คมู ือนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
ปก ารศึกษา 2563
สารบัญ
คมู่ อื นกั ศึกษาใหม่
“คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลย”ี
สว่ นที่ 1: สถาบนั เรา “พี ไอ เอ็ม (PIM)” หนา้ สว่ นที่ 4 : รอบรู้ “พี ไอ เอม็ (PIM)” หนา้
ตราสัญลักษณ ์ 4
สีประจำ� สถาบนั 4 ท่ตี ้ังสถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ (PIM) 45
ดอกไมป้ ระจำ� สถาบนั 4 อาคาร ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ 46
ปรชั ญา 5 เทคโนโลยีและระบบสนับสนุนนักศึกษา 52
วิสยั ทศั น์ 5 - Single Sign-On 52
พนั ธกิจ 5 - PIM Application 53
เอกลักษณ์สถาบนั 5 - Wi-Fi PIMHotspot 55
อัตลักษณ์สถาบัน 6 - e-mail 56
คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค์ 6 - Office 365 57
เพลงสถาบัน 8 บัตรนกั ศกึ ษา 58
คณะวิชาต่างๆ ใน PIM 9 ปฏิทนิ การศกึ ษา PIM และรูปแบบการเรียน 59
- คณะวิชาท่เี ปิดสอนที่ PIM 9 การแต่งกาย 60
- คณะวชิ าที่เปิดสอนท่ี PIM EEC 14 เมอ่ื มาเรียนที่ PIM 61
- คณะวิชาทเ่ี ปิดสอนที่หน่วยการเรียนทางไกล 15 - ดตู ารางเรยี น 61
หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องกับนักศึกษา 16 - ตารางหน้าห้องเรียน 62
- การยนื ยนั การเข้าเรยี น 63
สว่ นท่ี 2 : รจู้ กั “สำ� นักการศกึ ษาทวั่ ไป” 19 - PIM e-Learning 64
19 - PIM MOOC 65
ปรัชญาสำ� นกั การศึกษาท่ัวไป 19 คน้ คว้าข้อมูลทห่ี ้องสมดุ PIM 66
วิสัยทศั น์ 19 ใกลส้ อบแลว้ ..ตอ้ งทำ� อย่างไร 68
พนั ธกิจ 20 เกรดออกแลว้ 70
สญั ลักษณ์และสปี ระจำ� ส�ำนกั 20 การยื่นแบบค�ำร้องออนไลน์ 71
บทบาทหนา้ ท่ี ลงทะเบียนเรยี น ประเมินต่างๆ และอืน่ ๆ 73
ศนู ย์พฒั นาทักษะและภาษา เตรียมตวั อย่างไร..เมอ่ื ไปฝึกปฏบิ ัติ 74
มปี ญั หา..ปรกึ ษาใคร 74
สว่ นท่ี 3 : รู้จักคณะเรา 23 - อาจารย์ท่ีปรกึ ษา 75
“วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลย”ี 24 - CCDS 76
25 - Smile Center 76
ปรชั ญา ปณธิ าน วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ คณะ 29 - Friends Care PIM 77
สัญลกั ษณแ์ ละสปี ระจำ� คณะ 33 เข้าภาคเรียนใหม่ต้องทำ� อยา่ งไร 77
หลกั สตู รทเี่ ปิดสอน 37 - ลงทะเบียนเรยี น 78
- หลกั สตู รวิทยาศาตรบัณฑิต 41 - ช�ำระค่าเล่าเรยี นและค่าธรรมเนียมต่างๆ 79
สาขาวชิ าเทคโนโลยีดจิ ิทัลและสารสนเทศ เรียนดี ประพฤตดิ ี มีทุน 80
- หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วนิ ัยนักศกึ ษา 81
วศิ วกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปัญญาประดิษฐ์ ท�ำอย่างไรใหไ้ ด้เกยี รตินยิ ม 82
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต ท�ำอย่างไรไม่ให้ถูก Retire 83
สาขาวชิ าวศิ วกรรมอตุ สาหการ สวสั ดิการสำ� หรับนักศกึ ษา 84
- หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต ชมรมและกจิ กรรมตา่ งๆ 85
สาขาวชิ าวศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ ชิลล์ ฟิน ช๊อป ก๊อปปี้ รแี ลคซ์
- หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ าวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัติ
2
สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ หรอื PIM สถาบันเรา
(พี ไอ เอม็ ) เดมิ ชอื่ สถาบนั เทคโนโลยปี ญั ญา
ภิวัฒน์ เปน็ สถาบนั อดุ มศึกษาทเ่ี ปดิ ดำ� เนนิ “พี ไอ เอ็ม (PIM)”
การเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา ก่อต้ัง
เม่ือวันท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2550 และได้รับ • จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
การรบั รองวทิ ยฐานะเพอ่ื ทำ� การสอนเพอื่ ให้ • จงั หวัดชลบุรี
ปริญญาในชั้นปริญญาตรีและปริญญาโท • จงั หวัดเชยี งใหม่
ตง้ั แต่วนั ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2550 และใน • จงั หวดั ขอนแกน่
ระดับปริญญาเอก ต้ังแต่วันท่ี 1 ตุลาคม • จงั หวดั ลำ� ปาง
พ.ศ.2555 • จงั หวัดนครราชสีมา
การจดั การเรยี นการสอนของสถาบนั มงุ่ เนน้ • จังหวดั นครสวรรค์
การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Work- • จงั หวัดเพชรบุรี
based Education) เพือ่ ให้นักศึกษาได้รับ • จังหวัดสงขลา
ความรู้ (Knowledge) จากในหอ้ งเรยี นและ • จงั หวัดสมทุ รปราการ
สถานประกอบการจริง ดังน้ันนักศึกษา • จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
ระดับปริญญาตรีทุกคนจึงต้องฝึกเตรียม • จังหวัดอดุ รธานี
เขา้ ทำ� งานควบคกู่ บั การเรยี นในทกุ ภาคการ
ศึกษา และเม่ือนักศึกษาส�ำเร็จการศึกษา 3
แล้วจะมีความพร้อมในการท�ำงานจริง
(Ready to work) จากการสั่งสม
ประสบการณ์และทักษะในการท�ำงาน
(Professional Skill) และการด�ำเนินชีวิต
ของตนเองและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืน (Life
Skill and Social Skill) รวมไปถึงการ
พฒั นาความสามารถในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ
(Life Long Learning)
ปัจจุบัน สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน ์
มีการจัดการเรียนการสอนในสถานที่ต่างๆ
คือ
1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน ์
ถนนแจง้ วัฒนะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี
2. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วทิ ยาเขตอีอซี ี อ.สัตหีบ จ.ชลบรุ ี
3. หน่วยการเรียนทางไกล ใน 12 จงั หวดั
ท่ัวประเทศ
ตราสญั ลักษณ์ ช่อมะกอก โล่ ริบบ้ิน
สีประจ�ำสถาบนั หมายถึง ความมีชยั ชนะเหนอื สง่ิ อื่นใด
ดอกไมป้ ระจำ� สถาบนั มงกฎุ
หมายถึง การศกึ ษาแสดงถึงความส�ำเร็จอย่างสงู สุดและยงิ่ ใหญ่
สเี ขยี ว/เหลืองทอง
หมายถึง ความเป็นเลิศทางวิชาการ และความถึงพร้อมด้วย
คณุ ธรรม เป็นหนทางแห่งความเจรญิ รงุ่ เรืองในชีวิต
ชอ่ื สถาบนั มีช่ือสถาบันภาษาอังกฤษ และตัวยอ่ อยูใ่ นโล่
ส่วนชือ่ สถาบนั ภาษาไทยอยใู่ นริบบ้นิ
สเี ขยี ว
หมายถงึ ความเจริญร่งุ เรือง ความงอกงาม ความสมบูรณ์
สีเหลอื งทอง
หมายถงึ ความเปน็ เลิศทางวิชาการและถึงพร้อมด้วยคุณธรรม
สีประจ�ำสถาบนั
หมายถึง ความเป็นเลิศทางวิชาการและความถึงพร้อมด้วย
คณุ ธรรมเป็นหนทางแห่งความเจริญรงุ่ เรอื งในชีวติ
ดอกบัวมงั คลอุบล (มงั -คะ-ละ-อุบล)
ซึ่งเปรียบเสมือนตวั แทนของ
1) ความเพียรพยายาม
2) ความอดทน
3) ความส�ำเรจ็ อันงดงาม
4
ปรัชญา
"การศกึ ษาคือบ่อเกดิ แหง่ ภมู ปิ ญั ญา"
(Education is the Matrix of Intellect)
วสิ ัยทัศน์
“สรา้ งมอื อาชพี ดว้ ยการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พันธกจิ เอกลกั ษณ์สถาบัน
“มหาวทิ ยาลัยแห่งองค์กรธุรกจิ การเป็น Corporate University บนพ้ืนฐานของการ
(Corporate University)” ทมี่ พี นั ธกิจ ดงั น้ี จดั การศกึ ษาแบบ Work-based Education ประกอบดว้ ย
1 สร้างคนท่ีมีคุณภาพและตรงกับความต้องการของภาค 1 การสอนโดยมอื อาชพี (Work-based Teaching) เปน็ การ
ธุรกิจสังคม และประชาคมโลก โดยเน้นการเรียนรู้จาก เรียนภาคทฤษฎคี วบคกู่ บั การเรยี นร้จู ากกรณศี ึกษา จาก
ประสบการณจ์ รงิ (Work-based Education) ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจรงิ ในองคก์ ร เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มทจี่ ะฝกึ
ปฏบิ ัตจิ รงิ
2 ผสมผสานองค์ความรู้เชิงวิชาการและองค์กรธุรกิจเพ่ือ
การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ 2 การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Work-based Learning)
และท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม (Combination of เปน็ การเรยี นรโู้ ดยการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทมี่ กี ารจดั วาง
Academic and Professional Expertise) โปรแกรมครฝู กึ และมรี ะบบการตดิ ตามประเมนิ อยา่ งเปน็
ระบบตามวิชาชีพของหลักสูตร เพ่ือท�ำให้มีการ
3 สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื เพอื่ พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละสง่ บูรณาการระหว่างทฤษฎกี ับภาคปฏิบตั ิอย่างแทจ้ ริง
เสรมิ นวตั กรรม (Collaborative)
3 การวิจัยสู่นวัตกรรม (Work-based Researching)
4 พัฒนาองคก์ รท่ีพรอ้ มรับความเปลยี่ นแปลง และมรี ะบบ เป็นการศึกษาวิจัยของคณาจารย์จากปัญหาวิจัยจริงใน
การบรหิ ารจัดการที่ดี (Transformative Organization องคก์ รทนี่ ำ� ผลการวจิ ยั ไปใชป้ ฏบิ ตั ไิ ดโ้ ดยตรง และนำ� องค์
& Good Governance) ความรใู้ หมๆ่ กลบั มาสกู่ ารเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น
4 มหาวิทยาลัยแห่งการสร้างเครือข่าย (Networking
University) เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ
สถาบนั การศกึ ษา ภาครฐั และเอกชน ทงั้ ในและตา่ งประเทศ
เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการสอน การเรียนรู้
จากการปฏิบตั งิ าน และการวิจยั สู่นวัตกรรม
5
อัตลักษณ์สถาบนั คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทพี่ ึงประสงค์
“บัณฑิตพร้อมท�ำงาน (Ready to Work)” สถาบนั บัณฑติ พรอ้ มท�ำงาน (Ready to Work)
มงุ่ พฒั นานกั ศกึ ษาใหเ้ กดิ พฒั นาการทกุ ดา้ น ไมว่ า่ จะ
เป็นการเรียนรู้เน้ือหาสาระ การฝึกปฏิบัติจริง การ “เรียนเป็น คิดเป็น
ฝกึ ฝนทกั ษะทางสงั คม ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะวชิ าชพี การ ทำ� งานเป็น เนน้ วฒั นธรรม
พัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง และส่งผลให้บัณฑิต
มคี วามพรอ้ มในการทำ� งานไดท้ นั ทเี มอ่ื จบการศกึ ษา รกั ความถูกตอ้ ง”
ซ่ึงจากอัตลักษณ์ดังกล่าวมีการก�ำหนดคุณลักษณะ
บัณฑิตที่พึงประสงค์ของสถาบัน คือ เรียนเป็น ซ่ึงประกอบดว้ ย
(Ability to Learn) คิดเป็น (Ability to Think) 5 Identities
ท�ำงานเป็น (Ability to Work) เน้นวัฒนธรรม 7 Capacities
(Ability to Understand Cultures) รักความ
ถูกต้อง (Ability to Live with Integrity) 11 Qualifications
1 เรยี นเปน็ 5 Identities
2 คิดเป็น
3 • มคี วามใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น สามารถแสวงหาความรไู้ ดด้ ว้ ยตวั เองและ
45 มีความรอบร้ใู นศาสตรส์ าขาวิชา
6 • มคี วามสามารถในการตดิ ตามความกา้ วหนา้ และนำ� เทคโนโลยี
สารสนเทศต่างๆ มาใช้ เพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการ
ทำ� งาน
• มคี วามสามารถในการใชเ้ หตผุ ล สามารถสรปุ ความ รวมทง้ั คดิ
วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้อยา่ งเป็นระบบ
• กล้าคิดอย่างมุ่งมั่น และสามารถผลักดันความคิดและแรง
บนั ดาลใจของตนใหก้ อ่ เกดิ เปน็ ผลงานและนวตั กรรมตา่ งๆ ได้
ท�ำงานเป็น • สามารถวางแผนและปฏบิ ตั งิ านเพ่อื นำ� ไปสู่เปา้ หมายได้
เน้นวฒั นธรรม • สามารถบรู ณาการศาสตรส์ าขาวชิ าตา่ งๆ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการ
ทำ� งานและการด�ำเนนิ ชวี ติ ได้
• มีทักษะในการสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกนั
• มีความภาคภูมิใจ ร่วมสืบสานวัฒนธรรมไทย พร้อมที่จะ
เรยี นรวู้ ัฒนธรรมนานาชาติ
• มีภาวะผู้น�ำ สร้างความน่าเช่ือถือและความไว้ใจ และมี
มนษุ ยสมั พนั ธส์ ามารถทำ� งานเปน็ หมคู่ ณะไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
รักความถกู ตอ้ ง • มวี ินัย มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
• มีจติ สาธารณะ ยืนหยดั ปกปอ้ งในความถูกตอ้ ง และช่นื ชมตอ่
ความดงี ามของผู้อื่น
• บรหิ ารชวี ติ สว่ นตวั และชวี ติ การทำ� งาน เพอ่ื การดำ� รงชวี ติ อยา่ ง
มีคุณภาพ
7 Capacities
สามารถ สามารถต้งั โจทย์
ก�ำหนดกลุ่มเปา้ หมาย รวู้ ่าอะไรเปน็ ปัญหา
ผู้รบั บริการ หรอื ลูกคา้ ได้
หรอื โอกาส
71 สามารถคดิ
วเิ คราะหโ์ จทย์
For What หรือปญั หา
6 Whom
สามารถ Who Why 2
กระจายงานและ
มอบหมายงานได้ Where How สามารถ
เลือกปฏบิ ัติ
5 When 3 ไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี
สามารถบริหาร 4
สถานการณ์ได้
สามารถ
บริหารจัดการเวลาได้
11 Qualifications
1) Communication : มที กั ษะในการติดตอ่ 7) Morality : มีคุณธรรมจริยธรรม รักษา
สอื่ สารทเ่ี หมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ จรรยาบรรณวิชาชีพ และจัดการปัญหาด้าน
2) Socialization Development : รู้จัก คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
หลอ่ หลอมชวี ติ กลอ่ มเกลาตวั เองใหเ้ ขา้ กบั สงั คม 8) Global Vision : มวี สิ ยั ทศั นส์ ากล มองเหน็
อยู่ร่วมข้ามวฒั นธรรมได้ การเปล่ียนแปลงและสามารถปรับตัวให้ทัน
3) Human Relationship : มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ ตอ่ กระแสโลก
ท่ดี ี ยืดหยนุ่ ร้จู ักปรบั ตัวให้เขา้ กับผูอ้ ่ืน 9) Maturity : มีวิจารณญาณ คิดอย่างเป็น
4) Work Ethics : ยดึ ถอื หลกั การ “การทำ� งาน ระบบ และสามารถชนี้ ำ� ตนเองในทางท่ีดไี ด้
คือความดีงามของชีวิต” เพ่ือการท�ำงานที่มี 10) Language, Technology and
ความสขุ และเกดิ ผลิตผลตามตอ้ งการ Financial Proficiency : มที กั ษะดา้ นภาษา
5) Skillful : มีทักษะ ความรู้ และความ เทคโนโลยแี ละขอ้ มลู สารสนเทศ สามารบรหิ าร
เชีย่ วชาญในวชิ าชีพของตัวเอง ด้านการเงนิ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
6) Innovative : มีความคิดสร้างสรรค์และ 11) Leadership Development : มคี วาม
พัฒนางานนวัตกรรมที่สามารถน�ำไปใช้เพ่ือ เป็นผูน้ �ำ เปน็ แบบอย่างและสามารถสรา้ ง
พฒั นาการท�ำงานใหด้ ขี นึ้ แรงบันดาลใจใหก้ ับผอู้ ืน่ ได้
7
เพลงสถาบัน
เพลงประจำ� เพลงมงั คลอุบล
สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ฒั น์
เกิดมาเป็นคน ต้องพร้อมจะอดทนทกุ เร่ืองราว * มงั คลอุบล ดัง่ พวกเราทุกคน
ไมว่ ่าจะดจี ะรา้ ยซกั เท่าไหร่ ตอ้ งมองว่าเป็นบทเรียน หนกั เบาพรอ้ มผจญ งดงามปนเข้มแขง็
สิง่ ท่เี รยี นคือความจ�ำ ส่งิ ทที่ ำ� คอื ความจรงิ ใต้เงาหูกระจง แผก่ ง่ิ ใบม่นั คง
สง่ิ ท่ีทำ� ไดย้ ากเย็นนั้นจะยิ่งใหญ่ หยัดยืนทรนง...ซ่อื ตรงและแขง็ แกร่ง
ส่งิ ทท่ี ำ� โดยตวั เอง ยงิ่ ท�ำจะยงิ่ เข้าใจ P (Practicality)
แม้นานเพียงใดกไ็ ม่ลมื I (Innovation)
M (Morality)
**ตอ้ งคดิ เปน็ ท�ำเปน็ เรยี นเป็น P..I..M P..I..M P..I..M P..I..M Let Go!!
เน้นความเป็นธรรมในใจ
(ซ�ำ้ *)
สิ่งทีถ่ กู รักษาไว้ ท่ีผดิ เราต้องทง้ิ ไป **ในโลกแหง่ ความจรงิ ตอ้ งเรียนรูก้ นั จริงๆ
แล้วเราจะก้าวไป..ด้วยกัน ต้องออกไปหาความจริง ว่ิงชนเร่ืองราวแทจ้ ริง
ตอ้ งเหนอื่ ยต้องทอ้ จริงๆ ต้องเจอผ้คู นจริงๆ
***สถาบันปัญญาภวิ ัฒน์ ถาบันแหง่ ปัญญา เรียนจากคนรคู้ วามจริง แล้วเราจะเป็นคนจรงิ
เราจะคอยเป็นผู้สอน เราจะคอยเป็นเบา้ หลอม คนเก่งนน้ั ยงั ไมพ่ อ เกง่ จรงิ ต้องจัดการได้
จะหลอ่ และก็หลอมให้ทกุ คน แค่กล้ากย็ งั ไมพ่ อ กลา้ จริงตอ้ งมวี นิ ยั
ให้พรอ้ มกลายเปน็ คนดี (ให้ทกุ คนเป็นคนดี) คนฉลาดน้ันยังไมพ่ อ คนฉลาดตอ้ งไมโ่ กงใคร
เกิดมาเป็นคน ตอ้ งมงุ่ มนั่ ฝกึ ฝนประสบการณ์
คา่ ความเปน็ คนอยทู่ ใี่ จวดั กนั ทผี่ ลงาน อนั มคี า่ ควรจดจำ� แขง็ แรงก็ยงั ไม่พอ เพราะว่าต้องมีน�้ำใจ
***ธงสีเขยี วขจี ฉาบสีเหลืองเรืองรอง
(ซำ�้ *, **, ***) บนแผน่ ดินสที อง นีค่ ือบา้ นของเรา
เราก็เหมือนอฐิ คนละก้อนวางซอ้ นเรยี งกันจงึ แนน่ หนา
https://www.youtube.com/watch?v=UjQ-2M5K9Sc
ก่อดว้ ยความรักในปัญญา
ฉาบดว้ ยศรทั ธา..ในสถาบนั ..ของเรา
(ซ�้ำ*, **, ***)
https://www.youtube.com/watch?v=RMeubmRez74
8
คณะวิชาต่างๆ ใน PIM
คณะวิชาท่ีเปิดสอนที่
สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ ถนนแจ้งวฒั นะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี
1 หลกั สูตรระดับปริญญาโท
1) บรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑติ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจการค้าสมยั ใหม่
1) บรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจ
การคา้ สมยั ใหม่ สถานทต่ี ดิ ตอ่ : ชนั้ 10 อาคาร CP ALL Academy
2) บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจ 0 2855 0321, 0 2855 0288, 0 2855 0311
การคา้ สมยั ใหม่ (หลกั สตู รระบบการศกึ ษาทางไกล)
3) บริหารธรุ กิจบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ
การคา้ สมยั ใหม่ (ต่อเนื่อง)
4) บริหารธรุ กจิ บัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจ
การค้าสมยั ใหม่ (ตอ่ เน่อื ง) ระบบการศกึ ษา
ทางไกลอนิ เทอร์เน็ต
2 หลกั สูตรระดบั ปริญญาโท
1) วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต
หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวชิ าวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
1) วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยดี ิจิทัล (หลกั สตู รนานาชาติ)
และสารสนเทศ
2) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรม สถานท่ตี ิดต่อ : ชั้น 11 อาคาร CP ALL Academy
คอมพิวเตอร์และปญั ญาประดิษฐ์ 0 2855 1005, 0 2855 0930
3) วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรม
อุตสาหการ 9
4) วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรม
การผลิตยานยนต์
5) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรม
หนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ
3 สถานทีต่ ดิ ตอ่ : ช้นั 11 อาคาร CP ALL Academy
02855 0344
หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี
1) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาจนี ธรุ กิจ
2) ศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาญป่ี ่นุ ธรุ กิจ
3) ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ
เพ่อื การสื่อสารทางธรุ กิจ
4 หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาโท
1) บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารคน
หลักสตู รระดบั ปริญญาตรี และกลยทุ ธ์องค์การ
1) บรหิ ารธุรกิจบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการ
อสังหาริมทรพั ยแ์ ละทรัพย์สนิ อาคาร สถานทต่ี ิดต่อ : ชัน้ 10 อาคาร CP ALL Academy
2) บรหิ ารธรุ กจิ บัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารคน 0 2855 1524, 0 2855 0322,
และองค์การ
3) บริหารธรุ กจิ บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 0 2855 1089, 0 2855 0904, 0 2855 1406
ธรุ กิจการบนิ
4) ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การ
การบริการและการท่องเท่ยี ว
5 หลักสูตรระดบั ปริญญาโท
1) นเิ ทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสาร
หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี เชิงนวตั กรรมเพือ่ องค์กรสมัยใหม่
1) นเิ ทศศาสตรบัณฑติ
- วชิ าเอกการสอื่ สารองคก์ รและแบรนด์ สถานท่ีติดต่อ : ช้นั 9 อาคาร CP ALL Academy
- วิชาเอกวารสารศาสตร์คอนเวอรเ์ จน้ ท์ 0 2855 0966
10
6
หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี
1) วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชานวัตกรรม
การจดั การเกษตร
สถานท่ีตดิ ต่อ : ชน้ั 9 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0987
7 หลักสูตรระดับปริญญาโท
1) ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาวะผนู้ ำ�
หลกั สตู รระดับปริญญาตรี การบรหิ ารและการจัดการการศกึ ษา
1) ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาจนี (4 ป)ี
2) ศึกษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการสอน สถานท่ตี ดิ ตอ่ : ชน้ั 9 อาคาร CP ALL Academy
ภาษาอังกฤษ (4 ป)ี 0 2855 1026
8
หลักสตู รระดับปรญิ ญาตรี
1) บริหารธรุ กจิ บัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการ
ธรุ กิจอาหาร
2) บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการ
ธรุ กจิ ภตั ตาคาร
3) บริหารธรุ กิจบัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การ
ธรุ กจิ อาหาร (ตอ่ เนอ่ื ง)
สถานทตี่ ดิ ตอ่ : ชน้ั 9 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0372
11
9 สถานทต่ี ิดต่อ : ชนั้ 9 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0372
หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี
1) วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการ
เทคโนโลยีฟาร์ม
2) วทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การ
เทคโนโลยีแปรรปู อาหาร
10
หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี
1) บรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
โลจสิ ตกิ สแ์ ละการคมนาคมขนส่ง
- วชิ าเอกการจดั การโลจิสตกิ ส์และซพั พลายเชน
