประเมิินสถานการณ์์ โดยใช้้ 1. มีีความคิิดอย่่างมีีวิจิ ารณญาณที่่ด� ีี
ศาสตร์ท์ ี่่เ� รียี นเพื่�่อใช้ใ้ นการวางแผนการทำำ�งาน และ
ปฏิบิ ััติิงานจริิง

2. สามารถจัดั ระบบและสร้้างสรรค์ส์ิ่ง� ใหม่่ โดยนำำ� 2. สามารถรวบรวม ศึึกษา วิเิ คราะห์์ และสรุุปประเด็น็
ศาสตร์์ที่่เ� รียี นมาเชื่่�อมโยง ต่่อยอดความรู้้� และ ปัญั หาและความต้้องการ
พัฒั นาทัักษะการปฏิิบัตั ิิงาน
3. สามารถคิดิ วิเิ คราะห์์ และแก้้ไขปัญั หาด้า้ นวิิศวกรรม
3. มีคี วามกระตืือรืือร้น้ ในการใฝ่ห่ าความรู้้� ในศาสตร์์ที่่� ได้อ้ ย่่างมีีระบบ รวมถึงึ การใช้้ข้้อมูลู ประกอบการ
เรีียนและศาสตร์ท์ ี่่�เกี่�ยวข้้อง ตััดสิินใจในการทำ�ำ งานได้้อย่่างมีีประสิทิ ธิิภาพ

4. มีีจินิ ตนาการและความยืืดหยุ่น� ในการปรับั ใช้อ้ งค์์
ความรู้้�ที่่เ� กี่ย� วข้้องอย่่างเหมาะสม ในการพัฒั นา
นวัตั กรรมหรืือต่่อยอดองค์์ความรู้้�จากเดิมิ ได้อ้ ย่่าง
สร้้างสรรค์์

5. สามารถสืืบค้้นข้อ้ มูลู และแสวงหาความรู้้�เพิ่่ม� เติิมได้้
ด้ว้ ยตนเอง เพื่�อ่ การเรียี นรู้�ตลอดชีวี ิิต และทันั ต่่อการ
เปลี่ �ยนแปลงทางองค์์ความรู้้�และเทคโนโลยีีใหม่่ๆ

• ด้้านทักั ษะความสััมพันั ธ์์ระหว่่างบุคุ คลและความรัับผิดิ ชอบ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถปฏิิบััติิตามกฏระเบียี บ ปรัับตัวั เข้า้ กับั 1. สามารถสื่�อ่ สารกับั กลุ่ม� คนที่่ห� ลากหลาย และ
สถานการณ์์และวััฒนธรรมองค์์กร สามารถสนทนาทั้้ง� ภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศ
ได้อ้ ย่่างมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ สามารถใช้ค้ วามรู้้�ในสาขา
วิิชาชีีพมาสื่่อ� สารต่่อสังั คมได้้ในประเด็็นที่่�เหมาะสม

2. มีมี นุษุ ยสััมพันั ธ์ท์ ี่่ด� ี ี มีีความรัับผิิดชอบ มีีภาวะผู้้�นำำ� 2. สามารถเป็็นผู้้�ริเริ่�มแสดงประเด็น็ ในการแก้้ไข
และทำำ�งานร่่วมกับั ผู้้�อื่�่นได้เ้ ป็น็ อย่่างดีี สถานการณ์์เชิงิ สร้า้ งสรรค์ท์ ั้้�งส่่วนตััวและส่่วนรวม
พร้้อมทั้้�งแสดงจุุดยืืนอย่่างพอเหมาะทั้้ง� ของตนเอง
และของกลุ่ �ม รวมทั้้�งให้้ความช่่วยเหลืือและอำำ�นวย
ความสะดวกในการแก้้ไขปััญหาสถานการณ์ต์ ่่าง ๆ

3. พัฒั นาตนเองต่่อหน้้าที่่ค� วามรับั ผิดิ ชอบและงานที่่�ได้้ 3. สามารถวางแผนและรับั ผิิดชอบในการพัฒั นาการ
รับั มอบหมาย เรียี นรู้�ทั้�งของตนเอง และสอดคล้อ้ งกัับทางวิิชาชีพี
วิิศวกรรมอย่่างต่่อเนื่�อ่ ง

4. จััดสรรเวลาการทำำ�งาน การดูแู ลสุุขภาพชีีวิิตส่่วนตัวั 4. รู้้�จัักบทบาท หน้า้ ที่่� และมีีความรับั ผิดิ ชอบในการ
และการสร้า้ งความสััมพันั ธ์ก์ ับั ผู้้�ร่่วมงานในองค์ก์ ร ทำำ�งานตามที่่�มอบหมาย ทั้้�งงานบุุคคลและงานกลุ่ม�
และบุคุ คลทั่่�วไป สามารถปรับั ตัวั และทำำ�งานร่่วมกัับผู้้�อื่�่นทั้้ง� ในฐานะ
ผู้้�นำำ�และผู้�ตามได้้อย่่างมีีประสิิทธิภิ าพ สามารถ
วางตัวั ได้อ้ ย่่างเหมาะสมกัับความรับั ผิิดชอบ

5. มีีจิิตสำำ�นึกึ ความรับั ผิิดชอบด้า้ นความปลอดภััยการ
ทำ�ำ งาน และสภาพแวดล้้อมต่่อสัังคม

34

• ด้้านทัักษะการวิเิ คราะห์เ์ ชิิงตัวั เลข การสื่่�อสาร และการใช้้เทคโนโลยีสี ารสนเทศ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. สามารถใช้้ความรู้้�ทางคณิิตศาสตร์์และสถิติ ิิในการ 1. มีที ักั ษะในการใช้ค้ อมพิวิ เตอร์ ์ สำำ�หรับั การทำำ�งานที่่�
วิเิ คราะห์์ และนำ�ำ เสนอข้้อมูลู ในการเรีียนและการ เกี่ย� วข้อ้ งกัับวิชิ าชีพี ได้้เป็็นอย่่างดีี
ทำำ�งาน
2. มีีทักั ษะในการวิิเคราะห์์ข้้อมููลสารสนเทศทาง
2. สามารถใช้ภ้ าษาไทย ในการอธิบิ ายหลัักการและ คณิติ ศาสตร์์หรืือการแสดงสถิิติปิ ระยุกุ ต์ต์ ่่อการแก้้
สถานการณ์์ รวมถึึงการสื่�่อสารความหมายได้้อย่่างถููก ปััญหาที่่�เกี่�ยวข้้องได้อ้ ย่่างสร้้างสรรค์์
ต้้องและตรงประเด็น็
3. สามารถประยุกุ ต์ใ์ ช้เ้ ทคโนโลยีีสารสนเทศและการ
3. สามารถใช้้ภาษาต่่างประเทศเพื่่อ� การติิดต่่อสื่�อ่ สาร สื่อ่� สาร ที่่ท� ัันสมััยได้อ้ ย่่างเหมาะสมและมีี
อย่่างน้อ้ ยหนึ่่�งภาษา ประสิิทธิิภาพ

