แบบรายงานการวิจยั (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวจิ ยั
เรอ่ื ง
เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
Aroma Candle by HT. Café
ชอื่ ผ้ทู ำงานวจิ ยั
1.นายกฤษณพงศ์ นาโพธิ์
2.นางสาวปรารถนา ชยั เสรวี งศ์สกลุ
3.นางสาวสธุ ามาตร์ จวิ
4.นางสาวจันทมิ า มนี า
5.นางสาวญาณิกา แดงนาเพยี ง
ประจำปกี ารศึกษา 2565
ปพี ุทธศกั ราช 2565-2566
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร
แบบรายงานการวิจยั (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวจิ ยั
เรอ่ื ง
เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
Aroma Candle by HT. Café
ชอื่ ผ้ทู ำงานวจิ ยั
1.นายกฤษณพงศ์ นาโพธิ์
2.นางสาวปรารถนา ชยั เสรวี งศ์สกลุ
3.นางสาวสุธามาตร์ จวิ
4.นางสาวจันทมิ า มนี า
5.นางสาวญาณิกา แดงนาเพยี ง
ประจำปกี ารศึกษา 2565
ปพี ุทธศกั ราช 2565-2566
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
ชอื่ เรอื่ ง เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
ผู้ดำเนินการวจิ ยั
นายกฤษณพงศ์ นาโพธ์ิ
ทีป่ รึกษา
นางสาวปรารถนา ชยั เสรวี งศส์ กลุ
นางสาวสธุ ามาตร์ จิว
นางสาวจันทิมา มีนา
นางสาวญาณกิ า แดงนาเพยี ง
นายอิษวัติ รัตนสมบัติ
นางสาวหฤษฎี ศรวี ิลา
นางสาวรติอร จันทนนท์
นางสาวธญั วรตั น์ พลอยเจริญ
สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ปีทท่ี ำวิจัย 2565
บทคัดยอ่
เทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ จดั ทำขึ้นโดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อแปรรูปกากกาแฟที่เหลือทิ้ง
ให้เกิดมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถสร้างรายได้ ให้แก่ร้าน HT. Cafe' เทียนหอมอโรมาจากกาก
กาแฟช่วยลดปัญหากลิ่นอับภายในห้องพัก วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน
นักศึกษาหญิง ระดับ ปวช. และระดับปวส. สาขาการโรงแรมและการท่องเที่ยว จำนวน 20 คน ที่ได้
จากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม แบ่งเป็น 2 ส่วน
ไดแ้ ก่ สว่ นที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลเก่ยี วกับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อการใช้เทียน
หอมอโรมา จากกากกาแฟ จำนวน 6 ข้อ ส่วนที่ 2 ข้อเสนอของผู้บริโภค เพื่อใช้ในการปรับปรุง
ผลิตภัณฑ์ ในการวิจัยผู้วิจัยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยพิจารณาเป็นรายข้อ
รายด้าน และภาพรวมใช้เกณฑ์ของ เบสท์ (John W.Best 1981 : 182) ในการแปลความหมายและ
นำขอ้ มูลท่ไี ด้จากแบบสอบถาม มาวเิ คราะห์เปรียบเทยี บโดยใช้ค่า t-test
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของผู้ทดลองใช้ที่มีต่อเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ ใน
ภาพรวมมีความพึงพอใจระดับ พึงพอใจมาก หรือ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจต่อผลิตภณั ฑ์ช่วยลดกลิน่ อับภายในห้อง ในระดับพอใจมาก
ที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.55 รองลงมาคือ ความสวยงาม มีความพึงพอใจมากที่สุด หรือค่าเฉลี่ย 4.51 และ มี
ความพึงพอใจมากในการใชผ้ ลิตภัณฑเ์ ทียนหอมอโรมาจากกากกาแฟ หรือค่าเฉลยี่ 4.48 และ ภาชนะ
ที่ใส่เทียนหอมอโรมาจากกากกาแฟ มีความพึงพอใจมาก หรือค่าเฉลี่ย 4.18 และกลิ่นของเทียนหอม
อโรมาจากกากกาแฟ มีความพีงพอใจมาก หรือค่าเฉลี่ย 4.03 รายการที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือ
ราคาของเทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ มีความพงึ พอใจมาก หรอื ค่าเฉลย่ี 3.55 ตามลำดบั
ข
Research Title AROMA CANDLE BY HT. CAFÉ
Researcher 1.MR. KITSANAPHONG NAPHO
2.MISS PRATHANA CHAISERIWONGSAKUL
3.MISS SUTHAMAT JIW
4.MISS JANTIMA MEENA
5.MISS YANIKA DAENGNAPHIANG
Research Consultants MR. ISAWAT RATANASOMBUT
MISS HARISADEE SRIVILA
MISS RATION CHANTHANON
MISS THANWARAT PLOYCHAROEN
Organization SUKHOTHAI VOCATIONAL COLLEGE
Year 2022
Abstract
Aroma candle from coffee grounds, prepared with the purpose of processing
the leftover coffee grounds. To create value as a product that can generate income
for HT. Cafe' Aroma candle made from coffee grounds helps reduce the problem of
musty smell in the room. survey research methods the sample consisted of 20 female
students at the vocational and vocational levels in the field of hotel and tourism,
drawn by purposive random sampling. The tool used for data collection was a
questionnaire divided into 2 parts: part 1 questionnaire on the satisfaction of the
respondents towards the use of aroma candles from coffee grounds, 6 items, part 2 ,
proposals. consumer for use in improving the product in the research, the researcher
uses statistics to analyze the data, mean (mean) by considering each item, side and
overall using Best's criteria (John W. Best 1981: 182) to interpret and apply the data.
from the questionnaire for comparative analysis using the t-test.
The results showed that the satisfaction of the experimenters with aroma
candles from coffee grounds in the overall satisfaction level was very satisfied or the
average was 4 . 2 1 when considering each aspect found that the respondents were
satisfied with the product. Help reduce musty smells in the room. At the most
satisfied level with an average of 4.55, followed by beauty, was the most satisfied. or
an average of 4.51 and were very satisfied with the use of aroma candle products from
coffee grounds. or an average of 4.48 and a container containing aroma candles from
coffee grounds very satisfied or an average of 4.18 and the smell of scented candles
Aroma comes from coffee grounds. very satisfied or an average of 4.03. The item with
the least satisfaction was the price of aroma candles from coffee grounds. Very
satisfied. or average 3.55 respectively
ค
กิตติกรรมประกาศ
โครงการวิจัยเรื่อง เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ เพื่อแปรรูปและสร้างรายได้ให้แก่ร้าน
HT. Café สามารถดำเนินการจนประสบความสำเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี เนอื่ งจากได้รบั ความกรณุ าอย่างสูง
จาก อาจารย์อิษวัต รัตนสมบัติ หัวหน้าสาขาการโรงแรมและการท่องเที่ยว อาจารย์หฤษฎี ศรีวิลา
อาจารย์รติอร จันทนนท์ และ อาจารย์ธัญวรัตน์ พลอยเจริญ ได้กรุณาเห็นชอบในการจัดทำ ให้การ
สนับสนุน ให้คำแนะนำปรึกษาและข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าตลอดจนปรับปรุง
แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ คณะผวู้ จิ ัยขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสงู ไว้ ณ ท่ีน้ี
คณะผู้วิจัย ขอกราบขอบพระคุณผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย ที่ได้ให้การ
สนบั สนนุ งบประมาณในการจัดทำ
คุณค่าและประโยชน์ใดของวิจัยนี้ คณะผู้วิจัยขอน้อมบูชาพระคุณของบิดา มารดา ครู
อาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกท่านที่ได้ให้ชีวิต สติปัญญา และคุณธรรมอันมีค่ายิ่ง ด้วยความสำนึกใน
พระคุณเป็นอยา่ งสงู
คณะผวู้ ิจยั
ธนั วาคม 2565
สารบัญ ง
บทคัดย่อภาษาไทย หน้า
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพ ฉ
ช
บทท่ี 1 บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคญั 1
วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1
ขอบเขตการวจิ ยั 2
สมมติฐานการวจิ ัย 2
คำจำกัดความท่ีใช้ในงานวจิ ัย 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั 2
บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง 3
-กาแฟ 5
-เทยี นหอม 5
-อโรมาเธอราปี 6
-แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพงึ พอใจความพึงพอใจ 8
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั
9
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวจิ ัย 11
ประชากรและการส่มุ กล่มุ ตวั อย่าง 11
เครอื่ งมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ 11
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 11
การวเิ คราะห์ข้อมลู
12
บทที่ 4 ผลการวิจยั
13
บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ.. 13
สรุปผลการวิจยั 13
อภปิ รายผล
ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ จ
ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ัยคร้ังต่อไป
13
บรรณานกุ รม 14
บรรณานกุ รมภาษาไทย
บรรณานกุ รมภาษาตา่ งประเทศ หนา้
ภาคผนวก 15
ภาคผนวก ก แบบสอบถามความคิดเห็น 15
ภาคผนวก ข วิธกี ารใช้เทียนหอม จากกากกาแฟ
17
ประวัติผู้วิจัย 18
21
สารบญั ตาราง ฉ
ตารางที่ หนา้
4.1 ค่าเฉลีย่ ของระดบั ความพงึ พอใจเก่ียวกับเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ 12
สารบัญภาพ ช
ภาพที่ หนา้
2.1 กากกาแฟ 4
4.1 อปุ กรณ์ในการทำเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ 10
4.2 ตวง Bee wax ลงในแกว้ ตวง 10
4.3 ละลาย Bee wax หม้อตม้ น้ำ 10
4.4 เทเทยี นลงในภาชนะและตกแตง่ ด้วยเมลด็ กาแฟให้สวยงาม 10
4.5 จุดเทยี นหอม และการสครบั ผิว 11
1
บทที่ 1
บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคญั
ตามนโยบายและจุดเน้นการปฏิบัติราชการ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เพือ่ ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา ม่งุ เนน้ พฒั นาศักยภาพผู้เรียน
อาชีวศึกษา ให้เป็นผู้ประกอบการ โดยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ผู้เรียนเพื่อการดำรงชีวิตให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์
และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ และสร้างรายได้ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
สุโขทัยไดจ้ ัดต้ังศนู ย์บ่มเพาะโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาขีดความสามารถของ
นักเรยี น ใหส้ ามารถนำความรู้ ทักษะวิชาชีพเพ่ือสร้างเสริมประสบการณเ์ ชงิ พาณชิ ย์ใหม้ ีความพร้อมท่ี
จะเรม่ิ ต้นธรุ กิจของตนเอง
โดยสาขาการโรงแรมและการท่องเท่ียวได้เปิดศูนย์บ่มเพาะร้าน HT. Café จำหน่ายเครื่องดื่ม
ประเภทร้อนและเย็น อาทิเช่น เมนูกาแฟ เมนูนำ้ โซดา และชา เปน็ ต้น ซง่ึ เมนูเคร่ืองดื่มท่ีทำยอดขาย
ไดม้ ากทสี่ ดุ คอื เมนกู าแฟ ซึง่ แต่ละวันร้าน HT. Café จะมกี ากกาแฟเหลอื ท้ิงจำนวนมาก ซึง่ กากกาแฟ
ถอื วา่ เป็นกากของเสียที่ส่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมเพราะมีปรมิ าณคาร์บอนเป็นองค์ประกอบจำนวน
มาก หากมีการทงิ้ ลงสแู่ หลง่ นำ้ จะส่งผลใหค้ า่ BOD (ปริมาณออกซิเจนท่ีจุลินทรียต์ ้องการใชใ้ นการย่อย
สบายอินทรีย์สารที่มีอยู่ในน้ำ) ในน้ำมีปริมาณสูงขึ้น และหากมีการจัดการกากกาแฟที่ไม่ดีอาจ
กลายเป็นแหล่งสะสมเชื้อราและแบคทีเรียต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ อีกทั้งราคาของเมล็ด
กาแฟในท้องตลาดนนั้ มีราคาค่อนข้างสูง ผจู้ ัดทำจงึ ได้คดิ วิธีการนำกากกาแฟเหลอื ท้งิ มาแปรรูปให้เกิด
ประโยชน์ และสร้างมูลค่าให้กากกาแฟ โดยการทำเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ ซึ่งเป็นวัสดุ
ธรรมชาติ โดยกากกาแฟนั้นมีกลิ่นเฉพาะตัว ชวนให้คนหลงใหลเมื่อได้สูดดม มีสีน้ำตาลธรรมชาติ
สวยงาม มีคุณสมบัติดูดกลิ่นได้ดี ลดกลิ่นอับภายในห้อง ส่วนตัวเทียนทำจาก Bee wax เป็นไขที่ได้
จากตัวผึ้ง มีกลิ่นธรรมชาติเหมาะสำหรับคนที่แพ้กลิ่นน้ำมันหอมระเหย และ Bee wax ยังสามารถ
นำไปทำเคร่ืองสำอาง เชน่ ทำเปน็ ลิปบาลม์ หรือลิปสตกิ ได้
จากประโยชนแ์ ละคณุ สมบัตพิ ิเศษดังกล่าว ทางคณะผจู้ ัดทำจงึ ได้จัดทำผลติ ภณั ฑ์เทยี นหอมอ
โรมาจากกากกาแฟ เพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างรายได้ ช่วยลดปัญหากลิ่นอับภายในห้อง อีกทั้งยังเป็นการ
แกป้ ัญหากากกาแฟท่เี หลือทิง้ จากร้าน HT. Café
วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย
1.เพอ่ื แปรรูปกากกาแฟให้เกิดมูลค่า
2.เพอ่ื สร้างรายได้ให้แก่ HT. Café
3.เพอ่ื ลดปัญหากล่นิ อบั ภายในห้อง
2
ขอบเขตการวิจัย
1.ตัวแปรต้น ได้แก่ การแปรรูปกากกาแฟที่เหลือทิ้ง ให้เกิดมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถ
สร้างรายได้ใหแ้ กร่ ้าน HT. Café และเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟยงั ช่วยลดปัญหากล่ินอับภายใน
หอ้ ง
2.ตวั แปรตาม ได้แก่ ความพงึ พอใจของผู้บริโภค
สมมตฐิ านการวิจัย
1.เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟชว่ ยลดปญั หากลน่ิ อับภายในหอ้ ง
2.ผบู้ ริโภคเกดิ ความพึงพอใจต่อเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟอยใู่ นระดับพอใจมาก
คำจำกดั ความท่ีใช้ในงานวจิ ัย
1.เทียนหอมอโรมา หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำพาราฟิน และไขผึ้งมาหลอมละลาย
รวมกนั อาจเติมสีและเติมน้ำมนั หอมระเหย นำไปปนั้ ด้วยมอื หรอื หล่อแบบขึ้นรูปหรือกดจากพิมพ์ให้
มีรูปทรงตามต้องการอาจประกอบด้วยวัสดุอื่น เพื่อให้เกิดความสวยงาม เช่น ดอกไม้แห้ง มีไส้เทียน
สำหรบั จุดไฟ และมกี ลน่ิ หอมของน้ำมันหอมระเหย เทียนหอมเนน้ การใช้ประโยชน์และความสวยงาม
โดยมกี ลิ่นหอม แบบสวย และอาจจะใช้ลดกลิน่ อับ ไลย่ งุ หรอื แมลงได้อีกดว้ ย ทง้ั น้ีแลว้ เทียนหอมยังมี
การทำเป็นธุรกิจ sME ขนาดย่อม มีการลงทุนที่น้อยกว่า แต่ได้กำไรเยอะ เนื่องจากเป็นงาน