- วชิ าเอกการจดั การคมนาคมขนส่ง
- วชิ าเอกการจดั การสถานแี ละพน้ื ที่
สถานทีต่ ดิ ตอ่ : ชน้ั 10 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0707
11 หลกั สตู รระดับปริญญาโท
1) บริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าธุรกจิ
หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี ระหว่างประเทศ (หลกั สตู รนานาชาติ)
1) บริหารธรุ กจิ บัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ
การค้าสมัยใหม่ (หลักสูตรนานาชาต)ิ สถานที่ตดิ ตอ่ : ชัน้ 10 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 1575, 02 855 1126
12
12 หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาเอก
1) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ
หลกั สตู ระดับปรญิ ญาโท (หลักสูตรภาษาจนี )
1) บริหารธรุ กิจมหาบัณฑิต สาขาวชิ าบริหารธรุ กิจ 2) ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการการศกึ ษา
(หลกั สูตรภาษาจีน) (หลักสตู รภาษาจนี )
สถานทีต่ ิดตอ่ : ชนั้ 10 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0301
13
จัดการเรียนการสอน
ในหมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไปให้กบั นกั ศึกษา
1) กลุม่ วชิ าภาษาไทย
2) กลมุ่ วิชาภาษาองั กฤษ
3) กลมุ่ วชิ าภาษาจนี
4) กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
5) กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์
สถานทตี่ ดิ ต่อ : ชั้น 11 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 1312
13
คณะวชิ าทีเ่ ปดิ สอนที่
สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์ วิทยาเขตออี ีซี อ.สัตหบี จ.ชลบุรี
1
หลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรี
1) บริหารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ านวัตกรรมการจดั การธุรกจิ เพอ่ื สังคม
2) บริหารธรุ กจิ บณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ โรงแรมและอาหาร (หลกั สตู รนานาชาติ)
3) บริหารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวชิ านวัตกรรมธุรกิจโรงแรม อาหารและเคร่อื งดม่ื
4) บริหารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการนวตั กรรมทางการค้า
สถานทีต่ ดิ ต่อ : ช้นั 3 อาคารอ�ำนวยการ
0 2855 1005, 0 2855 0930
14
คณะวชิ าทเ่ี ปดิ สอนทห่ี น่วยการเรยี นทางไกล
1
สถานท่ตี ิดต่อ : ชั้น 10 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0470, 0 2855 1235
เปิดสอนในระดบั ปรญิ ญาตรี
1) สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ (หลักสูตรระบบการศกึ ษาทางไกล)
สถาบนั เปดิ การเรยี นการสอนในคณะบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ ใน 12 หนว่ ยการ
เรยี นทางไกล ผ่านระบบ Video Conference ที่ส่งสญั ญาณการสอนแบบ Real Time และสามารถสือ่ สารระหว่าง
นกั ศึกษาและอาจารยไ์ ดเ้ สมือนการเรยี นในหอ้ งเรียนปกติ
หน่วยการเรียนรู้ทางไกล การตดิ ตอ่
1) พระนครศรอี ยุธยา 55/83-85 หมู่ 1 ต.ธนู อ.อุทัย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 13210
2) สมทุ รปราการ : 09 1774 6801, 035 229 848
3) ชลบรุ ี 318-319 หมู่ 10 ซอยเทศบาลสำ� โรงใต้ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130
4) เชียงใหม่ : 09 1774 6800, 0 2757 6017
5) ลำ� ปาง 64/11-13 ถนนสุขุมวทิ ต.บางปลาสรอ้ ย อ.เมอื ง จ.ชลบุรี 20000
6) นครสวรรค์ : 09 1774 6792, 038 790 421
7) อดุ รธานี 71 ถนนหว้ ยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมอื งเชยี งใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200
8) ขอนแก่น : 08 5937 2434
9) นครราชสีมา 68/43-44 ถนนทา่ คราวน้อย ต.สบต๋ยุ อ.เมือง จ.ล�ำปาง 52100
10) สรุ าษฎร์ธานี : 09 1774 6794, 054 310 659
11) สงขลา 163/44-45 ถนนมาตุลี ต.ปากน�้ำโพ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000
12) เพชรบุรี : 09 1774 6802, 056 313 591
118/10-13 ถนนประชารกั ษา ต.หมากแขง้ อ.เมอื ง จ.อุดรธานี 41000
: 09 1774 6795, 042 348 842 คลิกท่ีน่ี
668/88-90 ถนนกลางเมือง ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ 40000
: 09 1774 6793, 043 340 685
3275/6-8 ถนนสืบสริ ิ ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.นครราชสีมา 30000
: 09 1774 6796, 044 278 530
250/72-75 ถนนวัดโพธิ-์ บางใหญ่ ต.มะขามเตยี้ อ.เมือง จ.สรุ าษฎรธ์ านี 84000
: 09 1774 6799, 077 226 208
49, 51, 53, 55 ถนนโชติวิทยะกุล 3 ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา 90110
: 09 1774 6798, 074 465 120
25, 27, 63, 65 ถนนเพชรเกษมเกา่ ต.คลองกระแชง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000
: 09 1774 6797, 032 410 206
15
หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องกับนกั ศึกษา
ส�ำนกั สง่ เสรมิ วิชาการ การบริการที่เกีย่ วข้องกบั นักศกึ ษา
1) บัตรประจำ� ตวั นักศกึ ษา
1 2) ตรวจสอบวฒุ กิ ารศึกษา
3) ปรับและติดตามสถานภาพนักศึกษา
สถานท่ีติดตอ่ : 4) เทยี บโอนวฒุ กิ ารศึกษาและผลการเรียน
PIM ช้ัน 14 อาคาร CP ALL Academy 5) ลงทะเบยี นเรยี น และเพ่ิม-เพกิ ถอนรายวิชา
PIM EEC ช้ัน 1 อาคารอำ� นวยการ 6) ประกาศผลการศึกษา
7) จดั สอบและปฏิทนิ การศกึ ษา
ระดับปรญิ ญาตรี : 8) ตรวจสอบจบและย่ืนขอสำ� เร็จการศกึ ษา
0 2855 0378 และ 0 2855 0969 9) เอกสารหลกั ฐานทางการศกึ ษา
ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา : 0 2855 1562
0 2855 1139, 0 2855 0386 และ 0 2855 0971 การบริการท่เี ก่ยี วข้องกบั นกั ศกึ ษา
หอ้ งสมุด : 1) บริการทรพั ยากรสารสนเทศ
PIM ชนั้ 12A อาคาร CP ALL Academy
PIM EEC ชน้ั 2 อาคารโรงอาหาร 1 • ยืม-คนื ทรพั ยากรสารสนเทศ
0 2855 0381 • จองและส�ำรองทรพั ยากรสารสนเทศ
• แนะน�ำทรัพยากรสารสนเทศเขา้ หอ้ งสมุด
• บรกิ ารอุปกรณ์หมากลอ้ ม บอร์ดเกม และเกมเสริมสรา้ ง
ทักษะ (ใชภ้ ายในหอ้ งสมุด)
• บรกิ ารยมื ระหวา่ งห้องสมุด
2) บริการทรัพยากรสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนิกส์
• e-Books
• e-Journal
• e-Thesis
• e-Research
• e-Project
3) บรกิ ารแนะน�ำการใช้ห้องสมุดและอบรมฐานขอ้ มูลออนไลน์
4) บรกิ ารสารสนเทศเพอื่ การอ้างอิงและวิจยั
5) บริการพน้ื ท่แี ละกจิ กรรมการเรียนรู้
• Computer Zone
• Learning Zone
• Quiet Zone
• Study Room
• Theatre Service
6) บริการอุปกรณส์ นบั สนุนเพอ่ื การเรยี นรู้
16
สำ� นักกิจการนกั ศึกษา การบริการที่เกย่ี วข้องกับนกั ศกึ ษา
1) จัดกิจกรรม กฬี า นนั ทนาการ การบ�ำเพญ็ ประโยชน์
2
รวมถงึ กิจกรรมจิตอาสาแกน่ กั ศึกษา
สถานทตี่ ิดตอ่ : 2) ให้บริการยมื -คนื อปุ กรณก์ ฬี า และวัสดอุ ุปกรณ์เพ่ือ
ชน้ั 7 อาคาร CP ALL Academy
กิจกรรมนกั ศึกษา
งานกจิ กรรมนกั ศกึ ษา 02 855 0443 3) การเซน็ สญั ญาทนุ และพจิ ารณาคุณสมบตั ิของนักศกึ ษา
งานสวัสดกิ ารนกั ศกึ ษา 02 855 0223
งานทุนการศกึ ษา 02 855 0907 ท่ไี ด้รบั ทนุ
4) การขอสินไหมทดแทนเมื่อนกั ศกึ ษาประสบอบุ ัติเหตุ
5) กำ� กับ ดูแลวินัยของนกั ศกึ ษา
6) การขอผ่อนผนั ทหารและประสานเรื่องนักศกึ ษาวิชาทหาร
สำ� นักบญั ชีและการเงนิ (งานการเงนิ ) การบรกิ ารท่ีเกี่ยวขอ้ งกับนกั ศกึ ษา
1) รบั ชำ� ระเงินคา่ ธรรมเนยี มตา่ งๆ
3
สถานท่ีติดตอ่ :
ช้นั 14 อาคาร CP ALL Academy
02 855 0932-3, 02 855 0248-49
สำ� นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ การบรกิ ารท่ีเกี่ยวข้องกับนักศกึ ษา
1) ให้ค�ำปรกึ ษาดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
4 2) การจดั การเก่ียวกบั ผใู้ ชง้ านและการเขา้ สู่ระบบที่ผิดปกติ
3) ให้บรกิ ารระบบการเรียนการสอนออนไลน์ e-Learning
สถานที่ตดิ ต่อ :
ชน้ั 12 อาคาร CP ALL Academy
0 2855 0400
ส�ำนักวิจัยและพัฒนา การบริการท่เี กีย่ วขอ้ งกับนักศึกษา
1) การประเมินผลตา่ งๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นการสอน
5
การดแู ลนกั ศกึ ษา และการดำ� เนินงานของสถาบัน
สถานทต่ี ิดตอ่ : 2) การตีพมิ พ์บทความวจิ ัย หรอื บทความวชิ าการลงในวารสาร
ช้ัน 2 อาคารอเนกประสงค์
วิชาการของสถาบนั
0 2855 0229 และ 0 2855 1102
17
สำ� นักพฒั นานกั ศกึ ษา การบรกิ ารทีเ่ กีย่ วข้องกับนกั ศึกษา
1) ศนู ย์ประสานการหางาน Part Time
6 2) ให้คำ� แนะน�ำและช่วยเหลือกรณเี กิดปัญหาในการบรรจุงาน
สถานทีต่ ดิ ต่อ : การบรกิ ารที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
ชน้ั 7 อาคาร CP ALL Academy 1) พฒั นาศักยภาพและส่งเสรมิ นกั ศกึ ษาท่ีมีความสามารถ
02 855 1350
ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม
ส�ำนกั สง่ เสรมิ ศลิ ปะและวฒั นธรรม 2) จัดกจิ กรรมและส่งเสรมิ ศักยภาพนักศกึ ษาไปส่เู วที
7 การประกวดต่างๆ รวมถึงถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรม
แก่นักศึกษาต่างชาติ
สถานทต่ี ดิ ตอ่ : 3) ทดสอบและกำ� กับดแู ลนักศึกษาทุนความสามารถ
ชั้น 2 อาคารอเนกประสงค์ ด้านศิลปวฒั นธรร
0 2855 1650
การบริการทเ่ี กี่ยวข้องกับนักศกึ ษา
ส�ำนักบริหารอาคารและทรพั ยส์ ิน 1) การออกสตก๊ิ เกอร์จอดรถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนต์
8 ทเ่ี ขา้ -ออกสถาบนั
สถานทต่ี ดิ ตอ่ :
ชน้ั 2 อาคารอเนกประสงค์
0 2855 1261
18
รู้จัก “สำ� นักการศึกษาทั่วไป”
ปรชั ญาสำ� นกั การศึกษาท่วั ไป
วชิ าศึกษาทั่วไปสรา้ งความเป็นมนุษย์ทมี่ คี ุณภาพในสังคมโลก
มีทักษะการส่ือสารภาษา กา้ วหนา้ เทคโนโลยี มกี ระบวนการคิดและมีจติ สาธารณะ
วิสัยทัศน์
“สรา้ งบัณฑิตมืออาชพี ด้วยการเรยี นรู้จากประสบการณจ์ รงิ ”
(Creating Professionals through Work-based Education)
พันธกิจ
1) ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและ 2) ผสมผสานองค์ความรู้เชิง 3) สร้างเครือข่ายความร่วมมือ
ตรงกับความต้องการของสถาน วิชาการและองค์กรธุรกิจ เพ่ือ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะองค์กร
ประกอบการ โดยเนน้ การเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การ และคุณค่าต่อสังคมอย่างย่ังยืน
จากประสบการณ์จริง (Work- วิจัยการบริการวิชาการ และ (Collaborative Networking)
