The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับประกาศณียบัตร - บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Juta Junla, 2022-04-25 12:05:54

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับประกาศณียบัตร - บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์

คู่มือนักศึกษาใหม่ระดับประกาศณียบัตร - บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์

สารบัญั

ระดัับปริญิ ญาตรีี “การจััดการการศึึกษาเชิิงสร้้างสรรค์์”

หน้า้ หน้า้

ส่ว่ นที่�่ 1: สถาบันั เรา “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)” 1-1 - ดูตู ารางเรียี น 3-20
1-2 - ตารางหน้า้ ห้้องเรีียน 3-21
พีี ไอ เอ็็ม (PIM) 1-3 - การยืนื ยัันการเข้า้ เรียี น 3-22
ตราสัญั ลักั ษณ์์ 1-3 - PIM e-Learning 3-23
สีปี ระจำสถาบััน 1-3 - PIM MOOC 3-24
ดอกไม้้ประจำสถาบััน 1-4 แหล่่งเรีียนรู้�นอกห้้องเรีียน 3-25
ปรััชญา 1-4 - ห้อ้ งสมุดุ PIM และแหล่่งสืืบค้น้ ข้้อมููลวิจิ ัยั ออนไลน์์ 3-25
วิิสััยทััศน์์ 1-4 และแหล่ง่ ตีีพิมิ พ์ผ์ ลงาน
พันั ธกิจิ 1-4 - บริิการฐานข้้อมููลออนไลน์์ (Online Database) 3-25
เอกลัักษณ์์สถาบันั 1-5 - บริิการวารสารวิชิ าการและ 3-27
อัตั ลักั ษณ์น์ ักั ศึกึ ษา 1-6 นิิตยสารอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ (Online Journals)
คณะวิิชา สำนักั วิิทยาลัยั ในสถาบันั 1-8 - บริกิ ารหนัังสืืออิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์ : e-Books 3-27
เพลงสถาบััน - บริกิ าร e-Thesis 3-28

ส่่วนที่�่ 2 : คณะเรา 2-1 - บริิการแหล่ง่ เรีียนรู้�ออนไลน์์ PIM Library : 3-29
“การจััดการการศึึกษาเชิงิ สร้า้ งสรรค์์” 2-2 Knowledge Bank
2-3 - บริิการข่่าวสาร สื่�อการเรียี นรู้�และบริกิ ารออนไลน์์ : 3-30
ปรัชั ญา ปณิธิ าน วิิสััยทัศั น์์ และพัันธกิจิ คณะ 2-3 lib.pim.ac.th
สัญั ลัักษณ์์ และสีีประจำคณะ 2-4 - บริกิ ารจองห้อ้ งประชุมุ ออนไลน์์ : 3-30
หลักั สููตร/ สาขาวิชิ าที่่เ� ปิิดสอน 2-5 Study Rooms Reservation
การเข้้าถึึงข้้อมููลคณะ 2-11 - elibrary.pim.ac.th 3-31
หลัักสูตู ร / สาขาวิิชาที่่เ� ปิดิ สอน - บริกิ ารโปรแกรมวิิเคราะห์ข์ ้อ้ มูลู ทางสถิติ ิิ 3-32
3-1 - บริกิ ารทรััพยากรห้อ้ งสมุดุ อื่น� ๆ จากความร่ว่ มมืือ 3-33
- หลัักสูตู รประกาศนียี บััตรบััณฑิติ 3-2 ทางวิิชาการของสถาบััน
สาขาวิชิ าชีีพครูู 3-4 แหล่่งตีีพิิมพ์ผ์ ลงานวิจิ ััย 3-34
- หลักั สูตู รศึึกษาศาสตรมหาบััณฑิติ 3-5 ใกล้ส้ อบแล้้ว..ต้อ้ งทำอย่า่ งไร 3-37
สาขาวิิชาการจัดั การการศึึกษาและความเป็น็ ผู้น้� ำ 3-11 เกรดออกแล้้ว 3-39
3-12 มีปี ัญั หา..ปรึกึ ษาใคร 3-40
ส่ว่ นที่่� 3 : รอบรู้�้ “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)” 3-12 ภาคเรียี นใหม่่..ต้อ้ งทำอย่่างไร 3-42
3-14 - ลงทะเบียี นเรียี น 3-42
ที่่ต� ั้ �งและการเดิินทาง 3-15 - การชำระค่า่ เล่่าเรียี นและค่า่ ธรรมเนียี มต่า่ งๆ 3-43
รอบบ้้าน.. PIM แจ้้งวััฒนะ 3-16 ทุุนการศึึกษา 3-44
อาคาร ห้้องเรีียน ห้้องปฏิบิ ัตั ิิการ 3-17 ขั้น� ตอนและการดำเนินิ การ ระดับั บััณฑิิตศึกึ ษา 3-45
ปฏิิทิินการศึกึ ษาและรูปู แบบการเรียี น 3-18 การขอรับั การพิิจารณาทบทวนขอ เสนอโครงการ 3-46
เทคโนโลยีแี ละระบบสนับั สนุุนนัักศึึกษา 3-19 รา งวิทิ ยานิพิ นธ์์
3-20 การลาพัักการศึกึ ษา และการรัักษาสถานภาพนัักศึึกษา 3-47
- Single Sign-On สวัสั ดิกิ ารนักั ศึึกษา 3-48
- PIM Application ระบบต่า่ งๆ ที่่�เกี่่�ยวข้อ้ งกับั นัักศึึกษา 3-50
- PIM Line Official หรืือ PIM CONNECT ชิิลล์์ ช๊๊อป ก๊อ๊ ปปี้�้ รีแี ลคซ์์ 3-52
- Wi-Fi PIMHotspot ช่่องทางสื่�อสาร .. บริิการนัักศึึกษา 3-56
- e-mail
- Office 365
บัตั รนัักศึกึ ษา
เมื่่�อมาเรีียนที่่� PIM

ส่ว่ นที่�่ 1

สถาบัันเรา “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)”

1-1

สถาบัันเรา สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิิวัฒั น์์ หรืือ พีีไอเอ็ม็ (PIM) เป็็น
สถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�ได้้รัับการสนัับสนุุนในการจััดตั้ �งจากบริิษััทซีีพีี
“พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)” ออลล์์ จำกัดั (มหาชน) ในเครือื เจริญิ โภคภัณั ฑ์์ โดยได้ร้ ับั การรับั รอง
จากกระทรวงการอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวััตกรรม เพื่่�อ
ให้้ปริิญญาในระดัับปริิญญาตรีี ปริิญญาโท และปริิญญาเอก โดย
หลัักสููตรที่่�เปิิดสอนมีีความหลากหลายตามความเชี่ �ยวชาญของ
แต่่ละคณะวิิชาในสถาบััน และจััดการเรีียนการสอนทั้้�งภาษาไทย
ภาษาจีนี และภาษาอังั กฤษ

ในฐานะที่่ส� ถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์เ์ ป็น็ มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่
องค์์กรธุรุ กิจิ (Corporate University) ที่่ม� ีกี ารเรีียนการสอนแบบ
Work-based Education จึงึ แตกต่า่ งด้ว้ ยความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการ
มุ่ง�่ เน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาเรียี นรู้�้ จากการฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ กับั กลุ่ม่� ธุรุ กิจิ
ซีพี ีี ออลล์์ เครืือซีีพีี และพันั ธมิติ รทางธุุรกิจิ เพื่่�อให้น้ ัักศึึกษาได้้
รัับประสบการณ์์ในการทำงานจนเกิิดความเชี่่�ยวชาญ ดัังนั้้�น
บััณฑิิตพีีไอเอ็็มจึึงเป็็นบุุคลากรคุุณภาพผู้้�มีีความรู้้�ทางวิิชาการและ
มีคี วามพร้้อมในการปฏิิบััติงิ านอย่า่ งมืืออาชีีพ

ปัจั จุบุ ันั PIM (พีไี อเอ็ม็ ) มีกี ารจัดั การศึกึ ษาในสถานที่่ต� ่า่ ง ๆ คือื
1. สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ แจ้ง้ วัฒั นะ จ.นนทบุุรีี (PIM)

ตั้�งอยู่่�บนถนนแจ้้งวััฒนะ (ฝั่่�งขาออกมุ่�งหน้้าห้้าแยกปากเกร็็ด)
โดยตั้�งอยู่�เลขที่่� 85/1 หมู่� 2 ถนนแจ้้งวััฒนะ ต.บางตลาด
อ.ปากเกร็ด็ จ.นนทบุุรีี 11120

2. สถาบัันการจััดการปััญญาภิิวััฒน์์ วิิทยาเขตอีีอีีซีี จ.ชลบุุรีี
(PIM-EEC)
ตั้�งอยู่�เลขที่่� 1 หมู่� 7 ต.นาจอมเทีียน อ.สัตั หีบี จ.ชลบุรุ ีี 20250

นอกจากนี้้ส� ถาบัันยังั มีีสถานที่่�เพื่่อ� ใช้้ในการเรีียนรู้� 12 แห่ง่ ดังั นี้้�

ภาคเหนือื เชียี งใหม่่ ลำปาง

ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนือื ขอนแก่น่ นครราชสีีมา อุดุ รธานีี

ภาคกลาง พระนครศรีอี ยุุธยา นครสวรรค์์
สมุุทรปราการ เพชรบุรุ ีี

ภาคตะวันั ออก ชลบุุรีี

ภาคใต้้ สงขลา สุุราษฎร์์ธานีี

1-2

ตราสัญั ลักั ษณ์์ ช่่อมะกอก โล่่ ริิบบิ้้น�
สีีประจำ�ำ สถาบััน หมายถึงึ ความมีชี ัยั ชนะเหนืือสิ่�งอื่น� ใด
ดอกไม้้ประจำำ�สถาบััน มงกุฎุ
หมายถึึง การศึึกษาแสดงถึึงความสำเร็จ็ อย่า่ งสููงสุดุ และยิ่�งใหญ่่
สีีเขีียว/เหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็็นเลิศิ ทางวิิชาการ และความถึงึ พร้อ้ มด้ว้ ย
คุุณธรรม เป็น็ หนทางแห่่งความเจริญิ รุ่�งเรือื งในชีวี ิติ
ชื่่อ� สถาบััน
มีชีื่�อสถาบัันภาษาอัังกฤษ และตััวย่่ออยู่�ในโล่่
ส่ว่ นชื่อ� สถาบัันภาษาไทยอยู่�ในริิบบิ้้น�

สีีเขียี ว
หมายถึึง ความเจริิญรุ่�งเรือื ง ความงอกงาม ความสมบููรณ์์
สีีเหลือื งทอง
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการและถึึงพร้้อมด้้วยคุุณธรรม
สีีประจำ�ำ สถาบันั
หมายถึึง ความเป็น็ เลิศิ ทางวิิชาการและความถึงึ พร้อ้ มด้ว้ ย
คุณุ ธรรมเป็น็ หนทางแห่่งความเจริญิ รุ่�งเรือื งในชีวี ิติ

ดอกบััวมังั คลอุุบล (มััง-คะ-ละ-อุุบล)
ซึ่ง� เปรีียบเสมืือนตัวั แทนของ
1. ความเพีียรพยายาม
2. ความอดทน
3. ความสำเร็็จอันั งดงาม

1-3

ปรัชั ญา

"การศึกึ ษาคือื บ่่อเกิิดแห่ง่ ภููมิิปัญั ญา"
(Education is the Matrix of Intellect)

วิิสัยั ทััศน์์

“สร้า้ งมือื อาชีีพด้้วยการเรียี นรู้�้จากประสบการณ์์จริิง”
(Creating Professionals through Work-based Education)

พันั ธกิจิ

“มหาวิทิ ยาลัยั แห่ง่ องค์ก์ รธุรุ กิจิ (Corporate University)”

1. สร้้างคนที่่�มีคี ุุณภาพและตรงกับั ความต้้องการของภาคธุรุ กิิจ สัังคมและประชาคมโลก โดย
เน้้นการเรีียนรู้�จากประสบการณ์จ์ ริิง (Work-based Education)

2. ผสมผสานองค์์ความรู้�เชิิงวิิชาการและองค์์กรธุุรกิิจเพื่่�อการจััดการเรีียนการสอน การวิิจััย
การบริิการวิชิ าการ และทำนุุบำรุงุ ศิลิ ปะวัฒั นธรรม (Combination of Academic and
Professional Expertise)

3. สร้า้ งเครือื ข่า่ ยความร่ว่ มมือื เพื่่อ� พัฒั นาองค์ค์ วามรู้�และส่ง่ เสริมิ นวัตั กรรม (Collaborative
Networking)

4. พััฒนาองค์์กรที่่�พร้้อมรัับความเปลี่�ยนแปลง และมีีระบบการบริิหารจััดการที่่�ดีี
(Transformative Organization & Good Governance)

เอกลักั ษณ์ส์ ถาบันั

การเป็น็ Corporate University บนพื้้น� ฐานของการจัดั การศึกึ ษาแบบ Work-based
Education ประกอบด้้วย

1. การสอนโดยมือื อาชีพี (Work-based Teaching) เป็น็ การเรียี นภาคทฤษฎีคี วบคู่่�กับั การ
เรียี นรู้�จากกรณีศี ึกึ ษา จากผู้ป�้ ฏิบิ ัตั ิงิ านจริงิ ในองค์ก์ ร เพื่่อ� เตรียี มความพร้อ้ มที่่จ� ะฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ

2. การเรียี นรู้�้ จากการปฏิบิ ัตั ิิ (Work-based Learning) เป็น็ การเรียี นรู้�โดยการลงมือื ปฏิบิ ัตั ิิ
งานจริงิ ที่่ม� ีกี ารจัดั วางโปรแกรมครูฝู ึกึ และมีรี ะบบการติดิ ตามประเมินิ อย่า่ งเป็น็ ระบบตาม
วิิชาชีีพของหลัักสููตร เพื่่อ� ทำให้้มีกี ารบูรู ณาการระหว่า่ งทฤษฎีีกับั ภาคปฏิบิ ััติอิ ย่า่ งแท้จ้ ริิง

3. การวิจิ ััยสู่�นวัตั กรรม (Work-based Researching) เป็น็ การศึกึ ษาวิจิ ัยั ของคณาจารย์์
จากปัญั หาวิจิ ัยั จริงิ ในองค์ก์ รที่่น� ำผลการวิจิ ัยั ไปใช้ป้ ฏิบิ ัตั ิไิ ด้โ้ ดยตรง และนำองค์ค์ วามรู้�ใหม่ๆ่
กลัับมาสู่�การเรีียนการสอนในห้อ้ งเรียี น

4. มหาวิทิ ยาลัยั แห่่งการสร้า้ งเครือื ข่่าย (Networking University) เป็น็ การสร้า้ งเครือื ข่า่ ย
ความร่ว่ มมืือกับั สถาบัันการศึึกษา ภาครััฐและเอกชน ทั้้�งในและต่า่ งประเทศเพื่่�อสร้้างการ
มีีส่่วนร่ว่ มในกระบวนการสอน การเรีียนรู้�จากการปฏิิบััติงิ าน และการวิิจัยั สู่�นวัตั กรรม

1-4

อัตั ลัักษณ์น์ ัักศึกึ ษา PIM

“READY to WORK”

เรีียนเป็น็

1. มีคี วามใฝ่่รู้� ใฝ่เ่ รียี น สามารถแสวงหาความรู้�ได้ด้ ้้วยตัวั เอง
2. มีคี วามรอบรู้้�และบููรณาการในศาสตร์์สาขาวิชิ าที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง
3. สามารถนำเครื่อ� งมือื หรืือ เทคโนโลยีมี าใช้ง้ านได้อ้ ย่า่ งเหมาะสมกัับผลลััพธ์ท์ ี่่ต� ้อ้ งการ

(ตามศาสตร์์ของตััวเอง)
4. สามารถเข้า้ ถึึงแหล่่งข้อ้ มูลู ข่า่ วสารและเลืือกใช้้ข้้อมููลความรู้้�ต่า่ งๆ ได้้อย่า่ งเหมาะสม

คิดิ เป็น็

1. มีคี วามสามารถในการคิดิ วิเิ คราะห์์ (Analytical Thinking) การคิดิ วิพิ ากษ์์ (Critical Thinking)
การคิดิ เชิิงสัังเคราะห์์ (Synthesis Thinking) การคิิดเชิงิ นวััตกรรม (Innovative Thinking)

2. กล้า้ คิดิ และสามารถผลักั ดันั ความคิดิ และแรงบันั ดาลใจของตนให้ก้ ่อ่ เกิดิ เป็น็ ผลงานตามศาสตร์์
หรืือผลงานเชิิงนวัตั กรรมต่่างๆ ได้้

3. มีแี นวคิดิ การบริหิ ารจััดการอย่า่ งผู้�้ประกอบการ

ทำ�ำ งานเป็น็

1. มีกี ารทำงานข้้ามสายงานและสามารถจููงใจผู้้�อื่น� เพื่่�อให้บ้ รรลุเุ ป้า้ หมาย
2. มีีทัักษะในกรสื่�อสารหลากภาษา ทั้้�งการฟััง การอ่่าน การเขีียน การพููด การแปลความ

การเลือื กช่อ่ งทางและเครื่อ� งมืือในการสื่อ� สาร
3. มีกี ารตััดสินิ ใจและรับั ผิดิ ชอบต่อ่ ผลที่่เ� กิิดขึ้น�
4. สามารถสร้า้ งความพอใจระหว่่างสุขุ ภาพ การเรีียน ชีวี ิิตส่่วนตััว ความสัมั พัันธ์ก์ ับั บุุคคลอื่่�น

เน้น้ วัฒั นธรรม

1. สืืบสานวัฒั นธรรมไทย
2. ความสามารถในการปรับั ตััวเข้า้ กัับสภาพแวดล้้อมขององค์ก์ รได้้

รักั ความถููกต้อ้ ง

1. ยึดึ มั่่น� ในจรรยาบรรณวิชิ าชีีพหรือื จรรยาบรรณในการดำเนิินธุรุ กิจิ
2. ยืืนหยััดปกป้อ้ งในความถูกู ต้้อง
3. เคารพและชื่น� ชมต่่อความดีงี ามของผู้้�อื่น�

1-5

คณะวิิชาใน PIM ชื่่อ� ย่่อ สถานที่เ่� รีียน
หลักั สููตร
คณะ หลัักสููตร แจ้้งวััฒนะ วิทิ ยาเขต เครืือข่า่ ย
EEC Internet

หลัักสููตรระดัับปริญิ ญาเอก

บริิหารธุุรกิิจ (หลัักสููตรภาษาจีีน) C-PhD --
--
การจัดั การการศึึกษา (หลัักสูตู รภาษาจีีน) C-PhD-Ed
--
หลักั สููตรระดับั ปริิญญาโท

การจััดการธุุรกิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ MBA-MTM

วิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี MET --
(หลักั สููตรนานาชาติิ)

การบริิหารคนและกลยุทุ ธ์์องค์์การ POS --

การสื่อ� สารเชิงิ นวััตกรรมเพื่่อ� องค์์กรสมัยั ใหม่่ MCA --

การจัััด� การการศึึกึ� ษาและความเป็็�น็ ผู้น�้ ำ EML --

ธุุรกิิจระหว่่างประเทศ (หลักั สูตู รนานาชาติ)ิ iMBA --
--
บริหิ ารธุรุ กิจิ (หลัักสูตู รภาษาจีนี ) C-MBA --
การจััดการทางศิลิ ปะ (หลักั สูตู รภาษาจีนี ) C-MA --

หลักั สููตรประกาศนีียบััตรบัณั ฑิติ -
-
ประกาศนีียบัตั รบัณั ฑิติ สาขาวิิชาชีีพครูู GDIP -
-
หลักั สููตรระดัับปริิญญาตรีี

จััดการเรีียนการสอนในหมวดวิชิ าศึึกษาทั่่ว� ไป GE
สำหรัับนักั ศึกึ ษาระดัับปริิญญาตรีที ุุกหลัักสููตร
1) กลุ่�มวิิชาภาษาไทย
2) กลุ่�มวิชิ าภาษาอังั กฤษ
3) กลุ่�มวิิชาภาษาจีนี
4) กลุ่�มวิิชามนุษุ ยศาสตร์แ์ ละสังั คมศาสตร์์
5) กลุ่�มวิิชาวิิทยาศาสตร์แ์ ละคณิิตศาสตร์์

การจัดั การธุรุ กิิจการค้า้ สมัยั ใหม่่ MTM

การจััดการธุรุ กิิจการค้้าสมััยใหม่่ (ต่่อเนื่่�อง) CMTM

การจััดการธุุรกิจิ การค้้าสมััยใหม่่ IMM -
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอิินเทอร์เ์ น็ต็ ) CIMM -
การจัดั การธุุรกิจิ การค้า้ สมััยใหม่่ (ต่่อเนื่่อ� ง)
(ระบบการศึกึ ษาทางไกลทางอิินเทอร์เ์ น็็ต)

1-6

ชื่่อ� ย่่อ สถานที่เ�่ รีียน
หลักั สููตร
คณะ หลัักสููตร แจ้ง้ วัฒั นะ วิิทยาเขต เครือื ข่า่ ย
EEC Internet

เทคโนโลยีีดิจิ ิทิ ัลั และสารสนเทศ DIT -

วิศิ วกรรมคอมพิิวเตอร์แ์ ละปััญญาประดิิษฐ์์ CAI --

วิิศวกรรมอุุตสาหการและการผลิิตอััจฉริยิ ะ IEM -

วิิศวกรรมการผลิติ ยานยนต์์ AME --

วิิศวกรรมหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอััตโนมััติิ RAE --

ภาษาจีนี ธุรุ กิิจ BC - -

ภาษาญี่่ป�ุ่�นธุรุ กิิจ BJ - -

ภาษาอังั กฤษเพื่่อ� การสื่�อสารทางธุุรกิิจ CEB --

การจััดการอสังั หาริมิ ทรััพย์์และทรัพั ย์์สินิ อาคาร RPM --

การบริหิ ารทรัพั ยากรมนุษุ ย์์ HROM --
และการจััดการองค์์การ
การจััดการธุรุ กิิจการบินิ AVI --
อุุตสาหกรรมการบริกิ ารและการท่่องเที่่ย� ว HTM --

วิชิ าเอกการสื่�อสารองค์ก์ รและแบรนด์์ CB --

วิิชาเอกวารสารศาสตร์์คอนเวอร์เ์ จ้น้ และ CJ --
สื่�อดิจิ ิิทัลั สร้า้ งสรรค์์

นวัตั กรรมการจัดั การเกษตร IAM --

การสอนภาษาจีีน TCL --
การสอนภาษาอังั กฤษ ELT
--
การจััดการเทคโนโลยีีอุุตสาหกรรมเกษตร ATM
-
การจัดั การธุรุ กิจิ อาหาร FBM -
การจัดั การธุุรกิิจอาหาร (ต่่อเนื่่�อง) CFBM --
การจััดการธุรุ กิิจภัตั ตาคาร RBM

การจัดั การโลจิิสติกิ ส์แ์ ละการคมนาคมขนส่ง่ LTM --

พยาบาลศาสตร์์ NS - -
NS - --
พยาบาลศาสตร์์ iMTM
(สำหรัับผู้้�สำเร็็จปริญิ ญาตรีสี าขาอื่�น)
การจัดั การธุุรกิิจการค้า้ สมััยใหม่่
(หลัักสูตู รนานาชาติ)ิ

1-7

เพลงสถาบันั

เพลงประจำ�ำ เพลงมังั คลอุุบล

สถาบันั การจัดั การปััญญาภิวิ ัฒั น์์

เกิิดมาเป็น็ คน ต้้องพร้้อมจะอดทนทุกุ เรื่อ� งราว * มังั คลอุุบล ดั่ง� พวกเราทุุกคน
ไม่ว่ ่่าจะดีีจะร้้ายซักั เท่่าไหร่่ ต้อ้ งมองว่า่ เป็น็ บทเรีียน หนัักเบาพร้อ้ มผจญ งดงามปนเข้ม้ แข็ง็

สิ่�งที่่เ� รีียนคือื ความจำ สิ่�งที่่ท� ำคือื ความจริงิ ใต้เ้ งาหูกู ระจง แผ่ก่ิ่�งใบมั่่�นคง
สิ่ง� ที่่ท� ำได้้ยากเย็็นนั้้น� จะยิ่�งใหญ่่ หยัดั ยืนื ทรนง...ซื่อ� ตรงและแข็ง็ แกร่่ง

สิ่�งที่่�ทำโดยตััวเอง ยิ่�งทำจะยิ่�งเข้้าใจ P (Practicality)
แม้้นานเพีียงใดก็ไ็ ม่่ลืมื I (Innovation)
M (Morality)
**ต้้องคิดิ เป็น็ ทำเป็น็ เรีียนเป็น็ P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้้นความเป็น็ ธรรมในใจ
(ซ้้ำ*)
สิ่�งที่่�ถูกู รักั ษาไว้้ ที่่�ผิิดเราต้อ้ งทิ้้�งไป **ในโลกแห่่งความจริงิ ต้้องเรีียนรู้้�กันั จริงิ ๆ
แล้ว้ เราจะก้า้ วไป..ด้้วยกััน ต้อ้ งออกไปหาความจริิง วิ่�งชนเรื่อ� งราวแท้้จริิง
ต้้องเหนื่่อ� ยต้อ้ งท้้อจริงิ ๆ ต้อ้ งเจอผู้ค�้ นจริิงๆ
***สถาบัันปัญั ญาภิิวัฒั น์์ สถาบันั แห่ง่ ปัญั ญา เรียี นจากคนรู้�ความจริิง แล้ว้ เราจะเป็็นคนจริิง
เราจะคอยเป็น็ ผู้้�สอน เราจะคอยเป็น็ เบ้้าหลอม คนเก่่งนั้้�นยัังไม่่พอ เก่ง่ จริิงต้อ้ งจัดั การได้้

จะหล่อ่ และก็ห็ ลอมให้ท้ ุุกคน แค่ก่ ล้า้ ก็็ยัังไม่่พอ กล้้าจริิงต้้องมีีวิินััย
ให้้พร้้อมกลายเป็็นคนดีี (ให้ท้ ุุกคนเป็็นคนดีี) คนฉลาดนั้้น� ยัังไม่่พอ คนฉลาดต้้องไม่โ่ กงใคร
เกิิดมาเป็น็ คน ต้้องมุ่�งมั่น� ฝึึกฝนประสบการณ์์
ค่า่ ความเป็น็ คนอยู่�ที่ใ� จวัดั กันั ที่่ผ� ลงาน อันั มีคี ่า่ ควรจดจำ แข็็งแรงก็็ยัังไม่่พอ เพราะว่่าต้อ้ งมีีน้้ำใจ
***ธงสีีเขียี วขจีี ฉาบสีีเหลือื งเรืืองรอง
(ซ้้ำ *, **, ***) บนแผ่่นดินิ สีีทอง นี่่ค� ืือบ้า้ นของเรา
เราก็เ็ หมือื นอิฐิ คนละก้อ้ นวางซ้้อนเรีียงกัันจึึงแน่น่ หนา