4. สามารถเลืือกใช้เ้ ทคโนโลยีีดิจิ ิทิ ััลในการสืืบค้น้ เก็บ็ 4. มีที ักั ษะในการสื่�อ่ สารข้้อมููลทั้้�งทางการพูดู การเขียี น
รวบรวมข้้อมูลู การวิิเคราะห์์ นำ�ำ เสนอผลงานและการ และการสื่่�อความหมายโดยใช้ส้ ััญลักั ษณ์์
ฝึึกปฏิิบััติงิ าน
5. สามารถใช้้เครื่�่องมืือการคำำ�นวณและเครื่อ�่ งมืือทาง
วิศิ วกรรม เพื่่อ� ประกอบวิิชาชีีพสาขาวิศิ วกรรม
ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งได้้

แนวทางการประกอบอาชีีพ
1. วิิศวกรอุตุ สาหการ
2. วิิศวกรวางแผนการผลิิต
3. วิศิ วกรโรงงานอุตุ สาหกรรม
4. วิศิ วกรคุณุ ภาพและประกันั คุุณภาพ
5. วิศิ วกรควบคุุมการผลิติ ระบบการผลิิตอััจฉริยิ ะ
6. วิศิ วกรบำำ�รุุงรักั ษา
7. วิิศวกรด้า้ นโลจิิสติกิ ส์แ์ ละห่ว่ งโซ่อ่ ุปุ ทาน

35

รายละเอียี ดค่่าเล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรียี นรวมตลอดหลักั สููตร 405,000 บาท และชำำ�ระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษาในอััตรา
ที่่ส� ถาบัันกำำ�หนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 8 ภาคการศึกึ ษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่่าเล่่าเรีียนสำ�ำ หรัับนักั ศึึกษา ค่่าเล่่าเรียี นสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา

ครั้�งที่่� 1 ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคการศึึกษาพิิเศษ ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 2 – 7
ครั้ง� ที่่� 8 27,000 54,000

54,000 54,000
54,000 27,000

2. อััตราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา ไม่ร่ วมค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดังั ต่่อไปนี้้�
- ค่่าหนัังสืือ เอกสารประกอบวิิชาเรียี น
- ค่่าชุดุ ปฏิิบัตั ิกิ าร วััตถุดุ ิิบและอุุปกรณ์อ์ ื่น่� ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรับั พื้้น� ฐาน
- ค่่าธรรมเนีียมอื่่น� ๆ และค่่าเบ็็ดเตล็ด็ นอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา

ตัวั อย่่างสถานประกอบการที่่�นักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิิบัตั ิิ

36

ข้้อมููลการเรียี นและการฝึึกปฏิบิ ัตั ิิ

ปีกี ารศึึกษาที่่� 1

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิติ รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิิต

10XXXXX หมวดอัตั ลัักษณ์ข์ องสถาบันั PIM 2 10XXXXX หมวดอัตั ลัักษณ์ข์ องสถาบััน PIM 2
10XXXXX หมวดอัตั ลัักษณ์ข์ องสถาบันั PIM 3
10XXXXX หมวดอัตั ลักั ษณ์ข์ องสถาบันั PIM 3 10XXXXX หมวดอััตลัักษณ์ข์ องสถาบันั PIM 3
1301101 คณิิตศาสตร์์วิศิ วกรรม 2 3
1301103 หมวดอััตลักั ษณ์ข์ องสถาบััน PIM 3 10XXXXX ฟิิสิกิ ส์ว์ ิิศวกรรม 2 3
1301104 ปฏิิบัตั ิิการฟิสิ ิกิ ส์ว์ ิิศวกรรม 2 1
1301109 คณิติ ศาสตร์์วิิศวกรรม 1 3 1301102 เคมีวี ิศิ วกรรม 2 3
1301112 การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิสำำ�หรัับ 3
ฟิิสิกิ ส์์วิศิ วกรรม 1 3 1301105 วิิศวกรและนักั เทคโนโลยีี
1331101 ปฏิิบััติกิ ารเคมีวี ิิศวกรรม 1
ปฏิิบััติิการฟิิสิิกส์ว์ ิิศวกรรม 1 1 1301106 22
รวม
เคมีวี ิศิ วกรรม 1 3 1301110

โครงงานทางวิศิ วกรรมและ 1 1302151
เทคโนโลยีี

ปฏิบิ ัตั ิกิ ารฝึึกฝีีมืือ 1 1301111

รวม 20

ปีกี ารศึึกษาที่่� 2

รหััสวิชิ า ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่่วยกิติ รหััสวิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 2 หน่่วยกิติ

10XXXXX รายวิิชา 2 10XXXXX รายวิิชา 2
1301107 3 10XXXXX 3
1301113 หมวดอัตั ลักั ษณ์์ของสถาบันั PIM 3 1301108 กลุ่�มภาษาเพื่่�อการสื่�อ่ สาร 3
คณิติ ศาสตร์์วิิศวกรรม 3 กลุ่�มการจััดการและนวัตั กรรม
1301114 ความน่่าจะเป็น็ และสถิิติิสำำ�หรัับ 3 1301118 คณิิตศาสตร์ส์ ำ�ำ หรับั ปััญญา 3
1301115 วิิศวกร 3 1331202 ประดิิษฐ์์
การเขีียนแบบวิิศวกรรม อุุณหพลศาสตร์์ 3
1301116
การเขียี นโปรแกรมคอมพิวิ เตอร์์ กรรมวิิธีกี ารผลิิต
1301117 เบื้้อ� งต้น้
กลศาสตร์์วิิศวกรรม 3 133XXXX กลุ่�มวิชิ าเลืือกเฉพาะสาขา 3
วิิศวกรรมอุุตสาหการ 1 3
วััสดุุวิศิ วกรรม 3 1332251 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบััติดิ ้้าน 20
วิศิ วกรรมอุุตสาหการ 1

รวม 20 รวม

37

ปีกี ารศึึกษาที่่� 3

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่่วยกิติ รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

10XXXXX กลุ่ม� ภาษาเพื่่�อการสื่อ่� สาร 2 10XXXXX กลุ่ม� ภาษาเพื่่�อการสื่�่อสาร 2
1
1301119 วิิศวกรรมไฟฟ้้าเบื้้�องต้้น 3 1301121 ปฏิบิ ััติกิ ารวิิศวกรรมเครื่�่องกล 1
3
1301120 ปฏิิบััติิการวิิศวกรรมไฟฟ้า้ เบื้้อ� งต้้น 1 1332305 ปฏิิบัตั ิกิ ารวิิศวกรรมอุตุ สาหการ 3

1332302 การวิิจัยั การดำ�ำ เนิินงาน 3 1332304 การควบคุุมคุุณภาพ 3

1332303 การวางแผนและควบคุมุ การผลิิต 3 133XXXX กลุ่�มวิิชาเลืือกเฉพาะสาขาวิศิ วกรรม 3
อุุตสาหการ 2