based Education) ท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(Combination of Academic
and Professional Expertise)
สัญลกั ษณแ์ ละสีประจำ� สำ� นกั
ตน้ ปัญญพฤกษห์ รือตน้ ไมแ้ หง่ ปญั ญาที่แผ่ร่มเงาทางการศึกษา
เปรียบเสมอื นการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
สีประจ�ำคณะ
สนี �้ำตาลทอง
19
บทบาทหน้าที่
สำ� นักการศกึ ษาทวั่ ไปมีโครงสร้างการทำ� งานประกอบด้วย 5 กลุ่มวชิ า และ 1 ศนู ย์ คอื
1. กลุ่มวชิ าภาษาไทย 4. กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. กลมุ่ วิชาภาษาอังกฤษ 5. กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3. กลุ่มวชิ าภาษาจนี 6. ศนู ยพ์ ฒั นาทกั ษะและภาษา
โดยเน้นการจัดการเรยี นการสอนหมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไปใหก้ ับนักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันการจัดการปัญญาภวิ ัฒน์
และจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนานกั ศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามอัตลกั ษณ์บัณฑิตของสถาบนั ตลอดจนเปน็ ทตี่ ้องการของผู้ใช้บัณฑติ และสังคม
โดยตลอดปีการศกึ ษาได้จดั กจิ กรรมพัฒนานักศึกษาตามกลมุ่ วิชา
ศนู ยพ์ ัฒนาทักษะและภาษา
ศูนย์พัฒนาทักษะและภาษา (Center of Languages ดจิ ทิ ลั ตามแผนการดำ� เนนิ ทง้ั 4 ชน้ั ปี โดยมกี ารบนั ทกึ ผลการประเมนิ
and Skills Development หรือ CLSD) เป็นหน่วยงานภายใต้ และผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาเป็นโปรแกรมประยุกต์
สำ� นกั การศกึ ษาทวั่ ไปทมี่ หี นา้ ทเ่ี สรมิ ทกั ษะ ประเมนิ ทกั ษะ และออก (Application Program) ชอ่ื “PIM SMART PASSPORT” ที่เป็น
ใบรบั รองมาตรฐานทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การทำ� งานของนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะ ฐานขอ้ มลู ของนักศกึ ษาส�ำหรับนำ� ไปใช้ประกอบการตัดสนิ ใจเลอื ก
การสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะ พนักงานเขา้ ท�ำงานของสถานประกอบการต่างๆ
แผนพัฒนาทกั ษะและภาษา
สำนกั การศึกษาทัว่ ไป
ทักษะการส่อื สาร ป 1 ผลการฝก ทกั ษะชน้ั ปท่ี 1
ทกั ษะดิจทิ ัล (ระบผุ ลแตละทักษะ)
Unsatisfied
ทกั ษะชวี ติ ป 2 Pass
ผลการฝก ทักษะช้นั ปท่ี 2 ป 3 Excellent
(ระบคุ ะแนนแตละทกั ษะ) ป 4
e-Leaming score พฒั นาตอเน่อื งดว ยตนเอง
อบรม + ติวเขม + PIM ทกุ ท่ี ทกุ เวลา
เตรียมความพรอม SMART ผลการอบรม/ติวเชมชั้นปท ี่ 3
เพ่ือการสมัครงาน PASSPORT (ระบผุ ลแตละทกั ษะ)
เพอื่ การทำงาน
เพอ่ื การใชชวี ติ วดั ความพรอมภาษา
รูพฒั นาการดา นดิจิตอล
ผลการฝกทกั ษะช้ันปท ่ี 4 ระบุจดุ เดนเเละจุดท่ี
(ระบผุ ลแตล ะทักษะ) ควรพัฒนาในการใชช วี ติ
รว มเดินทางไปกับ PIM SMART PASSPORT
ระบรุ ะดบั ทักษะ ตลอด 4 ปก ารศกึ ษา เพอ่ื พฒั นา
ทกุ ทักษะ ใหค ุณเปน คนที่ “ใช” สำหรับทุกองคกร
เเสดงพฒั นาการการเรยี นรู
ทกุ ช้ันป
ป 1 ป 2 ป 2 ป 4
สะทอ นศักยภาพและความสามารถ
20
ส�ำนกั การศึกษาทัว่ ไปมีการจัดทำ� ชุดฝกึ ฝนทักษะการใชง้ านโปรแกรมส�ำนักงาน ผา่ นโปรแกรมประยุกต์ “Microsoft
Office Simulation” เพื่อใหน้ กั ศกึ ษาไดฝ้ ึกฝนการใชเ้ ครอื่ งมอื ในการจดั ทำ� เอกสารสำ� นักงาน ตลอดจนการนำ� เสนองานอยา่ ง
มืออาชีพทต่ี อบสนองการเรียนรูไ้ ด้ทกุ ท่ี ทุกเวลา
นอกจากน้ียงั มีการนำ� โปรแกรมประยุกต์ดา้ นการส่อื สารภาษาองั กฤษ มาใชป้ ระกอบกบั การจัดการเรยี นการสอนใน
ห้องเรียน โดยมีจุดมุ่งหมายให้นักศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินตามกรอบความเช่ียวชาญภาษาอังกฤษอ้างอิงของยุโรป หรือ
Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ในระดับ B2 เป็นอยา่ งน้อย
21
เป้าหมายการเรยี นร้ผู า่ นโปรแกรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ภาษาองั กฤษ
Common European Framework
of Reference for Languages : CEFR
แผนการใชโ้ ปรแกรมสง่ เสริมการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ
ในรายวชิ าภาษาอังกฤษกลุ่มวิชาส�ำนักการศกึ ษาทั่วไป
แผนสำหรับนักศกึ ษารหสั 63 ศกึ ษาวิธกี ารใชง าน สอบวดั ระดับความรู ทำแบบฝกหัด สอบวัดผลครง้ั ที่ 1 สอบวดั ผลครัง้ ท่ี 2
(ตอ block) (Explore) (Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)
นักศกึ ษารหสั 63 Week 1 Week 2 Week 3-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยูช น้ั ปท่ี 1
สอบวดั ระดับความรู ทำแบบฝกหัด สอบวัดผลครง้ั ท่ี 1 สอบวดั ผลครั้งท่ี 2
(Placement Test) (Practice) (Final Test) (Re-test)
นักศึกษารหสั 63 Week 1 Week 2-8 Week 9 Week 10
ขณะศกึ ษาอยูชน้ั ปท่ี 2 และ 3
22
รูจ้ กั คณะเรา “วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี”
ปรชั ญาคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
“น�ำความรูส้ กู่ ารปฏบิ ัติ สร้างนวตั กรรม
มคี ุณธรรม รับผิดชอบสังคม”
ปณิธาน
มงุ่ ผลติ บุคลากรที่ร้จู รงิ พร้อมทำ� งานทันที มีความคิดสรา้ งสรรค์ ยึดม่ันในคุณธรรม
และจรยิ ธรรม
วสิ ยั ทศั น์
สร้างมอื อาชีพดา้ นวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ด้วยการเรยี นร้จู ากประสบการณจ์ รงิ
พันธกจิ
1) สร้างบัณฑิตด้าวิศวกรรม- 2) สร้างองค์ความรู้วิจัยและ 3) สร้างสรรค์สังคมและบริการ
ศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มี พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ด้าน ชุมชน จัดบริการวิชาการด้าน
คณุ ภาพไดม้ าตรฐาน และตรงกบั วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
ความต้องการของภาคธุรกิจ อันก่อให้เกิดองค์ความรู้และการ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ภาคอตุ สาหกรรม
อุตสาหกรรม เป็นท่ตี อ้ งการของ สร้างสรรคน์ วตั กรรม ซงึ่ เปน็ พน้ื ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ
สังคม โดยเน้นให้นักศึกษาเรียน ฐานในการพัฒนาองค์กร สังคม
รู้จากประสบการณจ์ ริง และประเทศชาติ
4) สร้างเสริมคุณธรรมปลูกฝัง 5) สร้างองค์กรพัฒนาคณะ สร้างความสุขในการท�ำงานให้
จิตส�ำนึกของนักศึกษาให้เป็น วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กบั อาจารยแ์ ละบคุ ลากร
บัณฑิตท่ีมีคุณธรรม เสริมสร้าง ใ ห ้ เ กิ ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ
จรรยาบรรณในวิชาชีพ และ ประสทิ ธผิ ล รวมทง้ั เพม่ิ ขดี ความ
สืบสานวัฒนธรรมท่ีดีงาม สามารถในการแข่งขัน สามารถ
เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน และ
23
สญั ลกั ษณ์และสปี ระจำ� คณะ
สปี ระจ�ำคณะ เฟือง
ภาพแทนกลไกวิศวกรรมและอุตสาหกรรม
สแี ดงเลอื ดหมู I และ O เลขฐานสองซ่ึงเป็นสัญลักษณ์สากลด้าน
อิเล็กทรอนิกส์ ในท่ีน้ีเปรียบเสมือนพลังงานท่ีขับเคล่ือน
สเี ลือดของพระวษิ ณุกรรม หรือพระวิศวกรรม ผู้เป็นเทพ กลไกจากภายใน
แห่งชา่ งผู้สร้างสรรค์ ดลบันดาลใหเ้ กดิ การสร้างสรรค ์ โดยภาพทง้ั หมดวางอยู่ในรูปทรงเรขาคณิต 5 เหลยี่ ม
อันสื่อถึงคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ประการ
สง่ิ ประดษิ ฐ์และประติมากรรมบนโลก "วิศวกรรมศาสตร"์ ไดแ้ ก่ เรียนเปน็ คดิ เปน็ ทำ� งานเป็น เน้นวฒั นธรรม และ
จงึ หมายถึง ศาสตร์ ที่มีพระวษิ ณุ เทพเจา้ แหง่ ช่าง เป็น ครู รกั ความถกู ต้อง
หลกั สูตร/สาขาวิชาท่ีเปิดสอน
หลกั สูตรระดับปริญญาตรี
1) หลกั สตู รวิทยาศาตรบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยดี จิ ิทลั และสารสนเทศ
2) หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปัญญาประดษิ ฐ์
3) หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมอตุ สาหการ
4) หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมการผลิตยานยนต์
5) หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมห่นุ ยนต์และระบบอตั โนมัติ
หลกั สตู รระดบั ปริญญาโท
1) หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตร์มหาบณั ฑิต (หลักสตู รนานาชาต)ิ
24
หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจทิ ัลและสารสนเทศ
Bachelor of Science Program in Digital and Information Technology
ชอ่ื ปริญญา
ภาษาไทย (ช่อื เต็ม) : วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศ)
(อกั ษรยอ่ ) : วท.บ. (เทคโนโลยดี ิจทิ ัลและสารสนเทศ)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเตม็ ) : Bachelor of Science
(Digital and Information Technology)
(อกั ษรยอ่ ) : B.Sc. (Digital and Information Technology)
จุดเดน่ ของสาขาวิชา/หลกั สูตร
ปัจจุบัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศมีความ คอมพิวเตอร์ การบริหารโครงการทางเทคโนโลยีสารสนเทศขนาด
เจรญิ กา้ วหนา้ รวดเรว็ และไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทตอ่ การดำ� เนนิ งานของ เล็กถึงขนาดกลาง การสื่อสารข้อมูล การบริหารความปลอดภัย
องคก์ รตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม ทงั้ ในภาครฐั ขอ้ มูลสารสนเทศและความรสู้ มยั ใหมด่ า้ นวิทยาศาสตรบ์ ริการ โดย
และเอกชนเป็นอย่างมาก ยังผลให้ความต้องการบุคลากรที่ เน้นการเรียนรู้เชิงทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติและการท�ำงานจริง
เชยี่ วชาญในเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพมิ่ มากขนึ้ ทกุ ปี (Work-based Learning) เพื่อใหบ้ ณั ฑิตสามารถน�ำความรู้ท่ีได้มา
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นเ์ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ใน ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการไดท้ นั ทภี ายหลงั สำ� เรจ็ การ
การผลิตบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ และ ศกึ ษา ประกอบกบั ไดม้ กี ารจดั เนอื้ หาวชิ าและกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร
เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเปิดด�ำเนินการเรียนการสอน หลักสูตร เพื่อหลอ่ หลอมใหบ้ ัณฑติ เป็นผู้ที่มีคุณธรรมจรยิ ธรรมในการทำ� งาน
วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ ผลติ บณั ฑติ และการด�ำเนินชีวิต ทั้งยังปลูกฝังให้เป็นผู้ท่ีมีการศึกษาค้นคว้า
ท่ีมีความรู้ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ซ่ึงรวมถึงการ หาความรู้ไปตลอดชวี ิต (Life Long Learning)