ก่อ่ ด้้วยความรัักในปัญั ญา
ฉาบด้้วยศรััทธา..ในสถาบันั ..ของเรา

(ซ้้ำ*, **, ***)

https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74 https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc

1-8

ส่่วนที่�่ 2

คณะเรา

“การจััดการการศึึกษาเชิงิ สร้้างสรรค์”์

2-1

คณะเรา

“การจััดการการศึึกษาเชิงิ สร้า้ งสรรค์”์

ปรัชั ญาคณะการจัดั การการศึึกษาเชิงิ สร้้างสรรค์์

“การศึึกษา คืือ การสร้า้ งทรัพั ย์์ทางปััญญาแก่่แผ่่นดินิ ”

ปณิิธาน

“มุ่ง�่ มั่่�นการผลิติ บััณฑิติ ทางการศึึกษาที่่�สมบููรณ์ด์ ้ว้ ย
ปััญญา คุุณธรรม จริิยธรรม จรรยาบรรณวิิชาชีพี

มีีภาวะผู้้�นำ�ำ ทางการศึึกษา
และความสามารถด้า้ นบริหิ ารจัดั การ”

วิิสัยั ทัศั น์์

“สร้า้ งบัณั ฑิติ ทางการศึกึ ษามือื อาชีพี ที่่พ� ร้อ้ มด้ว้ ยคุุณธรรม จริยิ ธรรม
จรรยาบรรณวิชิ าชีพี โดยเน้น้ การเรีียนรู้�จ้ ากประสบการณ์จ์ ริงิ ”

พัันธกิิจ

1. ผลิิตบััณฑิิตทางการศึึกษาให้้มีีคุุณภาพมาตรฐานวิิชาชีีพ โดยการเรีียนรู้�จากประสบการณ์์
จริิง (Work-based Education)

2. พััฒนาครูู บุุคลากรทางทางการศึึกษาให้้มีีศัักยภาพในการจััดการศึึกษาที่่ม� ีีคุุณภาพ
3. สร้า้ งผลงานวิิจััยและพัฒั นานวััตกรรมทางการศึกึ ษา
4. บริิการวิิชาการทางการศึึกษาแก่่ชุุมชน เพื่่�อส่่งเสริิมการเรีียนรู้�ตลอดชีีวิิตและพััฒนาสัังคม

ที่่ย�ั่ง� ยืนื
5. สืบื สานทำนุุบำรุงุ ศิลิ ปะวััฒนธรรม ภูมู ิิปัญั ญาท้อ้ งถิ่�นและภูมู ิปิ ัญั ญาไทย
6. พัฒั นาระบบบริหิ ารอย่า่ งมีสี ่ว่ นร่ว่ มโดยใช้ห้ ลักั ธรรมาภิบิ าล เพื่่อ� ส่ง่ เสริมิ การทำงานเป็น็ ทีมี

ของคณะ

2-2

สัญั ลักั ษณ์แ์ ละสีีประจำ�ำ คณะ

ดอกบัวั บานชููช่่อพ้้นน้ำ��ำ

หมายถึงึ ผู้้�ที่ใ� ฝ่เ่ รียี น ใฝ่รู่้�อยู่�เป็น็ นิจิ ย่อ่ มมีปี ัญั ญาปฏิิภาณอันั แตกฉานและแยบคาย

กลีีบทั้้�งแปดของดอกบัวั

แสดงถึงึ การเป็น็ ผู้้�ที่�ยึดึ ถือื และปฏิิบััติติ ามหลักั ธรรม ได้แ้ ก่่ การมีีปัญั ญาชอบ ดำริิชอบ
เจรจาชอบ ประพฤติดิ ีีงาม ประกอบสัมั มาอาชีีพอย่า่ งสุุจริติ ชน มีีความอุตุ สาหะพยายาม

มีีสติิรู้้�ตััวอยู่�เสมอ และฝึึกจิติ ให้ต้ั้�งมั่่น� ในความดีี

กระแสน้ำ��ำ

แสดงถึงึ การหมั่น� แสวงหาความรู้�ที่�ไม่ม่ ีีวันั สิ้น� สุดุ เปรียี บเหมือื นการศึกึ ษาที่่�ต้อ้ งเรียี นรู้�
แบ่ง่ ปันั และต่อ่ ยอด ซึ่ง� เหล่่านี้้�เป็็นคุณุ สมบัตั ิขิ องครููที่่�ดีี

สีปี ระจำ�ำ คณะ / สีีม่ว่ ง

เป็็นสีีแทนสัญั ลัักษณ์ข์ องการใฝ่่เรีียน ใฝ่รู่้� การพัฒั นาตนเองอยู่�เสมอ เปี่่�ยมด้ว้ ยพลััง
แห่่งความคิิดริเิ ริ่�มสร้า้ งสรรค์์

เป็็นสัญั ลัักษณ์ข์ องคุณุ งามความดีี ความยุุติธิ รรม ความเมตตา วิริ ิยิ ะอุุตสาหะ เสีียสละ
ความสามััคคีีและมีคี วามเป็็นน้้ำหนึ่่ง� ใจเดียี วกันั

เปรียี บเสมือื นวิิชาชีีพครูซูึ่�งคุุณลักั ษณะของครูทู ี่่�ดีี คืือ มีีความรัักและศรัทั ธาในวิิชาชีพี ครูู
และพร้้อมที่่�จะพััฒนาวิชิ าชีพี ของตนอยู่�เสมอ ประพฤติติ นเป็น็ แบบอย่่างแก่่ผู้เ�้ รียี น ใฝ่่รู้�

และพัฒั นาตนเองอย่่างต่่อเนื่่�อง มีคี วามเมตตาแก่่ศิษิ ย์์ และเห็น็ คุณุ ค่่าของศิิษย์์

2-3

หลักั สููตร / สาขาวิิชาที่่�เปิิดสอน

หลัักสููตรระดัับปริญิ ญาตรีี

• หลักั สูตู รศึึกษาศาสตรบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าการสอนภาษาจีีน
• หลัักสููตรศึกึ ษาศาสตรบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าการสอนภาษาอังั กฤษ

หลักั สููตรประกาศนียี บััตรบัณั ฑิิต
• ประกาศนียี บัตั รบัณั ฑิติ สาขาวิชิ าชีพี ครูู

หลักั สููตรระดัับบััณฑิติ ศึกึ ษา
• หลักั สููตรศึกึ ษาศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาการจัดั การการศึกึ ษาและความเป็็นผู้น�้ ำ

ติิดต่อ่ คณะ

ชั้้�น 9 อาคาร 4 หรือื อาคาร CP ALL Academy
โทรศััพท์์ 0 2855 1026, 0 2855 0962,
0 2855 1340, 0 2855 1494

การเข้า้ ถึงึ ข้อ้ มููลคณะ

1. เว็็บไซต์ค์ ณะการจัดั การจัดั การการศึึกษาเชิิงสร้า้ งสรรค์:์ https://cem.pim.ac.th/

2-4

หลักั สููตรประกาศนีียบัตั รบัณั ฑิิต

สาขาวิิชาชีีพครูู

Graduate Diploma Program in Teaching Profession

ชื่่อ� ปริญิ ญา
ภาษาไทย (ชื่่อ� เต็ม็ ) : ประกาศนีียบััตรบััณฑิติ สาขาวิิชาชีีพครูู
(อัักษรย่่อ) : ป.บัณั ฑิิต (วิชิ าชีีพครูู)
ภาษาอัังกฤษ (ชื่่�อเต็็ม) : Graduate Diploma (Teaching Profession)
(อัักษรย่่อ) : Grad. Dip. (Teaching Profession)
หมายเหตุุ: สำนักั งานปลััดกระทรวงการอุุดมศึกึ ษาวิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม (สป.อว.)
รัับทราบหลักั สููตรเมื่่�อ 17 กรกฎาคม 2564 และคุุรุุสภา รัับรองหลัักสูตู ร
เมื่่�อ 9 ธันั วาคม 2564

จุดุ เด่น่ ของสาขาวิิชา / หลักั สููตร

1. ผลิิตครููนวััตกรผู้้�สร้้างสรรค์์ห้้องเรีียนแห่่งความสุุขที่่�นัักเรีียนได้้เรีียนรู้�อย่่างมีีความหมาย
(Meaningful learning)

2. เรียี นรู้�เชิิงปฏิิบััติกิ ารในห้้องเรียี นควบคู่่�กัับประสบการณ์จ์ ริงิ ในสถานศึกึ ษา
(Work-Based Education)

2-5

ผลลัพั ธ์ก์ ารเรีียนรู้�้ ของหลัักสููตร

1. รักั ศรัทั ธาและภูมู ิใิ จในวิชิ าชีพี ครูู มีจี ิติ วิญิ ญาณและอุดุ มการณ์ค์ วามเป็น็ ครูู และปฏิบิ ัตั ิิ
ตนตามจรรยาบรรณวิชิ าชีีพครูู

2. มีจี ิติ อาสา จิิตสาธารณะ อดทนอดกลั้น� มีีความเสีียสละ รับั ผิดิ ชอบและซื่�อสััตย์์ต่่องาน
ที่่ไ� ด้ร้ ับั มอบหมายทั้้ง� ด้า้ นวิชิ าการและวิชิ าชีพี และสามารถพัฒั นาตนเองอย่า่ งต่อ่ เนื่่อ� ง
ประพฤติิตนเป็็นแบบอย่่างที่่�ดีีแก่่ศิิษย์์ ครอบครััว สัังคมและประเทศชาติิ และเสริิม
สร้้างการพััฒนาที่่�ยั่ �งยืืน

3. มีีค่า่ นิิยมและคุุณลัักษณะเป็น็ ประชาธิปิ ไตย คืือ การเคารพสิทิ ธิิ และให้้เกีียรติิคนอื่�น
ด้้านคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม มีีความสามัคั คีแี ละทำงานร่ว่ มกัับผู้้�อื่น� ได้้ ใช้้เหตุุผลและปััญญาในการดำเนินิ ชีวี ิติ และ

การตััดสิินใจ

4. มีคี วามกล้า้ หาญและแสดงออกทางคุณุ ธรรมจริยิ ธรรม สามารถวินิ ิจิ ฉัยั จัดั การและคิดิ
แก้้ปััญหาทางคุณุ ธรรมจริยิ ธรรมด้ว้ ยความถููกต้้องเหมาะสมกับั สัังคม การทำงานและ
สภาพแวดล้อ้ ม โดยอาศัยั หลักั การ เหตุผุ ลและใช้ด้ ุลุ ยพินิ ิจิ ทางค่า่ นิยิ ม บรรทัดั ฐานทาง
สังั คม ความรู้�สึกึ ของผู้้�อื่น� และประโยชน์ข์ องสังั คมส่ว่ นรวม มีจี ิติ สำนึกึ ในการธำรงความ
โปร่่งใสของสัังคมและประเทศชาติิ ต่่อต้้านการทุุจริิตคอรััปชั่�นและความไม่่ถููกต้้อง
ไม่ใ่ ช้ข้ ้อ้ มูลู บิดิ เบืือน หรืือการลอกเลียี นผลงาน

ด้้านความรู้�้ 1. มีคี วามรอบรู้้�ในหลักั การ แนวคิิด ทฤษฎีี เนื้้�อหาสาระด้า้ นวิชิ าชีพี ครูู อาทิิ ค่า่ นิยิ มของ
ครูู คุุณธรรม จริยิ ธรรม จรรณยาบรรณ จิิตวิิญญาณครูู ปรัชั ญาความเป็น็ ครูู จิิตวิทิ ยา
สำหรัับครูู จิิตวิิทยาพััฒนาการ จิิตวิิทยาการเรีียนรู้�เพื่่�อจััดการเรีียนรู้�และช่่วยเหลืือ
แก้ไ้ ขปัญั หา ส่ง่ เสริมิ และพัฒั นาผู้เ�้ รียี น หลักั สูตู รและวิทิ ยาการจัดั การเรียี นรู้� นวัตั กรรม
และเทคโนโลยีีสารสนเทศและการสื่�อสารการศึึกษาและการเรีียนรู้� การวััดประเมิิน
การศึกึ ษาและการเรียี นรู้� การวิจิ ัยั และการพัฒั นานวัตั กรรมเพื่่อ� พัฒั นาผู้เ้� รียี นและภาษา
เพื่่อ� การสื่อ� สารสำหรับั ครูู ทักั ษะการนิเิ ทศและการสอนงาน ทักั ษะเทคโนโลยีแี ละดิจิ ิทิ ัลั
ทักั ษะการทำงานวิจิ ัยั และการประเมินิ ทักั ษะการร่ว่ มมือื สร้า้ งสรรค์์ และทักั ษะศตวรรษ
ที่่� 21 มีีความรู้� ความเข้า้ ใจ ในการบููรณาการความรู้� กัับการปฏิิบััติิจริิงและการบููรณา
การข้า้ มศาสตร์์ อาทิิ การบูรู ณาการการสอน (Technological Pedagogical Content
Knowledge: TPACK) การสอนแบบบููรณาการความรู้้�ทางวิิทยาศาสตร์์ เทคโนโลยีี
กระบวนการทางวิิศวกรรมและคณิิตศาสตร์์ (Science Technology Engineering
and Mathematics Education: STEM Education) ชุุมชนแห่่งการเรีียนรู้�
(Professional Learning Community: PLC) และมีคี วามรู้�ในการประยุุกต์ใ์ ช้้