handmade ทำให้ผู้คนสนใจในตัวสินค้า เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ หรือ Aroma Candle
นัน้ ทำจากส่วนผสมไม่กอี่ ย่าง ทำงา่ ย และตกแตง่ งา่ ย โดยใช้ตน้ ทุนเพยี งไม่ก่บี าท ก็สามารถผลิตได้
2.กากกาแฟ หมายถึง เศษผงของกาแฟคั่วบดที่ผ่านการสกัดผ่านน้ำร้อนที่เหลือทิ้งจากร้าน
HT. Café
3.ความพึงพอใจ (Satisfaction) หมายถึง ในด้านความพงึ พอใจของลูกค้าท่ีมีตอ่ สนิ ค้า (เทียน
หอมอโรมา จากกากกาแฟ) 4 ด้าน คือ ด้านสินค้า ด้านความเหมาะสมของราคากับขนาดของสินค้า
ด้านคณุ ภาพของสนิ คา้ ด้านประสทิ ธิภาพลดกล่ินอบั
ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้นำแนวความคิดเกี่ยวกับเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน โดยการนำสิ่ง
ท่มี อี ยู่แล้วมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ จากการนำวัตถุดบิ เหลือใช้มาแปรรูปใหเ้ กิดมูลค่า
2.สามารถนำไปเป็นแนวทางในการประยุกต์และการสรา้ งรายไดเ้ สรมิ ได้
3
บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง
ในการจดั ทำวิจยั เรื่อง เทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ คณะผูว้ จิ ยั ไดท้ ำการศึกษาและ
รวบรวมข้อมลู เอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพในการวิจัยดังต่อไปน้ี
1.กาแฟ
2.เทยี นหอม
3.อโรม่าเธอราปี
4.ความพงึ พอใจ
1.กาแฟ
1.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของกาแฟ
กาแฟถูกค้นพบครั้งแรกโดยเด็กเลี้ยงแพะชาวอาบิสซีเนีย (ประเทศเอธิโอเปยี ในปัจจบุ ัน) ชื่อ
คาลดี จากการสังเกตพบวา่ แพะดูกระปร้ีกระเปร่าขนึ้ เม่ือกินผลไมส้ ีแดงของตน้ ไมต้ ้นหนึ่ง ซ่ึงก็คือต้น
กาแฟน่นั เองเด็กเล้ียงแกะจึงนำผลของต้นกาแฟไปบดและชงด่ืม ตอ่ มานกั บวชจึงได้น้ำเมล็ดไปชงและ
ให้เหล่าลูกศิษย์ดื่ม การค้นพบนี้ได้ถูกเผยแพร่ออกไปยัง ประเทศต่างๆ จนทำให้กาแฟกลายเป็น
เครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมทั่ว โลกตราบจนทุกวันนี้ ในช่วงก่อนศตวรรษที่ 16 กาแฟถูกปลูกโดยชาว
อาหรับเท่านั้น คำว่ากาแฟ เป็นคำที่มาจากคำว่า "เกาะหฺวะหฺ" ในภาษาอาหรับ แล้วเพี้ยนเป็น กาห์
เวห์ ในภาษาตุรกี ก่อนที่จะกลายเป็น คอฟฟี ในภาษาอังกฤษ และกาแฟ ในภาษาไทย (คณะทันต
แพทยศ์ าสตร์ จฬุ าลงกร,2562)
1.2 ชนิดของกาแฟ
กาแฟเป็นไม้พุ่มยนื ต้น ขนาดปานกลางสูงประมาณ3-4 เมตร ใบสีเขียวแตกออกจากข้อ เป็น
คู่ ๆ ดอกออกตามข้อ ของกิ่งมีสีขาวบริสุทธ์ิกล่ินหอมตน้ กาแฟเริ่มออกดอกในเดือนตุลาคม -
กุมภาพันธ์ ระยะเวลา ตั้งแต่การออกดอกถึงการเก็บเกี่ยวใช้เวลาประมาณ 8-12 เดือน หลังจาก
ปลูก กาแฟได้ 2-3 ปีกาแฟจะเร่ิมออกดอกและตดิ ผล ตน้ กาแฟพนั ธ์ุหลักๆ ทีไ่ ดร้ บั ความนยิ มมี 2 พันธ์ุ
ได้แก่ อาราบิก้า (Arabica) ซึ่งเป็นกาแฟแบบดั้งเดิม และมีรสชาติดี และ โรบัสต้า (Robusta) ซึ่งมี
ปริมาณกาเฟอีนสูง และสามารถปลูกในที่ที่ปลูกอาราบิก้าไม่ได้ (คำว่า robust ในภาษาอังกฤษ
แปลว่า ทนทาน) ด้วยความที่มีความทนทานมากกว่านี้เอง จึงทำให้กาแฟโรบัสต้ามีราคาถูกกว่า แต่
ผู้คนนิยมดื่มไม่มากนักเนื่องจากมีรสขมและเปรี้ยว ส่วนโรบัสต้าที่มีคุณภาพดีมักถูกนำไปใช้เป็น
ส่วนผสมของเอสเพรสโซ่ แบบผสม (เอสเพรสโซ่มีสองแบบใหญ่ๆ คือแบบที่เป็นอาราบิก้าแท้ๆ กับ
แบบทีผ่ สมกาแฟชนดิ อน่ื ๆ) (คณะทนั ตแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกร,2562)
4
1.3 กากกาแฟ
กากกาแฟ คือ เศษผงของกาแฟคัว่ บดท่ีผ่านการสกดั ผา่ นน้ำ ร้อน การชงกาแฟสดนั้น จะไม่
นาํ กากกาแฟทใ่ี ชแ้ ล้วมาชงซ้ำเพราะจะทำ ให้ความหอมและรสคุณภาพลดลง ความหอมและ คาเฟอีน
ท่ไี ด้กจ็ ะลดลงเช่นกัน กากกาแฟจดั เปน็ สารอินทรีย์ท่ีเหลือทงิ้ จากอตุ สาหกรรมการแปรรูป กากกาแฟ
ถอื ว่าเป็นกากของเสยี ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม เพราะมปี ริมาณคารบ์ อนเปน็ องค์ประกอบจำนวน
มากของเสียจากธรรมชาติที่ได้จากอุตสาหกรรมกาแฟ นอกจากนี้กากกาแฟประกอบด้วยสารสำคัญ
หลายชนิด ได้แก่ โพลีแซคคาไรด์ กรดไขมัน โปรตีน คาเฟอีน สารประกอบฟีนอล และแร่ธาตุ ซึ่ง
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวางในการพัฒนาอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพ
นอกจากนี้ กากกาแฟที่ผ่านการดัดแปลงทางกายภาพหรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีสามารถใช้
เป็นเชื้อเพลิงได้ เป็นสารปรับปรุงดินเพื่อการเพาะปลูกและเป็นตัวดูดซับเพื่อกำจัดสิ่งปนเปื้อนใน
ตัวอย่างโดยเฉพาะในด้านสิง่ แวดลอ้ ม (มหาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจออมบงึ , 2560)
รูปท่ี 2.1 กากกาแฟ
(ท่มี า : สาขาการโรงแรมและการทอ่ งเท่ยี ว วิทยาลัยอาชีวศึกษาสโุ ขทยั )
1.4 ประโยชนจ์ ากกากกาแฟ
(Spring green evolution,2563) ได้กล่าวว่าประโชน์จากกากกาแฟมีหลายประเภทๆ ทั้งในด้าน
การเกษตร การบำรุงรักษาครัว บำรุงรักษาบ้าน รวมถึงมีสรรพคุณในดา้ นความสวยงาม ช่วยบำรงุ ผิว
และยงั สามารถใชไ้ ลแ่ มลงทไี่ ม่ตอ้ งการ
1. บำรุงดินให้อุดมสมบูรณ์จะปลูกต้นไม้ ให้สวนที่บ้านดูสวยงาม ซึ่งหากนำกากกาแฟไป
ผสมกับดิน จะช่วยเพิม่ แร่ธาตสุ ำคัญอยา่ งโพแทสเซียม ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ช่วยให้ต้นไมเ้ จริญ
งอกงาม
2. ขจัดกลิ่นไม่พึงประสงคใ์ นบ้าน ในบ้านหากมีกลิน่ ไม่พึงประสงค์ ให้นำกากกาแฟใส่ในถงุ
ผ้าแล้ววางไว้ ธาตุไนโตรเจนที่อยู่ภายในกากกาแฟ จะช่วยดูดซึมอากาศที่ไม่ดี ทำให้อากาศบริสุทธิ์
ย่ิงข้ึน
3. ใช้ขัดผิว กากกาแฟ สามารถนำมาใช้ขัดผวิ เนื่องจากชว่ ยให้ผิวช่มุ ชื้น เนียนนุ่ม ผิวพรรณ
เปล่งปล่งั โดยสามารถใช้ได้ท้ังผิวหน้าและผิวกาย เหมาะกับผู้ทีม่ สี ภาพผิวแห้ง แต่ขอ้ ควรระวังคือควร
ใชก้ ากกาแฟทบ่ี ดละเอยี ด เพราะถ้าบดหยาบตวั กากจะมีความคม อาจจะทำให้ระคายเคืองผิวได้ โดย
การนำมาใช้งาน สามารถนำมาผสมกับน้ำมันมะพร้าว ในการบำรุงผิวหน้าและผิวกาย อีกแบบหนึ่งก็
คอื นำกากกาแฟมาผสมกับน้ำผึง้ บำรงุ ริมฝีปาก
5
4. ลดการเกิดเซลลูไลท์ตามผิวหนัง เซลลูไลท์ เป็นเซลล์ไขมันที่สะสมอยู่ใต้ชั้นผิวหนัง ซ่ึง
อาจจะส่งผลให้ผิวจับตัวเป็นก้อน ไม่เรียบเนียน สวยงาม โดยพบว่า ผู้หญิง 80–90% ประสบกับ
ปัญหานี้ หากไม่อยากมีเซลลูไลท์สะสมตามผิวหนัง โดยเฉพาะตรงก้นและต้นขา เพียงนำกากกาแฟ
ผสมดนิ กับน้ำหรือนำ้ มนั มะพร้าว แลว้ ขดั เป็นเวลา 10 นาที สัปดาห์ละสองคร้ัง ในบรเิ วณที่มเี ซลลไู ลท์
ช่วยลดการเกิดเซลลไู ลท์
2.เทยี นหอม
นางสาววัลฤดี โมออ่ น บรรณารักษป์ ฏบิ ตั ิการ, 2565 ไดก้ ล่าววา่ เมื่อไดก้ ล่นิ อโรมาของเทียน
หอม สมองเกิดการรู้สึกผ่อนคลาย จิตใจเริ่มสงบ เพราะสารเคมีในสมองถูกกระตุ้นให้มีปฏิกิริยากับ
กลิน่ อโรมา ใชว่ ่าเทียนหอมจะมดี ีแค่กลิ่นเพียงอย่างเดยี ว แต่ยงั มีประโยชน์ในด้านอ่นื อีกดว้ ย เชน่
2.1 ใหแ้ สงสวา่ งข้นึ ชอ่ื ว่าเทียน ยอ่ มต้องให้แสงสว่าง แม้ว่าจะเปน็ เทยี นหอมกส็ ามารถให้แสง