10XXXXX กลุ่ม� ชีวี ิิตและสัังคมแห่่งความสุขุ 3 1332352 การเรียี นรู้�ภาคปฏิบิ ััติดิ ้้านวิิศวกรรม
อุตุ สาหการ 2

1332306 ระบบอัตั โนมััติแิ ละหุ่่น� ยนต์์ 3 1332306 ระบบผลิิตอััจฉริยิ ะ

XXXXXXX หมวดวิิชาเลืือกเสรีี 1 3 XXXXXXX หมวดวิิชาเลืือกเสรีี 2 3
รวม 21 รวม 19

ปีีการศึึกษาที่่� 4

รหัสั วิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 1 หน่่วยกิติ รหัสั วิิชา ภาคการศึึกษาที่่� 2 หน่่วยกิติ

1332409 รายวิิชา 3 1332308 รายวิิชา 3
1332410
1332411 เศรษฐศาสตร์์วิิศวกรรม โครงงานทางวิิศวกรรม 3
1332201 อุุตสาหการ 2
วิิศวกรรมความปลอดภััย 3 133XXXX กลุ่ม� วิชิ าเลืือกเฉพาะสาขา 6
วิศิ วกรรมอุตุ สาหการ 3
วิศิ วกรรมการบำ�ำ รุุงรักั ษา 3 1332453 การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบัตั ิิด้้าน
วิศิ วกรรมอุตุ สาหการ 3

โครงงานทางวิิศวกรรม 1
อุุตสาหการ 1 รวม 10

รวม 12

สามารถศึึกษาข้อ้ มููลหลัักสููตรเพิ่่�มเติิมได้้ที่่�

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25542501101267_2114_IP&b=0&u=25000&y=

38

หลักั สููตรวิิศวกรรมศาสตรบัณั ฑิิต

สาขาวิชิ าวิศิ วกรรม
การผลิิตยานยนต์์

Bachelor of Engineering Program
in Automotive Manufacturing Engineering

ชื่่อ� ปริญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่่อ� เต็็ม) : วิศิ วกรรมศาสตรบััณฑิิต (วิิศวกรรมการผลิิตยานยนต์์)
(อัักษรย่อ่ ) : วศ.บ. (วิศิ วกรรมการผลิติ ยานยนต์์)
ภาษาอัังกฤษ (ชื่่�อเต็ม็ ) : Bachelor of Engineering Program in Automotive
Manufacturing Engineering
(อัักษรย่่อ) : B.Eng. (Automotive Manufacturing Engineering)
หมายเหตุุ : สำ�ำ นัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม
(สป.อว.) รับั ทราบหลักั สูตู รเมื่�อ่ 20 ตุลุ าคม พ.ศ. 2562

จุุดเด่่นของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร

ปััจจุุบัันอุุตสาหกรรมยานยนต์์ในประเทศไทยถืือว่่าเป็็นอุุตสาหกรรมหลัักในการขัับเคลื่่�อนประเทศ การพััฒนา
อุุตสาหกรรมดัังกล่่าวอย่่างเหมาะสม จะทำ�ำ ให้้ประเทศมีีความมั่่�นคงทางเศรษฐกิิจในระยะยาวได้้ รวมทั้้�งรััฐบาลได้้ให้้
ความสำำ�คัญั กับั การสร้า้ งฐานการผลิติ ให้เ้ ข้ม้ แข็ง็ และการบริโิ ภคที่่เ� ป็น็ มิติ รกับั สิ่่ง� แวดล้อ้ ม ดังั นั้้น� การสร้า้ งองค์ค์ วามรู้้�และ
บุุคลากรที่่ม� ีีความรู้้�ความสามารถทางด้้านวิิศวกรรมยานยนต์์ขั้�นสููงจึึงมีีความจำำ�เป็็นอย่่างยิ่�งเพื่�่อเป็็นกำำ�ลัังสำำ�คััญในการ
ขับั เคลื่�อ่ นให้ป้ ระเทศสามารถพัฒั นาได้อ้ ย่่างยั่�งยืืนและการเป็็นศูนู ย์์กลางอุุตสาหกรรมยานยนต์์ของโลกอย่่างแท้จ้ ริิง

39

ผลลัพธก ารเรยี นรขู องหลกั สูตร

• ด้้านคุณุ ธรรม จริิยธรรม

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. มีีวิินัยั ตรงเวลา 1. เข้า้ ใจ ซาบซึ้้�งในวัฒั นธรรมไทย ตระหนัักในคุุณค่่า
ของคุุณธรรม จริิยธรรม เสีียสละ และ ซื่�่อสัตั ย์ส์ ุุจริิต

2. มีีความซื่�่อสััตย์ส์ ุจุ ริิต 2. มีีวินิ ััย ตรงต่่อเวลา รัับผิดิ ชอบต่่อตนเองและสัังคม
เคารพกฎระเบียี บและข้อ้ บัังคับั ต่่างๆ ขององค์ก์ ร
และสัังคม
3. มีคี วามรับั ผิิดชอบทั้้ง� ต่่อตนเอง สัังคมและการ 3. มีีภาวะความเป็น็ ผู้้�นำ�ำ และผู้�ตาม สามารถทำำ�งานเป็็น
ประกอบอาชีพี หมู่ค� ณะ สามารถแก้้ไขข้อ้ ขัดั แย้ง้ ตามลำำ�ดับั ความ
สำ�ำ คััญ เคารพสิิทธิิและรับั ฟังั ความคิิดเห็น็ ของผู้�อื่น�
4. ปฏิิบััติิหน้้าที่่ด� ้ว้ ยคุณุ ธรรม จริิยธรรม และมีีจิติ รวมทั้้ง� เคารพในคุุณค่่าและศัักดิ์ศ� รีขี องความเป็น็
สาธารณะ มนุษุ ย์์
4. สามารถวิิเคราะห์์และประเมิินผลกระทบจากการใช้้
ความรู้้�ทางวิศิ วกรรมต่่อบุคุ คล องค์ก์ ร สังั คมและ
สิ่�งแวดล้อ้ ม
5. เคารพในระเบีียบและกฎเกณฑ์ข์ ององค์์กรและสัังคม 5. มีจี รรยาบรรณทางวิิชาการและวิิชาชีีพ และมีีความ
รัับผิดิ ชอบในฐานะผู้�ประกอบวิชิ าชีีพ

