The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pawanrat Thongmaen, 2020-02-20 00:29:21

ปก-ผสาน

ปก-ผสาน

สีสันจากในสวน

รองศาสตราจารยป์ ระภากร สคุ นธมณี
สาขาวชิ าศลิ ปะส่งิ ทอ ภาควชิ าประยกุ ตศลิ ปศึกษา คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2562

คานา ข

จากในสวน

มีประโยค ๆ หนึ่ง ที่มักมีคนหยิบยกมาพูดเสมอ ๆ ว่า “คนเรามักมองไม่เห็นคุณค่าของสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
จนกว่าจะมีอะไรก็ตามมากระตุ้นและชักจูงให้มองเห็นค่าของสิ่ง ๆ นั้น” ...แล้ววันหน่ึง...ที่เราเริ่มนาประโยค ๆ น้ีมา
พิจารณา และหยุด...เพ่ือพัก...ไม่ว่าจะด้วยความเหน่ือยล้า หรืออะไรก็ตาม ส่ิงที่มองหาจริง ๆ แล้วเป็นเพียงแค่ที่พัก
พิงที่คิดว่าดีและปลอดภัยท่ีสุดสาหรับตัวเอง และนั่น คือสิ่งใกล้ตัวท่ีเรามองหา ส่ิงแรกที่นึกถึงคือ “บ้าน” บ้าน
ในความคิดของข้าพเจ้าคืออะไร...คือบ้านสวน คือบ้านของเราท่ีอยู่ในสวน เป็นบ้านท่ีมีสวน มีต้นมะม่วงเยอะแยะ
มากมาย บ้านแห่งน้ีมีช่ือว่า “สวนมะม่วงอาจารย์ประทีป” สวน...ท่ีมีอาจารย์ประทีปเป็นผู้สรา้ งมันข้ึนมา และในวัน
หนึ่งที่ได้กลับมามองสวนแห่งนี้...ด้วยความรักและความสุข จนอยากจะทาให้เกิดเป็นความสนุก พืชพันธุ์ต่างๆที่อยู่
ภายในสวนของพ่อ จะเป็นส่วนหนึ่งทีข่ า้ พเจา้ จะหยบิ ยกมาสรา้ งสรรค์เปน็ พ้นื ฐานแหง่ ความรตู้ อ่ ไป

ดังกล่าวข้างต้น ด้วยความเคยชินที่ตื่นขึ้นมาก็พบเห็น สภาพแวดล้อมแบบน้ี แบบเดิม ๆ ต้ังแต่เล็กจนโต
พ่อเปน็ คนปลกู เป็นคนดูแลเอาใจใสส่ วน ตน้ ไม้ทุกตน้ โตมาด้วยการดูแลเอาใจใส่เปน็ ประจาทุกๆวนั ของพ่อ ต้นมะม่วง
นานาพันธุ์ ไม้ดอก ไม้ประดับอ่ืน ๆ ที่มองดูก็เป็นเรื่องปกติของคนปลูกต้นไม้ เม่ือวันหน่งึ ที่ผเู้ ขียนเร่ิมหันมองรอบตัว
เร่ิมเหน็ ความสวยงามของส่ิงแวดล้อมรอบตัว เร่มิ มองว่าบ้านของผู้เขยี นสวยจัง เริ่มเรียนรู้และอยากจะอยู่ กบั ส่งิ ทีพ่ ่อ
สร้างมาอยา่ งมีความสขุ เร่มิ มองเห็นคุณค่าจากส่งิ ต่าง ๆ เหล่านั้น ต้นไม้แตล่ ะตน้ มคี วามแตกตา่ งกัน ใบไมแ้ ตล่ ะใบก็มี
รูปลักษณ์ที่ต่างกัน สีของใบท่ีต่างกัน กระทั่งวันหน่ึง ต้นไม้ต้นหน่ึงในสวนหลังบ้านล้มลง เป็นต้นท่ีอยู่ในสวนมานาน
ผู้เขียนเห็นการเปล่ียนแปลงของต้น การผลัดใบและออกดอกสวยงามทุกปี จนวันที่ต้นล้มลงทั้งต้นจนรากโผล่ลอย
ข้ึนมา สิ่งทเี่ หน็ และรบั รวู้ ่าต้นสุพรรณกิ าร์ล้มคือ ความเสียดาย เสียดายต้นไมท้ ่ีออกดอกสเี หลอื งสวยงามทุก ๆ ปีล้มลง
พ่อของผู้เขียนเข้าไปตัดลาต้นของมันด้วยเลื่อยมือธรรมดา เลื่อยออกเป็นท่อนๆ ส่ิงที่เห็นไม่ใช่เพียงท่อนไม้ แต่เห็น
ขุยจากท่อนไม้ท่ีโดนเลื่อยออกมา เป็นขุยสีเหลือง ซึ่งแก่นของต้นสุพรรณิการ์ก็เป็นสีเหลืองเช่นกัน ความคิดในเรื่อง
ของสีย้อมผุดข้ึนมาในหัว ลองจับชายเสื้อของตัวเองปาดกับส่วนแกนกลางของต้นสุพรรณิการ์ สีที่ได้ติดเสื้อมาคือ
สเี หลืองสดและสวย ความคิดจากคาวา่ เสยี ดาย เริ่มมีทางออก

