The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตำบลสาคู อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jiraphat, 2021-11-08 07:35:11

ตำบลสาคู อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ตำบลสาคู อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

สุราษฏร์ธานี

SakhuSub-district
Surat thani

จั ด ทำ โ ด ย




นางสาวสุวนั นท์ วิโรจน์
6116209001044

นายสรวิชญ์ ลักษณะนิ ยม
6116209001060

นายจิรพั ส สี เพชร
6116209001168

พร ะราชดำรัส

“บ้านเมืองของเราเป็นสุขสืบมาช้านาน “
เพราะเรามีความปึกแผ่นในชาติ
และต่างบำเพ็ญกรณี ยกิจ
ตามหน้ าที่ให้สอดคล้องเกื้อกูลกัน

ห นั ง สื อ ฉ บั บ นี้ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ร า ย วิ ช า ก า ร ฝึ ก
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ วิ ช า ชีพ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ศึ ก ษ า
ห า ค ว า ม รู้ ใ น เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง ตำ บ ล ส า คู อำ เ ภ อ พ ร ะ แ ส ง
จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี โ ด ย ไ ด้ ศึ ก ษ า ผ่ า น แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้
ต่ า ง ๆ อ า ทิ เ ช่น แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์ แ ล ะ แ ห ล่ ง
ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ โ ด ย ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ มี เ นื้ อ ห า
เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ข น า ด ที่ ตั้ ง ข อ ง ตำ บ ล
ส ถ า น ที่ สำ คั ญ ต ล อ ด จ น ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้เ ค รื่ อ ง มื อ
ป ร ะ ก อ บ ก า ร ทำ อ า ชีพ

ผู้ จั ด ทำ ไ ด้ เ ลื อ ก ตำ บ ล นี้ เ พื่ อ จั ด ทำ ห นั ง สื อ แ น ะ นำ
ตำ บ ล เ นื่ อ ง ด้ ว ย ตำ บ ล ส า คู เ ป็ น ตำ บ ล ที่ น่ า ส น ใ จ ร ว ม
ทั้ ง แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น ผู้ จั ด
ทำ ข อ ข อ บ คุ ณ ด ร . ว า ส น า จ า ตุ รัต น์ แ ล ะ อ า จ า ร ย์

อ ยั บ ซ า ดั ด ค า น ผู้ ใ ห้ ค ว า ม รู้แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
ข อ บ คุ ณ น า ย นำ พ ล ฉิ ม เ รือ ง น า ย ก อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร
ส่ ว น ตำ บ ล ที่ ช่ว ย ป ร ะ ส า น ง า น ใ น เ รื่อ ง ต่ า ง ๆ ข อ บ คุ ณ
ช า ว บ้ า น ที่ ใ ห้ ค ว า ม รู้เ รื่อ ง ต่ า ง ๆ แ ล ะ ข อ บ คุ ณ เ พื่ อ น ๆ ที่
ช่ว ย ใ ห้ คำ แ น ะ นำ ต ล อ ด จ น ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ เ ส ร็จ ลุ ล่ ว ง ไ ป
ไ ด้ ด้ ว ย ดี ทั้ ง นี้ ห วั ง ว่ า ห นั ง สื อ แ น ะ นำ ตำ บ ล ส า คู อำ เ ภ อ
พ ร ะ แ ส ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ธ า นี จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ห้ แ ก่
ผู้ อ่ า น ทุ ก ๆ ท่ า น ห า ก ผิ ด พ ล า ด ป ร ะ ก า ร ใ ด ก็ ข อ อ ภั ย ม า
ณ ที่ นี้ ด้ ว ย

ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ

สุ ว นั น ท์ วิ โ ร จ น์
ส ร วิ ช ญ์ ลั ก ษ ณ ะ นิ ย ม
จิ ร พั ส สี เ พ ช ร

ป ร ะ วัติแ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ม า
ข น า ด ที่ตั้ง ข อ ง ตำ บ ล
ท รัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติที่สำ คัญ
ลัก ษ ณ ะ ภู มิป ร ะ เ ท ศ / ภู มิอ า ก า ศ
ก า ร เ ดิน ท า ง / ก า ร ค ม น า ค ม

ด้า น ก า ร เ มือ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง
ข้อ มู ล ป ร ะ ช า ก ร
ด้า น ก า ร ศึ ก ษ า ศ า ส น า แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม
บ ริบ ท ท า ง สั ง ค ม
ค ว า ม เ ชื่อ ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ พิ ธีก ร ร ม

แ ห ล่ง ทุน ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ
แ ห ล่ง อ า ห า ร
ผ ลิต ภัณ ฑ์ชุ ม ช น
ส ถ า น ภ า พ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิจ

แ ห ล่ง ท่อ ง เ ที่ย ว
แ ห ล่ง โ บ ร า ณ ส ถ า น
ศ า ส น ส ถ า น ข อ ง ทุก ศ า ส น า
แ ห ล่ง เ รีย น รู้ โ ร ง เ รีย น แ ล ะ ห้ อ ง ส มุ ด

S จุ ด แ ข็ง ( สิ่ ง ที่ชุ ม ช น ทำ ไ ด้ดี)
W จุ ด อ่อ น ( สิ่ ง ที่ชุ ม ช น ต้อ ง พั ฒ น า
O โ อ ก า ส ข อ ง ชุ ม ช น
T อุ ป ส ร ร ค แ ล ะ ค ว า ม ท้า ท า ย



-2-

ประวัติความเป็นมา (History)

“สาคู” เป็นอีกตำบลหนึ่ งที่เก่าแก่ของอำเภอ
พระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ก่อตั้งมาประมาณ
100 ปีมาแล้ว แต่เดิมนั้ นตำบลสาคูได้แยกมาจาก
ตำบลอิปัน หลังจากได้เกิดวาตภัยชาวบ้านบางส่วน
ได้ย้ายครัวเรือนมาอาศัยอยู่ในตำบลสาคู ตำบลสาคู
เรียกชื่อตามหมู่บ้าน “สาคู” ซึ่งเป็นหมู่บ้านหนึ่ งใน
จำนวน 7 หมู่บ้านที่ได้แยกมาจากตำบลอิปันและมี
หมู่บ้านสาคูพัฒนาเป็นจุดศูนย์กลางของตำบลสาคู

พ.ศ. 2022 – 2525 มีการก่อตั้ง โรงเรียนองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 18 (ม.4) ต่อ
มาปู่ชุ่ม ย่าฟอง (สามีภรรยา) เป็นคนแรกที่เข้ามาตั้งรกรากบุกเบิกหมู่บ้านกลางดง
(ม.1) และมีพระเดินธุดงค์ได้มาขุดบ่อน้ำตั้งไว้ในหมู่บ้าน ในพื้นที่สมัยนั้ นเรียกชื่อ
หมู่บ้านว่า “บ้านบนไร่” ที่มาของชื่อมาจากในพื้นที่เป็นป่าไร่ค่อนข้างมีป่าเยอะและ
หมู่บ้านได้เริ่มมีความเจริญขึ้น โดยมีผู้คนนอกพื้นที่เข้ามาอยู่อาศัยประมาณ 20% ต่อ
มาเริ่มมีการสร้างถนนสาธารณะ (โดยแทรกเตอร์พระราชทาน) หลังจากนั้ นเริ่มมี
กลุ่มคอมมิวนิ สต์เข้ามาอยู่อาศัยในหมู่บ้าน ในปีต่อมาเริ่มเปิดถนนสายเดิมให้ใช้งาน
ได้สะดวกขึ้น มีชื่อว่า “ถนนดินแดง”