• ด้้านความรู้้�

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิิชาเฉพาะ

1. มีคี วามรู้้�อย่่างกว้้างขวางและสามารถนำ�ำ ความรู้้�นั้้น� ไป 1. มีีความรู้้�และความเข้้าใจทางคณิิตศาสตร์พ์ ื้้น� ฐาน
ใช้้ในชีีวิติ ประจำ�ำ วััน วิิทยาศาสตร์์พื้้น� ฐาน วิิศวกรรมพื้้น� ฐาน และ
เศรษฐศาสตร์์ เพื่อ่� การประยุกุ ต์์ใช้้กับั งานทางด้า้ น
วิศิ วกรรมศาสตร์์ที่่�เกี่�ยวข้้อง และการสร้า้ งนวัตั กรรม
ทางเทคโนโลยีี
2. เข้า้ ใจและวิเิ คราะห์ห์ ลัักการของศาสตร์อ์ ื่�น่ ที่่� 2. มีคี วามรู้้�และความเข้้าใจเกี่�ยวกับั หลักั การที่่ส� ำำ�คัญั
เกี่�ยวข้้องและนำ�ำ มาใช้เ้ ป็น็ พื้้�นฐานของศาสตร์์ ทั้้ง� ในเชิิงทฤษฎีีและปฏิิบััติิ ในเนื้้อ� หาของสาขาวิชิ า
เฉพาะนั้้น� ๆ (เฉพาะสาขาวิชิ า) เฉพาะด้า้ นทางวิิศวกรรม
3. มีคี วามรู้้�ความเข้้าใจในหลักั การและทฤษฎีใี นศาสตร์์ 3. สามารถบูรู ณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่�ศึึกษากัับ
เฉพาะนั้้น� ๆ และสามารถนำ�ำ ไปประยุุกต์์ใช้้แก้ไ้ ข ความรู้้�ในศาสตร์์อื่�น่ ๆ ที่่เ� กี่�ยวข้้อง
ปััญหาในการปฏิบิ ััติงิ านจริิงได้้

4. สามารถวิเิ คราะห์แ์ ละแก้้ไขปััญหา ด้้วยวิธิ ีกี ารที่่�
เหมาะสม รวมถึึงการประยุกุ ต์์ใช้เ้ ครื่�่องมืือที่่เ� หมาะ
สม เช่่น โปรแกรมคอมพิวิ เตอร์์ เป็น็ ต้้น

5. สามารถใช้้ความรู้้�และทัักษะในสาขาวิิชาของตน
ในการประยุุกต์แ์ ก้ไ้ ขปััญหาในงานจริิงได้้

40

• ด้้านทักั ษะทางปััญญา

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีคี วามคิดิ ริิเริ่�มสร้้างสรรค์ ์ ต่่อยอดกรอบความรู้้�เดิิม 1. มีคี วามคิิดอย่่างมีวี ิิจารณญาณที่่�ดีี
สามารถบููรณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่ศ� ึึกษาและ
ประสบการณ์์เพื่่อ� ให้้เกิิดนวัตั กรรม กิิจกรรมหรืือ
แนวทางในศาสตร์เ์ ฉพาะนั้้น� ๆ

2. สามารถคิิดวิิเคราะห์์และเชื่อ่� มโยงความรู้้�อย่่างเป็็น 2. สามารถรวบรวม ศึึกษา วิเิ คราะห์์ และสรุุปประเด็น็
องค์ร์ วม ปัญั หาและความต้้องการ

3. มีีความกระตืือรืือร้น้ ในการใฝ่ห่ าความรู้้� 3. สามารถคิดิ วิิเคราะห์์ และแก้้ไขปััญหาด้า้ นวิศิ วกรรม
ได้อ้ ย่่างมีรี ะบบ รวมถึงึ การใช้้ข้้อมูลู ประกอบการ
ตััดสิินใจในการทำำ�งานได้อ้ ย่่างมีีประสิิทธิภิ าพ

4. มีีจินิ ตนาการและความยืืดหยุ่น� ในการปรับั ใช้อ้ งค์์
ความรู้้�ที่่เ� กี่�ยวข้้องอย่่างเหมาะสม ในการพัฒั นา
นวััตกรรมหรืือต่่อยอดองค์์ความรู้้�จากเดิมิ ได้้อย่่าง
สร้้างสรรค์์

5. สามารถสืืบค้น้ ข้้อมูลู และแสวงหาความรู้้�เพิ่่�มเติิมได้้
ด้ว้ ยตนเองเพื่่�อการเรียี นรู้�ตลอดชีวี ิิต และทัันต่่อการ
เปลี่�ยนแปลงทางองค์ค์ วามรู้้�และเทคโนโลยีใี หม่่ๆ

• ด้้านทักั ษะความสัมั พันั ธ์ร์ ะหว่่างบุคุ คลและความรัับผิิดชอบ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรัับตัวั เข้้ากัับสถานการณ์แ์ ละวัฒั นธรรม 1. สามารถสื่อ�่ สารกัับกลุ่�มคนที่่ห� ลากหลาย และ
องค์ก์ ร สามารถสนทนาทั้้ง� ภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศ
ได้อ้ ย่่างมีปี ระสิิทธิิภาพ สามารถใช้ค้ วามรู้้�ในสาขา
วิชิ าชีีพมาสื่่�อสารต่่อสัังคมได้ใ้ นประเด็็นที่่เ� หมาะสม

2. สามารถทำำ�งานกัับผู้้�อื่�น่ ได้เ้ ป็็นอย่่างดีีและมีภี าวะผู้้�นำำ� 2. สามารถเป็น็ ผู้้�ริเริ่�มแสดงประเด็น็ ในการแก้้ไข
สถานการณ์เ์ ชิงิ สร้า้ งสรรค์ท์ ั้้ง� ส่่วนตััวและส่่วนรวม
พร้้อมทั้้ง� แสดงจุุดยืืนอย่่างพอเหมาะทั้้ง� ของตนเอง
และของกลุ่ �ม รวมทั้้�งให้้ความช่่วยเหลืือและอำำ�นวย
ความสะดวกในการแก้้ไขปัญั หาสถานการณ์ต์ ่่างๆ

3. มีคี วามรัับผิดิ ชอบต่่อหน้้าที่่�และงานที่่ไ� ด้ร้ ับั 3. สามารถวางแผนและรัับผิิดชอบในการพััฒนาการ
มอบหมาย เรีียนรู้�ทั้ง� ของตนเอง และสอดคล้อ้ งกัับทางวิิชาชีพี
วิิศวกรรมอย่่างต่่อเนื่่อ� ง

4. มีีมนุุษยสัมั พัันธ์ท์ ี่่ด� ีกี ับั ผู้้�ร่่วมงานในองค์ก์ รและ 4. รู้้�จัักบทบาท หน้า้ ที่่� และมีีความรับั ผิดิ ชอบในการ
บุคุ คลทั่่�วไป ทำำ�งานตามที่่�มอบหมาย ทั้้ง� งานบุุคคลและงานกลุ่�ม
สามารถปรับั ตััวและทำ�ำ งานร่่วมกัับผู้้�อื่�่นทั้้�งในฐานะ
ผู้้�นำำ�และผู้�ตามได้้อย่่างมีีประสิทิ ธิภิ าพ สามารถ
วางตัวั ได้้อย่่างเหมาะสมกัับความรับั ผิิดชอบ

5. มีจี ิิตสำ�ำ นึึกความรับั ผิดิ ชอบด้้านความปลอดภััย
การทำ�ำ งานและสภาพแวดล้อ้ มต่่อสังั คม

41

• ด้้านทักั ษะการวิิเคราะห์เ์ ชิิงตัวั เลข การสื่่อ� สาร และการใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศ

หมวดวิชิ าศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. ใช้ค้ วามรู้้�ทางคณิิตศาสตร์แ์ ละสถิิติิในการวิเิ คราะห์์ 1. มีีทัักษะในการใช้้คอมพิิวเตอร์์สำ�ำ หรัับการทำ�ำ งานที่่�
และนำ�ำ เสนอ เกี่ �ยวข้้องกัับวิิชาชีีพได้้เป็็นอย่่างดีี

2. มีที ักั ษะการใช้ภ้ าษาไทยได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ 2. มีีทักั ษะในการวิิเคราะห์์ข้อ้ มูลู สารสนเทศทาง
คณิติ ศาสตร์์ หรืือการแสดงสถิิติปิ ระยุกุ ต์์ ต่่อการ
3. มีที ักั ษะการใช้ภ้ าษาต่่างประเทศเพื่�่อการติิดต่่อ แก้้ปััญหาที่่�เกี่�ยวข้้องได้้อย่่างสร้า้ งสรรค์์
สื่่�อสารอย่่างน้้อยหนึ่่ง� ภาษา
3. สามารถประยุกุ ต์ใ์ ช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศ และการ
4. สามารถใช้เ้ ทคโนโลยีสี ารสนเทศในการสืืบค้น้ สื่�่อสาร ที่่ท� ันั สมััยได้อ้ ย่่างเหมาะสม และมีี
เก็บ็ รวบรวมข้้อมููลตลอดจนการนำ�ำ เสนอ ประสิทิ ธิภิ าพ

4. มีีทัักษะในการสื่�อ่ สารข้้อมููลทั้้�งทางการพููด การเขียี น
และการสื่่อ� ความหมายโดยใช้ส้ ัญั ญลัักษณ์์

5. สามารถใช้เ้ ครื่�่องมืือการคำ�ำ นวณและเครื่�่องมืือทาง
วิศิ วกรรม เพื่อ�่ ประกอบวิิชาชีีพสาขาวิิศวกรรม
ที่่�เกี่�ยวข้อ้ งได้้

แนวทางการประกอบอาชีีพ
1. วิิศวกรที่ม�่ ีีความรู้�ความสามารถทางด้้านการวางแผนการผลิิต การควบคุมุ การ

ผลิติ การควบคุุมคุุณภาพในอุตุ สาหกรรมยานยนต์์ ชิ้้น� ส่ว่ น และส่่วนประกอบ
2. นัักจััดการอุุตสาหกรรมยานยนต์์และชิ้้�นส่่วน ด้้านวางแผนการผลิิต ควบคุุม

สินิ ค้้า ควบคุมุ คุุณภาพ และฝ่่ายการผลิิต
3. ประกอบธุุรกิิจส่่วนตัวั ที่เ่� กี่�่ยวข้อ้ งกับั วิิศวกรรมยานยนต์์

รายละเอียี ดค่่าเล่่าเรียี น

1. อัตั ราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 384,000 บาท และชำ�ำ ระค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษาในอััตรา
ที่่ส� ถาบันั กำำ�หนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 8 ภาคการศึึกษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่่าเล่่าเรีียนสำ�ำ หรับั นักั ศึึกษา ค่่าเล่่าเรีียนสำำ�หรับั นัักศึึกษา

ที่่�เข้้าเรีียนในภาคการศึกึ ษาพิิเศษ ที่่�เข้้าเรีียนในภาคปกติิ

ครั้ง� ที่่� 1 25,600 51,200
ครั้ง� ที่่� 2 – 7 51,200 51,200
ครั้�งที่่� 8 51,200 25,600

2. อัตั ราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา ไม่ร่ วมค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดัังต่่อไปนี้้�
- ค่่าหนังั สืือ เอกสารประกอบวิชิ าเรีียน
- ค่่าชุดุ ปฏิบิ ัตั ิิการ วััตถุดุ ิบิ และอุปุ กรณ์อ์ ื่่�นๆ ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง
- ค่่ารายวิชิ าปรับั พื้้�นฐาน
- ค่่าธรรมเนีียมอื่�่นๆ และค่่าเบ็ด็ เตล็็ดนอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา

42

ตััวอย่่างสถานประกอบการที่่น� ัักศึกึ ษาฝึกึ ปฏิิบัตั ิิ

ชั้้น� ปีีที่่� 1 : ร้้าน 7-ELEVEn
ชั้้�นปีีที่่� 2 : ศููนย์บ์ ริกิ ารด้้านยานยนต์์
ชั้้�นปีที ี่่� 3-4 : โรงงานอุตุ สาหกรรมยานยนต์์และชิ้้น� ส่่วน อะไหล่่ยานยนต์์

43

ข้้อมููลการเรีียนและการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ

ปีีการศึึกษาที่่� 1

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่่วยกิิต รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิติ

EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ 2 EN xxxxx กลุ่�มวิิชาภาษาอังั กฤษ 2
TH xxxxx กลุ่ม� วิิชาภาษาไทย 3 SO xxxxx กลุ่ม� วิิชาสัังคมศาสตร 3
EG 59113 การเขีียนแบบวิศิ วกรรม 3 HM xxxxx กลุ่�มวิชิ ามนุษุ ยศาสตร์์ 3
EG 59101 คณิติ ศาสตร์์วิศิ วกรรม 1 3 EG 59102 คณิิตศาสตร์์วิิศวกรรม 2 3
EG 59104 ฟิสิ ิิกส์ว์ ิิศวกรรม 1 3 EG 59106 ฟิิสิิกส์ว์ ิศิ วกรรม 2 3
EG 59105 ปฏิบิ ัตั ิิการฟิสิ ิิกส์์วิศิ วกรรม 1 1 EG 59107 ปฏิบิ ัตั ิิการฟิสิ ิกิ ส์ว์ ิศิ วกรรม 2 1
EG 59108 เคมีวี ิิศวกรรม 3 EG 62170 ปฏิบิ ััติิการพื้้�นฐานทางวิิศวกรรมและ 1
การใช้้เครื่่�องมืือยานยนต
EG 59109 ปฏิิบััติิการเคมีีวิศิ วกรรม 1 EG 59112 การเรีียนรู้�ภาคปฏิิบััติิ 3
สำ�ำ หรับั วิศิ วกรและนักั เทคโนโลยีี
EG 62101 จริยิ ธรรมและความรู้้�เบื้้อ� งต้้น 3 EG 59110 โครงงานทางวิิศวกรรม 1
ของวิิชาชีพี วิิศวกร (ไม่่นัับ) และเทคโนโลยีี
20
รวม 19 รวม

ปีีการศึึกษาที่่� 2

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิติ รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