จากจุดแรกเร่มิ ของตน้ สุพรรณกิ าร์นี้ เป็นแรงบันดาลใจให้คิด คน้ หา ศึกษาและตอ่ ยอด ในหลาย ๆ เรือ่ งจาก
สวนแห่งนี้ เร่ืองแรกก็คือ สีย้อมจากธรรมชาติและเส้นใย ซ่ึงเพิ่มองค์ความรู้ที่ผู้เขียนสอนรายวิชา 364 115 ศิลปะ
ส่ิงทอ 1 ด้วย การทดลองลงมือปฏิบัติจริง ลักษณะการวิจัยเพ่ือชุมชน และอีกหน่ึงแรงบันดาลใจในการมองหาสิ่ง
รอบตัวมาเป็นจุดเร่ิมต้นของการทางานคือ นทิ รรศการ “พมิ พ์จากป่าสงวน” ของศาสตราจารย์ญาณวิทย์ กุญแจทอง
ศลิ ปนิ ผู้ซึ่งสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะ ภาพพิมพ์ดว้ ยสจี ากธรรมชาติทั้งหมด

รองศาสตราจารยป์ ระภากร สุคนธมณี

1 ธนั วาคม พ.ศ.2561

สารบัญ ข ค

คานา ค

สารบัญ จ

สารบัญภาพ 1

บทท่ี 1 สวนอาจารยป์ ระทีป 2
3
บทที่ 2 สแี ละการยอ้ ม 6
การทาความสะอาดเส้นใย 6
การเตรียมอปุ กรณส์ าหรับการย้อม 7
การเตรียมสารชว่ ยติด/ สารกระตุ้น/ สารช่วยยอ้ ม 8
การใชส้ ารชว่ ยตดิ 9
สารชว่ ยตดิ หรอื สารกระต้นุ หรือสารช่วยย้อม
การสกัดน้าด่างจากขเี้ ถ้า (วัสดุจากในสวน) 11
12
บทท่ี 3 สียอ้ มจากในสวน 16
มะมว่ ง 18
มะม่วงน้าดอกไม้ 20
มะม่วงโชคอนนั ต์ 28
สพุ รรณกิ าร์ 32
อัญชัน 33
ขนุน 36
สตารแ์ อปเป้ลิ /ลกู นา้ นม 40
มะมว่ งหาว 43
ดาวเรือง 46
มะยม 49
มะพรา้ วน้าหอม 51
แกว้
หม่อน