พ.ศ.2526 – 2544 ได้มีการพัฒนาก่อสร้างอาคารเรียนชั้นมัธยมและได้ก่อตั้ง
สำนั กสงฆ์ปฏิบัติธรรมสาคู เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ที่ได้เข้ามาอาศัย
อยู่ในตำบลสาคู มีการเปิดถนนสายเดิมให้ใช้งานสะดวกขึ้น “เป็นถนนดินแดง” ปีต่อ
มาได้ก่อตั้งอนามัยบ้านสวนป่าพัฒนาและได้มีการพัฒนาจัดสร้างสถานที่อื่นๆเรื่อยมา
จนได้ก่อตั้งองค์การบริหารส่ วนตำบลขึ้นมาและในส่ วนของตำบลได้เริ่มก่อตั้ง
ผลิตภัณฑ์ปลาส้มรสเลิศ เพื่อส่งเสริมรายได้ให้กับตำบล ในปี พ.ศ.2540 เริ่มมีน้ำ
ประปาใช้ภายในตำบลต่อมาประชาชนเริ่มหันมาทำเกษตรกรอย่างเช่น ปลูกยางพารา
ปลูกปาล์ม และสวนผลไม้ หรือเรียกว่า พืชเศรษฐกิจชุมชนทำให้ปัจจุบันตำบลสาคูมี
ความเจริญรุ่งเรืองมากยิ่งขึ้น

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565 / นาย ประดับ ประดับสกุลวงศ์ : สัมภาษณ์)

-3-

ขนาดที่ตั้งของตำบล (Size)

“องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู” ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
อยู่ทางทิศเหนื อของอำเภอพระแสง อยู่ห่างจากอำเภอพระแสง 10 กิโลเมตรเป็น
หน่ วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่นมีฐานะเป็นนิ ติบุคคลโดยได้รับการยกฐานะ
จากสภาตำบลสาคู เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลสาคู ตามประกาศกระทรวง
มหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา วัน
ที่25ธันวาคม 2539 เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52โดยใช้แนวเขตของตำบลซึ่งมีอาณาเขต
ดังนี้
- ทิศเหนือ -
ติดกับตำบลพ่วงพรหมคร
อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- ทิศตะวันออก -
ติดกับตำบลอิปัน
อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- ทิศใต้และทิศตะวันตก -
ติดกับตำบลไทรขึง
อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

เนื้ อที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลสาคูมีพื้นที่ประมาณ 38,750 ไร่ หรือ
ประมาณ 62ตารางกิโลเมตรข้อมูลจากหนั งสือข้อมูลสภาตำบลและองค์การบริหาร
ส่วนตำบล ประจำปี2542 โดยกองราชการส่วนตำบล กรมการปกครอง กระทรวง
มหาดไทย

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

-4-

ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ
(natural resources)

ลักษณะดิน เป็นดินร่วนปนทรายเหมาะแก่การปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา,
ปาล์มน้ำมัน, ผลไม้ (เงาะ, ทุเรียน, มังคุด ฯลฯ)

ลักษณะแหล่งน้ำ แหล่งน้ำธรรมชาติไหลผ่าน บริเวณ หมู่ที่ 1 ,2 ,4 ได้แก่ คลอง
อิปัน ทำให้ประชาชนในตำบลสาคูมีน้ำใช้ตลอดทั้งปีไม่ขาดสาย ในตำบลสาคูนั้ น

จึงมีแหล่งน้ำเป็นทรัพยากรหลักที่สำคัญมาก
ลักษณะของไม้และป่าไม้
มีพื้นที่ป่าไม้ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

-5-

ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
(Topography and climate)

ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิประเทศ

-6-

การเดินทาง/การคมนาคม
(Transportation)

องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู มีถนนสายสำคัญตัดผ่าน ดังนี้

1. ถนนสายสุราษฎร์ – กระบี่ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4099)
เป็นถนนตัดผ่านหมู่ที่ 1,2,3 และ หมู่ที่ 4เป็นถนนสายหลักที่ใช้ในการคมนาคมออก
สู่ ตัวอำเภอจังหวัดและคมนาคมกับส่ วนอื่นๆอยู่ในความรับผิดชอบของกรม
ทางหลวง
2. ถนนสายพระแสง – เคียนซา (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4199)
เป็นถนนตัดผ่านหมู่บ้านหมู่ที่ 5 และหมู่ที่7 เป็นถนนสายที่เชื่อมระหว่างอำเภอ
พระแสง – เคียนซาราษฎรภายในตำบลสาคูใช้ในการติดต่อคมนาคมสู่อำเภอและ
จังหวัดใกล้เคียง
3. ถนนในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล
มีทั้งประเภทถนนลาดยางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนผิวจราจรหินผุซึ่ง
ดำเนิ นการก่อสร้างดูแลโดยองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งทุกๆสายเป็นถนนซึ่งมี
ความสำคัญในการคมนาคมสั ญจรไปมานำผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ ท้องตลาด
มีดังนี้

-7-

ข้อมูลเส้นทางคมนาคมขององค์การบริหารส่วนตำบาลสาคู มีดังนี้

หมู่ที่ 1 บ้านกลางดง
ถนนซอยปู่ชุ่ม ถนนซอยทิพย์สุวรรณ
ถนนซอยทรัพย์ละอองดาว
ถนนซอยบ้านกลางดง ถนนซอยอนั นทเพชร

หมู่ที่ 2 บ้านสาคู
ถนนหานคางกบ ถนนซอยบ้านสาคู - ไสท้อน
ถนนซอยเหมือนฝัน ถนนซอยนายสวัสดิ์
ถนนซอยเพลินจิต ถนนซอยเศรษฐกิจ
ถนนซอยท่าน้ำ ถนนซอยวาสนา ถนนซอยลุงดำ

หมู่ที่ 3 บ้านสาคูพัฒนา
ถนนซอยล้นเกล้า ถนนซอยบนควน
ถนนซอยประปา ถนนซอยวิวา
ถนนซอยบ้านนายธรรมนูญ – ทุ่งเลี้ยงสัตว์

หมู่ที่ 4 บ้านน้ำดำ
ถนนซอยสายกลางหมู่บ้าน ถนนซอยร่มรื่น
ถนนสายทุ่งเลี้ยงสัตว์ ถนนสายบ้านนายเนื อง
ถนนสายหอประชุม – ทุ่งเลี้ยงสัตว์
ถนนสายบ้านนางละออง – ทุ่งเลี้ยงสัตว์
ถนนซอยนายวุฒิ เพ็งศรี ถนนสายชนคลอง
ถนนซอยนายเติม