EN xxxxx กลุ่�มวิชิ าภาษาอัังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่ม� วิิชาภาษาอัังกฤษ 2
SC xxxxx กลุ่ม� วิิชาวิิทยาศาสตร์แ์ ละคณิติ ศาสตร์์ 3 JN xxxxx/ กลุ่ม� วิชิ าภาษาญี่่�ปุ่�น/ 3
CN xxxxx กลุ่ �มวิิชาภาษาจีนี
EG 59114 การเขียี นโปรแกรคอมพิวิ เตอร์์เบื้้อ� งต้น้ 3 SC xxxxx กลุ่�มวิิชาวิทิ ยาศาสตร์์และ 3
คณิิตศาสตร์์
EG 59103 คณิติ ศาสตร์์วิศิ วกรรม 3 3 EG 59117 อุณุ หพลศาสตร์์ 3

AE 62270 ปฏิบิ ัตั ิกิ ารไฟฟ้้าและเล็็กทรอนิิกส์ย์ านยนต์์ 1 IE 59202 กรรมวิธิ ีกี ารผลิิต 3
กลศาสตร์์วิิศวกรรม 3
EG 59115 กลศาสตร์์วิศิ วกรรม 3 AE 62201 ภาคพลศาสตร์์
การเรียี นรู้�ภาคปฏิิบััติิด้า้ น 3
EG 59116 วััสดุวุ ิศิ วกรรม 3 AE 62290 วิิศวกรรมการผลิติ ยานยนต์์ 1
โครงงานทางวิิศวกรรม 1
EG 62202 สถิิติิวิิศวกรรม 3 AE 62281 การผลิติ ยานยนต์์ 1
(ไม่่นับั ) 21
รวม 18 รวม

44

ปีกี ารศึึกษาที่่� 3

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิิชา หน่่วยกิติ รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

EN xxxxx กลุ่ม� วิชิ าภาษาอัังกฤษ 2 EG 59120 ปฏิบิ ัตั ิกิ ารวิิศวกรรมเครื่อ�่ งกล 1
SC xxxxx กลุ่ม� วิิชาวิิทยาศาสตร์แ์ ละ 3 AE 62306 การถ่่ายเทความร้้อน 3

คณิติ ศาสตร์์ 3 AE 62307 พลศาสตร์์และการสั่น� สะเทืือน 3
AE 62302 ระเบีียบวิิธีีเชิิงตัวั เลขสำำ�หรับั
3 AE 62308 การบริหิ ารกระบวนการผลิิตสำำ�หรัับ 3
วิศิ วกร อุตุ สาหกรรมยานยนต์์
AE 62303 กลศาสตร์์ของไหล 3 AE 62309 เทคโนโลยีตี ้น้ กำำ�ลัังไฟฟ้้าและระบบไฮ 2
บริิดส์ส์ ำ�ำ หรับั ยานยนต์์
AE 62304 เครื่�่องยนต์์สันั ดาปภายใน 3 AE 62310 การออกแบบทางวิิศวกรรมเครื่่อ� งกล 3
2 AE 62341 คอมพิวิ เตอร์์ช่่วยการออกแบบ 2
AE 62305 กลศาสตร์ข์ องวััสดุุ การผลิติ และวิศิ วกรรมยานยนต์์
AE 62340 พื้้�นฐานวิิศวกรรมยานยนต์์ 19 17
รวม
รวม หน่่วยกิิต

ภาคการศึึกษาฤดููร้้อน 3

รหัสั วิิชา รายวิิชา 3

AE 62391 การเรีียนรู้�ภาคปฏิบิ ัตั ิิ
ด้้านวิิศวกรรมการผลิิตยานยนต์์ 2
รวม

ปีกี ารศึึกษาที่่� 4

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิติ รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่่วยกิติ

AE 624xx วิชิ าเลืือกเฉพาะสาขา 3 AE 62380 การเยี่ย� มชมโรงงานอุุตสาหกรรม 1
วิิศวกรรมการผลิติ ยานยนต์์ 1
AE 624xx
วิชิ าเลืือกเฉพาะสาขา 3 AE 62482 โครงงานทางวิศิ วกรรม 2
AE 624xx วิิศวกรรมการผลิติ ยานยนต์์ 2 การผลิติ ยานยนต์์ 2 6

XX xxxxx วิิชาเลืือกเฉพาะสาขา 3 AE 62492 การเรียี นรู้ภ� าคปฏิิบัตั ิิ
XX xxxxx วิิศวกรรมการผลิิตยานยนต์์ 3 ด้า้ นวิศิ วกรรมการผลิติ ยานยนต์์ 3

วิิชาเลืือกเสรีี 1 3

วิชิ าเลืือกเสรีี 2 3

รวม 15 รวม 9

สามารถศึึกษาข้อ้ มููลหลักั สููตรเพิ่่�มเติมิ ได้้ที่่�

http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25572501100528_2116_IP&b=0&u=25000&y=

45

หลักั สููตรวิศิ วกรรมศาสตรบัณั ฑิติ

สาขาวิชิ าวิิศวกรรมหุ่่น� ยนต์์
และระบบอัตั โนมัตั ิิ

Bachelor of Engineering Program
in Robotics and Automation Engineering

ชื่่อ� ปริิญญา

ภาษาไทย (ชื่่�อเต็็ม) : วิศิ วกรรมศาสตรบััณฑิิต
(วิศิ วกรรมหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอััตโนมัตั ิ)ิ
(อัักษรย่อ่ ) : วศ.บ. (วิิศวกรรมหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอััตโนมััติ)ิ
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่อ� เต็็ม) : Bachelor of Engineering
(Robotics and Automation Engineering)
(อักั ษรย่อ่ ) : B.Eng. (Robotics and Automation Engineering)

หมายเหตุุ : สำำ�นัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม
(สป.อว.) รับั ทราบหลัักสูตู รเมื่อ�่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

จุดุ เด่่นของสาขาวิชิ า / หลัักสููตร

สาขาวิชิ าวิศิ วกรรมหุ่่�นยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมััติิ เป็็นสาขาที่่ม� ีีความเป็น็ สหวิิทยาการที่่�ผสมผสานระหว่่างศาสตร์์
ทางด้้านไฟฟ้้า เครื่่�องกล และคอมพิวิ เตอร์์ โดยทางหลักั สูตู รสร้า้ งบุุคลากรมีีความรู้้� ความสามารถทางด้า้ นวิศิ วกรรม
หุ่่น� ยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมัตั ิ ิ ทั้้ง� ภาควิจิ ัยั พัฒั นาและภาคการผลิติ เพื่อ�่ เตรียี มความพร้อ้ มในการปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ ในด้า้ นหุ่่น�
ยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมัตั ิิ หลักั สูตู รได้อ้ อกแบบให้น้ ักั ศึกึ ษาได้ร้ ับั ความรู้้�ทางวิชิ าการและมีโี อกาสฝึกึ งานในสถานประกอบ
การชั้�นนำำ�ที่่�เกี่�ยวข้้องกัับหุ่่น� ยนต์์ที่่�ใช้ใ้ นอุุตสาหกรรมและอุปุ กรณ์์ในระบบอััตโนมััติิ ทั้้�งในประเทศหรืือต่่างประเทศ