สวา่ งได้เหมือนกบั เทียนปกติท่วั ไป เพียงแตม่ คี วามพิเศษกว่าเทยี นชนดิ อนื่ ตรงท่ีมีกลิน่ หอมอโรม่าจาก
ควันเทียนท่เี กดิ จากการเผาไหม้ อีกท้งั ยังสามารถสร้างบรรยากาศไปพร้อมกับการส่งกล่ินหอมไปในตวั
2.2 ประดับ ตกแต่งคงปฏเิ สธไม่ไดว้ า่ รูปทรงทส่ี วยงามมผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื กซื้อเทียนหอม
เป็นของตกแต่งสักชิ้น เนื่องจากปัจจุบันรูปทรงของเทียนหอมได้มีการพัฒนา ปรับปรุงให้เข้ากับยุค
สมัย สังเกตได้จากร้านกาแฟ หรือร้านอาหารโดยทั่วไปนิยมใช้เทียนหอมมาเป็นส่วนหนึ่งในการ
ประดับ ตกแต่ง หรือจดุ บนโตะ๊ อาหารเพื่อสรา้ งอรรถรสในการทานอาหารและสร้างบรรยากาศให้ดีข้ึน
อกี ด้วย
2.3 ของขวญั ไม่แปลกนักที่จะให้เทยี นหอมเปน็ ของขวัญ เพราะดว้ ยกลิ่น รูปลักษณ์ท่ีทันสมัย
อีกทั้งยังเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง และยังสามารถเลือกกลิน่ ให้ตรงกับบุคลิกของผู้รบั ได้ เช่น การ
เลือกซอื้ กล่ิน เบซิล หรอื กลน่ิ เปปเปอรม์ ิ้นต์ใหก้ บั ผ้รู บั ท่ีเกิดราศีเมถนุ เพราะจะเป็นกลิน่ ทช่ี ่วยกระตุ้น
ความกระตือรือร้นให้กับชาวราศีเมถุนได้เป็นอย่างดี เทียนหอมจึงได้รับความนิยมให้กันเป็นของขวัญ
ในเทศกาลตา่ ง ๆ
2.4 ช่วยในการนอนหลับเมื่อรู้สึกนอนไม่หลับเทียนหอมอาจจะเป็นอีกตัวช่วยหนึ่งที่ทำให้
หลับง่ายขึ้น เพราะกลิ่นอโรม่าจากเทียนจะช่วยให้จิตใจสงบ ก่อให้เกิดการผ่อนคลาย เทียนหอมจึง
อาจจะกลายเป็นอาวุธลับท่ีชว่ ยในการนอนสำหรบั ใครหลาย ๆ คนก็เป็นได้
2.5 กระตุ้นสมองให้เกิดการผ่อนคลายเมื่อสมองรับรู้ถึงกลิ่นอโรม่าก็จะหลั่งสารเคมีออกมา
สารเคมเี หลา่ นีจ้ ะไปสร้างความสมดุลให้กบั ระบบประสาทส่วนที่มผี ลต่อ อารมณแ์ ละจติ ใจ เช่นถ้าเกิด
ความเครยี ดกจ็ ะรสู้ กึ ผอ่ นคลาย หรอื เมือ่ เกิดอาการเศรา้ ก็จะคลายความเศรา้ ได้
3.อโรม่าเธอราปี
อโรมา-เธราปี เป็นการนำประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย ทำให้ร่างกาย จิตใจอารมณ์เกิด
ความสมดุล หลักการนี้ถูกนำมาศึกษา โดยใช้หลักทางสรีรศาสตร์ที่มนุษย์สามารถสัมผัสกลิ่น ได้
6
มากกว่าหมื่นชนิดนั่นเอง กลิ่นที่มนุษย์ได้รับสัมผัสในแต่ละครั้ง จะผ่านประสาทสัมผัสรับกลิ่น
(Olfactory nerves) ซึ่งอยู่เหนือโพรงจมูก (nasal cavity) เมื่อกลิ่นต่างๆ จากโมเลกุลของละออง
เกสรดอกไม้ ผ่านกระเปาะรับกลิ่น (Olfactory bulbs) ที่ต่อกับลิมบิค ซีสเต็ม (Limbic system) ซึ่ง
เป็นสมองส่วนควบคุมอารมณ์และความทรงจำกระตุ้นสมองให้เกิดการผ่อนคลาย เมื่อสมองรับรู้ถึง
กล่ินอโรมา่ กจ็ ะหลัง่ สารเคมีออกมา สารเคมเี หลา่ น้จี ะไปสรา้ งความสมดุลให้กบั ระบบประสาทส่วนท่ีมี
ผลตอ่ อารมณแ์ ละจติ ใจ เช่นถ้าเกิดความเครยี ดก็จะร้สู กึ ผอ่ นคลาย หรือเมื่อเกดิ อาการเศร้ากจ็ ะคลาย
ความเศร้าได้ (นางสาววลั ฤดี โมอ่อน ,2565)
JOURNAL OF ENVIRONMENTAL PSYCHOLOGY ได้เปิดเผยถึงผลการศึกษาที่ได้จากการ
วิจัยโดยแบ่งกลมุ่ อาสาสมัครออกเปน็ สองกลุ่ม และให้ท้งั สองกลุ่มทำแบบทดสอบท่ีต้องใช้ความรู้และ
ความทรงจำเป็นหลัก โดยในงานวิจัยนี้ได้ควบคุมตัวแปรต่างๆ ให้เหมือนกันแทบทั้งหมด แต่จะมี
แตกต่างเพยี งจุดเดยี วก็คือ ในห้องหน่ึงจะมีกลิ่นของกาแฟ ส่วนอีกห้องจะไม่มีกลิ่นของกาแฟเลย ซึ่ง
ผลที่ออกมาพบว่าในกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับกลิ่นของกาแฟในระหว่างที่กำลังทำบททดสอบอยู่นั้นทำ
คะแนนออกมาไดด้ กี วา่ อีกกลุ่มที่ต้องทำบททดสอบเดยี วกนั แตไ่ มไ่ ดร้ ับรู้ถึงกล่นิ ของกาแฟ
แนวคิดและทฤษฎเี ก่ยี วกบั ความพงึ พอใจความพงึ พอใจ
ในการทำงานของบคุ ลากรในองค์กรมีผลต่อความสำเร็จของงาน และองคก์ ร รวมทั้งความสุข
ของเพื่อนร่วมงาน องค์กรใดก็ตาม หากบุคคลไม่มีความพึงพอใจในการทำงานก็เป็นมูลเหตหุ น่ึงทำให้
ผลงานและการปฏิบัติงานต่ำคุณภาพของงานลดลงเมื่อมีการขาดงาน ลาออกจากงาน และปัญหาทาง
วินัยได้อีกด้วย ในทางตรงกันช้ามหากองค์กรใดมีความพึงพอใจในการทำงานสูง มีผลบวกต่อการ
ปฏิบัติงาน นอกจากนี้ความพึงพอใจในการทำงานยังเป็นเครื่องหมายแสดงถึงความมีประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร ดังนั้นถา้ หากหนว่ ยงานใดเห็นความสำคัญของ
การสร้างความพึงพอใจในการทำงานให้เกิดขึ้นในหน่วยงานกับคนในหนว่ ยงานของตนเองและมีความ
เข้าใจในการปฏิบัติงาน อีกทั้งตระหนักอยูเ่ สมอว่าความพงึ พอใจน้ันสามารถเปลี่ยนได้ตลอดเวลาตาม
สถานการณห์ รือตามเวลา (สุนทร เพ็ชร์พราว, 2551, หน้า 16)
ความหมายของความพงึ พอใจ
ความพึงพอใจ (Gratification) ตามความหมายของพจนานุกรมทางด้านพฤติกรรมได้ให้คำ
จำกัดความไว้ว่า ความรู้สึกท่ีดมี ีความสุข เมื่อคนเราได้รับผลสำเรจ็ ตามความมุ่งหมาย (Goals) ความ
ตอ้ งการ (Need) หรือแรงจงู ใจ (Motivation) (Wolman, 1973)
ความพึงพอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, หน้า 775 ความพึงพอใจ
หมายถึงความรู้ที่มีความสุขหรือความพอใจเมื่อได้รับความสำเร็จ หรือได้รับสิ่งที่ต้องการ
(Quirk,1987)
ปรียาพร วงศอื นุตรโรจน์ (2547, หน้า 122) กลา่ วว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของ
บุคคลที่มีต่อการทำงานในทางบวก เป็นความสุขของบุคคลที่เกิดจากการปฏิบัติงาน และได้รับ
ผลตอบแทน คือ ผลที่เป็นความพึงพอใจทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกกระตือรือร้น มีความมุ่งมั่นที่จะ
7
ทำงาน มีขวัญและกำลังใจ และสิ่งเหล่านี้จะมีผลต่อประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการทำงาน
รวมทง้ั ส่งผลต่อความสำเรจ็ และเป็นไปตามเปา้ หมายองค์กร
นฤมล ผู้อุตส่าห์ (2548, หน้า 5) กล่าวความพึงพอใจว่า ความสุขของคนที่เกิดจากการ
ปฏิบัติงานและได้รับผลตอบแทน ความพึงพอใจทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกกระตอื รือร้นในการทำงาน
มีความต้ังใจมุ่งมั่นที่จะทำงานให้ได้เต็มความสามารถ มีขวัญและกำลังใจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมีผลต่อ
คุณภาพการทำงานประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการทำงานส่งผลต่อความสำเร็จตามเป้าหมาย
ขององคก์ ร
ทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว์ (Maslow, 1970, pp. 122-144) กล่าวถึงลำดับขั้นความ
ต้องการของมนุษยออก 5 ขั้นตามลำดับ (ศิริพงษ์ เศาภายน, 2547, หน้า 78-100) ดงั นี้
1.ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological) เป็นความต้องการพื้นฐานที่สำคัญที่สุด
เพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้
2.ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย (Safety) หลังจากที่ร่างกายได้รับการตอบสนอง
ความต้องการ แล้วก็เกิดความต้องการด้านความปลอดภัย ซึ่งหมายถึง ความปลอดภัยทางด้าน
รา่ งกายทีต่ ้องการได้รบั ความคมุ้ ครอง และยังรวมถงึ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจดว้ ย
3.ความต้องการทางสังคม (Social) เป็นความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของกลุ่มได้รับ