หมู่ที่ 5 บ้านสวนป่าพัฒนา
ถนนซอยรอบหมู่บ้าน ถนนซอยโรงน้ำยาง
ถนนซอยหลังหมู่บ้าน ถนนซอยสันทัด
ถนนซอยชุมแสง ถนนซอยจิตรแก้ว

หมู่ที่ 6 บ้านห้วยทรายขาว
ถนนทางหลวงชนบทสายบ้านห้วยทรายขาว
ถนนซอยบ้านไร่เหนื อ - ประชาสรรค์
ถนนสายบ้านห้วยทรายขาว - บ้านน้ำดำ
ถนนซอยอ่างเก็บน้ำ ถนนซอยม่วงแก้ว
ถนนสายบ้านห้วยทรายขาว – บ้านบางใหญ่
ถนนซอยบ้านนายเพียร

หมู่ที่ 7 บ้านบางใหญ่
ถนนสายบางใหญ่ ถนนซอยสุมล ถนนซอยสำลี ถนนซอยสองพี่น้ อง
ถนนซอยสุทิน ถนนซอยสำนั กสงฆ์ ถนนลอยใหม่

-8-

สาธารณูปโภค
(Public utility)

การไฟฟ้า (Electricity)

องค์การบริหารส่ วนตำบลสาคูใน
หมู่บ้านต่างๆมีไฟฟ้าใช้ครบทุก
หมู่บ้านแต่ยังมีบางครัวเรือนยังไม่มี
ไฟฟ้าใช้องค์การบริหารส่ วนตำบลได้
เสนอโครงการขยายเขตไฟฟ้าไปยัง
การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาคซึ่งเป็นปัญหาที่
ต้องได้รับการแก้ไขต่อไป

การประปา (Waterworks) หมู่ จำนวน จำนวนปร4ะปาหมู่บ้าน
1 บ่อบาดาล
การโทรคมนาคม 2 บ่อบาดาลและหอถัง
(Telecommunications) 3 3
4 2 2
5 3 3
6 8 8
7 5
5
รวม 6
6 3

7 31

34

ปัจจุบันทุกหมู่บ้านใช้โทรศั พท์
เคลื่อนที่เป็นส่วนใหญ่ แต่ยังมี
บางหมู่บ้านที่มีสั ญญาณโทรศั พท์
อ่อนกำลัง และได้ติดต่อประสาน
ไปยังบริษัทเจ้าของสั ญญาณให้
ดำเนิ นการแก้ไข และอยู่ระหว่าง
การดำเนิ นการ

-9-
ไปรษณี ย์หรือการสื่ อสารหรือการสื่ อสารขนส่ งและวัสดุ

(Postage or parcel delivery)

รูปภาพ : ที่ทำการไปรษณีย์อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี

ที่ทำการไปรษณี ย์ที่ใกล้ที่สุด
ได้แก่ ไปรษณีย์อำเภอพระแสง
ตั้งอยู่ตำบลอิปันอำเภอพระแสง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ห่างจากตำบล
สาคู อำเภออำเภอพระแสง ทางทิศ
ตะวันออก ประมาณ 5 กิโลเมตร
นอกจากนั้ นยังมีหอกระจายข่าว
5 แห่ง (หมู่ที่ 1,4,5,6,7) และเสียง
ตามสาย 2 แห่ง (หมู่ที่ 2,3)

รูปภาพ : หอกระจายข่าว

รูปภาพ : เสียงตามสายหมู่บ้าน
(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)



- 11 -

ด้านการเมืองการปกครอง (Politics)

โครงสร้างและอัตรากำลัง
ในการบริหารงานขององค์การบริหารของตำบลสาคู

การบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลสาคู ประกอบด้วยสภาองค์การบริหาร
ส่วนตำบลทำหน้ าที่นิ ติบัญญัติและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลทำหน้ าที่บริหาร
งาน กำหนดนโยบายต่าง ๆ ในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล พนั กงานส่วน
ตำบลและเจ้าหน้ าที่ที่ปฏิบัติงานประจำภายในส่วนราชการขององค์การบริหารส่วน
ตำบล โดยสามารถแสดงตามแผนภูมิ ดังนี้

ประชาชน

สภาองค์การบริหารส่ วนตำบล นายกองค์การบริหารส่ วนตำบล
ปลัดองค์การบริหารส่ วนตำบล

สำนั กปลัด กองคลัง กองช่าง

- 12 -

องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง
แบ่งหน่ วยงานภายในส่วนราชการตามกำหนด เป็น 3 หน่วยงาน ดังนี้

สำนั กงานปลัดองค์การบริหารส่ วนตำบล

มีหน้ าที่ควบคุมดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหาร
ทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนราชการที่มิได้
กำหนดให้เป็นหน้ าที่ของส่วนราชการใดในองค์การบริหาร
ส่ วนตำบลโดยเฉพาะรวมทั้งกำกับและเร่งรัดการปฏิบัติ
ราชการของส่ วนราชการในองค์การบริหารส่ วนตำบลให้
เป็นไปตามนโยบายแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ
ขององค์กร

กองคลัง

มีหน้ าที่ควบคุมดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานในการพัฒนา
รายได้ งานผลประโยชน์ งานเร่งรัดรายได้ งานการเงินและ
บัญชี งานพัสดุและทรัพย์สิน งานสถิติการคลัง งานแผนที่
ภาษี งานทะเบียนทรัพย์สิน เงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทน
งานบำเหน็ จบำนาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทำงบ
ประมาณ ฐานะทางการเงินและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและได้
รับมอบหมาย

กองช่าง

มีหน้ าที่ควบคุมดูแลและรับผิดชอบการปฏิบัติงานในหน้ าที่
เกี่ยวกับการสำรวจ ออกแบบ การจัดทำข้อมูลทางด้าน
วิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ การควบคุม
การก่อสร้างและซ่อมบำรุง งานแผนงานด้านวิศวกรรม
เครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตาม ควบคุม การ
บำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผน
งานควบคุม เก็บรักษา การเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ น้ำมันเชื้อ
เพลิง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย

- 13 -
อัตรากำลังบุคลากรประจำองค์การบริหารส่ วนตำบลสาคู

พนั กงานส่ วนตำบล

: จำนวน 20 คน

พนั กงานจ้างตามภารกิจ
: จำนวน 5 คน

พนั กงานจ้างทั่วไป

: จำนวน 8 คน

- 14 -

ผู้นำชุมชน ตำบลสาคู

1หมู่ที่ บ้านกลางดง 2หมู่ที่ บ้านสาคู

กำนั น กำนั น

- ไม่มีข้อมูล - - ไม่มีข้อมูล -
ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน

นายธงชัย เพชรชำนาญ นายพยงค์ อนุกูล
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
นายสุพจน์ อนั นทเพชร
นายชำนิ อนุกูล นายทรงวุฒิ หอมกอ
นายศักดิ์สิทธิ์ พลพิชัย
นายอนุภาพ อนั นทเพชร นายเยาวเรศ ณะแก้ว
นายโภวิทย์แก้วเจริญ (สารวัตรกำนั น)