46

ผลลัพธก ารเรยี นรขู องหลักสูตร

• ด้้านคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม

หมวดวิิชาศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีวี ิินัยั ตรงเวลา 1. เข้า้ ใจ ซาบซึ้้�งในวััฒนธรรมไทย ตระหนักั ในคุุณค่่า
ของคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม เสียี สละ และ ซื่�อ่ สััตย์ส์ ุจุ ริติ

2. มีคี วามซื่อ�่ สัตั ย์ส์ ุจุ ริิต 2. มีวี ิินััย ตรงต่่อเวลา รับั ผิดิ ชอบต่่อตนเองและสังั คม
เคารพกฎระเบีียบและข้้อบัังคับั ต่่างๆ ขององค์์กร
และสัังคม
3. มีคี วามรับั ผิิดชอบทั้้�งต่่อตนเอง สังั คมและการ 3. มีภี าวะความเป็็นผู้้�นำำ�และผู้�ตาม สามารถทำ�ำ งานเป็็น
ประกอบอาชีีพ หมู่�คณะ สามารถแก้้ไขข้้อขััดแย้้งตามลำ�ำ ดับั ความ
สำ�ำ คััญ เคารพสิทิ ธิแิ ละรับั ฟังั ความคิิดเห็็นของผู้�อื่น�
รวมทั้้�งเคารพในคุณุ ค่่าและศักั ดิ์�ศรีขี องความเป็น็
มนุษุ ย์ร์ ่่วมกััน
4. ปฏิิบััติิหน้้าที่่�ด้ว้ ยคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม และมีีจิติ 4. สามารถวิเิ คราะห์์และประเมิินผลกระทบจากการใช้้
สาธารณะ ความรู้้�ทางวิิศวกรรมต่่อบุคุ คล องค์์กร สัังคมและ
สิ่�งแวดล้อ้ ม
5. เคารพในระเบียี บและกฎเกณฑ์์ขององค์ก์ รและสัังคม 5. มีจี รรยาบรรณทางวิิชาการและวิชิ าชีพี และมีีความ
รับั ผิดิ ชอบในฐานะผู้�ประกอบวิชิ าชีพี รวมถึึงเข้า้ ใจ
ถึงึ บริบิ ททางสัังคมของวิชิ าชีพี วิิศวกรรมในแต่่ละ
สาขา ตั้้�งแต่่อดีีตจนถึึงปัจั จุบุ ััน

• ด้้านความรู้้�

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีคี วามรู้้�อย่่างกว้า้ งขวางและสามารถนำ�ำ ความรู้้�นั้้�น 1. มีีความรู้้�และความเข้้าใจทางคณิิตศาสตร์์พื้้น� ฐาน
ไปใช้้ในชีีวิติ ประจำำ�วันั วิิทยาศาสตร์พ์ ื้้�นฐาน วิิศวกรรมพื้้น� ฐานและ
เศรษฐศาสตร์์ เพื่่�อการประยุุกต์์ใช้้กับั งานทางด้้าน
2. เข้้าใจและวิิเคราะห์์หลัักการของศาสตร์อ์ ื่น�่ ที่่� วิิศวกรรมศาสตร์ท์ ี่่�เกี่�ยวข้้อง และการสร้้างนวัตั กรรม
เกี่ย� วข้้องและนำำ�มาใช้เ้ ป็็นพื้้น� ฐานของศาสตร์เ์ ฉพาะ ทางเทคโนโลยีี
นั้้น� ๆ (เฉพาะสาขาวิิชา)
2. มีคี วามรู้้�และความเข้า้ ใจเกี่�ยวกัับหลักั การที่่ส� ำ�ำ คัญั
3. มีคี วามรู้้�ความเข้า้ ใจในหลัักการและทฤษฎีีในศาสตร์์ ทั้้ง� ในเชิิงทฤษฎีีและปฏิิบััติิ ในเนื้้อ� หาของสาขาวิิชา
เฉพาะนั้้น� ๆ และสามารถนำำ�ไปประยุกุ ต์์ใช้แ้ ก้้ไข เฉพาะด้้านทางวิศิ วกรรม
ปัญั หาในการปฏิบิ ัตั ิิงานจริิงได้้
3. สามารถบูรู ณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่�ศึกึ ษา
กับั ความรู้้�ในศาสตร์์อื่่น� ๆ ที่่�เกี่�ยวข้อ้ ง

4. สามารถวิิเคราะห์แ์ ละแก้้ไขปััญหา ด้้วยวิิธีีการที่่�
เหมาะสม รวมถึงึ การประยุกุ ต์์ใช้้เครื่่�องมืือ
ที่่�เหมาะสม เช่่น โปรแกรมคอมพิิวเตอร์์ เป็น็ ต้น้

5. สามารถใช้ค้ วามรู้้�และทัักษะในสาขาวิิชาของตน
ในการประยุกุ ต์์แก้ไ้ ขปัญั หาในงานจริิงได้้

47

• ด้้านทักั ษะทางปััญญา

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. มีีความคิิดริเิ ริ่�มสร้า้ งสรรค์ ์ ต่่อยอดกรอบความรู้้�เดิิม 1. มีีความคิดิ อย่่างมีวี ิจิ ารณญาณที่่ด� ีี
สามารถบููรณาการความรู้้�ในสาขาวิิชาที่่ศ� ึึกษาและ
ประสบการณ์์เพื่อ่� ให้้เกิิดนวัตั กรรม กิิจกรรมหรืือ
แนวทางในศาสตร์เ์ ฉพาะนั้้น� ๆ

2. สามารถคิดิ วิเิ คราะห์์และเชื่�่อมโยงความรู้้�อย่่างเป็็น 2. สามารถรวบรวม ศึกึ ษา วิิเคราะห์์ และสรุุปประเด็็น
องค์์รวม ปััญหาและความต้้องการ

3. มีีความกระตืือรืือร้้นในการใฝ่ห่ าความรู้้� 3. สามารถคิดิ วิิเคราะห์์ และแก้้ไขปััญหาด้้านวิิศวกรรม
ได้้อย่่างมีีระบบ รวมถึงึ การใช้้ข้อ้ มูลู ประกอบการ
ตัดั สิินใจในการทำ�ำ งานได้้อย่่างมีปี ระสิิทธิิภาพ

4. มีีจิินตนาการและความยืืดหยุ่น� ในการปรัับใช้้องค์์
ความรู้้�ที่่�เกี่�ยวข้อ้ งอย่่างเหมาะสม ในการพััฒนา
นวััตกรรมหรืือต่่อยอดองค์์ความรู้้�จากเดิมิ ได้อ้ ย่่าง
สร้้างสรรค์์

5. สามารถสืืบค้น้ ข้้อมูลู และแสวงหาความรู้้�เพิ่่�มเติิมได้้
ด้้วยตนเอง เพื่อ่� การเรีียนรู้�ตลอดชีวี ิิต และทันั ต่่อการ
เปลี่ย� นแปลงทางองค์ค์ วามรู้้�และเทคโนโลยีีใหม่่ๆ