การยอมรับ และเป็นผทู้ ี่มคี วามสำคญั ในกลมุ่
4.ความต้องการมีชื่อเสียง (Esteem) เป็นความต้องการที่จะเป็นบุคคลที่มีความมั่นใจใน
ตนเองมีบุคคลยอมรับนับถือ ได้รับการยกย่องจากคนอื่นเมื่อทำงานสำเร็จ ต้องการมีฐานะเด่นทาง
สงั คม ซ่งึ สงิ่ เหลา่ น้ีจะนำไปส่คู วามมั่นใจในตนเอง และรูส้ ึกวา่ ตนมีคุณคา่
5.ความต้องการความสำเร็จตามความนึกคิด (Self-Actualization) เป็นความต้องการลำดบั
ขั้นสูงสุด เมื่อคนได้รับการตอบสนองทางด้านร่างกาย ความปลอดภัยดา้ นสังคม ความมีชื่อเสียง แล้ว
ต่อมาไม่นานนักคนก็จะเกิดความไม่พอใจได้ ถ้าเขาไม่สามารถทนสิ่งที่ตนต้องการทำ รวมทั้งต้องการ
ให้ชีวิตดีขึ้นมีความก้าวหน้าและทำในสิ่งที่ตนชอบ นอกจากนั้น ยังรวมถึงองค์ประกอบอื่นๆ เช่น
ความรสู้ กึ วา่ งานมีความสำคัญ ท้าทายความสามารถ ความก้าวหนา้ มคี วามสำเร็จมากย่งิ ขึ้นไปอกี
กู๊ด (Good, 1973, p.384) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจในการทำงาน หมายถึง
คุณลักษณะ สภาวะ หรือระดับความพึงพอใจ ซึ่งผลมาจากการสนใจส่ิงต่างๆ และทัศนคติที่บุคคลมี
ตอ่ งาน
เพาเวลล์ (Powell, 1983. Pp.17-18) ได้เสนอความหมายความพึงพอใจว่า หมายถึง
ความสุขที่เกิดจากการปรับตัวของบุคคลต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างดี และเกิดความสมดุลระหว่างความ
ตอ้ งการของบุคคลและได้รับการตอบสนอง จากความหมายของความพงึ พอใจที่กลา่ วมาอาจสรปุ ได้ว่า
ความพึงพอใจ คือ ความรู้สึกของบุคคลที่แสดงออกเป็นความชอบใจ พอใจ เมื่อได้รับการตอบสนอง
อย่างสมดุลกับความต้องการของบุคคลทั้งร่างกายและจิตใจ จะช่วยลดความตึงเครียดของมนุษย์ให้
นอ้ ยลงหรอื หมดไป
สมศักดิ์ คงเที่ยงและอัญชลีโพธิทอง (2542, หน้า 161-162) ได้จำแนกทฤษฎีความพึงพอใจ
ในงานออกเป็น 2กลุ่ม คือ
8
1. ทฤษฎีความต้องการ ความต้องการส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต่อผลที่ได้รับจากงานกับ
การประสบความสำเร็จตามเป้าหมายส่วนบุคคล
2. ทฤษฎีการอ้างอิงกลุ่มความพึงพอใจในงานสัมพันธ์ในทางบวก และคุณลักษณะตาม
ปรารถนาของกลมุ่ สมาชิกให้กลุ่มเป็นแนวทางในการประเมินผลการทำงาน การวัดความพึงพอใจท่ีมี
ต่อบริการ ความพึงพอใจที่มีการบริการและเกิดผลได้หรือไม่นั้นต้องพิจารณาถึงลักษณะของการ
ให้บริการขององค์กรประกอบด้วยระดับความรู้สึกของผู้ใช้บริการในด้านต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลการ
วัดความพงึ พอใจอาจกระทำไดห้ ลายวธิ ี ดังน้ี
2.1 การใช้แบบสอบถาม เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย โดยการขอความร่วมมือจากกลุ่ม
บุคคลที่ต้องการวัดแสดงความคิดเห็นลงในแบบฟอร์มที่กำหนดคำตอบไว้ให้เลือกตอบ หรือเป็น
คำตอบอิสระโดยคำถามที่ถามถึงความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ ที่หน่วยงานกำลังให้บริการอยู่เช่น
ลักษณะการใหบ้ ริการสถานท่ี ระยะเวลาท่ีให้บรกิ ารบุคคลที่ให้บรกิ าร เป็นตน้
2.2 การสัมภาษณ์เป็นอีกวิธีหนึ่งที่วัดถึงระดับความพึงพอใจของผู้ต้อบคำถามให้ตรงกับ
ข้อเทจ็ จริง วธิ ีน้ีประหยดั และมีประสิทธิภาพอกี วิธหี นึ่ง
3. การสังเกตทำให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการโดยวิธีการสังเกตดูพฤติกรรมก่อน
มารบั บริการขณะรบั บริการ และหลงั จากรบั บรกิ ารแล้ว เชน่ สังเกตสหี นา้ ท่าทางการพดู การวัดความ
พึงพอใจวิธีนี้ต้องทำอย่างจริงจัง จึงจะสามารถประเมินถึงความพึงพอใจของผู้มารับบริการได้อย่าง
ถูกต้อง จะเห็นได้วา่ การวดั ความพงึ พอใจตอ่ การรับบริการน้ัน สามารถทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับความ
สะดวกความเหมาะสม ตลอดจนจุดมุ่งหมาย หรือเป้าหมายของการวัดด้วย จะส่งผลให้การวัดนั้นมี
ประสิทธภิ าพหรือนา่ เช่อื ถือได้
จากทีก่ ล่าวมา สรปุ ได้วา่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความพอใจ ชอบใจ และมคี วามสุขท่ีความ
ต้องการหรือเป้าหมายที่ตั้งใจไว้บรรลุหรือสมหวังนั้นเอง ซึ่งสามารถวัดได้จากแบบสอบถามวัดระดับ
ความพงึ พอใจ
กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั
ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม
กากกาแฟเหลอื ทิ้ง เทยี นหอมอโรมา
9
บทท่ี 3
วธิ ีดำเนินการวจิ ัย
การศกึ ษาครั้งนีเ้ ปน็ การศกึ ษาวิจัยเชิงทดลอง โดยศกึ ษาและพัฒนาเทียนหอมอโรมา จากกาก
กาแฟ (Aroma Candle from Coffee grounds) โดยมขี ั้นตอนการดำเนินงานวิจัย ดังนี้
วตั ถดุ ิบที่ใชใ้ นการทดลอง
วิธกี ารทดลอง
ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
สถติ ิใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู
อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการทดลอง
1. ไขผง้ึ Bee wax
2. กากกาแฟ
3. ไส้เทียน
4. ภาชนะขวดแก้วใสเ่ ทียนหอม
5. สตกิ๊ เกอร์บรรจุภัณฑ์
ขัน้ ตอนในการทำเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
1. ติดไส้เทยี นลงในภาชนะขวดแกว้ ใหแ้ น่น
2. ตวง Bee wax ลงในแกว้ ตวง น้ำหนกั ประมาณ 185 กรัม (ละลายจะไดน้ ้ำเทยี น 300 ml.)
3. นำหม้อทเ่ี ตรียมไว้ใสน่ ำ้ ตม้ จนไดอ้ ณุ หภูมิ 170-180 องศาเซลเซยี ส
4. วางแก้วตวงทใี่ ส่ Bee wax ลงในหม้อต้มน้ำ
5. ใชเ้ วลาประมาณ 5 นาที Bee wax ละลาย
6. นำมาพกั ไว้ให้ Bee wax ทีล่ ะลายแลว้ มอี ณุ หภูมลิ ดลงมาเหลือ 60-70 องศาเซลเซยี ส จึง
จะใส่ Essential Oil กลนิ่ กาแฟ ลงไป (ปรมิ าณ 7-10% ของปรมิ าณ Bee wax ทลี่ ะลายแล้ว
7. เทเทียนลงในภาชนะขวดแก้วที่เตรียมไว้ ตกแต่งด้วยกากกาแฟ และเมล็ดกาแฟใหส้ วยงาม
เคล็ดลับ: การใส่ Essential Oil กลิ่นกาแฟในอุณภูมิประมาณ 60-70 องศาเซลเซียส เป็นอุณหภูมิที่
เหมาะสม และทำให้กลิ่นของเทียนมีความหอมมากที่สุด หากผสมขณะที่อุณภูมิของเทียนร้อนเกินไป
ความร้อนจะเบริ ์น กล่ินหอมของ Essential Oil ใหห้ มดไป เทยี นทไี่ ดจ้ ะมีกลน่ิ เบาบางกวา่ ที่ควรเปน็
8. หลังจากเทเทียนและตกแต่งแลว้ ใช้แผ่นกระดาษท่ีเจาะรูแลว้ ยดึ ไส้เทยี นไมใ่ ห้ล้ม
9. รอใหเ้ ทยี นเซ็ตตวั ตดั ไสเ้ ทียนยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ใหส้ วยงาม
10
รูปท่ี 4.1 อปุ กรณ์ในการทำเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
รปู ท่ี 4.2 ตวง Bee wax ลงในแกว้ ตวง
รปู ท่ี 4.3 ละลาย Bee wax หม้อต้มนำ้
รปู ท่ี 4.4 เทเทียนลงในภาชนะและตกแต่งดว้ ยเมล็ดกาแฟใหส้ วยงาม
11
รูปท่ี 4.5 จดุ เทียนหอม และการสครับผวิ
(ทมี่ า : สาขาการโรงแรมและการทอ่ งเท่ียว วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย)
ประชากรและการสมุ่ กลมุ่ ตวั อย่าง
ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา สาขาการโรงแรมและการท่องเที่ยว
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสุโขทยั
กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียน นักศึกษาหญิง ระดับ ปวช. และระดับปวส.