ออกแบบและสร้างระบบงานฐานข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม
แนวทางการประกอบอาชพี
1) นักเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) นักวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบงานสารสนเทศ
3) นกั โปรแกรม/ นักพฒั นาระบบ
4) นกั วเิ คราะหข์ อ้ มลู นกั วทิ ยาศาสตร์ขอ้ มูล
5) นกั พัฒนา/จดั การเวบ็ ไซต์/ จัดการกระบวนการทางธรุ กิจ
6) ผ้ดู ูแลระบบโครงขา่ ย เคร่ืองแม่ขา่ ย และระบบกลุ่มเมฆ
7) ผู้ออกแบบดจิ ทิ ัลกราฟฟกิ และแอนิเมชัน
25
รายละเอยี ดค่าเล่าเรียน
1) อตั ราค่าเล่าเรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 360,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรียนแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศกึ ษาในอัตราท่ีสถาบนั ก�ำหนด
ตามแผนการเรียนปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดงั น้ี
ภาคการศกึ ษาท่ี คา่ เล่าเรยี นส�ำหรบั นักศกึ ษาที่ คา่ เลา่ เรียนส�ำหรับนักศึกษาท่ี
เขา้ เรียนในภาคการศึกษาพิเศษ เข้าเรยี นในภาคปกติ
ครง้ั ท่ี 1
ครง้ั ท่ี 2 – 7 24,000 48,000
48,000 48,000
ครง้ั ท่ี 8 48,000 24,000
2) อัตราคา่ เล่าเรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมคา่ ใช้จ่ายดงั ตอ่ ไปนี้
- คา่ หนงั สือ เอกสารประกอบวชิ าเรยี น
- คา่ ชดุ ปฏบิ ัติการ วตั ถุดบิ และอุปกรณอ์ นื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง
- คา่ รายวชิ าปรบั พ้ืนฐาน
- คา่ ธรรมเนียมอ่นื ๆ และคา่ เบ็ดเตลด็ นอกเหนอื อัตราค่าเล่าเรยี นแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา
26
ข้อมูลการเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
1) ปีการศึกษาท่ี 1
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกติ
10xxxxx กล่มุ วิชาภาษาอังกฤษ 2 10xxxxx กลุม่ วชิ าภาษาอังกฤษ 2
3 1311103 สถิตสิ ำ� หรับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3
1311101 พน้ื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และปญั ญาประดษิ ฐ์
1311102 คณติ ศาสตร์ส�ำหรับ 3 1301107 โครงงานทางวิศวกรรม 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยี
1312104 พ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรม 3 1312103 การออกแบบกราฟิกและส่ือดิจิทัล 3
สำ� หรบั อุตสาหกรรมดิจทิ ัล
1312101 เทคโนโลยดี จิ ิทลั และสารสนเทศ 3 1312102 จริยธรรมและมาตรฐานทาง 3
1311104 ในธุรกิจ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
การส่อื สารและการน�ำเสนอทาง
วชิ าชพี เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 1302151 การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัตสิ �ำหรับ 3
วิศวกรและนกั เทคโนโลยี
รวม
17 รวม 15
2) ปีการศึกษาท่ี 2
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกิต รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต
10xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ 2 10xxxxx กลุ่มวิชาภาษาไทย 3
3 10xxxxx กลุ่มวชิ าสังคมศาสตร์ 3
10xxxxx กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ 3 1312209 โครงสร้างข้อมูลและขนั้ ตอนวิธี 3
3 131xxxx วิชาเลือกเฉพาะด้านอุตสาหกรรม 3
1312208 ระบบฐานขอ้ มูลและข้อมลู ขนาดใหญ่ ดิจิทัล 1
3 1312206 ความม่ันคงของเทคโนโลยี 3
1312211 โครงสรา้ งคอมพวิ เตอร์ สารสนเทศและเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน
และระบบปฏิบตั ิการ 3 1312207 พาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ 3
1311205 โครงงานดจิ ิทัลเทคโนโลยี 1 1
1312205 การวางแผนทรพั ยากรทางธรุ กจิ 19
ขององค์กรโดยรวมสำ� หรับธรุ กจิ 17 รวม
1312251 การเรยี นรูภ้ าคปฏบิ ตั ดิ า้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศ 1
รวม
27
3) ปกี ารศกึ ษาท่ี 3
ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกติ
10xxxxx กลมุ่ วชิ าเลอื กภาษาต่างประเทศ 3 10xxxxx กล่มุ วิชามนษุ ยศาสตร์ 3
3 10xxxxx กล่มุ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 3
10xxxxx กลมุ่ วิชาวิทยาศาสต และคณติ ศาสตร์ 3
ร์และคณติ ศาสตร์ 3 131xxxx วชิ าเลอื กเฉพาะด้านอตุ สาหกรรม 3
ดจิ ทิ ลั 2 3
1312313 วศิ วกรรมซอฟต์แวร์ 3 1311306 โครงงานดิจทิ ัลเทคโนโลยี 2
และการวเิ คราะห์ระบบ 14
3 1312352 การเรยี นรภู้ าคปฏิบตั ิด้าน
1312210 1312210 การเขยี นโปรแกรมเชงิ วตั ถุ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2
ข้ามแพลตฟอรม์ 18
รวม
1312212 ระบบโครงข่ายและคลาวด์ หนว่ ยกิต
10xxxxx กล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3
3
รวม
ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน
รหัสวิชา รายวชิ า
XX xxxxx วชิ าเลอื กเสรี 1
รวม
4) ปกี ารศกึ ษาท่ี 4
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกติ รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ
1312413 การจดั การโครงการ 3 1312453 การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ัติด้าน 6
เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 3
3 XX xxxxx วิชาเลือกเสรี 2 3
1312414 วิทยาการขอ้ มูล 3 131xxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา
12
131xxxx วิชาเลอื กเฉพาะ
ด้านอตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั 3
131xxxx วิชาเลอื กเฉพาะ 3
ดา้ นอตุ สาหกรรมดิจิทลั 4
รวม 12 รวม
28
หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดษิ ฐ์
Bachelor of Engineering Program in Computer Engineering and Artificial Intelligence
ชอื่ ปรญิ ญา
ภาษาไทย (ช่อื เตม็ ) : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
(วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์)
(อกั ษรย่อ) : วศ.บ. (วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์)
ภาษาองั กฤษ (ชอื่ เตม็ ) : Bachelor of Engineering (Computer Engineering and
Artificial Intelligence)
(อกั ษรย่อ) : B.Eng. (Computer Engineering and Artificial Intelligence)
จดุ เดน่ ของสาขาวชิ า/หลกั สตู ร
ปัจจุบันทุกประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ และรองรบั การแขง่ ขนั ทางธรุ กจิ คอมพวิ เตอร์
ในเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เน้น ท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการผลิตบุคลากรทาง
การพัฒนาอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ี วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จ�ำเป็นต้องมีความพร้อมท่ีจะปฏิบัติงานได้
ตอ้ งมรี ะบบการบรหิ ารจดั การองคค์ วามรู้ การพฒั นาหรอื สรา้ งองค์ ทันที และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงาน
ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ซ่ึงรวมถึงการ ทง้ั ดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี ซง่ึ เปน็ ไปตามนโยบายและวสิ ยั ทศั นข์ อง
เตรียมบุคลากรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์จ�ำนวนมากที่สามารถ สถาบนั ฯ ดา้ นมงุ่ สคู่ วามเปน็ เลศิ ในเทคโนโลยแี ละการวจิ ยั ซง่ึ สอดคลอ้ ง
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสานร่วมกับจุดแข็งใน กับพนั ธกิจและแผนกลยทุ ธ์สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวัฒน์
สังคมไทย จึงมีความจ�ำเป็นที่จะต้องพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกท่ีมี
ศักยภาพและสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามวิวัฒนาการของสาขาวิชา
แนวทางการประกอบอาชพี
1) วศิ วกรคอมพิวเตอร์
2) วศิ วกรปัญญาประดิษฐ์
3) วิศวกรการเรยี นรขู้ องเคร่ือง
4) นกั วทิ ยาการขอ้ มูล
5) นกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบงานสารสนเทศ
6) นักโปรแกรม/ นกั พัฒนาระบบ
7) นักทดสอบโปรแกรม/นกั ทดสอบระบบ
8) ผ้ดู แู ลระบบโครงขา่ ย เคร่อื งแม่ขา่ ย และระบบคลาวด์
29
รายละเอยี ดค่าเลา่ เรียน
1) อัตราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลักสตู ร 384,000 บาท และชำ� ระคา่ เล่าเรยี นแบบเหมาจ่ายต่อภาคการศึกษาในอัตราทส่ี ถาบนั กำ� หนด
ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศึกษา ดงั น้ี
ภาคการศกึ ษาท่ี ค่าเลา่ เรยี นสำ� หรบั นักศึกษาท่ี ค่าเล่าเรยี นสำ� หรบั นกั ศกึ ษาที่
เขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาพิเศษ เข้าเรียนในภาคปกติ
ครง้ั ท่ี 1
คร้ังที่ 2 – 7 25,600 51,200
51,200 51,200
คร้ังท่ี 8 51,200 25,600
2) อัตราค่าเลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา ไม่รวมค่าใชจ้ ่ายดังตอ่ ไปน้ี
- ค่าหนงั สอื เอกสารประกอบวิชาเรียน
- คา่ ชุดปฏบิ ัตกิ าร วัตถดุ บิ และอุปกรณ์อนื่ ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง
- ค่ารายวิชาปรบั พ้นื ฐาน
- ค่าธรรมเนียมอน่ื ๆ และคา่ เบด็ เตลด็ นอกเหนอื อัตราค่าเลา่ เรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศกึ ษา
ตวั อย่างสถานประกอบการที่นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบตั ิ
30
ขอ้ มลู การเรียนและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
1) ปีการศกึ ษาท่ี 1
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต
10xxxxx กลุ่มวิชาภาษาไทย 3 10xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ 2
3 1301102 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3
10xxxxx กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ 3 1301103 3
3 1301106 ฟสิ กิ ส์วิศวกรรม 1 1
1301101 คณติ ศาสตร์วศิ วกรรม 1 1 1301107 ปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์วศิ วกรรม 2 1
1301105 ฟสิ กิ ส์วศิ วกรรม 2 3 โครงงานทางวิศวกรรม
1301104 ปฏบิ ัตกิ ารฟิสิกส์วศิ วกรรม 1 1302151 และเทคโนโลยี 3
16 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติส�ำหรับ
1312104 พืน้ ฐานการเขยี นโปรแกรม 1312210 วศิ วกรและนักเทคโนโลยี 3
การเขียนโปรแกรมเชงิ วตั ถุ
1321101 ขา้ มแพลตฟอรม์ 3
วงจรไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์
1321102 ส�ำหรับวิศวกรคอมพิวเตอร์ 1