3หมู่ที่ บ้านสาคูพัฒนา 4หมู่ที่ บ้านน้ำดำ

กำนั น กำนั น

- ไม่มีข้อมูล - นายณรงค์ศักดิ์ ชูภักดิ์
ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน

นายวิชาญ เพ็ญศรี - ไม่มีข้อมูล -

ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

นายวิโรจน์ สุริยาพิทักษ์ นายสุวัฒน์ นิ ธิธนากร
นายสมพร พัฒทอง นาย โสภณเพ็งศรี
นายสุรพงศ์ ชูศรี นายมานิ ตย์ชูนาวา

- 15 -

5หมู่ที่ บ้านสวนป่าพัฒนา 6หมู่ที่ บ้านห้วยทรายขาว

กำนั น กำนั น

- ไม่มีข้อมูล - - ไม่มีข้อมูล -
ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน

นายโสภณ จิตรแก้ว นายธีระ รัศมีพงศ์
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
นายมงคล ศรีราม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

นายสมใจ มีแสง นายบุญให้ บุญวิสูตร
นายบุญสม น่ วมเพชร นายถาวร สุทธิเจริญ

นายชัยฤทธิ์ เปล้า



7หมู่ที่ บ้านบางใหญ่

กำนั น

- ไม่มีข้อมูล -
ผู้ใหญ่บ้าน

นายวันชัย ลอยใหม่

ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

นายสมภาส เพชร
นายสุข ดำเรือง
นายทะนงชัย ระย้า
นายจรัญ บำรุง (สารวัตรกำนั น)

- 16 -

โครงสร้างองค์การบริหารส่ วนตำบลสาคู
องค์การบริหารส่ วนตำบลสาคู

สภา อบต.สาคู คณะผู้บริหาร อบต.สาคู

ประธานสภา ฯ นายก อบต.
นายภิรมย์ สุขแปะเง้า นายนำพล ฉิมเรือง

รองประธานสภา ฯ เลขานุการสภา ฯ เลขานุการนายก อบต.
นายสมพร พุทธรัตน์ นายณรงค์ หวานฉ่ำ นางสาวนันทิยา ใจเหล็ก

รองนายก อบต. รองนายก อบต.
นายสมศั กดิ์ กรดเต็ม นายเทพฤทธิ์ พลพิชัย

ส.อบต. หมู่ 1 ส.อบต. หมู่ 2 ส.อบต. หมู่ 2 ส.อบต. หมู่ 3
นายวีระวงค์ หล่อพันธ์ นายสันติ อนุกูล นายสัมพันธ์ สัมฤทธิ์ นางวิจิตรา อนุกูล

ส.อบต. หมู่ 4 ส.อบต. หมู่ 4 ส.อบต. หมู่ 5 ส.อบต. หมู่ 5
นายธานินท์ โภชนาธาร นายประพันธ์รัตน์ พรหมมณี นายสัญญา หนูเสน นายหะรินทร์ ปลื้มสุทธิ์

ส.อบต. หมู่ 6 ส.อบต. หมู่ 6 ส.อบต. หมู่ 7
นายเวชพิสิฐ สุขดำ นายประสาน ศรีสวัสดิ์ นางสาวศุภลักษณ์ เรืองทอง

- 17 -

การมีส่ วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
เพื่อให้การมีส่ วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานภาครัฐเป็นไป
ด้วยความคล่องตัวมีประสิ ทธิ์ภาพและสามารถตอบสนองปัญหาและ
ความต้องการได้ดียิ่งขึ้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์การบริหารส่วน
ตำบลจะต้องเตรียมการและเร่งกำหนดจุดมุ่งหมายและทิศทางการ
พัฒนาให้ชัดเจนมีการกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาที่
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายในการพัฒนาอย่างเป็นระบบโดยมีความ
ครอบคลุมภารกิจการพัฒนาในทุกๆ ด้านในอันที่แสดงถึงศักยภาพของ
องค์การบริหารส่ วนตำบลอีกทั้งส่ งเสริมให้ประชาชนมีส่ วนร่วมในการ
ดำเนิ นงานขององค์การบริการส่วนตำบลประกอบการส่งเสริมให้
ประชาชนเห็นความสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 18 -

ข้อมูลประชากร (Population)

จำนวนประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสาคู ตามข้อมูล
จากสำนั กบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ประจำเดือนเมษายน
พ.ศ. 2562 มีจำนวนประชากรชาย จำนวน 2,718 คน ประชากรหญิง
จำนวน 2,662 คน รวม 5,380 คนประกอบกับมีประชากรแฝง ซึ่งเป็น
แรงงานต่างด้าวที่มาทำงานในโรงงานในพื้นที่หรือเป็นคนงานในสวน
เกษตรอีกจำนวนหนึ่ ง รายละเอียดดังนี้

จำนวน (คน) เพศหญิง เพศชาย ยอดรวม (คน)
1,250
1,173 1,008
1,000 1,115

800

750

500 466 438
380

250

0
หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7

(ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ประจำเดือน เมษายน ปี 2562)

- 19 -

กลุ่มมวลชนจัดตั้ง

ลูกเสื อชาวบ้าน กองหนุนเพื่อความมั่นคงของชาติ

ไทยอาสาป้องกันชาติ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

อาสาสมัครหนึ่ งตำบลหนึ่ งทีมกู้ภัย กลุ่ม อสม.

กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มดำเนิ นงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน

- 20 -

กลุ่มมวลชนจัดตั้ง (ต่อ)

ชมรมผู้สูงอายุ กองทุนสวัสดิการชุมชน

วิสาหกิจชุมชน ศูนย์พัฒนาชุมชน

กองทุน สปสช.

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 21 -

ด้านการศึ กษา ศาสนาและวัฒนธรรม
(Education religion and culture)

ด้านการศึ กษา
แหล่งศึ กษาเรียนรู้ มีทั้งหมด 13 แห่ง ดังนี้

โรงเรียนบ้านสาคูมิตรภาพที่ 195 (โรงเรียนประถม)
โรงเรียนองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 18 (โรงเรียนประถม)

โรงเรียนบ้านบางใหญ่ (โรงเรียนประถม)

ห้องสมุดชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชน
(จำนวน 7 แห่ง) (จำนวน 1 แห่ง) (จำนวน 2 แห่ง)

- 22 -

ด้านศาสนา

สำนั กสงฆ์/สำนั กปฏิบัติธรรม
ที่พักสงฆ์ 4 แห่ง ได้แก่ 1. สำนั กสงฆ์ใหม่บ้านสาคูใต้ 2. สำนั กสงฆ์สวนป่าพระแสง