สาขาการโรงแรมและการท่องเท่ียว จำนวน 20 คน ทไ่ี ดจ้ ากการส่มุ แบบเจาะจง
เคร่ืองมอื ในการวจิ ยั และการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื
เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ครงั้ นี้ คอื แบบสอบถาม แบ่งเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อการใช้
เทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ จำนวน 6 ข้อ
ตอนท่ี 2 ข้อเสนอของผู้บริโภค เพ่อื ใชใ้ นการปรับปรงุ ผลติ ภณั ฑ์
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการโดยแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างที่ได้ ทดลองใช้
ผลติ ภัณฑเ์ ทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ ตอบแบบสอบถามและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง
การวิเคราะหข์ อ้ มลู
ในการวิจยั ผวู้ ิจยั ใชส้ ถติ ิในการวิเคราะหข์ อ้ มูลดังต่อไปนี้
การวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อเทียนหอมอโรมา
จากกากกาแฟ มีลักษณะของแบบสอบถาม เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั ใชก้ ารวเิ คราะห์
ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยพิจารณาเป็นรายข้อ รายด้าน และภาพรวมใช้เกณฑ์ของ เบสท์ (John W.Best
1981 : 182) ในการแปลความหมายดงั นี้
ค่าเฉลีย่ 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด
คา่ เฉล่ยี 3.50 – 4.49 หมายความวา่ มีความพงึ พอใจมาก
คา่ เฉล่ยี 2.50 – 3.49 หมายความวา่ มีความพงึ พอใจปานกลาง
ค่าเฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายความวา่ มีความพงึ พอใจนอ้ ย
คา่ เฉล่ยี 1.00 – 1.49 หมายความว่า มคี วามพึงพอใจนอ้ ยท่สี ดุ
และนำข้อมูลทไ่ี ด้จากแบบสอบถาม มาวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บโดยใชค้ า่ t-test
12
บทท่ี 4
ผลการวจิ ัย
ผลการวจิ ัย เรือ่ งเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ คณะวจิ ยั ได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
และแปรผลข้อมลู ดังนี้
ผลความพึงพอใจของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตาราง 1 คา่ เฉล่ยี ของระดับความพึงพอใจเกยี่ วกับเทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ
ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม X แปล
ความหมาย
1. กลิน่ ของเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ 4.03 พอใจมาก
2. ราคาของเทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ (99 บาท) 3.55 พอใจมาก
3. ความสวยงามของเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ 4.51 พอใจมากที่สุด
4. ผลิตภณั ฑม์ ีส่วนชว่ ยในการลดกลน่ิ อับภายในห้อง 4.55 พอใจมากทีส่ ุด
5. ภาชนะท่ใี สเ่ ทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ 4.18 พอใจมาก
6.ความพึงพอใจในการใชผ้ ลิตภณั ฑเ์ ทยี นหอมอโรมาจากกากกาแฟ 4.48 พอใจมาก
รวม 4.21
จากตาราง 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับเทียนหอมอโรมา จากกาก
กาแฟ ในภาพรวมอยู่ระดับพึงพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย 4.21 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบกว่า ข้อที่มี
ค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ข้อ ลดกลิ่นอับภายในห้อง มีค่าเฉลี่ย 4.55 รองลงมาคือ ความสวยงามของเทียน
หอมอโรมาจากกากกาแฟ มีค่าเฉลี่ย 4.51 ส่วนที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือราคาของเทียนหอมอโรมา
จากกากกาแฟ มคี ่าเฉลี่ย 3.55
13
บทที่ 5
สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวจิ ัย
จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 20 คนพบว่าตารางผลความพึงพอใจของเทียนหอมอโรมา
จากกากกาแฟ Aroma Candle by HT. Café พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ โดยรวม
อยู่ในระดับพอใจมาก (=4.21) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ
ต่อผลิตภัณฑ์ช่วยลดกลิ่นอับภายในห้อง ในระดับพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.55 รองลงมาคือ ความ
สวยงาม มีความพึงพอใจมากที่สุด หรือค่าเฉลี่ย 4.51 และ มีความพึงพอใจมากในการใช้ผลิตภัณฑ์
เทียนหอมอโรมาจากกากกาแฟ หรือคา่ เฉล่ยี 4.48 และ ภาชนะทใี่ ส่เทียนหอมอโรมาจากกากกาแฟ มี
ความพึงพอใจมาก หรือค่าเฉลี่ย 4.18 และกลิ่นของเทียนหอมอโรมาจากกากกาแฟ มีความพึงพอใจ
มาก หรือค่าเฉลี่ย 4.03 รายการที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือราคาของเทียนหอมอโรมา จากกาก
กาแฟ มคี วามพงึ พอใจมาก หรอื ค่าเฉล่ีย 3.55 ตามลำดับ
อภิปรายผล
จากการทดลองเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ โดยการตอบแบบสอบถามประเมินความพึง
พอใจของผู้บริโภคสรปุ ได้ว่า ผบู้ ริโภคมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั พอใจมาก โดยมีคา่ เฉลย่ี 4.21 ผูต้ อบ
แบบสอบถามมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์มีส่วนช่วยในการลดกลิ่นอับภายในห้องมากที่สุด โดยมี
ค่าเฉลี่ย 4.55 ดังนั้นจากการศึกษาพบว่าเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ ช่วยลดปัญหากลิ่นอับ
ภายในหอ้ งสามารถกลน่ิ อบั ได้และผ้บู รโิ ภคเกิดความพึงพอใจต่อเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟอยู่ใน
ระดบั พอใจมาก
ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1.ด้านราคา เนอ่ื งจากเปน็ ผลิตภณั ฑท์ ีฟ่ มุ่ เฟือย ใช้แลว้ หมดไปในระยะเวลาอนั สั้น และวธิ กี าร
ทำเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ ไม่ยุ่งยาก จึงควรกำหนดราคาที่เหมาะสมต่อกำลังซื้อของ
กลุม่ เป้าหมาย
2.ดา้ นผลติ ภัณฑ์ เนือ่ งจากเป็นผลิตภณั ฑท์ ่ใี ช้ภายในห้องพัก และสำหรับตกแตง่ จงึ ควรมีการ
พัฒนาผลติ ภัณฑใ์ หเ้ ลือกหลายรปู แบบ ปริมาณที่เหมาะสมกับพนื้ ทีห่ ้อง
3.ดา้ นช่องทางการจำหน่าย ควรหาชอ่ งทางการจำหน่ายเพ่ิมเติม
4.ด้านการสง่ เสริมการตลาด ควรมีการใหค้ วามร้ตู า่ งๆ เกยี่ วกบั ผลติ ภัณฑ์เทียนหอมอโรมา
จากกากกาแฟ
14
ขอ้ เสนอแนะในการทำวิจยั คร้งั ตอ่ ไป
จากการศึกษาพบว่าเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟมีคุณสมบัตินำไปสครับผิวได้ ดังนั้นผู้
ศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาเพิ่มเติมในการพัฒนาคุณภาพการนำไปสครับผิวให้เกิดประสิทธิผลมากขึ้น
กวา่ เดิม
15
บรรณานุกรม
บรรณานกุ รมภาษาไทย
มาสเตอร์พซี คอฟฟ่ี โรสต้ิงเฮาส์, สาระนา่ ร้เู ก่ียวกับกาแฟ (ออนไลน์)
http://www.coffeemasterpiece.com/Article_Detail&noPage=3 (สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 10 มกราคม
พ.ศ. 2560)
สถานการณ์ “ขยะ” ในประเทศไทย (ออนไลน์) http://thaipublica.org/2013/05/weast-
1/(สบื ค้นเม่อื วันที่ 12 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2559)
อารียา พิมพา. (2560). เทียนหอมกากกาแฟ. (สหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยสยาม.
บรรณานุกรมภาษาต่างประเทศ
Adriana Madzharov. June 2018. "The impact of coffee-like scent on
expectations and performance." Journal of Environmental Psychology:83-86.
Eugene Chan. 2019. Can You Get a Buzz From Coffee Without Drinking It?
Thrive Global, Onward.Upward.Inward.