2. มีคี วามรอบรู้้�ในหลักั การ แนวคิิด ทฤษฎีี เนื้้�อหาวิิชาที่่ส� อน สามารถวิเิ คราะห์์ความรู้�
และเนื้้อ� หาวิิชาที่่ส� อนอย่่างลึึกซึ้�ง สามารถติดิ ตามความก้า้ วหน้า้ ด้้านวิิทยาการและนำ
ไปประยุุกต์์ใช้้ในการพััฒนาผู้�้เรีียน โดยมีีผลลััพธ์์การเรีียนรู้�และเนื้้�อหาสาระด้้าน
มาตรฐานผลการเรียี นรู้้�ด้า้ นความรู้�ของแต่่ละสาขาวิิชา

3. มีีความรู้� เข้้าใจชีีวิิต เข้้าใจชุุมชน เข้้าใจโลกและการอยู่�ร่วมกัันบนพื้้�นฐานความแตก
ต่่างทางวััฒนธรรม สามารถเผชิิญและเท่่าทัันกัับการเปลี่�ยนแปลงของสัังคม และ
สามารถนำแนวคิดิ ปรัชั ญาของเศรษฐกิิจพอเพียี งไปประยุกุ ต์ใ์ ช้้ในการดำเนิินชีวี ิิตและ
พัฒั นาตน พััฒนางานและพััฒนาผู้�เ้ รีียน

4. มีีความรู้ �และความสามารถในการใช้้ภาษาไทยและภาษาอัังกฤษเพื่่�อการสื่ �อสารตาม
มาตรฐาน

5. ตระหนักั รู้� เห็น็ คุณุ ค่า่ และความสำคัญั ของศาสตร์พ์ ระราชาเพื่่อ� การพัฒั นาที่่ย�ั่ง� ยืนื และ
นำมาประยุกุ ต์์ใช้ใ้ นการพัฒั นาตน พัฒั นาผู้เ�้ รียี น พัฒั นางานและพัฒั นาชุุมชน

2-6

ด้า้ นทักั ษะทางปััญญา 1. คิดิ ค้้นหา วิิเคราะห์์ข้อ้ เท็็จจริิง และประเมินิ ข้อ้ มููล สื่�อ สารสนเทศจากแหล่ง่ ข้อ้ มูลู ที่่�
หลากหลายอย่า่ งรู้�เท่า่ ทััน เป็็นพลเมืืองตื่�นรู้� มีสี ำนึึกสากล สามารถเผชิญิ และก้้าวทััน
กับั การเปลี่ย� นแปลงในโลกยุคุ ดิจิ ิทิ ัลั เทคโนโลยีขี ้า้ มแพลทฟอร์ม์ (Platform) และโลก
อนาคต นำไปประยุุกต์์ใช้้ในการปฏิิบััติิงาน และวิินิิจฉััยแก้้ปััญหาและพััฒนางานได้้
อย่า่ งสร้า้ งสรรค์์ โดยคำนึงึ ถึงึ ความรู้� หลักั การทางทฤษฎีี ประสบการณ์ภ์ าคปฏิบิ ัตั ิิ ค่า่
นิยิ ม แนวคิดิ นโยบายและยุทุ ธศาสตร์ช์ าติิ บรรทัดั ฐานทางสังั คมและผลกระทบที่่อ� าจ
เกิดิ ขึ้น�

2. สามารถคิิดริิเริ่�มและพัฒั นางานอย่า่ งสร้้างสรรค์์

3. สร้้างและประยุุกต์์ใช้้ความรู้�จากการทำวิิจััยและสร้้างหรืือร่่วมสร้้างนวััตกรรมเพื่่�อ
พััฒนาการเรีียนรู้�ของผู้้�เรีียนและพััฒนาผู้้�เรีียนให้้เป็็นผู้้�สร้้างหรืือร่่วมสร้้างนวััตกรรม
รวมทั้้ง� ถ่่ายทอดความรู้�แก่่ชุุมชนและสัังคม

1. เข้า้ ใจและใส่ใ่ จอารมณ์ค์ วามรู้้�สึึกของผู้้�อื่�น มีีความคิิดเชิงิ บวก มีวี ุฒุ ิิภาวะทางอารมณ์์
และทางสังั คม

2. ทำงานร่ว่ มกับั ผู้้�อื่น� ทำงานเป็น็ ทีมี เป็น็ ผู้น�้ ำและผู้ต�้ ามที่่ด� ีี มีสี ัมั พันั ธภาพที่่ด� ีกี ับั ผู้เ�้ รียี น
ผู้้�ร่วมงาน ผู้้ป� กครองและคนในชุมุ ชน มีีความรัับผิิดชอบต่่อส่ว่ นรวมทั้้ง� ด้า้ นเศรษฐกิจิ
ด้า้ นทัักษะความสัมั พัันธ์์ สังั คมและสิ่�งแวดล้อ้ ม
ระหว่่างบุคุ คลและ 3. มีีความรัับผิิดชอบต่่อหน้้าที่่� ต่่อตนเอง ต่่อผู้้�เรีียน ต่่อผู้้�ร่วมงาน และต่่อส่่วนรวม
ความรัับผิดิ ชอบ สามารถช่ว่ ยเหลืือและแก้้ปััญหาตนเอง กลุ่�มและระหว่า่ งกลุ่�มได้้อย่า่ งสร้้างสรรค์์

4. มีีภาวะผู้�้นำทางวิิชาการและวิิชาชีีพ มีีความเข้้มแข็็งและกล้้าหาญทางจริิยธรรม
สามารถชี้�นำและถ่่ายทอดความรู้�แก่่ผู้�้เรีียน สถานศึึกษา ชุุมชนและสัังคมได้้อย่่าง
สร้้างสรรค์์

1. มีที ักั ษะการวิเิ คราะห์ข์ ้อ้ มูลู สถิติ ิิ การสังั เคราะห์ข์ ้อ้ มูลู เชิงิ ปริมิ าณและเชิงิ คุณุ ภาพ เพื่่อ�
เข้้าใจองค์์ความรู้� หรืือประเด็น็ ปััญหาทางการศึกึ ษาได้อ้ ย่า่ งรวดเร็็วและถููกต้้อง

ด้า้ นทักั ษะการวิิเคราะห์์ 2. สื่่�อสารกับั ผู้เ้� รียี น พ่อ่ แม่่ผู้้ป� กครอง บุุคคลในชุมุ ชนและสังั คม และผู้้เ� กี่�ยวข้อ้ งกลุ่�มต่่าง
เชิงิ ตัวั เลข การสื่�่อสาร ๆ ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพโดยสามารถเลืือกใช้้การสื่�อสารทางวาจา การเขีียน หรืือ
และการใช้้เทคโนโลยีี การนำเสนอด้้วยรููปแบบต่่าง ๆ โดยใช้้เทคโนโลยีีการสื่อ� สารหรืือนวััตกรรมต่า่ ง ๆ ที่่�
เหมาะสม
สารสนเทศ
3. ใช้เ้ ทคโนโลยีสี ารสนเทศ ในการสืบื ค้น้ ข้อ้ มูลู หรือื ความรู้�จากแหล่ง่ การเรียี นรู้้�ต่า่ ง ๆ ได้้
อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ สามารถใช้้โปรแกรมสำเร็็จรููปที่่�จำเป็็นสำหรัับการเรีียนรู้� การ
จัดั การเรียี นรู้� การทำงาน การประชุมุ การจัดั การและสืบื ค้น้ ข้อ้ มูลู และสารสนเทศ รับั
และส่่งข้อ้ มูลู และสารสนเทศโดยใช้้ดุลุ ยพินิ ิิจที่่�ดีใี นการตรวจสอบความน่า่ เชื่�อถืือของ
ข้้อมูลู และสารสนเทศ อีีกทั้้ง� ตระหนักั ถึงึ การละเมิิดลิขิ สิทิ ธิ์์�และการลอกเลีียนผลงาน

2-7

ด้า้ นวิิธีวี ิทิ ยาการ 1. สามารถเลืือกใช้้ปรััชญาตามความเชื่�อในการสร้้างหลัักสููตรรายวิิชา การออกแบบ
จัดั การเรียี นรู้�้ เนื้้�อหาสาระ กิิจกรรมการเรีียนการสอน สื่�อและเทคโนโลยีีการสื่�อสาร การวััดและ
ประเมิินผู้�้เรีียน การบริิหารจััดการชั้�นเรีียน การจััดการเรีียนโดยใช้้แหล่่งการเรีียนรู้�
ในโรงเรีียนและนอกโรงเรีียน แหล่่งการเรีียนรู้�แบบเปิิดได้้อย่่างเหมาะสมกัับสภาพ
บริิบทที่่แ� ตกต่่างกันั ของผู้้�เรีียนและพื้้�นที่่�

2. สามารถนำความรู้้�ทางจิิตวิิทยาไปใช้้ในการวิิเคราะห์์ผู้้�เรีียนเป็็นรายบุุคคล ออกแบบ
กิจิ กรรม การจััดเนื้้อ� หาสาระ การบริิหารจััดการ และกลไกการช่ว่ ยเหลือื แก้้ไขและ
ส่ง่ เสริมิ พัฒั นาผู้เ้� รียี นที่่ต� อบสนองความต้อ้ งการ ความสนใจ ความถนัดั และศักั ยภาพ
ของผู้เ�้ รียี นที่่ม� ีคี วามแตกต่า่ งระหว่า่ งบุคุ คล ทั้้ง� ผู้เ�้ รียี นปกติแิ ละผู้เ้� รียี นที่่ม� ีคี วามต้อ้ งการ
จำเป็น็ พิเิ ศษ หรือื ผู้เ้� รีียนที่่�มีีข้้อจำกััดทางกาย

3. จัดั กิจิ กรรมและออกแบบการจัดั การเรียี นรู้�ให้ผ้ ู้เ้� รียี นได้เ้ รียี นรู้�จากประสบการณ์์ เรียี น
รู้้�ผ่า่ นการลงมือื ปฏิบิ ัตั ิแิ ละการทำงานในสถานการณ์์จริงิ ส่ง่ เสริิมการพัฒั นาความคิิด
การทำงาน การจัดั การ การเผชิิญสถานการณ์์ ฝึกึ การปฏิบิ ััติิให้้ทำได้้ คิิดเป็น็ ทำเป็น็
โดยบูรู ณาการการทำงานกับั การเรียี นรู้�และคุณุ ธรรมจริยิ ธรรม สามารถประยุกุ ต์ค์ วาม
รู้�มาใช้เ้ พื่่�อป้้องกันั แก้ไ้ ขปัญั หา และพััฒนา ด้้วยความซื่อ� สัตั ย์ส์ ุุจริติ มีวี ิินัยั และรัับผิิด
ชอบต่อ่ ผู้เ้� รีียนโดยยึดึ ผู้้�เรีียนสำคััญที่่ส� ุุด

4. สร้้างบรรยากาศ และจััดสภาพแวดล้้อม สื่�อการเรีียน แหล่่งวิิทยาการ เทคโนโลยีี
วััฒนธรรมและภููมิิปััญญาทั้้�งในและนอกสถานศึึกษาเพื่่�อการเรีียนรู้� มีีความสามารถ
ในการประสานงานและสร้้างความร่่วมมืือกัับบิิดามารดา ผู้�้ปกครอง และบุุคคล
ในชุมุ ชนทุกุ ฝ่า่ ย เพื่่อ� อำนวยความสะดวกและร่ว่ มมือื กันั พัฒั นาผู้เ้� รียี นให้ม้ ีคี วามรอบรู้้�
มีีปัญั ญารู้้�คิิดและเกิดิ การใฝ่่รู้�อย่่างต่่อเนื่่อ� งให้เ้ ต็ม็ ตามศักั ยภาพ

5. สามารถจัดั การเรียี นการสอนให้้นักั เรียี นมีที ัักษะศตวรรษที่่� 21 เช่น่ ทักั ษะการเรียี นรู้�
ทัักษะการรู้�เรื่�อง ทัักษะการคิดิ ทัักษะชีีวิติ ทักั ษะการทำงานแบบร่ว่ มมืือ ทักั ษะการ
ใช้้ภาษาเพื่่�อการสื่�อสาร ทัักษะเทคโนโลยีี และการดำเนิินชีีวิิตตามหลัักปรััชญาของ
เศรษฐกิิจพอเพีียง และสามารถนำทักั ษะเหล่่านี้้�มาใช้้ในการจัดั การเรีียนรู้�เพื่่�อพัฒั นา
ผู้เ้� รีียน และการพัฒั นาตนเอง

2-8

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. ครููสอนในระดัับปฐมวััย การศึึกษาขั้�นพื้้�นฐาน อาชีีวศึึกษา การศึึกษานอกระบบ
การศึกึ ษาตามอััธยาศััย และการศึึกษาพิิเศษ

2. ผู้้�ประกอบการธุรุ กิิจด้้านการศึกึ ษา
3. ผู้ป�้ ระกอบอาชีพี ในสถานประกอบการด้้านการศึกึ ษา
4. นัักฝึกึ อบรมด้า้ นการสอน
5. นัักวิิจัยั การเรียี นการสอน

รายละเอีียดค่่าเล่า่ เรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 56,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตราที่่ส� ถาบันั กำหนด ตามแผนการเรีียนปกติิ 3 ภาคการศึึกษา ดังั นี้้�

ภาคการศึึกษาที่่� ค่า่ เล่่าเรีียนสำ�ำ หรับั นัักศึกึ ษาที่่�เข้า้ เรีียนในภาคปกติิ