ปฏิบัตกิ ารวงจรไฟฟ้าและ
รวม อิเลก็ ทรอนิกส์ 20
รวม
2) ปกี ารศึกษาท่ี 2
ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกิต
10xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาอังกฤษ 2 10xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2
3 10xxxxx กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์ 3
10xxxxx กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 3 1321204 คณิตศาสตร์ส�ำหรบั 3
ปญั ญาประดษิ ฐ์ 2
1322203 ระบบฐานขอ้ มูลและข้อมลู ขนาดใหญ่ 3 1312414 วทิ ยาการขอ้ มลู 3
3 1321205 โครงงานวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละ 1
1312209 โครงสร้างขอ้ มลู และขนั้ ตอนวธิ ี ปญั ญาประดษิ ฐ์ 1
1321203 คณติ ศาสตร์สำ� หรบั ปัญญา 3 1322202 3
ประดิษฐ์ 1 เครอื่ งเร่งฮารด์ แวรส์ �ำหรบั
1322201 3 1313310 การเรียนรูเ้ ชิงลึก 3
การออกแบบดจิ ทิ ลั ลอจกิ 1322251 การประมวลผลคลาวด์ 3
การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ิด้าน
1312212 ระบบโครงข่ายและคลาวด์ 20 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญา 21
ประดิษฐ์ 1
รวม
รวม
31
3) ปีการศกึ ษาท่ี 3
ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวชิ า รายวิชา หน่วยกติ รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ
10xxxxx กลุ่มวชิ าเลอื กภาษาต่างประเทศ 3 10xxxxx กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์ 3
10xxxxx กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตร์ 3 1312101 จริยธรรมและมาตรฐานทาง 3
Sc xxxxx 3 1312206 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3
กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ความม่นั คงของเทคโนโลยี
1322307 และคณติ ศาสตร์ 3 1321306 สารสนเทศและเทคโนโลยี 2
1322305 3 1322304 บลอ็ กเชน 3
1322306 การส่ือสารและ 3 1322308 โครงงานวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ 3
1312313 การประมวลผลดิจทิ ัล 3 และปัญญาประดิษฐ์ 2
ไมโครโพรเซสเซอร์และอินเตอร์เน็ต สถาปตั ยกรรมคอมพวิ เตอร์ 17
รหัสวชิ า ของสรรพส่งิ 21
ระบบปฎิบัติการ การเรียนรู้ของเครื่อง
1322352 วศิ วกรรมซอฟต์แวร์และ หนว่ ยกติ
การวเิ คราะหร์ ะบบ รวม
3
รวม 3
ภาคการศึกษาฤดูรอ้ น
รายวิชา
การเรียนรภู้ าคปฏบิ ตั ิดา้ นวศิ วกรรม
คอมพิวเตอรแ์ ละปญั ญาประดษิ ฐ์ 2
รวม
4) ปกี ารศึกษาที่ 4
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต รหสั วชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต
1322309 คอมพิวเตอรว์ ทิ ศั น์ 3 1322453 การเรียนรภู้ าคปฏิบตั ดิ ้าน 6
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญา
132xxxx วิชาเลอื กเฉพาะสาขา 3 ประดิษฐ์ 3
xx xxxxx วิชาเลอื กเสรี 3 xx xxxxx วิชาเลอื กเสรี 3
รวม 9 รวม 9
32
หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวศิ วกรรมอตุ สาหการ
Bachelor of Engineering Program in Industrial Engineering
ชื่อปรญิ ญา
ภาษาไทย (ชอ่ื เตม็ ) : วิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต (วิศวกรรมอตุ สาหการ)
(อกั ษรย่อ) : วศ.บ. (วศิ วกรรมอุตสาหการ)
ภาษาอังกฤษ (ช่อื เต็ม) : Bachelor of Engineering Program in Industrial
(อกั ษรยอ่ ) : B.Eng. (Industrial Engineering)
จดุ เด่นของสาขาวิชา/หลักสูตร
ปัจจุบันภาคธุรกิจด้านต่างๆ มีแนวโน้มท่ีขยายตัวเพิ่ม เฉพาะด้านร่วมกัน โดยการบูรณาการการเรียนการสอน ในทุกๆ
มากข้ึน ทั้งในส่วนด้านของอุปสงค์และอุปทาน โดยเฉพาะในภาค ศาสตร์เชิงการจัดการและเทคโนโลยีอุตสาหการท่ีสามารถต่อยอด
อุตสาหกรรม จนท�ำให้การผลิตบุคลากรเฉพาะด้านที่มีองค์ความรู้ ได้ในอนาคต ซ่ึงปัจจุบันนั้นโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมมีความ
ทางดา้ นวิศวกรรมอุตสาหการ ในระดบั ปรญิ ญาบณั ฑิต เกดิ สภาวะ จำ� เปน็ ของบคุ ลากรดา้ นนเี้ พมิ่ ขน้ึ ทำ� ใหส้ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาของ
ขาดแคลนทรพั ยากรบคุ คลทม่ี อี งคค์ วามรทู้ ง้ั ในเชงิ ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ธุรกิจทกุ ๆ ประเภท ทีเ่ กยี่ วเนื่องกนั ได้
แนวทางการประกอบอาชพี
1) วศิ วกรวางแผนการผลติ
2) วิศวกรควบคุมการผลิต
3) วศิ วกรควบคมุ คุณภาพ
4) วศิ วกรซ่อมบ�ำรุง
5) วิศวกรในห่วงโซ่อปุ ทานและโลจิสติกส์
6) วศิ วกรอุตสาหการ
7) เจา้ ของกิจการ
33
รายละเอยี ดคา่ เล่าเรยี น
1) อัตราค่าเลา่ เรียนรวมตลอดหลักสตู ร 384,000 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศกึ ษาในอัตราทส่ี ถาบันก�ำหนด
ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดังน้ี
ภาคการศกึ ษาท่ี ค่าเล่าเรียนสำ� หรับนักศึกษาที่ คา่ เล่าเรยี นส�ำหรับนกั ศกึ ษาท่ี
เข้าเรยี นในภาคการศึกษาพเิ ศษ เขา้ เรียนในภาคปกติ
ครั้งท่ี 1
ครั้งที่ 2 – 7 25,600 51,200
51,200 51,200
ครั้งที่ 8 51,200 25,600
2) อัตราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา ไม่รวมค่าใชจ้ า่ ยดงั ต่อไปนี้
- ค่าหนงั สือ เอกสารประกอบวชิ าเรียน
- ค่าชดุ ปฏบิ ัตกิ าร วัตถุดบิ และอุปกรณ์อนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
- ค่ารายวิชาปรบั พ้นื ฐาน
- ค่าธรรมเนียมอน่ื ๆ และคา่ เบด็ เตลด็ นอกเหนอื อตั ราค่าเล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศึกษา
ตวั อย่างสถานประกอบการที่นกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิ
34
ข้อมูลการเรยี นและการฝึกปฏบิ ัติ
1) ปีการศกึ ษาที่ 1
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกติ รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกติ
MAT 1011 คณิตศาสตรว์ ิศวกรรม 1 3 MAT 1012 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 2 3
3 PHY 1021 ฟิสิกสว์ ศิ วกรรม 2 3
PHY 1011 ฟิสิกสว์ ิศวกรรม 1 1 PHY 1022 ปฏบิ ัตกิ ารฟสิ กิ ส์วศิ วกรรม 2 1
3 CHM 1011 เคมีวศิ วกรรม 3
PHY 1012 ปฏิบตั ิการฟสิ ิกส์วิศวกรรม 1 3 CHM 1012 ปฏิบัตกิ ารเคมีวศิ วกรรม 1
3 GE 1003 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 2 3
GE 1001 ภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร
GE 1002 ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร 1
GE 4002 เทคโนโลยีสารสนเทศและ 3 ENG 1001 การเขยี นแบบวิศวกรรม 3
การประยกุ ตใ์ ช้
GE xxxx วิชาเลอื กกลุม่ วิชาสังคมศาสตร์
ENG 1002 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3
เบอ้ื งต้น
IEN 2002 ปฏิบัติการวิศวกรรมอุตสาหการ 1
เบ้อื งตน้
รวม 19 รวม 21
2) ปกี ารศกึ ษาที่ 2
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต รหัสวิชา รายวชิ า หนว่ ยกติ
MAT 1013 คณติ ศาสตร์วศิ วกรรม 3 3 MAT2014 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรมอตุ สาหการ 3
3 ENG2004 อณุ หพลศาสตร์ 3
GE 1014 ภาษาองั กฤษส�ำหรบั วศิ วกรรมและ
เทคโนโลยี 3 IEN2001 กรรมวธิ ีการผลิต 3
3 IEN3101 การศึกษาการท�ำงานทาง 3
ENG 2001 กลศาสตร์วศิ วกรรม อตุ สาหกรรม
3 IEN3108 เศรษฐศาสตรว์ ิศวกรรม 3
ENG 2002 วสั ดุวิศวกรรม
3 ENG2007 ปฏบิ ตั ิการวศิ วกรรมเคร่อื งกล 1
ENG 2003 ความน่าจะเปน็ และสถิติ 1 GE xxxx วิชาเลือกกลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ 3
สำ� หรบั วิศวกร 19 19
รวม
ENG 2005 วิศวกรรมไฟฟ้าเบอ้ื งตน้
ENG 2006 ปฏิบตั กิ ารวศิ วกรรมไฟฟ้าเบื้องตน้
รวม
35
3) ปกี ารศกึ ษาที่ 3
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกิต
IEN 3102 การวิจยั การด�ำเนนิ งาน 3 IEN 3103 การวางแผนและควบคุมการผลิต 3
IEN 3109 การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ อตุ สาหกรรมและ 3 IEN 3104 การควบคมุ คุณภาพ 3
งบประมาณ
IEN 3110 ระบบอตั โนมตั กิ ารผลติ 3 IEN 3105 การออกแบบโรงงานอตุ สาหกรรม 3
3
IEN 3111 ปฏบิ ัตกิ ารระบบอัตโนมตั ิการผลติ 1 IEN 3106 วศิ วกรรมความปลอดภยั 3
3
IEN 3112 การจดั องค์การในงานอุตสาหกรรม 3 IEN 3107 วศิ วกรรมการบ�ำรุงรักษา
18
GE xxxx วิชาเลือกกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และ 3 IEN XXXX วชิ าเลือกส�ำหรบั วิศวกรรม
คณติ ศาสตร์ 1 อตุ สาหการ 1
GE xxxx วชิ าเลือกกลมุ่ วชิ าภาษาศาสตร์ 3
รวม 19 รวม
ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น
รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ
IEN 4301 การฝกึ งานวิศวกรรมอตุ สาหการ 3
รวม 3
4) ปีการศึกษาท่ี 4
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วิชา รายวิชา หน่วยกิต รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกิต
IEN 4201 โครงงานทางวิศวกรรมอตุ สาหการ 1 1 IEN 4202 โครงงานทางวศิ วกรรมอตุ สาหการ 2 3
GE xxxx
วิชาเลือกกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และ 3 รวม 3
IEN xxxx คณิตศาสตร์ 2
IEN xxxx วิชาเลือกส�ำหรับวิศวกรรม 3
อตุ สาหการ 2
xxx xxxx
xxx xxxx วิชาเลอื กสำ� หรับวิศวกรรม 3
อุตสาหการ 3
วิชาเลอื กเสรี 1 3
วชิ าเลอื กเสรี 2 3
รวม 16
36
หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าวิศวกรรมการผลิตยานยนต์
Bachelor of Engineering Program in Automotive Manufacturing Engineering
ช่อื ปริญญา
ภาษาไทย (ชือ่ เต็ม) : วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมการผลิตยานยนต)์
(อกั ษรยอ่ ) : วศ.บ. (วิศวกรรมการผลติ ยานยนต)์
ภาษาอังกฤษ (ชือ่ เตม็ ) : Bachelor of Engineering Program in Automotive
Manufacturing Engineering
(อักษรยอ่ ) : B.Eng. (Automotive Manufacturing Engineering)
จุดเด่นของสาขาวิชา/หลักสูตร
ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยถือว่าเป็น สร้างองค์ความรู้และบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถทางด้าน
อตุ สาหกรรมหลกั ในการขบั เคลอ่ื นประเทศ การพฒั นาอตุ สาหกรรม วิศวกรรมยานยนต์ข้ันสูงจึงมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงเพื่อเป็นก�ำลัง
ดงั กลา่ วอยา่ งเหมาะสม จะทำ� ใหป้ ระเทศมคี วามมนั่ คงทางเศรษฐกจิ สำ� คญั ในการขบั เคลอ่ื นใหป้ ระเทศสามารถพฒั นาไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื และ