16
ภาคผนวก
17
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามความคดิ เห็น
18
แบบสอบถามความคิดเหน็
ความพงึ พอใจที่มตี ่อผลติ ภัณฑเ์ ทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
*********************************************
คำชแ้ี จง : โปรดทำเครอ่ื งหมาย หรือเตมิ ขอ้ ความลงในชอ่ งว่างตามความคิดเหน็ หรือตรงกับ
ความคิดเหน็ หรอื ตรงกับความเป็นจรงิ
ตอนที่ 1 ระดบั ความคดิ เห็นและความพงึ พอใจที่มตี ่อ
“ผลิตภณั ฑ์เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ”
รายการประเมนิ มากที่สุด ระดับความคดิ เหน็ น้อยท่ีสดุ หมายเหตุ
มาก ปานกลาง น้อย
1. กล่นิ ของเทียนหอมอโรมา จาก
กากกาแฟ
2. ราคาของเทียนหอมอโรมา จาก
กากกาแฟ (99 บาท)
3. ความสวยงามของเทยี นหอมอโร
มา จากกากกาแฟ
4. ผลในการลดกลิ่นอับภายในห้อง
5. ภาชนะทีใ่ สเ่ ทียนหอมอโรมา จาก
กากกาแฟ
6. ความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์
เทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ
ตอนที่ 2 ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................
19
ภาคผนวก ข
วิธกี ารใชเ้ ทยี นหอม จากกากกาแฟ
20
วิธีการใชเ้ ทยี นหอม จากกากกาแฟ
1. เปิดฝาเทยี น ใช้ไฟจดุ เทยี นหอมจากกากกาแฟ
2. การจุดเทยี นหอมแตล่ ะคร้ัง ควรจะจดุ ให้นำ้ ตาเทียนละลายจนเต็มหน้าเทยี นนำ้ ตาเทียนละลายจน
สดุ ขอบแก้วก่อนทีจ่ ะดบั ทกุ คร้งั
3. หากจะใช้สคับให้ใช้ไม้ตักไปทไ่ี ขผง่ึ ทลี่ ะลาย มาใชบ้ ริเวณส่วนท่จี ะขดั เช่น ปาก ขอ้ ศอก ตาตุ่ม มอื
หรืออนื่ ๆ
4. ควรเลือกใช้ ขนาดและจำนวน ของเทียนหอมให้เหมาะสมกับขนาดของห้อง เช่น ถา้ เทยี นขนาด
เลก็ หรอื จำนวนนอ้ ยเกินไป กจ็ ะมีกล่ินอ่อนเกนิ ไปสำหรบั หอ้ งขนาดใหญ่
5.ใชฝ้ าปิด ปิดลงบนแกว้ ในการดับ เปลวไฟกจ็ ะดบั โดยไมเ่ กิดควนั เหมือนกับการเปา่
6. ห้ามจุดเทียนใกลม้ ือเด็ก สตั วเ์ ลยี้ ง หรือวตั ถุไวไฟ
7. ไม่ควรจดุ เทยี นนานเกิน 3-4 ชั่วโมง เพราะนำ้ ตาเทียนอาจจะท่วมไสเ้ ทยี นได้
8. ถา้ จดุ เทียนหลายๆแกว้ ในหอ้ ง ควรจะเปดิ ประตหู รือหน้าตา่ งเล็กน้อย
9. ต้องหม่ันคอยดเู ทยี นทีจ่ ุดอยตู่ ลอดเวลา
How to use Aroma candle by HT. Cafe'
Scented candles from coffee grounds
1. Open the candle lid, use the fire to light a scented candle made from coffee
grounds.
2. Each scented candle burning the candle wax should be lit until the candle wax
melts to the edge of the glass before extinguishing it every time.
3. If using a scrub, use a wooden stick to scoop the melted wax. Use it on the part
to be polished, such as the mouth, elbows, ankles, hands, or others.
4. Should choose the size and number of scented candles to suit the size of the
room, for example if the candles are too small or too few. It will smell too weak for
a large room.
5. Use the lid to close the glass to extinguish. The flame will be extinguished
without smoke like blowing.
6. Do not light candles near children, pets, or flammable objects.
7. The candle should not be lit for more than 3-4 hours because the wax may flood
the wick.
8. If many candles are lit in a room The door or window should be slightly open.
9. Must keep an eye on the burning candle all the time.
21
ประวตั ิคณะผู้วิจัย
1) ชื่อนายกฤษณพงศ์ นามสกุล นาโพธิ์
Name-Surname Mr. Kitsanaphong Napho
ระดับการศกึ ษา ปวส. ช้นั ปที ี่ 2
สาขาวชิ า การโรงแรมและการท่องเทย่ี ว สาขางาน การโรงแรม
ระยะเวลาท่ใี ชท้ ำวจิ ัย ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ทอี่ ยู่ทตี่ ิดต่อไดส้ ะดวก 41/2 หมู่ที่ 2 หมบู่ า้ นวงั นำ้ ขาว ตำบลวงั นำ้ ขาว อำเภอบ้านด่าน
ลานหอย จงั หวัดสุโขทยั 64140
เบอร์โทรศพั ท์ 062-357-9930 E-mail: [email protected]
2) ช่ือนางสาวปรารถนา นามสกลุ ชัยเสรีวงศ์สกุล
Name-Surname Miss Prathana Chaiseriwongsakul
ระดบั การศึกษา ปวส. ชน้ั ปีที่ 2
สาขาวิชา การโรงแรมและการทอ่ งเทยี่ ว สาขางาน การโรงแรม
ระยะเวลาทใ่ี ชท้ ำวิจยั ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ทอี่ ยทู่ ี่ตดิ ตอ่ ไดส้ ะดวก 25/18 หม่ทู ี่ 4 ตำบลธานี อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000
เบอร์โทรศพั ท์ 082-025-1063 E-mail: [email protected]
3) ช่ือนางสาวสุธามาตร์ นามสกลุ จิว
Name-Surname Miss Suthamat Jiw
ระดบั การศึกษา ปวส. ชนั้ ปที ี่ 2
สาขาวิชา การโรงแรมและการท่องเท่ียว สาขางาน การโรงแรม
ระยะเวลาท่ใี ชท้ ำวจิ ยั ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565
ทอี่ ยทู่ ่ีติดต่อได้สะดวก 246 หมทู่ ่ี 7 ตำบลวงั ตะคร้อ อำเภอบา้ นด่านลานหอย จงั หวัด
สุโขทัย 64140
เบอร์โทรศัพท์ 098-814-5476 E-mail:[email protected]
22
4) ช่ือนางสาวจนั ทมิ า นามสกลุ มีนา
Name-Surname Miss Jantima Meena
ระดบั การศกึ ษา ปวช. ชั้นปีที่ 2
สาขาวชิ า การโรงแรมและการทอ่ งเทีย่ ว สาขางาน การโรงแรม
ระยะเวลาท่ีใช้ทำวิจยั ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
ที่อยทู่ ีต่ ิดตอ่ ได้สะดวก 108 ถนนสงิ หวฒั น์ ตำบลธานี อำเภอเมือง จงั หวัดสุโขทยั 64000
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 095-827-0166 E-mail:[email protected]
5) ชื่อนางสาวญาณิกา นามสกุล แดงนาเพียง
Name-Surname Miss Yanika Daengnaphiang
ระดับการศึกษา ปวช. ชั้นปที ่ี 2
สาขาวิชา การโรงแรมและการทอ่ งเที่ยว สาขางาน การโรงแรม
ระยะเวลาที่ใชท้ ำวจิ ัย ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
ที่อยทู่ ีต่ ิดต่อได้สะดวก 59/1 หม่ทู ่ี 6 ตำบลปากแคว อำเภอเมอื ง จังหวัดสุโขทัย 64000
เบอร์โทรศพั ท์ 092-934-1908 E-mail: [email protected]
แบบคณุ ลักษณะ "สุดยอดนวตั กรรมอาชีวศึกษา"
การประกวดส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม
ประจำปการศึกษา 2565 ปพทุ ธศักราช 2565 - 2566
ภาคเหนือ ระดบั อศจ.