3. สำนั กสงฆ์สวนป่าพัฒนา 4. สำนั กสงฆ์บ้านบางใหญ่

สำนั กสงฆ์บ้านบางใหญ่
สมัยก่อนเป็นป่าและมีคนเฒ่าคนแก่ได้แบ่งอนาเขตก่อตั้งเป็นสำนั กสงฆ์ต่อมาชาว
บ้านได้นิ มนต์พระมา 1 รูปเป็นที่พักสงฆ์ยกขนำอยู่แต่ปัจจุบันมีพระ 4 รูป มีอาคาร

เรือน มีกุฏิและศาลาธรรมแต่ยังไม่สมบูรณ์เพราะปัจจัยไม่เพียงพอ ปัจจุบัน
สำนั กสงฆ์บ้านบางใหญ่ได้ดำเนิ นการขอเป็นวัดอยู่และรอคำสั่งได้หรือไม่ได้




รูปภาพ : ศาลเจ้ากวนอู (หมู่ที่ 4)

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 23 -

บริบททางสั งคมและความเป็นอยู่
(Social context and well-being)

องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู สภาพ
พื้นที่เป็นที่ราบสูงเป็นส่วนใหญ่ ศักยภาพ
ในด้านภูมิศาสตร์เหมาะที่จะเป็นแหล่ง
ผลิตหนทางการเกษตร เช่น สวนปาล์ม
สวนยางพารา และสวนผลไม้ต่าง ๆ เลี้ยง
ปลา เลี้ยงไก่พื้นเมือง ประกอบกับสภาพ
อากาศแดดร้อนชื้นปริมาณฝนเหมาะแก่
การเกษตร

ในส่วนของภาคอุตสาหกรรม พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเหมาะที่
จะดำเนิ นการอุตสาหกรรมทางการเกษตร เช่น อุตสาหกรรมแปรรูปไม้
ยางพารา อุตสาหกรรมเกี่ยวกับปาล์มน้ำมัน อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต
ทางการเกษตรต่างๆ เป็นต้น ดังนั้ นอาชีพส่วนใหญ่ของประชากร คือ
เกษตรกรรม ค้าขาย รับราชการ รับจ้าง อื่น ๆ เป็นต้น

แรงงานส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ การรับจ้างกรีดยางพารา รับจ้างแทง
ทลายปาล์มน้ำมัน และมีส่วนหนึ่ งรับจ้างอยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมสาคู

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 24 -

ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม
(Beliefs traditions and rituals)




ประเพณี วันขึ้ นปีใหม่ ประเพณี วันสงกรานต์ ประเพณี วันถวายพองลา
(เดือนมกราคม) (เดือนเมษายน) (เดือนพฤษภาคม)

ประเพณี วันเข้ าพรรษา ประเพณี วันสารทเดือนสิ บ
(เดือนกรกฏาคม) (เดือนตุลาคม)

ประเพณี วันออกพรรษา ประเพณี วันลอยกระทง
(เดือนตุลาคม) (เดือนพฤศจิกายน)



- 25 -

แหล่งทุนทางธรรมชาติ
(Natural capital)

ทรัพยากรธรรมชาติ
ลักษณะดิน เป็นดินร่วนปนทรายเหมาะแก่การปลูกพืชเศรษฐกิจ

เช่น ยางพารา,ปาล์มน้ำมัน,ผลไม้ (เงาะ,ทุเรียน,มังคุดฯลฯ) มีแหล่งน้ำ
ธรรมชาติไหลผ่าน บริเวณ หมู่ที่ 1 ,2 ,4 ได้แก่ คลองอิปัน ทำให้ประชาชน
ในตำบลสาคูมีน้ำใช้ตลอดทั้งปีไม่ขาดสาย ในตำบลสาคูนั้ นจึงมีแหล่งน้ำ
เป็นทรัพยากรหลักที่สำคัญมาก

ลักษณะของไม้และป่าไม้
มีพื้นที่ป่าไม้ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ น้ำลำคลอง มีลำคลองอิปัน
ไหลผ่าน จำนวน 1 สาย และคลองเหยียน จำนวน 1 สาย ป่าไม้ ป่าไม้ชุมชน
จำนวน 1 แห่ง

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 26 -

แหล่งอาหาร
(Food source)

ในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลสาคู ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมเป็นหลัก เช่น ปลูกยางพารา ปลูกปาล์มน้ำมัน ทำสวนผลไม้
นอกจากนี้ มีการทำการเกษตรกับการรับจ้าง การรับจ้างเป็นการรับจ้าง
ในงานเกษตรกรรมประเภทรับจ้างกรีดยาง รับจ้างทำสวน การเพาะปลูก
การเกษตร ส่วนใหญ่จะอาศัยน้ำจากคลองอิปันและสายน้ำธรรมชาติและ
น้ำฝน และยังมีการเลี้ยงปลาน้ำจืด เลี้ยงสุกร เลี้ยงไก่ไข่ เป็นต้น

รูปภาพ : ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกร

รูปภาพ : ผู้ประกอบอาชีพเลี้ยงสุกร

- 27 -

ผลิตภัณฑ์ชุมชน
(Community products)

1 แม่หนิ งฟาร์ม หมู่ที่ 1 บ้านกลางดง

เริ่มคิดจะเปิดฟาร์มโดยปลูกผัก ปี 2558
กินเองในครัวเรือน

ปี 2559 ศึ กษาและอบรมที่เกษตรอำเภอ

ทำโลโก้และทำฟาร์มเกษตร ปี 2560
อบรมแปรรู ปผลิตภัณฑ์
เริ่มปลูกข้าวไร่ครั้งแรกคือ พันธุ์หอม
ปี 2561 บอนสี ขาวจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

รวมกลุ่มข้าวไร่ อำเภอพระแสง ปี 2562
เป็นผู้นำกลุ่มสัมมนาชีพ หมู่ที่ 1
ทำกลุ่มเกษตรอินทรีย์ (PGS)
(ฝึกสานตระกร้า) ทำปุ๋ยหมัก เข้าวิสาหกิจคนรักงาน

ปี 2563 เกษรชุมชน

ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ปี 2564

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 28 -

2 เครื่องแกง หมู่ที่ 6 บ้านห้วยทรายขาว
บ้านห้วยทรายขาว

จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน “เครื่องแกง ปี 2559
บ้านห้วยทรายขาว”
กลุ่มพัฒนาชุมชน
ปี 2560 อำเภอพระแสงและหมู่บ้าน

ได้รับการตรวจสอบ “ให้เงินสมทบทุน”
สิ่ งเจือปนก่อนที่จะพัฒนา
ปี 2561
เป็นสิ นค้าโอทอป
ผลิตภัณฑ์เครื่องแกง
ปี 2562 ได้ยกระดับขึ้ นเป็นสิ นค้าโอทอป

เศรษฐกิจซบเซา ปี 2563
การผลิตสิ นค้าลดน้ อยลง
เนื่ องจากสถานการณ์ โควิด-19

ปี 2564 จัดทำโลโก้ เครื่องแกง
กำลังจัดทำกล่องบรรจุเครื่องแกง

(ที่มา: สัมภาษณ์ นาย นำพล ฉิมเรือง เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ.2564)