ครั้ง� ที่่� 1-2 19,000

ครั้ง� ที่่� 3 18,000

หมายเหตุุ รวมค่่าใช้จ้ ่า่ ยกิจิ กรรมเสริมิ ความเป็น็ ครููและการนิิเทศในสถานศึกึ ษาแล้้ว

2. อััตราค่า่ เล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่า่ ยต่อ่ ภาคการศึึกษา ไม่่รวมค่่าใช้้จ่่าย ดัังต่่อไปนี้้�
- ค่่าหนัังสือื เอกสารประกอบวิชิ าเรีียน
- ค่า่ ศึึกษาดูงู าน (ถ้า้ มีี)
- ค่่าธรรมเนีียมและค่า่ ใช้้จ่่ายอื่น� ๆ ที่่เ� ป็น็ ไปตามประกาศสถาบััน

2-9

แผนการศึกึ ษา

ปีีการศึึกษาที่่� 1

ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึกึ ษาที่่� 2

รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิติ รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

2581901 ค่า่ นิิยม อุดุ มการณ์แ์ ละจิติ วิิญญาณ 3 2581906 นวััตกรรมการเรีียนรู้�เพื่่�อพัฒั นา 3
แห่่งความเป็น็ ครูู ผู้�้เรียี นในอนาคต 3
3 3
2581902 จิติ วิทิ ยาเพื่่�อพัฒั นาผู้�เ้ รียี น 2581907 ภาษาเพื่่�อการสื่อ� สารสำหรัับครูู 3
สู่�ความเป็น็ พลเมือื งดิิจิทิ ัลั 3 3
2581908 การวัดั และประเมินิ ผลการเรียี นรู้�
2581903 ศาสตร์ก์ ารสอนและวิธิ ีีวิทิ ยาการ 3 15
จััดการเรีียนรู้�เชิงิ สร้้างสรรค์์ 2581909 การวิจิ ัยั เพื่่�อพัฒั นาการเรีียนรู้�
3 ในยุุคดิิจิิทััล
2581904 การพัฒั นาหลักั สููตรเพื่่�อผู้�เ้ รีียน
ในอนาคต 1 2581952 การปฏิบิ ัตั ิิการสอนในสถานศึึกษา 1
(ไม่น่ ัับ
2581905 คุุณธรรมจริยิ ธรรม จรรยาบรรณ หน่่วยกิติ )
วิชิ าชีพี ครูู 15

2581951 การฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิวิ ิิชาชีพี ระหว่า่ งเรียี น

รวม รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศึึกษาที่�่ 1

รหััสวิชิ า รายวิชิ า หน่่วยกิติ

2581953 การปฏิบิ ัตั ิกิ ารสอนในสถานศึกึ ษา 2 3
รวม 3

สามารถศึึกษาข้อ้ มููลหลัักสููตรเพิ่่�มเติิมได้้ที่่�

http://202.28.55.154/checo/UnivSummary2.aspx?id=T20212153103554&b=0&u=25000&y=%20%20%E0%B8%8B
%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87

2-10

หลักั สููตรศึกึ ษาศาสตรมหาบัณั ฑิิต

สาขาวิิชาการจัดั การการศึึกษาและความเป็น็ ผู้้�นำำ�

Master of Education (Educational Management and Leadership)

ชื่่อ� ปริญิ ญา

ภาษาไทย (ชื่่�อเต็ม็ ) : ศึึกษาศาสตรมหาบัณั ฑิิต
(การจััดการการศึึกษาและความเป็น็ ผู้น�้ ำ)
(อัักษรย่่อ) : ศษ.ม. (การจัดั การการศึกึ ษาและความเป็น็ ผู้�น้ ำ)
ภาษาอังั กฤษ (ชื่่�อเต็ม็ ) : Master of Education
(Educational Management and Leadership)
(อักั ษรย่่อ) : M.Ed. (Educational Management and Leadership)

หมายเหตุุ: สำนัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาวิทิ ยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม (สป.อว.) รัับทราบ
หลักั สููตรเมื่่�อ 11 มกราคม 2564 และคุรุ ุุสภา รับั รองหลัักสูตู ร เมื่่อ� 31 พฤษภาคม 2564

จุุดเด่น่ ของสาขาวิชิ า / หลักั สููตร

1. เรียี นรู้้�กับั มือื อาชีีพด้า้ นบริหิ ารการศึกึ ษาตััวจริงิ
2. เรียี นรู้�ควบคู่่�กัับการลงมืือปฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ ตามแนวคิิด Work-based Education
3. ศึึกษาดูงู านในสถานศึึกษาและองค์์กรธุุรกิิจชั้�นนำระดับั สากล
4. สร้้างเครือื ข่า่ ยกับั ผู้้�บริหิ ารการศึึกษาและองค์์กรชั้�นนำที่่�มีชีื่�อเสีียง
5. สนัับสนุุนการเรีียนการสอนโดยองค์์กรธุุรกิิจที่่�เชี่ �ยวชาญการบริิหารจััดการระดัับโลก

บริิษััท ซีพี ีี ออลล์์ จำกััด (มหาชน)
6. สำเร็จ็ การศึึกษาได้ภ้ ายใน 2 ปีี ด้้วยงานวิจิ ััยที่่�พร้้อมนำไปใช้จ้ ริงิ

2-11

ผลลััพธ์์การเรีียนรู้้�ของหลักั สููตร

1. มีีจิิตสำนึึกและตระหนัักในการปฏิิบััติิตามจรรยาบรรณวิิชาชีีพ สามารถ
จัดั การเกี่ย� วกับั ปัญั หาทางคุณุ ธรรม จริยิ ธรรมที่่ซ� ับั ซ้อ้ นในบริบิ ททางวิชิ าการ
หรือื วิิชาชีพี

2. มีีความรัับผิิดชอบต่่อตนเองและสัังคม สามารถจััดการกัับปััญหาโดยใช้้
ดุลุ ยพิินิิจอย่่างผู้้�รู้�ด้วยความยุตุ ิธิ รรม ด้ว้ ยหลัักฐาน ด้้วยหลักั การที่่ม� ีเี หตุผุ ล
และค่า่ นิยิ มอันั ดีีงาม แสดงออกหรือื สื่อ� สารข้อ้ สรุุปของปััญหาโดยคำนึึงถึงึ

ด้า้ นคุณุ ธรรม จริยิ ธรรม ความรู้้�สึึกของผู้้�อื่�นที่่จ� ะได้้รัับผลกระทบ
3. สามารถทบทวนและแก้้ไข สนัับสนุุนให้้ผู้้�อื่�นใช้้ดุุลยพิินิิจทางด้้านคุุณธรรม
จริยิ ธรรมในการจัดั การกับั ความขัดั แย้ง้ และปัญั หาที่่ม� ีผี ลกระทบต่อ่ ตนเอง
และผู้้�อื่�น
4. การสร้า้ งองค์ก์ รตามหลักั คุณุ ธรรมและหลักั ธรรมาภิบิ าล แสดงออกซึ่ง� ภาวะ
ผู้น้� ำ ในการส่ง่ เสริมิ ให้ม้ ีกี ารประพฤติปิ ฏิบิ ัตั ิติ ามหลักั คุณุ ธรรม จริยิ ธรรมใน
ที่่�ทำงานและในชุมุ ชนที่่ก� ว้้างขวางขึ้�น

1. มีีความรู้�ตามหลัักการ ทฤษฎีีในสาขาวิิชาการบริิหารศึึกษาสามารถพััฒนา
นวััตกรรมหรืือสร้้างองค์์ความรู้ �ใหม่่จากความเข้้าใจอย่่างถ่่องแท้้และลึึกซึ้ �ง
ในองค์์ความรู้�ที่เ� ป็น็ แก่น่ และแนวคิดิ ที่่เ� ป็น็ รากฐาน

ด้า้ นความรู้�้ 2. มีคี วามรู้�และเข้า้ ใจในการบูรู ณาการศาสตร์ก์ ารบริหิ ารการศึกึ ษา นวัตั กรรม
การศึกึ ษาและศาสตร์ส์ าขาอื่น� ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง ทันั สมัยั ต่อ่ ข้อ้ มูลู ข่า่ วสารและการ
เปลี่ย� นแปลงที่่เ� ป็น็ ปัจั จุบุ ััน วิิเคราะห์ป์ ระเด็น็ ปัญั หาสำคััญที่่�จะเกิิดขึ้น�

3. มีีความรู้ �ซึ่ �งเป็็นที่่�ยอมรัับในสาขาวิิชาการบริิหารการศึึกษาได้้อย่่างชาญ
ฉลาด เทคนิิคการวิิจััยและพัฒั นา มีีความเข้้าใจอย่า่ งลึกึ ซึ้ง� และกว้า้ งขวาง
เกี่�ยวกับั แนวปฏิบิ ััติิที่่เ� ปลี่�ยนแปลงในวิิชาชีีพทั้้�งในระดัับชาติิและนานาชาติิ

4. มีีการพััฒนาศาสตร์์หรืือสาขาอื่�นที่่�เกี่�ยวข้้อง อัันเนื่่�องมาจากผลกระทบต่่อ
สาขาวิชิ าชีีพการบริิหารการศึึกษา

1. สามารถค้น้ หาข้อ้ เท็จ็ จริงิ สรุปุ ทำความเข้า้ ใจอันั ถ่อ่ งแท้ใ้ นทฤษฎีกี ารบริหิ าร
การศึกึ ษาและศาสตร์์ที่่�เกี่�ยวข้้อง

ด้้านทักั ษะทางปััญญา 2. สามารถศึกึ ษาวิเิ คราะห์์ปััญหา เทคนิิคการแสวงหาความรู้�ในการวิเิ คราะห์์
ประเด็น็ และปัญั หาสำคัญั ได้อ้ ย่า่ งสร้า้ งสรรค์์ และพัฒั นาแนวทางการแก้ไ้ ข
ปัญั หาด้้วยวิธิ ีีการใหม่ๆ่

3. สามารถสังั เคราะห์ผ์ ลงานการวิจิ ัยั และทฤษฎีเี พื่่อ� พัฒั นาความรู้�ความเข้า้ ใจ
ใหม่ท่ ี่่ส� ร้้างสรรค์์ โดยบููรณาการแนวคิดิ ต่า่ ง ๆ ทั้้ง� จากภายในและภายนอก
สาขาวิิชาที่่ศ� ึกึ ษาในขั้น� สููง

4. สามารถออกแบบและดำเนิินการโครงการวิิจััยที่่�สำคััญในเรื่ �องที่่�ซัับซ้้อนที่่�
เกี่ย� วกับั การพัฒั นาองค์ค์ วามรู้�ใหม่่ หรือื ปรับั ปรุงุ แนวปฏิบิ ัตั ิใิ นวิชิ าชีพี อย่า่ ง
มีนี ัยั สำคััญ

2-12

1. มีคี วามสามารถสูงู ในการแสดงความเห็น็ ทางวิชิ าการและวิิชาชีพี

2. สามารถวางแผนวิเิ คราะห์แ์ ละแก้ป้ ัญั หาที่่ซ� ับั ซ้อ้ นสูงู มากด้ว้ ยตนเอง ตลอด
จนวางแผนในการปรับั ปรุุงตนเองและองค์์กรได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ
ด้า้ นทัักษะความสััมพันั ธ์์
ระหว่า่ งบุุคคลและ 3. เป็็นตัวั อย่่างและวางตัวั ได้เ้ หมาะสมกับั บทบาท หน้้าที่่� ความรับั ผิดิ ชอบ

ความรัับผิิดชอบ 4. ร่่วมวางแผน ร่่วมปฏิิบััติิและยอมรัับฟัังความคิิดเห็็นของผู้้�อื่�นสร้้าง
ปฏิิสัมั พัันธ์์ในกิจิ กรรมกลุ่�มอย่า่ งสร้้างสรรค์์

5. แสดงออกถึงึ ความโดดเด่น่ ในการเป็น็ ผู้�้นำในทางวิชิ าการหรือื วิิชาชีีพ และ
สังั คมที่่�ซัับซ้อ้ น

1. สามารถคััดกรองข้้อมููลทางคณิิตศาสตร์์และสถิิติิเพื่่�อนำมาใช้้ในการศึึกษา
ค้น้ คว้า้ ในประเด็น็ ปััญหาที่่�สำคัญั และซัับซ้้อน

ด้้านทักั ษะการวิเิ คราะห์์ 2. สรุปุ ปัญั หาและเสนอแนะแก้ไ้ ขปัญั หาในด้า้ นต่า่ งๆ โดยเจาะลึกึ ในสาขาวิชิ า
เชิิงตััวเลข การสื่อ�่ สาร เฉพาะ
และการใช้้เทคโนโลยีี
3. สามารถสื่อ� สารอย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพด้ว้ ยเทคโนโลยีทีี่่เ� หมาะสมกับั กลุ่�มบุคุ คล
สารสนเทศ ต่่างๆ ทั้้�งในวงการวิิชาการและวิิชาชีีพ รวมถึึงชุุมชนทั่่�วไป สามารถใช้้
เทคโนโลยีีสารสนเทศ ใช้้คอมพิิวเตอร์์ ในการจััดการข้อ้ มูลู ได้้

4. สามารถใช้ภ้ าษาไทยและภาษาอังั กฤษได้ย้ ่า่ งถูกู ต้อ้ งทั้้ง� การพูดู และการเขียี น