• ด้้านทักั ษะความสัมั พันั ธ์์ระหว่่างบุคุ คลและความรับั ผิิดชอบ

หมวดวิชิ าศึกึ ษาทั่่�วไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. สามารถปรัับตัวั เข้้ากับั สถานการณ์์และวัฒั นธรรม 1. สามารถสื่อ่� สารกัับกลุ่ม� คนที่่�หลากหลาย และ
องค์์กร สามารถสนทนาทั้้ง� ภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศ
ได้้อย่่างมีีประสิิทธิภิ าพ สามารถใช้ค้ วามรู้้�ในสาขา
วิชิ าชีีพมาสื่่�อสารต่่อสังั คมได้้ในประเด็็นที่่�เหมาะสม

2. สามารถทำำ�งานกัับผู้้�อื่�น่ ได้เ้ ป็็นอย่่างดีีและมีภี าวะผู้้�นำำ� 2. สามารถเป็็นผู้้�ริเริ่ม� แสดงประเด็น็ ในการแก้ไ้ ข
สถานการณ์เ์ ชิงิ สร้้างสรรค์ท์ ั้้ง� ส่่วนตััวและส่่วนรวม
พร้้อมทั้้ง� แสดงจุุดยืืนอย่่างพอเหมาะทั้้�งของตนเอง
และของกลุ่ม� รวมทั้้�งให้ค้ วามช่่วยเหลืือและอำำ�นวย
ความสะดวกในการแก้ไ้ ขปััญหาสถานการณ์ต์ ่่าง ๆ

3. มีคี วามรัับผิดิ ชอบต่่อหน้า้ ที่่�และงานที่่ไ� ด้ร้ ับั 3. สามารถวางแผนและรัับผิดิ ชอบในการพััฒนาการ
มอบหมาย เรียี นรู้�ทั้�งของตนเอง และสอดคล้อ้ งกัับทางวิชิ าชีพี
วิิศวกรรมอย่่างต่่อเนื่่อ� ง
4. มีีมนุษุ ยสััมพันั ธ์ท์ ี่่ด� ีีกับั ผู้้�ร่่วมงานในองค์ก์ รและ
บุคุ คลทั่่�วไป 4. รู้้�จัักบทบาท หน้้าที่่� และมีคี วามรับั ผิดิ ชอบในการ
ทำำ�งานตามที่่�มอบหมาย ทั้้ง� งานบุุคคลและงานกลุ่ม�
สามารถปรับั ตัวั และทำ�ำ งานร่่วมกัับผู้้�อื่น�่ ทั้้�งในฐานะ
ผู้้�นำำ�และผู้ �ตามได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ สามารถ
วางตััวได้้อย่่างเหมาะสมกัับความรับั ผิิดชอบ

5. มีีจิติ สำ�ำ นึกึ ความรับั ผิิดชอบด้้านความปลอดภััย
การทำ�ำ งาน และสภาพแวดล้อ้ มต่่อสัังคม

48

• ด้้านทักั ษะการวิิเคราะห์์เชิิงตัวั เลข การสื่่�อสาร และการใช้้เทคโนโลยีสี ารสนเทศ

หมวดวิิชาศึึกษาทั่่ว� ไป หมวดวิชิ าเฉพาะ

1. ใช้้ความรู้้�ทางคณิติ ศาสตร์แ์ ละสถิติ ิิในการวิเิ คราะห์์ 1. มีีทัักษะในการใช้ค้ อมพิวิ เตอร์ส์ ำ�ำ หรัับการทำำ�งาน
และนำำ�เสนอ ที่่เ� กี่ย� วข้้องกัับวิชิ าชีพี ได้้เป็็นอย่่างดีี

2. มีที ักั ษะการใช้้ภาษาไทยได้้อย่่างมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ 2.มีีทัักษะในการวิิเคราะห์์ข้้อมูลู สารสนเทศทาง
คณิติ ศาสตร์์ หรืือการแสดงสถิิติปิ ระยุุกต์ ์ ต่่อการ
แก้้ปัญั หาที่่เ� กี่�ยวข้้องได้อ้ ย่่างสร้า้ งสรรค์์

3. มีีทักั ษะการใช้้ภาษาต่่างประเทศเพื่อ�่ การติิดต่่อสื่อ�่ สาร 3. สามารถประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศ
อย่่างน้้อยหนึ่่�งภาษา และการสื่่�อสาร ที่่ท� ัันสมััยได้อ้ ย่่างเหมาะสม
และมีปี ระสิทิ ธิิภาพ

4. สามารถใช้้เทคโนโลยีสี ารสนเทศในการสืืบค้น้ 4. มีีทักั ษะในการสื่�่อสารข้อ้ มููลทั้้�งทางการพูดู การเขีียน
เก็บ็ รวบรวมข้อ้ มููล และการสื่่อ� ความหมายโดยใช้ส้ ัญั ลักั ษณ์์

5. สามารถใช้้เครื่�อ่ งมืือการคำำ�นวณและเครื่อ่� งมืือทาง
วิศิ วกรรมเพื่อ�่ ประกอบวิชิ าชีีพสาขาวิิศวกรรม
ที่่�เกี่ย� วข้อ้ งได้้

แนวทางการประกอบอาชีีพ
1. วิศิ วกรหุ่่�นยนต์์
2. วิศิ วกรระบบอััตโนมััติิ
3. วิศิ วกรระบบแมคคาโทรนิกิ ส์์
4. นัักวิิเคราะห์์และออกแบบระบบหุ่่�นยนต์์
5. นักั พััฒนาซอฟต์์แวร์์ระบบหุ่่�นยนต์์
6. นัักวิจิ ััยด้้านหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอััตโนมัตั ิิ

49

รายละเอียี ดค่่าเล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรียี นรวมตลอดหลักั สููตร 502,500 บาท และชำำ�ระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษาในอััตรา
ที่่ส� ถาบัันกำำ�หนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 8 ภาคการศึกึ ษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่่าเล่่าเรีียนสำ�ำ หรัับนักั ศึึกษา ค่่าเล่่าเรียี นสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา

ครั้�งที่่� 1 ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคการศึึกษาพิิเศษ ที่่เ� ข้้าเรียี นในภาคปกติิ
ครั้ง� ที่่� 2 – 7
ครั้ง� ที่่� 8 33,500 67,000

67,000 67,000
67,000 33,500

2. อััตราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึกึ ษา ไม่ร่ วมค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดังั ต่่อไปนี้้�
- ค่่าหนัังสืือ เอกสารประกอบวิิชาเรียี น
- ค่่าชุดุ ปฏิิบัตั ิกิ าร วััตถุดุ ิิบและอุุปกรณ์อ์ ื่น่� ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง
- ค่่ารายวิิชาปรับั พื้้น� ฐาน
- ค่่าธรรมเนีียมอื่่น� ๆ และค่่าเบ็็ดเตล็ด็ นอกเหนืืออัตั ราค่่าเล่่าเรียี นแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา

ตัวั อย่่างสถานประกอบการที่่�นักั ศึกึ ษาฝึกึ ปฏิิบัตั ิิ

50


Click to View FlipBook Version