3 น้ำยาล้างจาน หมู่ที่ 4 บ้านน้ำดำ

ปี 2540 - 2559 ปี 2560 ปี 2561

กลุ่มเกษตรกรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการ เริ่มทำสบู่และผงซักฟอก จัดทำโลโก้โดยออกแบบ
ทำน้ำยาล้างจาน เริ่มจัดตั้งกลุ่ม นำไปวางจำหน่ ายตามร้าน กันเองภายในกลุ่ม

โดยมีนาง มณฑา บุญสุข เป็นหัวหน้ากลุ่ม ค้าในชุมชน

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 29 -

สถานภาพทางเศรษฐกิจชุมชน
(Community Economic Status)

แหล่งน้ำทางการเกษตร

คลองอิปันไหลผ่าน หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 4 ลงแม่น้ำตาปี / บางห้วย
มุด / บางบอน / คลองเหียน / ห้วยพรุใหญ่ / ห้วยบางใหญ่ / ห้วยสาม
สาย / ห้วยหนองกล้า / ห้วยบางเดื่อ / ห้วยบางนา

หมู่ หมู่ หมู่

1 2 3
หานบางนา
หานพุเทา หานตะเคียน ฝายบางห้วยมุด
หานคางกบ
สระเก็บน้ำ 3 แห่ง สระเก็บน้ำ 1 แห่ง

หมู่ หมู่

4 5
หานบางด้วน
สระเก็บน้ำ 4 แห่ง
ฝายคลองบอด
สระเก็บน้ำ 2 แห่ง

หมู่ หมู่

6 7

ฝายคอกช้าง ฝายคลองเหยียน

สระเก็บน้ำ 4 แห่ง สระเก็บน้ำ 2 แห่ง

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)



- 31 -

แหล่งท่องเที่ยว
(Tourist attraction)

ศาลาพ่อท่าน
บ้านสาคูในอดีตอยู่อีกฝั่ งของคลองอิปัน ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของบ้าน
ไสท้อนซึ่งมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคราพนั บถือ ได้แก่ พ่อท่านเขาอ้อ พ่อท่านบาง
วงศ์ พ่อท่านสมภารสุขแก้ว เทวดาพระยายอดน้ำและสิ่งศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ แต่
ครั้งหนึ่ งแรดได้พลัดหลงเข้ามาในหมู่บ้านคนสมัยนั้ นมีความเชื่อว่าเป็น
กาลกิณี ของหมู่บ้านจึงได้ย้ายบ้านสาคูข้ามคลองอิปันมาอยู่ที่บ้านสาคู
ปัจจุบันและได้ก่อสร้างศาลาพ่อท่านเพื่อเป็นสิ่ งสถิตของสิ่ งศั กดิ์สิ ทธิ์
ศาลาพ่อท่านเดิมเรียกว่า “หลวงพ่อท่าน” ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่เรียก
สื บสานกันมายาวนาน

สำหรับศาลาพ่อท่านไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าก่อสร้างเมื่อใด แต่
จากการเล่าสื บต่อกันมาว่าศาลาพ่อท่านได้ก่อสร้างก่อนสงครามโลก
ครั้งที่ 2 และได้มีการย้ายศาลาพ่อท่านหลายครั้ง ปัจจุบันองค์การบริหาร
ส่วนตำบลสาคูได้ก่อสร้างศาลาพ่อท่านเมื่อ พ.ศ.2550 และได้มีการทำพิธี
ย้ายสิ่ งศั กดิ์สิ ทธิ์ทั้งหลายมาอยู่ที่ศาลาพ่อท่านดังกล่าวจนถึงปัจจุบัน

พ.ศ. 2528 - 2531 - 32 -

พ.ศ. 2550 - 2551

สร้างสำนั กสงฆ์ สร้างศาลาพ่อท่านคล้าย
พ.ศ. 2552 - 2553 สิ่ งศั กดิ์สิ ทธิ์ทั้งหมดมาอยู่

ที่ หมู่ที่ 4 บ้านน้ำดำ

พ.ศ. 2552 - 2553

สร้างพระพุทธรูป สร้างรูปปั้ นงูเทวดา
พ่อท่านเขาอ้อ พระยายอดน้ำ

สร้างพระพุทธรูป
พ่อท่านบางวงศ์

สร้างพระพุทธรูป
สมภารสุขแก้ว

รูปภาพ : รูปปั้ นงูเทวดาพระยอดน้ำ

รูปภาพ : พระพุทธรูปสมภารสุขแก้ว รูปภาพ : พระพุทธรูปพ่อท่านเขาอ้อ รูปภาพ : พระพุทธรูปพ่อท่านบางวงศ์

(ที่มา: แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565)

- 33 -

แหล่งท่องเที่ยว
(Tourist attraction)

โคกหนองนาบ้านบางใหญ่

พ.ศ.2558 – 2561 นาย วันชัย ลอยใหม่ (ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 ในปัจจุบัน)

พ.ศ.2562 วางแผนทำเป็นแหล่งท่องเที่ยว (ด้านการเกษตร)

พ.ศ.2563 – 2564 เริ่มจัดทำเป็นแหล่งท่องเที่ยว (ด้านการเกษตร)
เศรษฐกิจพอเพียง

(ที่มา: สัมภาษณ์ นาย วันชัย ลอยใหม่ เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ.2564)

- 34 -

แหล่งเรียนรู้ โรงเรียนและห้องสมุด
(Learning resources school and library)

โรงเรียนบ้านสาคูมิตรภาพที่ 195

โรงเรียนบ้านสาคูมิตรภาพที่ 195 ได้เปิดทำการสอน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน
พ.ศ. 2483 โดยนายจัน อินทรัส ปลัดอำเภอหัวหน้ ากิ่งอำเภอพระแสง และนาย
หยอด ชูศรี ผู้ใหญ่บ้านร่วมกันกับชาวบ้านสร้างอาคารชั่วคราวโดยมี นายแมง หอม
ประกอบ เป็นครูใหญ่คนแรกและมีครูผู้สอนคนแรก คือ นายประหยัด รัตนพันธุ์

คณะกรรมการสถานศึ กษาขั้นพื้นฐาน

1. นายทวี พรหมด้วง ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ
2. นายโกวิท เกิดเกลื่อน ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
3. นางพวงเพ็ญ พรศุภมาศ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ
4. นางบุญรอด กลับกลาย ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ
5. นางสาวสุวพร คุณสนอง ผู้แทนศิ ษย์เก่า กรรมการ
6. นางสุวารี เพ็ญศรี ผู้แทนครู กรรมการ
7. นายสัมพันธ์ สัมฤทธิ์ ผู้แทน อปท. กรรมการ
8. นายประเสริฐ ชูศรี ผู้แทนองค์กรศาสนา กรรมการ
9. นางสุทฺธิยา พาร์เมนเทียร์ ผู้อำนวยการสถานศึ กษา กรรมการและเลขานุการ