5. การนำเสนอรายงานทั้้�งรููปแบบที่่�เป็็นทางการและไม่่เป็็นทางการผ่่านสิ่ �งตีี
พิิมพ์ท์ างวิชิ าการและวิิชาชีพี รวมทั้้ง� วิิทยานิพิ นธ์ห์ รือื การค้้นคว้้าอิสิ ระ

1. มีวี ิสิ ัยั ทัศั น์แ์ ละคุณุ ลักั ษณะของผู้ป้� ระกอบการสถานศึกึ ษาในศตวรรษที่่� 21

2. คิดิ วิเิ คราะห์ท์ ิศิ ทางใหม่ใ่ นการบริหิ ารการศึกึ ษาโดยบูรู ณาการศาสตร์ต์ ่า่ งๆ
จากองค์์ความรู้�ใหม่่ในยุุคดิจิ ิทิ ัลั

ด้า้ นการจัดั การการศึกึ ษา

และความเป็็นผู้้�นำำ� 3. มีีภาวะผู้้�นำที่่�แสดงออกถึึงความโดดเด่่นโดยใช้้ทัักษะการบริิหารจััดการ
องค์ก์ รการศึึกษา

4. สามารถสร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือที่่�เพื่่�อเสริิมสร้้างสมรรถนะองค์์กรและ
คุุณค่่าต่่อสัังคมอย่่างยั่ �งยืืน

2-13

แนวทางการประกอบอาชีีพ

1. ผู้้�บริหิ ารสถานศึกึ ษา ทุกุ ระดับั ของรััฐ และเอกชน
2. นักั บริหิ ารองค์์กรการศึกึ ษา
3. ผู้ป�้ ระกอบการสถานศึกึ ษา
4. นักั วิิชาการ และนักั วิจิ ััยการศึกึ ษา
5. ครูู/อาจารย์์
6. ที่่�ปรึกึ ษาองค์ก์ รทางการศึกึ ษา

รายละเอีียดค่า่ เล่่าเรีียน

1. อััตราค่่าเล่่าเรีียนรวมตลอดหลัักสููตร 186,000 บาท และชำระค่่าเล่่าเรีียนแบบเหมาจ่่ายต่่อภาคการศึึกษา
ในอััตรา 46,500 บาท ตามแผนการเรีียนปกติิ 4 ภาคการศึึกษา

2. อัตั ราค่า่ เล่า่ เรีียนแบบเหมาจ่่ายต่อ่ ภาคการศึกึ ษา ไม่ร่ วมค่่าใช้้จ่่าย ดังั ต่่อไปนี้้�
- ค่่ารายวิชิ าปรัับพื้้น� ฐาน
- ค่่าศึึกษาดูงู านต่า่ งประเทศ (ถ้า้ มีี)
- ค่่าหนังั สือื เอกสารประกอบวิิชาเรียี น
- ค่า่ ธรรมเนีียมการสอบดุษุ ฏีนี ิิพนธ์/์ วิิทยานิพิ นธ์์/การศึึกษาค้น้ คว้า้ อิิสระ/การสอบประมวลความรู้�

(กรณีีสอบซ้้ำ) และค่่าธรรมเนีียมอื่�นๆ ที่่�เป็็นไปตามสถาบััน
- ค่า่ ใช้้จ่่ายอื่น� ๆ ที่่�เป็็นไปตามประกาศสถาบััน

2-14

แผนการศึกึ ษา

1. สำำ�หรัับนัักศึึกษา แผน ก แบบ ก 2
ปีีการศึึกษาที่่� 1

ภาคการศึกึ ษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่�่ 2

รหััสวิิชา รายวิิชา หน่ว่ ยกิติ รหัสั วิชิ า รายวิชิ า หน่่วยกิิต

2572701 การบริิหารการศึึกษาเปรีียบเทีียบ 3 2572705 ภาวะผู้น�้ ำในยุคุ ดิจิ ิทิ ััล 3
เพื่่�อการจััดการสถานศึึกษายุคุ ใหม่่ 3 เพื่่�อการบริิหารการศึกึ ษา 3
3 3
2572702 การจััดการองค์์กรทางการศึกึ ษา 3 2572706 การบริิหารธุุรกิิจการศึกึ ษา 3
สู่ �ความเป็็นเลิศิ ในศตวรรษที่่� 21 3
12 15
2572703 แนวโน้ม้ นโยบายและกลยุทุ ธ์์การ 2572707 นวััตกรรมการจัดั การศึกึ ษา
บริิหารและการจััดการการศึกึ ษา ในยุุคดิจิ ิทิ ัลั

2572704 ระเบียี บวิธิ ีวี ิจิ ัยั และสถิิติิ 25737xx วิิชาเลือื ก
ทางการบริหิ ารการศึึกษา

รวม 2572709 การปฏิบิ ัตั ิิการวิิชาชีีพบริิหาร
การศึึกษา
รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึกึ ษาที่�่ 2

รหัสั วิิชา รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต รหััสวิิชา รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต

2572708 สัมั มนาประเด็็นการจัดั การศึกึ ษา 3 2574701 วิทิ ยานิพิ นธ์์ 6
เพื่่�อสร้า้ งผู้�น้ ำแห่ง่ อนาคต
2574701 วิทิ ยานิพิ นธ์์ 6
9
รวม รวม 6

2-15

2. สำ�ำ หรับั นัักศึกึ ษา แผน ข
ปีีการศึกึ ษาที่่� 1

ภาคการศึึกษาที่่� 1 ภาคการศึึกษาที่่� 2

รหััสวิิชา รายวิชิ า หน่ว่ ยกิติ รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิิต

2572701 การบริิหารการศึึกษาเปรีียบเทียี บ 3 2572705 ภาวะผู้�้นำในยุุคดิิจิิทััล 3
เพื่่อ� การจัดั การสถานศึกึ ษายุคุ ใหม่่ 3 เพื่่�อการบริิหารการศึกึ ษา 3
3 3
2572702 การจััดการองค์ก์ รทางการศึึกษา 3 2572706 การบริิหารธุุรกิิจการศึึกษา 3
สู่ �ความเป็็นเลิศิ ในศตวรรษที่่� 21 3
12 15
2572703 แนวโน้้มนโยบายและกลยุุทธ์ก์ าร 2572707 นวัตั กรรมการจัดั การศึกึ ษา
บริหิ ารและการจััดการการศึกึ ษา ในยุคุ ดิิจิทิ ัลั

2572704 ระเบีียบวิิธีวี ิจิ ัยั และสถิติ ิิ 25737xx วิิชาเลืือก
ทางการบริหิ ารการศึึกษา

รวม 2572709 การปฏิิบัตั ิกิ ารวิิชาชีพี บริหิ าร
การศึกึ ษา
รวม

ปีกี ารศึกึ ษาที่่� 2

ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่�่ 2

รหัสั วิชิ า รายวิิชา หน่ว่ ยกิติ รหััสวิชิ า รายวิิชา หน่่วยกิิต

2572708 สััมมนาประเด็็นการจัดั การศึกึ ษา 3 25737xx วิชิ าเลืือก 3
เพื่่�อสร้า้ งผู้�้นำแห่ง่ อนาคต
25737xx การค้น้ คว้า้ อิิสระ 3
2574702 วิิชาเลือื ก 3 2574702

การค้น้ คว้้าอิสิ ระ 3

รวม 9 รวม 6

สามารถศึกึ ษาข้อ้ มููลหลัักสููตรเพิ่่�มเติิมได้้ที่่�
http://202.28.55.154/checo/UnivSummary2.aspx?id=25592501100126_2105_IP&b=0&u=25000&y=

2-16

ส่ว่ นที่่� 3

รอบรู้�้ “พีี ไอ เอ็ม็ (PIM)”

3-1

รู้้�รอบ..ขอบชิิด
PIM : แจ้ง้ วััฒนะ

ที่ต่� ั้้ง� และการเดินิ ทาง

PIM (พีไี อเอ็ม็ ) ตั้�งอยู่่�บนถนนแจ้ง้ วัฒั นะ (ฝั่่ง� ขาออก มุ่�งหน้้าไป
ยัังห้้าแยกปากเกร็็ด) การเดินิ ทางมายังั PIM ทำได้้โดย

รถสองแถวนนทบุุรีี
สายท่า่ น้้ำนนท์์ - หน้้าเมือื งทองธานีี –
วััดสาลีโี ข

รถตู้�้โดยสารประจำำ�ทาง รถประจำำ�ทาง
สายมีนี บุุรีี-ปากเกร็็ด สาย 166 (อนุสุ าวรียี ์ช์ ัยั สมรภูมู ิิ - เมือื งทอง
สายอนุุสาวรีีย์ช์ ัยั สมรภููมิิ – ปากเกร็ด็ ธานี)ี
สายรังั สิติ – ปากเกร็็ด สาย 356
สายจตุจุ ัักร – ปากเกร็ด็
สายบางกะปิิ – ปากเกร็ด็ • สายปากเกร็็ด – สะพานใหม่่
สาย ม.รามคำแหง – ปากเกร็ด็ • สายปากเกร็ด็ – ดอนเมือื ง – สะพานใหม่่
สาย 51 (ปากเกร็็ด – ม.เกษตรศาสตร์)์
สาย 52 (ปากเกร็ด็ – จตุุจักั ร)
สาย 150 (ปากเกร็ด็ – Happy Land)
สาย 391 (ลาดหลุุมแก้้ว – เมือื งทองธานี)ี

3-2

รถไฟฟ้้าสายสีีชมพูู สถานีีศููนย์์ราชการนนทบุุรีี – เชื่อ� มรถไฟฟ้้าสายสีีม่่วง (บางใหญ่-่ เตาปูนู -ราษฎร์์บูรู ณะ)
** มีีแผนเปิดิ ให้้บริิการ ...
สถานีกี รมชลประธาน
พ.ศ.2565 สถานีปี ากเกร็ด็
สถานีีเลี่�ยงเมือื งปากเกร็็ด
โครงข่า่ ยระบบรถไฟฟ้้า สถานีีแจ้ง้ วััฒนะ – ปากเกร็ด็ 28 (เดิินมา PIM เพีียง 300 เมตร)
ขนส่ง่ มวลชน สถานีเี มือื งทองธานีี (เดิินมา PIM ประมาณ 500 เมตร)
สถานีีศรีีรัชั (ส่ว่ นขยายรถไฟฟ้้าสีชี มพููเชื่อ� มต่่อเข้้าเมือื งทองธานีี: ให้้บริิการ พ.ย. 2565)
ในเขตกรุุงเทพและปริิมณฑล : สถานีีแจ้้งวััฒนะ 14
สถานีีศูนู ย์์ราชการเฉลิมิ พระเกียี รติิ
https://cdn-cms.pgimgs.com/ สถานีีทีีโอทีี
static/2019/07/map-bangkok- สถานีีหลักั สี่� – เชื่่�อมรถไฟฟ้า้ สายสีีแดง (บางซื่อ�่ – รัังสิติ )
สถานีีราชภััฐพระนคร
metro-system.pdf สถานีวี ัดั พระศรีมี หาธาตุุ – เชื่่อ� มรถไฟฟ้า้ สายสีเี ขียี ว (สยาม - หมอชิติ – สะพานใหม่่
– คูคู ต)

สถานีมี ีีนบุรุ ีี

หมายเหตุุ: รถไฟฟ้้าสายสีชี มพูใู ห้้บริกิ าร : เฟสแรกเดือื นมิิถุุนายน 2565 >> สถานีีมีีนบุรุ ีี – สถานีีศููนย์์ราชการเฉลิิมพระเกีียรติิ
เฟสสองเดือื นสิิงหาคม 2565 (ให้้บริกิ ารผ่่านหน้้า PIM) >> สถานีีมีีนบุรุ ีี – สถานีกี รมชลประทาน
เฟสสาม (เต็ม็ รููปแบบ) เดือื นกรกฎาคม 2566 (ให้บ้ ริกิ ารผ่่านหน้า้ PIM) >> สถานีมี ีนี บุรุ ีี – สถานีศี ูนู ย์ร์ าชการนนทบุรุ ีี

3-3

รอบบ้้าน PIM : แจ้้งวัฒั นะ

ในรั้้�ว PIM แจ้้งวัฒั นะ นัักศึกึ ษาจะเห็น็ พื้้�นที่่�และอาคารมากมาย เราเรียี กพื้้�นที่่�นี้้�ว่า่ “ธาราพาร์์ค” ซึ่่�งมีบี ริษิ ััท
องค์์กรต่่างๆ ทำงานอยู่�ในพื้้�นที่่น�ี้� เช่น่ บริษิ ััท ซีพี ีี ออลล์์ จำกััด (มหาชน) บริิษััท ปััญญธารา จำกัดั บริิษััท ออลล์์ เทรน
นิ่่ง� จำกัดั โรงเรียี นสาธิติ สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ และสถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ เรามาทำความรู้จ� ักั พื้้�นที่่�
ธาราพาร์ค์ และอาคารต่่างๆ กันั

1 อาคาร The TARA อาคารสำนัักงานของบริษิ ัทั ซีีพีี ออลล์์ จำกััด (มหาชน)

2 อาคาร ธารา 1 อาคารสำนัักงานของ บริิษััท โกซอฟท์์ (ประเทศไทย) จำกััด
และหน่ว่ ยงาน Call Center

3 อาคาร ปััญญธารา 1 อาคารสำนัักงานและศูนู ย์ฝ์ ึกึ อบรมบริิษัทั ปััญญธารา จำกัดั
4 อาคาร ปััญญธารา 2 บริิษัทั ออลล์์ เทรนนิ่่ง� จำกัดั
5 อาคาร The Park ร้้าน Bellinee’s Bake & Brew และ Co-Working Space