ประเภทท่ี 6 สิง่ ประดษิ ฐด า นนวัตกรรมและเทคโนโลยี ผลิตภัณฑเชิงพาณิชย
ช่อื ส่งิ ประดษิ ฐ : เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ งบประมาณ : 3,000 บาท
ชอ่ื -ที่อยู สถานศกึ ษา : วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุโขทยั 108 ถ.สิงหวฒั น ต.ธานี อ.เมอื ง จ.สุโขทยั 64000
ชือ่ ผปู ระดษิ ฐ 2. นางสาว ปราถนา ชัยเสรีวงศส กุล
1. นาย กฤษณพงศ นาโพธ์ิ 4. นางสาว จันทมิ า มีนา
3. นางสาว สุธามาตร จวิ
5. นางสาว ญาณกิ า แดงนาเพยี ง E-mail โทรศัพท
อาจารยทีป่ รึกษา ชื่อ-สกุล [email protected]
[email protected] 0988425992
ช่ือ - นามสกลุ [email protected] 0819389002
1. นางสาว หฤษฎี ศรวี ลิ า [email protected] 0616979354
2. นาย อิษวัต รตั นสมบตั ิ 0983488399
3. นางสาว รติอร จันทนนท
4. นางสาว ธญั วรัตน พลอยเจรญิ
บทคดั ยอ : เทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเ พื่อแปรรูปกากกาแฟทเ่ี หลือท้งิ
ใหเ กิดมูลคาเปน ผลิตภัณฑท ส่ี ามารถสรา งรายได ใหแ กร าน HT. Cafe’
เทียนหอมอโรมาจากกากกาแฟชว ยลดปญ หากลิ่นอับภายในหอ งพกั วธิ กี ารวจิ ยั เชิงสำรวจ กลุมตัวอยา ง ไดแ ก นักเรียน
นักศกึ ษาหญิง ระดับ ปวช. และระดบั ปวส. สาขาการโรงแรมและการทองเท่ยี ว จำนวน 20 คน
เครอ่ื งมือท่ีใชใ นการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม ใชส ถิตใิ นการวเิ คราะหข อมลู คาเฉลยี่ (Mean)
ผลการวจิ ัยพบวา ความพงึ พอใจของผทู ดลองใชท ี่มีตอเทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
ในภาพรวมมีความพึงพอใจระดบั พงึ พอใจมาก หรอื คาเฉลีย่ เทา กับ 4.21
คณุ ลักษณะ “เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ” มจี ดุ เดน ของสนิ คา คอื เปน การพฒั นารปู แบบของสินคาโดยการใชกากกาแฟที่เหลื
และประโยชน : อใชนำมาเพิ่มมูลคา และใหม ีเอกลกั ษณเ ฉพาะตวั และประกอบไปไขผึง้ และกากกาแฟทม่ี ีสรรพคุณมากมาย
เราไดส กดั กลิน่ กาแฟเพอ่ื ใหไดค วามเขม ขน ของกลน่ิ และเม่อื จดุ เทียนหอม
สามารถนำนำ้ ตาเทียนมาใชบำรงุ ผิวตรงจุดทีห่ ยาบกราน บริเวณปาก ขอศอก สน เทา เปน ตน ตัวสินคามีความแตกตางจ
ากคูแขงขันในตลาดเพราะในทอ งตลาดมแี ตส นิ คา ประเภทเทยี นหอมทีใ่ ชส ว นผสมของเทยี นไขธรรมดาซึง่ ไมสามารถนำ
น้ำตาเทียนหรือใชประโยชนอ ยางอื่นไดอ กี
1.ไดน ำแนวความคิดเกีย่ วกบั เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ ชในชวี ติ ประจำวัน
โดยการนำสิ่งทม่ี อี ยูแลวมาใชใหเกิดประโยชนส งู สุด จากการนำวตั ถุดิบเหลอื ใชมาแปรรูปใหเกดิ มลู คา
2.สามารถนำไปเปน แนวทางในการประยกุ ตแ ละการสรา งรายไดเสริมได
(70688/1 16-12-2022 16:26)
Powered by TCPDF (www.tcpdf.org)
คูม่ ือการใชง้ าน
เรอ่ื ง
เทยี นหอมอโรมา จากกากกาแฟ
Aroma Candle by HT. Café
ช่อื ผู้ทำงานวิจัย
1.นายกฤษณพงศ์ นาโพธิ์
2.นางสาวปรารถนา ชยั เสรีวงศ์สกลุ
3.นางสาวสธุ ามาตร์ จวิ
4.นางสาวจนั ทมิ า มีนา
5.นางสาวญาณกิ า แดงนาเพียง
ประจำปีการศึกษา 2565
ปีพุทธศกั ราช 2565-2566
วิทยาลยั อาชีวศึกษาสโุ ขทยั
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เทียนหอมอโรมา จากกากกาแฟ
ไสเ้ ทียน กากกาแฟ
ไขผง้ึ (Bee wax) ตกแต่งด้วย ขวดแก้ว
เมล็ดกาแฟ
บรรจุภณั ฑ์
วตั ถุประสงค์
1.เพอื่ แปรรูปกากกาแฟให้เกิดมลู คา่
2.เพื่อสรา้ งรายได้ใหแ้ ก่ HT. Café
3.เพ่อื ลดปัญหากลน่ิ อับภายในหอ้ ง
อปุ กรณ์
1. ไขผ้ึง Bee wax
2. กากกาแฟ
3. ไส้เทยี น
4. ภาชนะขวดแกว้ ใสเ่ ทยี นหอม
5. สต๊ิกเกอร์บรรจภุ ณั ฑ์
ขั้นตอนการทำ
1. ติดไส้เทยี นลงในภาชนะขวดแกว้ ให้แน่น
2. ตวง Bee wax ลงในแกว้ ตวง นำ้ หนักประมาณ 185 กรัม (ละลายจะไดน้ ำ้ เทียน 300 ml.)
3. นำหม้อที่เตรยี มไว้ใสน่ ้ำ ตม้ จนได้อุณหภูมิ 170-180 องศาเซลเซียส
4. วางแก้วตวงทีใ่ ส่ Bee wax ลงในหมอ้ ต้มนำ้
5. ใชเ้ วลาประมาณ 5 นาที Bee wax ละลาย
6. นำมาพกั ไว้ให้ Bee wax ท่ลี ะลายแล้ว มีอณุ หภูมิลดลงมาเหลือ 60-70 องศาเซลเซียส
(กรณตี ้องการเพิ่มกลิ่นหอมจึงจะใส่ Essential Oil กลิน่ กาแฟ ลงไป (ปริมาณ 7-10% ของปรมิ าณ Bee wax ที่ละลายแลว้ )
เคล็ดลับ: การใส่ Essential Oil กลิน่ กาแฟในอุณภมู ิประมาณ 60-70 องศาเซลเซยี ส เปน็ อุณหภมู ิท่ีเหมาะสม และทำให้กลน่ิ ของเทียน
มีความหอมมากทีส่ ดุ หากผสมขณะที่อณุ ภูมขิ องเทียนรอ้ นเกนิ ไป ความรอ้ นจะเบิรน์ กล่ินหอมของ Essential Oil ใหห้ มดไป เทียนที่ได้
จะมีกลิ่นเบาบางกวา่ ทีค่ วรเปน็
7. เทเทยี นลงในภาชนะขวดแก้วที่เตรยี มไว้ ตกแต่งด้วยกากกาแฟ และเมลด็ กาแฟใหส้ วยงาม
8. รอใหเ้ ทยี นเซ็ตตวั ตัดไส้เทยี นยาวประมาณ 5 มลิ ลเิ มตร บรรจลุ งในบรรจภุ ณั ฑ์ให้สวยงาม
วิธกี ารใชเ้ ทยี นหอม จากกากกาแฟ
1. เปิดฝาเทียน ใชไ้ ฟจุดเทยี นหอมจากกากกาแฟ
2. การจุดเทยี นหอมแต่ละคร้ัง ควรจะจุดใหน้ ำ้ ตาเทียนละลายจนเต็มหนา้ เทยี นนำ้ ตาเทียนละลายจน
สดุ ขอบแก้วกอ่ นทจี่ ะดับทุกครัง้
3. หากจะใช้สคบั ใหใ้ ช้ไม้ตักไปที่ไขผ่ึงทีล่ ะลาย มาใชบ้ รเิ วณสว่ นทจ่ี ะขดั เชน่ ปาก ข้อศอก ตาตุ่ม มือ
หรืออืน่ ๆ
4. ควรเลอื กใช้ ขนาดและจำนวน ของเทียนหอมให้เหมาะสมกบั ขนาดของหอ้ ง เช่น ถ้าเทยี นขนาด
เลก็ หรอื จำนวนน้อยเกนิ ไป ก็จะมีกล่นิ อ่อนเกินไปสำหรับหอ้ งขนาดใหญ่
5.ใช้ฝาปิด ปดิ ลงบนแก้วในการดับ เปลวไฟก็จะดับโดยไมเ่ กิดควนั เหมือนกับการเป่า
6. หา้ มจุดเทยี นใกลม้ ือเด็ก สัตวเ์ ลย้ี ง หรือวัตถุไวไฟ
7. ไมค่ วรจุดเทียนนานเกนิ 3-4 ชัว่ โมง เพราะนำ้ ตาเทียนอาจจะทว่ มไส้เทียนได้
8. ถา้ จุดเทยี นหลายๆแก้วในห้อง ควรจะเปิดประตหู รือหน้าตา่ งเล็กน้อย
9. ตอ้ งหม่ันคอยดเู ทยี นท่ีจดุ อยูต่ ลอดเวลา
How to use Aroma candle by HT. Cafe'
Scented candles from coffee grounds
1. Open the candle lid, use the fire to light a scented candle made from coffee
grounds.
2. Each scented candle burning the candle wax should be lit until the candle wax
melts to the edge of the glass before extinguishing it every time.
3. If using a scrub, use a wooden stick to scoop the melted wax. Use it on the part
to be polished, such as the mouth, elbows, ankles, hands, or others.
4. Should choose the size and number of scented candles to suit the size of the
room, for example if the candles are too small or too few. It will smell too weak for
a large room.
5. Use the lid to close the glass to extinguish. The flame will be extinguished
without smoke like blowing.
6. Do not light candles near children, pets, or flammable objects.
7. The candle should not be lit for more than 3-4 hours because the wax may flood
the wick.
8. If many candles are lit in a room The door or window should be slightly open.
9. Must keep an eye on the burning candle all the time.