วิสั ยทัศน์ พันธกิจ

สร้างพลเมืองดี มีคุณธรรม 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
จริยธรรม น้ อมนำศาสตร์พระราชา และค่านิ ยมอันพึงประสงค์
2. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ให้สูงขึ้น
พัฒนาวิชาการ ประสานชุมชน 3. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะที่จำเป็นใน
ก้าวสู่ สากลอย่างภาคภูมิ ศตวรรษที่ 21
4. บริหารจัดการโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม
5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทาการ
ศึ กษาให้เป็นมืออาชีพ
6. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการ
บริหารจัดการและการเรียนรู้
7. จัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ห้องเรียน ให้มีความสะอาด ปลอดภัย เพียง
พอ น่ าอยู่ เอื้อต่อการเรียนรู้

(ที่มา:สัมภาษณ์นางสุทฺธิยา พาร์เมนเทียร์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2564)

- 35 -

โรงเรียนองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 18

เหตุการณ์ สำคัญ

ปี 2524 สร้างอาคารเรียนถาวรแบบ ป.1.ก.1
ปี 2530 สร้างบ่อเลี้ยงปลา
ปี 2541 สร้างอาคารเรียนกึ่งถาวร
ปี 2542 สร้างอาคารเรียน สปช.102/26
สนามกีฬา ลานกีฬาอเนกประสงค์
ปี 2543 สร้างถังเก็บน้ำ ฝ.30 (พิเศษ)
ปี 2545 สร้างถนนลูกรัง
ปี 2551 อาคารเรียนกึ่งถาวร
ปี 2556 สร้างรั้วคอนกรีต
ปี 2558 สร้างอาคารเอนกประสงค์
ปี 2259 สร้างส้วมแบบ สปช.604/45

โครงสร้างการบริหารโรงเรียน

1. นายสมมุ่ง กาฬรัตน์ ผู้อำนวยการ

2. นางดารณี ใหญ่กว่าวงศ์ การบริหารงานวิชาการ

3. ว่าที่ร้อยตรีหญิงจันทรา ช่างคิด การบริหารงานวิชาการ

4. นางสาวจุฑาภรณ์ ประดู่ การบริหารงานงบประมาณ

5. นางสาวฌลานั นท์ รัตนพันธ์ การบริหารงานงบประมาณ

6. นายศุภชัย พุทธสุขา การบริหารงานบุคคล

7. นางสาวลาวัลย์ ไสยรินทร์ การบริหารงานบุคคล

8. นางสาวเพชรรัตน์ ทิพย์นุรักษ์ การบริหารงานทั่วไป

9. นายปิยะนั นท์ รัตนบุรี การบริหารงานทั่วไป

คำขวัญ วิสั ยทัศน์
ของโรงเรียน
เรียนดี มีวินั ย ใฝ่คุณธรรม พัฒนาการเรียนรู้ คู่คุณธรรม สู่ความเป็นเลิศ
นำเศรษฐกิจพอเพียง บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จำนวนนั กเรียน โดยการมีส่ วนร่วมของภาคีเครือข่าย

148 คน

(ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563)

- 36 -

พันธกิจ

1. จัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการ
ศึ กษา
2. พัฒนาครูให้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
3. พัฒนาเทคโนโลยีให้พันสมัย ยึดหลักธรรมาภิ
บาลในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
4. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม มี
มารยาทงาม ไหว้สวย แข็งแรงด้วยศิลปะแม่ไม้
มวยไทย มี
ค่านิ ยมที่พึงประสงค์
5. น้ อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
ปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณธรรม พื้นฐาน 9 ประการ
ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด มีวินั ย สุภาพ สะอาด
สามัคคี มีน้ำใจ และกตัญญู

โครงสร้างหลักสูตร

โรงเรียนองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 18 ได้จัดสัดส่วนสาระจัดการสอนตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2560) และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนด
ประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ตามช่วงอายุ ได้แก่ ช่วงอายุ 3 - 4 ปี, 4 - 5
ปี, 5 - 6 ปี ประสบการณ์ที่สำคัญได้แก่
- ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย
- ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ
- ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
- ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา

(ที่มา:สัมภาษณ์ นางดารณี ใหญ่กว่าวงศ์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2564)

- 37 -

โรงเรียนบ้านบางใหญ่

ข้อมูลทั่วไป ผู้บริหาร

เปิดสอนตั้งแต่ระดับ นายสุรชัย สุขขัตติย์
อนุบาล 1 ถึงระดับ เริ่มดำรงตำแหน่ ง
มัธยมศึกษาปีที่ 3
ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2551 จนถึงปัจจุบัน

จำนวนนั กเรียน คำขวัญ
ของโรงเรียน
182 คน
ยึดมั่นความดี มีความรอบรู้
(ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2562) อยู่อย่างพอเพียง

วิสั ยทัศน์ พันธกิจ

เป็นองค์กรชั้นนำ 1. ส่งเสริมและสนั บสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุก
ในการพัฒนาคุณภาพ คน ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
การศึ กษาให้ได้มาตรฐาน ตามมาตรฐาน
บนพื้นฐานของความเป็นไทย 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและค่า
(ที่มา:สัมภาษณ์ นางสมศรี ชูนาวา นิ ยมหลักของคนไทย 12 ประการ
เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2564) 3. ส่งเสริมและสนั บสนุนให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาได้รับการพัฒนา และมีความ
ก้าวหน้ าในวิชาชีพ
4. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เน้ นการมีส่วน
ร่วม และรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษา



- 39 -

มีทุนธรรมชาติที่ดี ใช้ทรัพยากรไม่คุ้มค่า
การบริหารจัดการที่ดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสถานศึ กษา
มีวัฒนธรรมประเพณี ที่ดีงาม ในสั งกัดองค์การบริหารส่ วนตำบล
มีเศรษฐกิจที่ดี สาคูไม่เพียงพอ
สั งคมมีสุข แหล่งท่องเที่ยวในตำบลมีน้ อยและ
การจัดการศึ กษามีคุณภาพ และ ขาดการส่ งเสริมสนั บสนุนการท่อง
เป็นที่ยอมรับของประชาชน เที่ยว
มีความปลอดภัย มีบุคลากรที่มีน้ อย การ
บริการมีคุณภาพ ประชาสั มพันธ์ / การเข้าถึง
ชาวบ้านมีวิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ประชาชนไม่ทั่วถึงบุคลากรบางส่ วน
มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ขาดจิตสำนึ กในการให้บริการ
ปาล์มน้ำมัน ยางพารา สาธารณะและขาดการทำงานเชิงรุ ก
บุคลากรมีความรู้เรื่องระเบียบ ขาดอุปกรณ์ ในการตรวจสอบ
กฎหมายให้ถ่องแท้เพื่อการปรับใช้ คุณภาพสิ่ งแวดล้อม ขาดการนำ
ในพื้นที่ให้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการ
ได้อย่างไร บริหารจัดการ
ขาดสถานที่พักผ่อนมีน้ อย
สถานศึ กษาไม่ได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่ อง
การจัดทำแผนงาน / โครงการ
สอดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชนในพื้นที่น้ อย