อบราิคษิ ัาทั รสอำอนลัลัก์ง์ เาทนรแนนลิ่ะ่ง� ศูจูนยำ์กัฝ์ ดัึกึ อร้้าบนรม7บ-EริLษิ EััทVEปnัญั แญลธะาร้ร้าานจSำhกัoัดp at

24
อาคารจอดรถ 1,000 คััน (มีีค่่าบริกิ าร)
ภายในมีีศูนู ย์์อาหาร Food World

6 โรงเรียี นสาธิิตสถาบันั การจััดการปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์ โรงเรีียนระดัับมััธยมศึกึ ษาตอนต้้นและตอนปลาย
(สาธิติ พีีไอเอ็ม็ )

7 อาคาร Food Technology อาคารสำนัักงานของบริิษััท ซีีพีี ออลล์์ จำกััด (มหาชน)
และ Food Academy สถาบันั สอนทำอาหารครบวงจร
8 Chef’s Kitchen และร้้าน 7-ELEVEn
ร้้านอาหารและร้้าน 7-ELEVEn

9 สถาบันั การจัดั การปัญั ญาภิิวัฒั น์์ อาคารสำหรัับการเรีียน การฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ การทำกิจิ กรรม
คณะวิิชาและหน่ว่ ยงานต่่างๆ ใน PIM

10 ลานธาราสแควร์์ ลานอเนกประสงค์์
และสามารถจอดรถยนต์แ์ ละรถจัักรยานยนต์์ (มีคี ่า่ บริกิ าร)

3-4

อาคารเรีียน

อาคาร 1 (อาคารอำ�ำ นวยการ) อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy)

ชั้�น 1 : ห้้องปฏิิบััติิการคณะวิิศวกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี ชั้น� 7 : ห้้องเรียี น สำนัักกิิจการนัักศึกึ ษา
ห้้องรัับฟัังและให้ค้ ำปรึกึ ษาโดยนักั จิติ วิิทยา และสำนักั พััฒนานัักศึกึ ษา
(Friends Care PIM) ชั้�น 8 : หห้้้อ้องงเปรีฏยี ินบิ ัตั ิหกิ้อ้ างรเหรียีมนากอัลัจ้้อฉรมิยิ แะลSะmร้้าaนrt7C-lEaLsEsrVoEonm
ชั้�น 2 : ห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ ารต่า่ งๆ
ชั้�น 3 : ห้อ้ งละหมาด และห้อ้ งปฏิิบััติิการต่า่ งๆ (PIM Store Model)
ชั้น� 9 : ห้้องพักั อาจารย์ค์ ณะอุุตสาหกรรมเกษตร
คณะนิิเทศศาสตร์์ คณะการจัดั การการศึึกษา
อาคาร 2 (อาคาร Convention Hall) เชิงิ สร้้างสรรค์์ คณะเกษตรนวัตั และการจัดั การ
และคณะการจัดั การธุรุ กิิจอาหาร
ชั้�น 1 : โถงกิิจกรรม ร้า้ นค้้าจำหน่า่ ยอาหารและสินิ ค้า้ ทั่่�วไป ชั้�น 10 : ห้้องพัักอาจารย์ค์ ณะบริิหารธุุรกิิจ คณะวิทิ ยาการ
PIM Smart Shop และ PIM Souvenir Shop จััดการ คณะการจัดั การโลจิสิ ติกิ ส์์และ
การคมนาคมขนส่่ง วิทิ ยาลััยนานาชาติิ
ชั้�น 2 : ห้อ้ งเรีียน
ชั้�น 3 : ห้้องละหมาด และห้้องประชุุม/สัมั มนา

อาคาร 3 (อาคารอเนกประสงค์์) และวิิทยาลััยบัณั ฑิิตศึึกษาจีีน
ชั้�น 11 : ห้้องพัักอาจารย์์คณะศิลิ ปศาสตร์์
ชั้�น 1 : ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการต่า่ งๆ คณะวิศิ วกรรมศาสตร์์และเทคโนโลยีี
ชั้น� 2 : ห้้องพยาบาล และสำนักั งานต่่างๆ และสำนัักการศึกึ ษาทั่่ว� ไป
ชั้�น 3 : ห้อ้ งเรีียน ห้้องปฏิบิ ััติกิ าร และห้อ้ งบััณฑิิตศึกึ ษา ชั้�น 12 : ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการต่่างๆ สำนัักเทคโนโลยีสี ารสนเทศ

และห้อ้ งพักั อาจารย์ค์ ณะวิทิ ยาการจััดการ
อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy) สาขาวิชิ าการจัดั การการบริกิ ารและการท่อ่ งเที่่�ยว
ชั้�น 12A : ห้อ้ งสมุุด (PIM Creative Learning Space)
ชั้น� G : ร้า้ นถ่่ายเอกสาร ร้า้ น 7-ELEVEn ชั้น� 14 : สำนัักส่ง่ เสริิมวิชิ าการ สำนัักบัญั ชีแี ละการเงิิน
ชั้�น L : ศููนย์์รัับสมัคั รนัักศึึกษา และพื้้น� ที่่อ� ่า่ นหนัังสือื
ชั้�น M : ศููนย์์ปฏิบิ ััติิการธุรุ กิิจการบิิน (PIM AIR) ชั้น� 16 : ห้อ้ งประชุุม Auditorium
ชั้น� 3 : ศูนู ย์อ์ าหาร Food World
ชั้น� 4 : ห้อ้ งเรียี น และห้้องปฏิบิ ัตั ิิการภาคพื้้น�
ชั้�น 5-6 : ห้อ้ งเรียี น

3-5

ห้้องเรีียน และห้อ้ งปฎิบิ ััติิการต่า่ งๆ
ห้้องเรีียนอััจฉริยิ ะ Smart Classroom

ห้้อง 4-0806
ห้อ้ งเรียี นในยุคุ ใหม่่ ที่่ส� ่่งเสริมิ กิิจกรรมการเรีียนการสอนด้้วย
เทคโนโลยีีที่่�หลากหลาย ให้้เป็น็ มากกว่่าห้อ้ งเรียี นทั่่�วไป

ห้อ้ งหมากล้อ้ ม GO Classroom

ห้้อง 4-0808
พัฒั นาเชาว์ป์ ััญญา ฝึึกทัักษะการบริหิ ารและวางกลยุทุ ธ์ผ์ ่า่ น
การเล่น่ หมากล้อ้ ม (โกะ)

ห้้องปฏิิบััติกิ ารด้า้ นภาษาและคอมพิวิ เตอร์์

Computer & Sound Lab
ห้้อง 1-0301, 1-0303, 3-0309, 3-0310,

4-1204, 4-1205, 4-1209 และ 4-1210
เรียี นรู้�การใช้้เทคโนโลยีี ทักั ษะทางคอมพิิวเตอร์์และภาษาต่่างประเทศ

ร้า้ น 7- ELEVEn (PIM Store Model)
แ7ห้-ลอ้ EะงLนEั4กัV-ศE0ึกึn8ษ0จา7สำลามอางรหถ้อ้ซื้งอ� เสรีิยีนิ นค้ราู้้�กในาร7จั-ดัEกLาEรVธEุรุ nกิจิ นีก้้ไ� าด้รจ้ ค้ริา้ งิ สอมีกีัยั ด้ใว้หยม่่

Distance Learning Studio

ห้้อง 4-1208
ห้อ้ งสตูดู ิโิ อสำหรับั ถ่า่ ยทำวิดิ ีโี อ จัดั กิจิ กรรมสัมั มนาออนไลน์์
หรือื ฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิใิ นการเป็น็ ผู้ด�้ ำเนินิ รายการ

3-6

PIM AIR
ศููนย์์ฝึึกปฏิบิ ััติิการธุุรกิิจการบิิน

Sky Terminal ห้อ้ ง 4-M001
AIRCRAFT ห้้อง 4-M002
ศูนู ย์์ฝึกึ การบริิการภาคพื้้น� และบนเครื่อ� งบิิน

ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการภาคพื้้�น

ห้้อง 4-0408
เรียี นรู้�การจัดั การจราจรทางอากาศ การจััดการสนามบินิ
การจัดั การอำนวยการบิิน และการขนส่่งสินิ ค้้า (Cargo)

ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการด้้านสื่่อ� และมััลติมิ ีีเดียี

Convergent Media Studio
ห้้อง 4-1206
เรียี นรู้�การปฏิิบัตั ิิการข่า่ ว ผลิติ ข่า่ วตอบโจทย์ท์ ุุก Platform
ครบเครื่�องผู้้น� ำ Convergent Media

Mac Lab

ห้้อง 4-1207
เรีียนรู้�ปฏิบิ ัตั ิิการสื่อ� กราฟิิกและมััลติมิ ีีเดียี เติมิ ทัักษะ ตอบโจทย์์
Multi Skill

ห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารกลยุุทธ์ก์ ารจัดั การโลจิสิ ติกิ ส์์

Logistic Strategic Management Lab
ห้อ้ ง 1-0201
เรีียนรู้�การใช้โ้ ปรแกรมคอมพิิวเตอร์ใ์ นการจัดั การคลังั สินิ ค้้า การจััดการขนส่ง่
และจำลองสถานการณ์ต์ ่า่ งๆ ผ่า่ นระบบสารสนเทศภูมู ิศิ าสตร์์ (GIS)

3-7

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารด้านการโรงแรม (Hospitality Lab)

Deluxe Room Mock-up

ห้้อง 1-0204
เรียี นรู้�เทคนิิคปฏิบิ ัตั ิิการด้า้ น Housekeeping
สำหรับั โรงแรมระดัับ 5 ดาว

Culinary and Restaurant Mock-up

ห้อ้ ง 1-0204
เรีียนรู้�ปฏิบิ ัตั ิกิ ารด้า้ นการครัวั

Mixology Mock-up

ห้้อง 1-0206
เรียี นรู้�การปฏิบิ ััติิการและการตกแต่่งเครื่อ� งดื่�มประเภทต่า่ งๆ
เช่่น Cocktail, Mocktail

ห้องปฏิบัตกิ ารดา้ นอาหาร เบเกอรแี่ ละเครอื่ งดื่ม

นำความรู้�ภาคทฤษฎีดี ้า้ นการจััดการธุุรกิจิ อาหารมาฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิ
(Work-base Education : WBE) เพื่่อ� สร้า้ งทักั ษะ (Skill)
ให้้พร้้อมสำหรับั การทำงานจริิง

Cooking Lab

ห้อ้ ง 3-0112

Coffee and Beverage Lab

ห้้อง 3-0113

Bakery Lab

ห้อ้ ง 3-0114

Sensory Evaluation and Consumer Research Center

ห้้อง 2-0238

3-8

ห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารทางวิทิ ยาศาสตร์์

Physical and
Innovative Agricultural Lab

ห้อ้ ง 3-0101
ปฏิบิ ััติกิ ารทดลองทางด้้านชีีววิทิ ยา จุลุ ชีีววิทิ ยา และสุุขภาพพืชื

Chemical Lab

ห้อ้ ง 3-0111
ปฏิบิ ััติกิ ารทดลองเกี่�ยวกัับกลไกของปฏิกิ ิิริิยาเคมีที ี่่บ� ููรณาการศาสตร์์
ทางด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์์ อาทิิ ศาสตร์ท์ างด้า้ นการเกษตรและวิศิ วกรรม

ห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ ารทางวิิศวกรรมศาสตร์์

Microprocessor and Embedded System Lab
ห้้อง 1-0302
ปฏิบิ ััติิการทดลองผ่า่ นโปรแกรมและวงจรต่่างๆ เพื่่�อปูพู ื้้น� ฐานกระบวนการคิดิ ที่่�
เป็น็ ระบบและมีเี หตุผุ ล เพื่่อ� สร้้างสมองกลหรืือคอมพิิวเตอร์ข์ นาดเล็็ก
Advanced Research Lab
ห้อ้ ง 1-0308
Research Factory: Experimenting, Sharing and Learning

Mechanical Engineering Lab
ห้อ้ ง 3-0105 และ 3-0106
เรียี นรู้�การคำนวณด้า้ นเครื่�องกล เพื่่�อนำไปใช้ใ้ นชีีวิิตประจำวััน
Industrial Engineering Lab
ห้อ้ ง 3-0107
เรียี นรู้�การเคลื่อ� นไหวของร่า่ งกายในขณะทำงาน การหาเวลามาตรฐานในการ
ทำงาน และศึกึ ษาคุณุ ลักั ษณะของวัสั ดุวุ ิศิ วกรรม
Industrial Automation System Lab
ห้อ้ ง 3-0108
ฝีีกปฏิบิ ััติิการเขียี นโปรแกรมควบคุุมเครื่อ� งจักั รแบบอััตโนมัตั ิใิ นโรงงานอุุตสาหกรรม ด้ว้ ยชุุดระบบควบคุุมอัตั โนมััติิ
Programmable Logic Control

3-9

Automotive Information Lab

ห้อ้ ง 3-0102
ปฏิบิ ััติิการเครื่อ� ง 3D Scanner และ 3D Printer
และการใช้โ้ ปรแกรม SolidWork และ CATIA ในการออกแบบ