ในระยะยาวได้ รวมทงั้ รฐั บาลไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การสรา้ งฐานการ การเปน็ ศูนยก์ ลางอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกอยา่ งแท้จริง
ผลติ ใหเ้ ขม้ แขง็ และการบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ดงั นน้ั การ
แนวทางการประกอบอาชพี
1) วิศวกรทมี่ ีความร้คู วามสามารถทางดา้ นการวางแผนการผลติ การควบคมุ การผลติ การควบคุมคณุ ภาพ
ในอตุ สาหกรรมยานยนต์ ช้นิ ส่วน และส่วนประกอบ
2) นกั จดั การอตุ สาหกรรมยานยนตแ์ ละช้ินส่วน ดา้ นวางแผนการผลิต ควบคุมสินคา้ ควบคมุ คุณภาพ และ
ฝา่ ยการผลิต
3) ประกอบธุรกิจสว่ นตวั ทีเ่ ก่ียวข้องกบั วิศวกรรมยานยนต์
37
รายละเอยี ดคา่ เล่าเรยี น
1) อัตราคา่ เลา่ เรยี นรวมตลอดหลกั สตู ร 384,000 บาท และช�ำระค่าเล่าเรยี นแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษาในอตั ราที่สถาบันกำ� หนด
ตามแผนการเรียนปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดงั นี้
ภาคการศกึ ษาท่ี ค่าเลา่ เรียนส�ำหรบั นกั ศกึ ษาที่ คา่ เลา่ เรยี นส�ำหรับนักศึกษาท่ี
เขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาพิเศษ เขา้ เรียนในภาคปกติ
ครง้ั ที่ 1 25,600 51,200
ครง้ั ที่ 2 – 7 51,200 51,200
51,200 25,600
คร้ังที่ 8
2) อัตราค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศึกษา ไมร่ วมคา่ ใช้จา่ ยดงั ต่อไปนี้
- คา่ หนังสือ เอกสารประกอบวชิ าเรียน
- ค่าชุดปฏบิ ตั ิการ วัตถดุ บิ และอปุ กรณ์อื่นๆ ท่เี กยี่ วข้อง
- คา่ รายวิชาปรับพ้ืนฐาน
- คา่ ธรรมเนียมอืน่ ๆ และค่าเบด็ เตล็ดนอกเหนอื อัตราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศกึ ษา
ตัวอย่างสถานประกอบการท่ีนกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบัติ
ชั้นปที ่ี 1: ร้าน 7-ElEVEn
ชนั้ ปที ่ี 2: ศูนยบ์ รกิ ารดา้ นยานยนต์
ช้ันปที ี่ 3-4: โรงงานอตุ สาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์
38
ข้อมลู การเรียนและการฝกึ ปฏิบตั ิ
1) ปกี ารศึกษาที่ 1
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกติ
EN xxxxx กล่มุ วิชาภาษาอังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาองั กฤษ 2
3 SO xxxxx กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ 3
TH xxxxx กลุม่ วิชาภาษาไทย 3 HM xxxxx กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์ 3
3 EG 59102 คณติ ศาสตร์วิศวกรรม 2 3
EG 59113 การเขยี นแบบวิศวกรรม 3 EG 59106 ฟิสิกสว์ ิศวกรรม 2 3
1 EG 59107 ปฏบิ ตั ิการฟสิ กิ ส์วิศวกรรม 2 1
EG 59101 คณติ ศาสตรว์ ศิ วกรรม 1 3 EG 62170 ปฏิบัตกิ ารพ้ืนฐานทางวศิ วกรรม 1
EG 59104 ฟสิ ิกสว์ ิศวกรรม 1 และการใช้เครื่องมอื ยานยนต์
1 EG 59112 การเรยี นรู้ภาคปฏิบตั ิ 3
EG 59105 ปฏิบตั กิ ารฟิสิกส์วศิ วกรรม 1 สำ� หรบั วิศวกรและนกั เทคโนโลยี
3 EG 59110 โครงงานทางวิศวกรรม 1
EG 59108 เคมีวศิ วกรรม (ไม่นบั ) และเทคโนโลยี
20
EG 59109 ปฏบิ ัติการเคมวี ศิ วกรรม 19 รวม
EG 62101 จริยธรรมและความรู้เบือ้ งตน้
ของวิชาชพี วศิ วกร
รวม
2) ปีการศกึ ษาท่ี 2
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต
EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาองั กฤษ 2 EN xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาอังกฤษ 2
3
SC xxxxx กล่มุ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 3 JN xxxxx/ กลมุ่ วชิ าภาษาญปี่ ุน่ /
CN xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษาจีน 3
EG 59114 การเขยี นโปรแกรคอมพิวเตอรเ์ บือ้ งต้น 3 SC xxxxx กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 3
และคณิตศาสตร์ 3
EG 59103 คณติ ศาสตร์วิศวกรรม 3 3 EG 59117 อุณหพลศาสตร์ 3
AE 62270 ปฏบิ ัติการไฟฟา้ และเล็กทรอนกิ ส์ 1 IE 59202 กรรมวิธกี ารผลติ 3
ยานยนต์
3
EG 59115 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3 AE 62201 กลศาสตร์วศิ วกรรม
ภาคพลศาสตร์ 23
EG 59116 วสั ดวุ ศิ วกรรม AE 62290 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัตดิ ้าน
วศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ 1
EG 62202 สถติ วิ ศิ วกรรม 3 AE 62281 โครงงานทางวิศวกรรมการผลิต
(ไมน่ บั ) ยานยนต์ 1
รวม 15 รวม
39
3) ปีการศกึ ษาท่ี 3
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกิต รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกติ
EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2 EG 59120 ปฏบิ ัตกิ ารวิศวกรรมเครื่องกล 1
SC xxxxx กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละ 3 AE 62306 การถา่ ยเทความรอ้ น 3
คณิตศาสตร์
AE 62302 ระเบียบวธิ เี ชิงตัวเลขส�ำหรับวิศวกร 3 AE 62307 พลศาสตรแ์ ละการสนั่ สะเทือน 3
3 AE 62308 3
AE 62303 กลศาสตรข์ องไหล การบรหิ ารกระบวนการผลติ สำ� หรบั 2
อตุ สาหกรรมยานยนต์ 3
AE 62304 เคร่ืองยนตส์ ันดาปภายใน 3 AE 62309 เทคโนโลยตี น้ กำ� ลงั ไฟฟา้ และระบบ 2
ไฮบรดิ สส์ �ำหรบั ยานยนต์
AE 62305 กลศาสตรข์ องวัสดุ 3 AE 62310 ก า ร อ อ ก แ บ บ ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม 3
เคร่ืองกล 20
AE 62340 พื้นฐานวศิ วกรรมยานยนต์ 2 AE 62341 คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยการออกแบบ
การผลติ และวศิ วกรรมยานยนต์
รวม AE 62391 การเรียนรู้ภาคปฏบิ ัติ
19 ดา้ นวศิ วกรรมการผลติ ยานยนต์ 2
รวม
4) ปกี ารศึกษาท่ี 4
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกิต
AE 624xx วชิ าเลือกเฉพาะสาขา 3 AE 62380 การเย่ียมชมโรงงานอุตสาหกรรม 1
วิศวกรรมการผลติ ยานยนต์ 1 2
6
AE 624xx วชิ าเลือกเฉพาะสาขา 3 AE 62482 โครงงานทางวศิ วกรรม
วิศวกรรมการผลิตยานยนต์ 2 การผลติ ยานยนต์ 2 9
AE 624xx วชิ าเลอื กเฉพาะสาขา 3 AE 62492 การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ตั ิ
วิศวกรรมการผลิตยานยนต์ 3 ด้านวิศวกรรมการผลิตยานยนต์ 3
XX xxxxx วิชาเลือกเสรี 1 3
3
XX xxxxx วิชาเลือกเสรี 2 15 รวม
รวม
สามารถศกึ ษาขอ้ มลู หลกั สูตรเพ่มิ เตมิ ได้ที่ :
http://202.44.139.57/checo/UnivSummary2.aspx?id=25572501100528_2116_IP&b=0&u=25000&y=
40
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าวศิ วกรรมหุ่นยนต์และระบบอตั โนมตั ิ
Bachelor of Engineering Program in Robotics and Automation Engineering
ชอ่ื ปริญญา
ภาษาไทย (ช่อื เต็ม) : วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต
(วิศวกรรมหุ่นยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั )ิ
(อกั ษรยอ่ ) : วศ.บ. (วศิ วกรรมหุน่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมัติ)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเตม็ ) : Bachelor of Engineering
(Robotics and Automation Engineering)
(อกั ษรย่อ) : B.Eng. (Robotics and Automation Engineering)
จดุ เดน่ ของสาขาวชิ า/หลักสูตร
สาขาวชิ าวศิ วกรรมหนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ เปน็ สาขา ปฏิบัติงานจริงในด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ หลักสูตรได้
ทมี่ คี วามเปน็ สหวทิ ยาการทผี่ สมผสานระหวา่ งศาสตรท์ างดา้ นไฟฟา้ ออกแบบให้นักศึกษาได้รับความรู้ทางวิชาการและมีโอกาสฝึกงาน
เครอื่ งกล และคอมพวิ เตอร์ โดยทางหลกั สตู รสรา้ งบคุ ลากรมคี วามรู้ ในสถานประกอบการชั้นน�ำที่เกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์ท่ีใช้ใน
ความสามารถทางด้านวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ท้ัง อุตสาหกรรมและอุปกรณ์ในระบบอัตโนมัติ ท้ังในประเทศหรือ
ภาควิจัยพัฒนาและภาคการผลิตเพื่อเตรียมความพร้อมในการ ต่างประเทศ
แนวทางการประกอบอาชพี
1) วศิ วกรหุน่ ยนต์
2) วิศวกรระบบอตั โนมตั ิ
3) วิศวกรระบบแมคคาโทรนิกส์
4) นกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบหุ่นยนต์
5) นักพฒั นาซอฟต์แวร์ระบบหนุ่ ยนต์
6) นกั วจิ ัยด้านหุ่นยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ
41
รายละเอยี ดคา่ เล่าเรยี น
1) อัตราค่าเลา่ เรียนรวมตลอดหลักสตู ร 502,500 บาท และชำ� ระคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจ่ายตอ่ ภาคการศกึ ษาในอัตราทส่ี ถาบันก�ำหนด
ตามแผนการเรยี นปกติ 8 ภาคการศกึ ษา ดังน้ี
ภาคการศกึ ษาท่ี ค่าเล่าเรียนสำ� หรับนักศึกษาที่ คา่ เล่าเรยี นส�ำหรับนกั ศกึ ษาท่ี
เข้าเรยี นในภาคการศึกษาพเิ ศษ เขา้ เรียนในภาคปกติ
ครั้งท่ี 1 33,500 67,000
ครั้งที่ 2 – 7 67,000 67,000
67,000 33,500
ครั้งที่ 8
2) อัตราคา่ เลา่ เรยี นแบบเหมาจา่ ยตอ่ ภาคการศึกษา ไม่รวมค่าใชจ้ า่ ยดงั ต่อไปนี้
- ค่าหนงั สือ เอกสารประกอบวชิ าเรียน
- ค่าชดุ ปฏบิ ัตกิ าร วัตถุดบิ และอุปกรณ์อนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
- ค่ารายวิชาปรบั พ้นื ฐาน
- ค่าธรรมเนียมอน่ื ๆ และคา่ เบด็ เตลด็ นอกเหนอื อตั ราค่าเล่าเรยี นแบบเหมาจา่ ยต่อภาคการศึกษา
ตวั อย่างสถานประกอบการที่นกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิ
42
ข้อมูลการเรยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
1) ปีการศึกษาท่ี 1
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกติ รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกติ
HM xxxxx กลุ่มวชิ ามนษุ ยศ์ าสตร์ 3 EG 59102 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3
2 EG 59106 ฟสิ ิกสว์ ิศวกรรม 2 3
EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 3 EG 59108 เคมีวศิ วกรรม 3
3 EG 59109 ปฏบิ ัติเคมวี ศิ วกรรม 1
SO xxxxx สงั คมศาสตร์ 3 EG 59110 โครงงานทางวศิ วกรรม 1
และเทคโนโลยี
EG 59101 คณติ ศาสตร์วศิ วกรรม 1 3 EG 59111 ความน่าจะเปน็ และสถติ ิ 3
EG 59104 ฟสิ ิกส์วิศวกรรม ส�ำหรบั วิศวกร
3 EG 59112 การเรยี นรู้ภาคปฏิบตั ิ 3
EG 59114 การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ส�ำหรับวศิ วกรและนักเทคโนโลยี
เบือ้ งตน้
RE 60101 วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์
ส�ำหรับวิศวกรหุ่นยนต์และระบบ
อตั โนมตั ิ
EG 60101 ปฏิบัติการฟิสิกส์ส�ำหรับวิศวกรรม 1
หุ่นยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ
EG 60102 ปฏิบตั กิ ารวศิ วกรรมหนุ่ ยนต์ 1