- 40 -

มีเครือข่ายในการงานแบบ การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
บูรณาการ ที่ต้องใช้งบประมาณสูง ต้องได้รับ
มีงบประมาณสนั บสนุนการพัฒนา การสนั บสนุนจากส่ วนกลาง
ท้องถิ่นจากส่ วนกลาง ประชากรแฝงอาจก่อให้เกิดปัญหา
รัฐบาลมีนโยบายให้ประชาชนมี อาชญากรรมเพิ่มขึ้น
ส่ วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของ แรงงานต่างชาตินำโรคติดต่อเข้า
ตนเอง มา
มีความร่วมมือร่วมใจจากประชาชน วัฒนธรรมจากตะวันตกทำให้ความ
และจากการบริหารของผู้นำ เข้มแข็งอย่างไทยเปลี่ยนแปลไป
หมู่บ้าน วิกฤตทางเศรษฐกิจ
ได้รับความร่วมมือสนั บสนุนจาก ราคาสิ นค้าทางการเกษตรตกต่ำ
หน่ วยงานของรัฐเป็นอย่างดี การ ประชาชนขาดจิตสำนึ กในการดูแล
ปฏิรูป ระบบราชการทำให้ รักษาสาธารณสมบัติและสิ่ ง
พนั กงานเกิดความกระตือรือร้นใน แวดล้อม
การปฏิบัติงาน มลพิษจากแหล่งต้นน้ำและใกล้
เคียง
เมืองมีการเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็ว จนทำให้การบริการไม่ทั่ว
ถึง
ความร่วมมือของภาคเอกชนมีน้ อย
ปัญหาสิ่ งแวดล้อมเริ่มเข้ามีผลกระ
ทบต่อการดำรงชีวิตของคนตำบล
สาคู เนื่ องจากโรงงาน
อุตสาหกรรมมักจะปล่อยควันเสี ย
ทำให้เกิดอากาศที่เป็นมลพิษ

อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล ส า คู อำ เ ภ อ พ ร ะ แ ส ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฏ ร์ธ า นี
( แ ผ น พั ฒ น า ท้อ ง ถิ่ น 5 ปี พ . ศ . 2 5 6 1 - 2 5 6 5 ) . [ O n l i n e ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
http://www.sakoo.go.th/detail.php?id=96 (26 กรกฏาคม 2564)

น า ย ป ร ะ ดั บ ส กุล ว ง ศ์ . ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป ตำ บ ล ส า คู อำ เ ภ อ พ ร ะ แ ส ง
จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฏ ร์ธ า นี [ สั ม ภ า ษ ณ์ ] . เ มื่ อ วั น ที่ 2 6 ก ร ก ฏ า ค ม 2 5 6 4

น า ย นำ พ ล ฉิ ม เ รือ ง ( น า ย ก อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล ส า คู ) . ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป
ตำ บ ล ส า คู อำ เ ภ อ พ ร ะ แ ส ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฏ ร์ธ า นี [ สั ม ภ า ษ ณ์ ท า ง โ ท ร ศั พ ท์] .
เ มื่ อ วั น ที่ 2 6 ก ร ก ฏ า ค ม 2 5 6 4

น า ย วั น ชัย ล อ ย ใ ห ม่ ( ผู้ใ ห ญ่ บ้ า น ห มู่ ที่ 7 ) . ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป ตำ บ ล ส า คู อำ เ ภ อ
พ ร ะ แ ส ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฏ ร์ธ า นี [ สั ม ภ า ษ ณ์ ] . เ มื่ อ วั น ที่ 2 8 ก ร ก ฏ า ค ม 2 5 6 4
น า ง สุ ท ธิย า พ า ร์เ ม น เ ทีย ร์ ( ผู้อำ น ว ย ก า ร โ ร ง เ รีย น บ้ า น ส า คู มิ ต ร ภ า พ ที่ 1 9 5 )
[ สั ม ภ า ษ ณ์ ] . เ มื่ อ วั น ที่ 7 ตุ ล า ค ม 2 5 6 4

น า ง ด า ร ณี ใ ห ญ่ ก ว่ า ว ง ศ์ ( ข้ า ร า ช ก า ร ค รู โ ร ง เ รีย น อ ง ค์ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป่ า
ไ ม้ 1 8 ) [ สั ม ภ า ษ ณ์ ] . เ มื่ อ วั น ที่ 7 ตุ ล า ค ม 2 5 6 4

น า ง สุ พ ร ด ว ง เ ก ลี้ ย ง ( ข้ า ร า ช ก า ร ค รู โ ร ง เ รีย น บ้ า น บ า ง ใ ห ญ่ ) [ สั ม ภ า ษ ณ์ ] .
เ มื่ อ วั น ที่ 7 ตุ ล า ค ม 2 5 6 4

โ ร ง เ รีย น บ้ า น บ า ง ใ ห ญ่ . ( ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป โ ร ง เ รีย น บ้ า น บ า ง ใ ห ญ่ ) . [ O n l i n e ] เ ข้ า
ถึ ง ไ ด้ จ า ก h t t p s : / / d a t a . b o p p - o b e c . i n f o / e m i s / s c h o o l d a t a - v i e w . p h p ?
S c h o o l _ I D = 1 0 8 4 6 4 0 3 5 6 & A r e a _ C O D E = 8 4 0 3 ( 9 ตุ ล า ค ม 2 5 6 4 )

โ ร ง เ รีย น อ ง ค์ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป่ า ไ ม้ 1 8 . ( ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป โ ร ง เ รีย น อ ง ค์ ก า ร
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป่ า ไ ม้ 1 8 ) . [ O n l i n e ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก h t t p s : / / d a t a . b o p p -
obec.info/web/index_view.php?School_ID=1084640361&page=info
( 9 ตุ ล า ค ม 2 5 6 4 )

โ ร ง เ รีย น บ้ า น ส า คู มิ ต ร ภ า พ ที่ 1 9 5 . ( ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป โ ร ง เ รีย น บ้ า น ส า คู มิ ต ร ภ า พ ที่
1 9 5 ) . [ O n l i n e ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก h t t p s : / / d a t a . b o p p -
obec.info/web/index_view.php?School_ID=1084640368&page=info
( 9 ตุ ล า ค ม 2 5 6 4 )

ล ง พื้ น ที่ สั ม ภ า ษ ณ์ น า ย วั น ชัย ล อ ย ใ ห ม่
( ผู้ใ ห ญ่ บ้ า น ห มู่ ที่ 7 ตำ บ ล ส า คู อ . พ ร ะ แ ส ง จ . สุ ร า ษ ฏ ร์ธ า นี )

ล ง พื้ น ที่ สั ม ภ า ษ ณ์ น า ง สุ พ ร ด ว ง เ ก ลี้ ย ง
( ข้ า ร า ช ก า ร ค รู โ ร ง เ รีย น บ้ า น บ า ง ใ ห ญ่ )

ล ง พื้ น ที่ สั ม ภ า ษ ณ์ น า ย ป ร ะ ดั บ ส กุล ว ง ศ์
( ช า ว บ้ า น ตำ บ ล ส า คู )


Click to View FlipBook Version