Automotive Electronics Lab

ห้้อง 3-0103
เรียี นรู้�องค์ป์ ระกอบและกลไกของเครื่อ� งยนต์์ประเภทต่่างๆ

Electronics and Digital Lab

ห้้อง 1-0304
เรียี นรู้�การปฏิิบัตั ิกิ ารวงจรไฟฟ้้า ไฟฟ้า้ สามเฟสและมอเตอร์์
รวมถึงึ วงจรดิิจิิทัลั พื้้�นฐาน
Network Lab
ห้้อง 1-0307
เรีียนรู้�การจััดเก็บ็ ข้อ้ มูลู บน Storage ของ Cloud และระบบเครืือข่า่ ยต่่างๆ
Physics Lab
ห้อ้ ง 1-0305
ปฏิบิ ัตั ิกิ ารทดลองเกี่�ยวกัับพื้้�นฐานทางฟิสิ ิกิ ส์ก์ ลศาสตร์์และฟิิสิกิ ส์ไ์ ฟฟ้า้

Innovation Center for Robotics
and Automation Systems (iCRAS)

ห้อ้ ง 1-0101
เรีียนรู้�การใช้้งานหุ่�นยนต์แ์ ละระบบอัตั โนมัตั ิิ
รวมถึงึ การใช้้เครื่อ� งมืือในการสร้้างชิ้�นส่่วนต่า่ งๆ ของหุ่�นยนต์์

3-10

ปฏิทิ ินิ การศึกึ ษาและรููปแบบการเรีียน

การจัดั การเรียี นการสอนในระดับั บัณั ฑิติ ศึกึ ษา มุ่�งเน้น้ ให้น้ ักั ศึกึ ษาค้น้ คว้า้ วิเิ คราะห์์ วิจิ ัยั แก้ป้ ัญั หาและลงมือื ปฏิบิ ัตั ิริ ่ว่ ม
กับั การนำเสนอ อภิปิ รายและแลกเปลี่ย� นเรียี นรู้�ประสบการณ์ใ์ นชั้น� เรียี น เพื่่อ� ให้น้ ักั ศึกึ ษาทำงานร่ว่ มกันั เป็น็ ทีมี และบริหิ าร
เวลาได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ ตามแผนการเรียี นของแต่ล่ ะหลักั สูตู ร

ทั้้�งนี้้�รายละเอีียดการเรีียนของแต่่ละหลัักสููตรนั้้�นสามารถศึึกษาข้้อมููลเพิ่่�มเติิมได้้ที่่�คู่่�มืือนัักศึึกษาและสอบถามจาก
คณะวิชิ า

หลัักสููตร ปีีการศึกึ ษา 2565 ภาคฤดููร้้อน
ภาคการศึึกษาพิิเศษ ภาคการศึกึ ษาที่�่ 1 ภาคการศึึกษาที่�่ 2 -

C-PhD - เปิดิ ภาคเรีียน 15 ก.ค. 65 เปิิดภาคเรียี น 6 ม.ค. 66 -
C-PhD-Ed
ระยะเวลาเรียี น-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ -
15 ก.ค. 65 – 23 ธ.ค. 65 6 ม.ค. 66 – 9 มิิ.ย. 66 เปิิดภาคเรีียน 10 มิิ.ย. 66

MBA-MTM เปิดิ ภาคเรียี น 4 มิ.ิ ย.65 เปิดิ ภาคเรีียน 3 ก.ย. 65 เปิดิ ภาคเรียี น 4 มีี.ค. 66 ระยะเวลาเรีียน-สอบ
MBA.POS - 10 มิ.ิ ย. 66 – 30 ก.ค. 66
- ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
MCA 3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 4 มีี.ค. 66 – 20 ส.ค. 66 -
EML เปิดิ ภาคเรียี น 3 ก.ย. 65 เปิดิ ภาคเรียี น 4 มี.ี ค. 66
MET/MSIT -
ระยะเวลาเรียี น-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
iMBA 3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 4 มีี.ค. 66 – 20 ส.ค. 66
เปิิดภาคเรียี น 20 ก.ย. 65 เปิิดภาคเรียี น 11 ก.พ. 66

ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
20 ก.ย. 65 – 29 ม.ค. 66 11 ก.พ. 66 – 4 มิิ.ย. 66

C-MBA / C-MA - เปิดิ ภาคเรียี น 8 ก.ค. 65 เปิดิ ภาคเรีียน 6 ม.ค. 66
(แผน ก2 และ ข) ระยะเวลาเรีียน-สอบ ระยะเวลาเรีียน-สอบ
8 ก.ค. 65 – 13 พ.ย. 65 6 ม.ค. 66– 14 พ.ค. 66

GDIP - เปิดิ ภาคเรียี น 3 ก.ย. 65 เปิดิ ภาคเรียี น 4 มี.ี ค. 66

ระยะเวลาเรียี น-สอบ ระยะเวลาเรียี น-สอบ
3 ก.ย. 65 - 19 ก.พ. 66 4 มี.ี ค. 66 – 20 ส.ค. 66

หมายเหตุุ :
- ปฏิิทิินการศึกึ ษาปรับั เปลี่ย� นไปตามการจัดั การเรียี นการสอนของแต่่ละหลักั สููตร
- ดาวน์์โหลดรายละเอีียดปฏิิทิินการศึึกษา ได้้ที่่� https://aa.pim.ac.th/wp/calendar-graduate-th

3-11

เทคโนโลยีีและระบบสนับั สนุนุ นักั ศึกึ ษา
• Single Sign-On

นัักศึึกษาสามารถใช้้คอมพิิวเตอร์์ที่่�จุุดบริิการต่่างๆ ภายใน
สถาบััน และระบบบริิการสารสนเทศสำหรัับนัักศึึกษา เช่่น
เว็บ็ ไซต์บ์ ริกิ ารการศึกึ ษา (http://reg.pim.ac.th) ระบบการเรียี น
การสอนออนไลน์์ PIM Application และระบบอื่่�นๆ โดยใช้้
Username และ Password เดีียวในทุุกระบบ (Single Sign-
On) ที่่�สถาบันั ให้บ้ ริิการ

3-12

• PIM Application

PIM Application เป็น็ แอปพลิเิ คชันั ที่่น� ักั ศึกึ ษาควรติดิ ตั้ง� ในอุปุ กรณ์์ Smart Devices ของตนเอง เพื่่อ� เป็น็ ประโยชน์์
และอำนวยความสะดวกในด้้านต่า่ งๆ ของนัักศึกึ ษา

ตััวอย่่างฟังั ก์ช์ ั่่น� ของ PIM Application เพื่่�ออำ�ำ นวยความสะดวกแก่น่ ัักศึกึ ษา

1. ดููตารางเรียี น ห้อ้ งเรีียน ห้อ้ งสอบ ผลการเรียี น >> ผ่่านเมนูู Academic
2. ยืืนยัันการเข้า้ เรียี น >> ผ่่านเมนูู Check Room Tracking
3. แสดงบััตรนักั ศึึกษา >> ผ่่านเมนููบััตรนักั ศึึกษาอิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์
4. ตรวจสอบอาจารย์ท์ ี่่�ปรึกึ ษาที่่�ดููแล >> ผ่่านเมนูู Advisor
5. ตรวจสอบปฏิิทิินการศึึกษาและกิิจกรรมต่่างๆ >> ผ่่านปฏิทิ ิินกิิจกรรม
6. รับั การแจ้ง้ เตืือนต่่างๆ จากสถาบันั >> ผ่่านเมนูู Notifications
7. เข้า้ ลิงิ ค์์ URL ที่่ส� ำคัญั เช่่น e-Learning, REG (ระบบบริิการการศึึกษา),

แบบคำร้อ้ งออนไลน์,์ บริกิ ารยืืม-คืืนหนังั สือื ห้้องสมุุด เป็็นต้้น

3-13

หมายเหตุุ :

กรณีนี ักั ศึึกษาเปลี่ย� น Smart Devices ที่่ใ� ช้้งาน และต้้องการลง PIM Application ใน Smart
Devices ใหม่่ ให้้ติิดต่่อสำนักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ ชั้น� 12 อาคาร CP ALL Academy หรืือ
ติิดต่อ่ ผ่า่ นทาง Facebook: สำนักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ สถาบันั การจััดการปััญญาภิิวััฒน์์

3-14

• PIM Line Official หรือื PIM CONNECT

PIM CONNECT เป็น็ Line Official ของสถาบันั เพื่่�ออำนวยความสะดวกในการติิดต่่อ สอบถาม ปรึึกษา และ
เข้้าถึงึ ข้้อมูลู และระบบบริิการต่า่ งๆ ของสถาบันั ผ่า่ น Rich Menu ที่่น� ักั ศึึกษาสามารถติดิ ต่อ่ ได้้ตลอดเวลา

3-15

3-16

3-17

3-18

บัตั รนักั ศึกึ ษา

นัักศึึกษาของสถาบััน จะมีีบััตรนัักศึึกษาในรููปแบบของ บััตรอิิเล็็กทรอนิิกส์์ โดยการเปิิดผ่่าน PIM
Application (ผ่า่ นเมนูบู ััตรนัักศึกึ ษาอิิเล็็กทรอนิิกส์์) และ/หรือื PIM CONNECT (PIM LINE Official)
ตั้ง� แต่ว่ ันั แรกที่่ม� าปฐมนิเิ ทศนักั ศึกึ ษาใหม่่ PIM ซึ่ง� สามารถนำบัตั รนักั ศึกึ ษาอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ไ์ ปใช้ใ้ นกิจิ กรรม
ต่่างๆ ทั้้ง� ในและนอกสถาบันั ฯ ดังั นี้้�

1. ใช้้แสดงตนเมื่่อ� ติดิ ต่อ่ กับั สถาบัันฯ หรืือหน่ว่ ยงานต่า่ งๆ
2. ใช้แ้ สดงตนในการเข้้าสอบ
3. ขอใช้บ้ ริกิ ารห้อ้ งสมุดุ เช่น่ ยืมื – คืนื หนังั สืือและทรััพยากร

ในห้อ้ งสมุุด PIM
4. ใช้เ้ ป็น็ หลัักฐาน (ตัวั จริงิ หรือื สำำ�เนาบัตั รนัักศึกึ ษา) ในการขอรัับ

บริกิ ารอื่่�นๆ หรืือเบิกิ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยของสถาบััน

ทั้้ง� นี้้ห� ากนักั ศึกึ ษามีปี ัญั หาในการแสดงผลบัตั รนักั ศึกึ ษาอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ผ์ ่า่ น PIM Application
และ/หรือื PIM CONNECT (PIM LINE Official) กรุณุ าติดิ ต่อ่ สำนัักเทคโนโลยีีสารสนเทศ ชั้น� 12
อาคาร CP ALL Academy หรือื ติดิ ต่อ่ ผ่า่ นทาง Facebook: สำนักั เทคโนโลยีสี ารสนเทศ สถาบันั
การจัดั การปัญั ญาภิวิ ัฒั น์์

อย่่างไรก็็ตามหากนัักศึึกษาต้้องการใช้้งานบััตรนัักศึึกษาในรููปแบบการ์์ดแข็็ง สามารถทำได้้
โดยติิดต่่อสำนักั ส่่งเสริมิ วิชิ าการและไม่่เสียี ค่า่ ธรรมเนีียมในการทำครั้�งแรก

บัตั รนักั ศึกึ ษาอิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์ ์ 0 2855 0386
บัตั รนักั ศึกึ ษาแบบการ์ด์ แข็็ง

3-19

มาเรีียนที่�่ PIM
• ดููตารางเรีียน

นักั ศึกึ ษาสามารถดูตู ารางเรียี นได้ด้ ้ว้ ยตนเอง ผ่า่ น PIM Application และ/หรือื PIM CONNECT (PIM LINE Official)
เพื่่�อเชื่�อมโยงเข้้าสู่�ระบบ REG (ระบบบริกิ ารการศึึกษา >> http://reg.pim.ac.th) และมีีขั้�นตอนดังั นี้้�

1. Login เข้้าสู่�ระบบ
2. คลิิกปุ่�ม “ตารางเรียี น/สอบ” ที่่เ� มนูดู ้า้ นซ้า้ ย
3. คลิิกเลือื กข้้อมููลที่่�ต้อ้ งการสืืบค้น้ เช่่น ปีีการศึกึ ษาและภาคการศึึกษาที่่ต� ้้องการดูตู ารางเรีียน
ศึกึ ษาวิธิ ีกี ารดููตารางเรียี นแบบละเอียี ดได้้ที่่� >> https://fb.watch/ajxu1GqLG1/

ชื่่�อวิิชา กลุ่่�มที่เ�่ รีียน
ห้อ้ งและเวลาที่เ�่ รีียน

กรณีีมีีข้้อสงสััยเกี่่�ยวกัับ “ตารางเรีียน”
กรุุณาติดิ ต่่อสำำ�นัักส่ง่ เสริิมวิชิ าการ

งานตารางเรียี น
0 2855 1139

3-20

• ตารางหน้า้ ห้อ้ งเรีียน

ทุกุ หน้า้ ห้อ้ งเรียี นจะมีี QR Code ให้น้ ักั ศึกึ ษา Scan เพื่่อ� ดูตู าราง
การใช้้งานของห้้องนั้้�นๆ ในแต่ล่ ะช่่วงเวลา ตรวจสอบเเละป้้องกันั
การเข้า้ ใช้้งานหรือื เข้า้ เรีียนผิดิ ห้้องในแต่ล่ ะคาบการเรีียนได้้

ชื่่อ� วิชิ า (กลุ่่�มเรีียน)
และชื่่อ� อาจารย์ผ์ ู้�ส้ อน

3-21

ศึกึ ษาวิธิ ีกี ารยืนื ยันั การเข้้าเรีียนผ่า่ น PIM Application
ได้้ที่่� >>https://www.youtube.com/watch?v=8Lo-ufOurxU

3-22

3-23

3-24


Click to View FlipBook Version