และระบบอตั โนมัติ 1
รวม 20 รวม 19
2) ปกี ารศึกษาที่ 2
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกติ รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกิต
EN xxxxx กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 2 EN xxxxx กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 2
3 SO xxxxx กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ 3
SC xxxxx กลุม่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 3 HM xxxxx กลมุ่ วชิ ามนษุ ย์ศาสตร์ 3
3 RE 60208 ปฏิบตั กิ ารวิศวกรรมหุ่นยนต์ 1
RE 60203 การออกแบบระบบดิจติ ลั และลอจิก และระบบอตั โนมัติ 2
3 RE 60209 สถิตยศาสตรแ์ ละพลศาสตร์ 3
RE 60204 การพัฒนาซอฟต์แวรส์ ำ� หรบั วศิ วกรรม
หุ่นยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ 3 RE 60210 วสั ดแุ ละกรรมวิธกี ารผลติ 3
RE 60205 คณติ ศาสตรส์ ำ� หรับวศิ วกรรมหนุ่ ยนต์ 3 RE 60211 โครงงานวศิ วกรรมหุ่นยนต์ 1
และระบบอตั โนมตั ิ และระบบอตั โนมัติ 1
RE 60226 การเรยี นรูภ้ าคปฏิบตั ิ 3
RE 60206 วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ส�ำหรบั ดา้ นวศิ วกรรมหุ่นยนต์
วิศวกรหนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ 20 และระบบอัตโนมตั ิ 1 19
RE 60207 เทคโนโลยีเซ็นเซอร์และ รวม
แอคทเู อเตอร์
รวม
43
3) ปกี ารศึกษาท่ี 3
ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหสั วชิ า รายวชิ า หน่วยกติ รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกติ
XX xxxxx กลมุ่ วิชาภาษา 3 XX xxxxx กลมุ่ วิชาภาษา 3
RE 60312 การออกแบบทางวิศวกรรม 3 RE 60317 ทฤษฎหี ุน่ ยนต์ 3
ห่นุ ยนต์ 1 3 3
RE 60313 การควบคมุ และพลศาสตร์ 3 RE 60318 การออกแบบทางวิศวกรรม 3
ของระบบ 3 ห่นุ ยนต์ 2 1
RE 60314 ระบบอตั โนมตั ิและหนุ่ ยนต์ 3 RE 60319 ปญั ญาประดษิ ฐ์กบั หุน่ ยนต์ 2
ในการผลติ 3
RE 60315 ระบบสมองกลฝงั ตัวส�ำหรับหุน่ ยนต์ 18 RE 60320 ปฏบิ ัตกิ ารวศิ วกรรมหุน่ ยนต์
และระบบอตั โนมตั ิ 3 18
RE 60316 ระบบแมชชีนวิชั่นส�ำหรบั หุน่ ยนต์ RE 60321 โครงงานวิศวกรรมหุน่ ยนต์
และระบบอัตโนมัติ 2
RE 60327 การเรียนรูภ้ าคปฏิบตั ิด้าน
วศิ วกรรมหุ่นยนตแ์ ละ
รวม ระบบอัตโนมัติ 2
รวม
4) ปีการศกึ ษาท่ี 4
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา รายวิชา หนว่ ยกิต รหสั วชิ า รายวิชา หน่วยกิต
XX xxxxx กลมุ่ วชิ าภาษา 3(3-0-6) RE 60428 การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัติด้าน 6(0-40-0)
วศิ วกรรมห่นุ ยนต์และ
ระบบอัตโนมตั ิ 3 3(x-x-x)
XX xxxxx วชิ าเลอื กเฉพาะสาขา 3(x-x-x) XX xxxxx วิชาเลอื กเสรี 9
XX xxxxx วิชาเลอื กเฉพาะสาขา
XX xxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
3(x-x-x)
รวม 12 รวม
44
รอบรู้ “พี ไอ เอม็ (PIM)”
1. ท่ตี ้งั สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์
สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์ หรอื พี ไอ เอ็ม (PIM) ต้ังอยู่บนถนนแจ้งวฒั นะ ฝ่งั ม่งุ หนา้ ไปยงั ตลาดปากเกรด็
โดยตั้งอย่เู ลขท่ี 85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
หมายเหตุ อย่รู ะหว่างการกอ่ สรา้ งรถไฟฟ้าสายสชี มพู
โทรศัพท์ : 02-855-0000
โทรสาร : 02-855-0391
อเี มล์ : [email protected]
เฟซบุ๊ค : www.facebook.com/pimfanpage
การเดนิ ทางมายัง PIM รถตู้โดยสารประจ�ำทาง สองเเถวนนทบุรี
รถประจำ� ทาง
1. รถเมล์สาย 166 1. รถตสู้ ายมนี บุรี-ปากเกร็ด 1. สองแถวสาย
(อนสุ าวรีย์ชยั สมรภูมิ - เมืองทองธาน)ี 2. รถต้สู ายอนุสาวรยี ช์ ัยสมรภูมิ – ปากเกรด็ ท่าน้ำ� นนท์ –
2. รถเมลส์ าย 356 3. รถตู้สายรงั สิต – ปากเกรด็ ผา่ นหน้า
4. รถตสู้ ายจตจุ กั ร – ปากเกร็ด เมืองทองธานี –
• สายปากเกร็ด – สะพานใหม่ 5. รถตสู้ ายบางกะปิ – ปากเกร็ด วดั สาลโี ข
• สายปากเกร็ด – ดอนเมือง – สะพานใหม่ 6. รถตสู้ าย ม.รามคำ� แหง – ปากเกร็ด
3. รถเมลส์ าย 51 (ปากเกร็ด – ม.เกษตรศาสตร)์
4. รถเมล์สาย 52 (ปากเกรด็ – จตุจักร)
5. รถเมล์สาย 150 (ปากเกร็ด – Happy Land)
6. รถเมล์สาย 391 (ลาดหลุมแก้ว – เมอื งทองธาน)ี
45
2. อาคาร ห้องเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการ
อาคาร 1 (อาคารอำ� นวยการ)
ชั้น 1-3 : หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่างๆ
ชน้ั 3 : หอ้ งละหมาด หอ้ งปฏบิ ัติการตา่ งๆ
อาคาร 2 (อาคารหอประชุม/Convention Hall) อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy)
ชัน้ 1 : โถงกิจกรรม ร้านค้าจ�ำหนา่ ยอาหารและสนิ ค้าทว่ั ไป ชั้น 7 : ห้องเรยี น สำ� นกั กิจการนกั ศกึ ษา
PIM Smart Shop และ PIM Souvenir Shop และส�ำนกั พฒั นานกั ศกึ ษา
ชน้ั 2 : หอ้ งเรียน ชั้น 8 : ห้องเรียน และ Store Model
ชน้ั 3 : หอ้ งละหมาด และหอ้ งประชมุ /สมั มนา ชั้น 9 : หอ้ งพักอาจารยค์ ณะอตุ สาหกรรมเกษตร
อาคาร 3 (อาคารอเนกประสงค)์ คณะนเิ ทศศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์ คณะนวัตกรรมการจัดการเกษตร
ชั้น 1 : ห้องปฏิบตั ิการตา่ งๆ และคณะการจัดการธรุ กจิ อาหาร
ชัน้ 2 : ห้องพยาบาล และส�ำนักงานต่างๆ ชั้น 10 : ห้องพักอาจารย์คณะบริหารธุรกิจ
ชั้น 3 : หอ้ งเรียน และหอ้ งปฏบิ ตั ิการ คณะวทิ ยาการจดั การ
คณะการจัดการโลจสิ ตกิ ส์และการคมนาคมขนสง่
อาคาร 4 (อาคาร CP ALL Academy) วทิ ยาลยั นานาชาติ และวทิ ยาลัยบัณฑิตศึกษาจนี
ชนั้ 11 : หอ้ งพกั อาจารยค์ ณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้น G : รา้ นถ่ายเอกสาร คณะศลิ ปศาสตร์ และส�ำนกั การศกึ ษาทัว่ ไป
ชั้น L : ศูนย์รบั สมัครนักศึกษา ร้าน 7-ELEVEn ช้นั 12 : หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารต่างๆ
และห้องพกั อาจารยค์ ณะวิทยาการจดั การ
และรา้ นกาแฟ Bellinee’s Bake & Brew สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเท่ียว
ชน้ั M : ศูนย์ปฏบิ ตั ิการธุรกิจการบนิ (PIM AIR) ชั้น 12A : ห้องสมุด
ชน้ั 3 : ศูนย์อาหาร Food World ชั้น 14 : ส�ำนกั ส่งเสริมวชิ าการ ส�ำนกั บัญชแี ละการเงิน
ชน้ั 4 : หอ้ งเรียน และห้องปฏิบัตกิ ารภาคพืน้ และพ้ืนที่อ่านหนงั สอื
ช้นั 5–8 : ห้องเรยี น ชน้ั 16 : หอ้ งประชมุ Auditorium
46
ห้องเรยี นและหอ้ งปฏิบัติการตา่ งๆ
ห้องเรียนอจั ฉริยะ Smart Classroom
หอ้ ง 4-0806
ห้องเรียนในยุคใหม่ ที่ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ให้เป็นมากกว่าห้องเรียน
ท่ัวไป
ห้องปฏบิ ัตกิ ารดา้ นภาษาและคอมพิวเตอร์
Computer & Sound Lab
ห้อง 1-0301, 1-0303, 3-0309, 3-0310,
4-1204, 4-1205, 4-1208, 4-1209 และ 4-1210
เรยี นรู้การใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะทางคอมพวิ เตอร์และ
ภาษาตา่ งประเทศ
ร้าน 7- ELEVEn (PIM Store Model)
ห7-อ้ EงLE4V-0E8n07จำ� ลอง ห้องเรยี นรรู้ ะบบการจัดการ
ธรุ กจิ การค้าสมยั ใหม่
ศนู ยฝ์ ึกปฏบิ ตั ิการธรุ กิจการบิน (PIM Air)
Sky Terminal หอ้ ง 4-M001
AIRCRAFT ห้อง 4-M002
ศนู ยฝ์ กึ การบรกิ ารภาคพน้ื และบนเครอ่ื งบนิ
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารภาคพื้น
ห้อง 4-0408
เรียนรกู้ ารจดั การจราจรทางอากาศ การจดั การสนามบนิ
การจัดการอำ� นวยการบนิ และการขนส่งสินค้า (Cargo)
47
ห้องปฏิบัติการด้านสอ่ื และมลั ติมีเดีย
Convergent Media Studio
หอ้ ง 4-1206
เรยี นร้กู ารปฏบิ ัตกิ ารข่าว ผลิตข่าวตอบโจทย์ทุก Platform
ครบเคร่ืองผ้นู ำ� Convergent Media
Mac Lab
หอ้ ง 4-1207
เรยี นรูป้ ฏบิ ตั กิ ารสือ่ กราฟกิ และมัลตมิ เี ดีย เตมิ ทักษะ
ตอบโจทย์ Multi Skill
ห้องปฏบิ ตั กิ ารกลยทุ ธ์การจดั การโลจสิ ติกส์
Logistic Strategic Management Lab
หอ้ ง 1-0201
เรยี นรู้การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นการจัดการคลงั สนิ ค้า
การจัดการขนสง่ และจำ� ลองสถานการณต์ ่างๆ ผา่ นระบบ
สารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS)
ห้องปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์
Physical and Innovative Agricultural Lab
หอ้ ง 3-0101
ปฏิบตั กิ ารทดลองทางด้านชวี วทิ ยา จลุ ชีววิทยา และสุขภาพพชื
Chemical Lab
ห้อง 3-0111
ปฏบิ ัติการทดลองเกี่ยวกับกลไกของปฏิกริ ิยาเคมีท่บี ูรณาการ
ศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์ อาทิ ศาสตรท์ างดา้ นการเกษตร
และวิศวกรรม
48
ห้องปฏิบัตกิ ารทางวศิ วกรรมศาสตร์
Microprocessor and Embeded System Lab
ห้อง 1-0302
ปฏิบัติการทดลองผ่านโปรแกรมและวงจรต่างๆ เพ่ือปูพ้ืนฐาน
กระบวนการคิดที่เป็นระบบและมีเหตุผล เพื่อสร้างสมองกลหรือ
คอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็
Advanced Research Lab
หอ้ ง 1-0308
Research Factory: Experimenting, Sharing and Learning
Mechanical Engineering Lab
หอ้ ง 3-0105 และ 3-0106
เรยี นร้กู ารคำ� นวณด้านเครอื่ งกล เพอื่ นำ� ไปใชใ้ นชีวิตประจำ� วัน
Industrial Engineering Lab
ห้อง 3-0107
เรยี นรกู้ ารเคลอ่ื นไหวของรา่ งกายในขณะท�ำงาน การหาเวลา
มาตรฐานในการทำ� งาน และศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของวสั ดวุ ศิ วกรรม
Industrial Automation System Lab
ห้อง 3-0108
ฝกี ปฏิบตั ิการเขยี นโปรแกรมควบคมุ เคร่ืองจกั รแบบอตั โนมัตใิ น
โรงงานอุตสาหกรรม ด้วยชุดระบบควบคุมอัตโนมัติ
Programable Logic Control
Automotive Information Lab
หอ้ ง 3-0102
ปฏิบัติการเครอื่ ง 3D scanner และ 3D printer
และการใชโ้ ปรแกรม SolidWork และ CATIA ในการออกแบบ
Automotive Electronics Lab
ห้อง 3-0103
เรียนรู้องค์ประกอบและกลไกของเคร่ืองยนตป์ ระเภทต่างๆ
49
Electronics and Digital Lab
ห้อง 1-0304
เรียนรู้การปฏบิ ตั ิการวงจรไฟฟา้ ไฟฟา้ สามเฟสและมอเตอร์
รวมถึงวงจรดจิ ิทลั พื้นฐาน
Network Lab
ห้อง 1-0307
เรยี นรกู้ ารจดั เก็บขอ้ มูลบน Storage ของ Cloud
และระบบเครอื ข่ายตา่ งๆ
Physics Lab
หอ้ ง 1-0305
ปฏบิ ัติการทดลองเกี่ยวกับพ้ืนฐานทางฟิสิกส์กลศาสตร์
และฟสิ ิกสไ์ ฟฟา้
Innovation Center for Robotics and
Automation Systems (iCRAS)
หอ้ ง 1-0101
เรยี นรู้การใชง้ านหุน่ ยนต์และระบบอตั โนมตั ิ
รวมถึงการใชเ้ คร่ืองมอื ในการสร้างชิ้นส่วนตา่ งๆ ของหุน่ ยนต์
50