สารบัญ (ตอ่ ) 56
59
คูน/ราชพฤกษ์ 61
หูกวาง 64
หว้า 67
ทองกวาว 69
หมากเยอรมัน/หมากนวล 71
การบรู
ชามะเลยี ง 73
73
บทที่ 4 เสน้ ใยจากในสวน 73
เสน้ ใยมะพร้าว 74
เส้นใยกก 76
เสน้ ใยขอ่ ย
เส้นใยกลว้ ย 81
81
บทที่ 5 สยี อ้ มกบั การสร้างสรรค์ 82
การสรา้ งสรรค์งานผา้ ด้วยเทคนิคมดั ย้อมจากสธี รรมชาติ 83
การมัดย้อมดว้ ยสีจากมะม่วงหาว
การมดั ยอ้ มด้วยสีจากคราม 87
87
บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 88
บทสรุป 89
ข้อเสนอแนะ
90
บรรณานุกรม
91
ดรรชนคี ้นคา 92

ภาคผนวก
สียอ้ มธรรมชาตจิ ากพชื อืน่ ๆ



สารบัญภาพ 1
4
ภาพที่ 4
1 ปา้ ยไม้เก่า “สวนอาจารย์ประทปี ” 4
2 เส้นไหมดิบ 5
3 เส้นไหมดบิ (Raw Silk) 5
4-5 เส้นใยไหมที่ต้มฟอกกาวไหมที่จบั เคลือบอยู่บนเสน้ ใยออกแล้ว 5
6 ฝา้ ยขาวและฝา้ ยกะตยุ 6
7 ฝา้ ยขาวทที่ าการคัดแยกแล้ว 7
8 ดอกฝา้ ยสขี าว 8
9 หลอดฝ้ายก่อนนาไปป่ันเป็นเสน้ ใย 9
10 สยี อ้ มจากเปลือกตน้ มะยมบนผา้ ลินนิ 13
11 บอ่ นา้ หลังบา้ นทีต่ กั โคลนข้ึนมาใชเ้ ปน็ สารช่วยติดสี 14
12 ลาดบั ขน้ั ของการเตรยี มวสั ดเุ พ่อื สกัดน้าด่างขเี้ ถ้า 15
13 ใบมะม่วงพนั ธ์ุตา่ ง 17
14 มะม่วงแก้มแดง อายุประมาณ 30-40 ปี 19
15 มะม่วงแกม้ แดง ต้นมะมว่ งเก่าแกใ่ นสวนหลังบา้ น 19
16-17ใบมะม่วง ได้สีโทนเหลอื ง-นา้ ตาล 20
18 เปลือกมะมว่ ง ไดส้ ีโทนเหลือง-นา้ ตาลเชน่ เดียวกับใบมะมว่ ง 21
19 ผา้ ลนิ ินย้อมเปลือกต้นมะม่วง 21
20 ต้นสุพรรณกิ ารท์ ีป่ ลูกอยูใ่ นสวนหลังบา้ น 23
21 ลักษณะของก่ิงกา้ น การออกดอกและการรว่ งหลน่ ของสุพรรณิการ์ 24
22 สพุ รรณิการท์ ่หี ักโค่น 24
23 ผา้ สาลูมัดลายและย้อมจากแก่นสุพรรณกิ าร์ 25
24 ต้นสพุ รรณกิ าร์ เร่ิมแตกก่งิ ก้านข้ึนมาใหม่ 25
25 สุพรรณกิ ารอ์ อกดอกบานสะพรงั่
26 ดอกสุพรรณิการ์ เด็ดกลบี แช่นา้ และต้ม
27 ทดสอบการย้อมครั้งท่ี 1



สารบญั ภาพ (ต่อ)

28 เสน้ ใยฝ้ายแช่นา้ เตา้ หู้ทิง้ ไว้ 1 คนื 26

29 เปรยี บเทยี บการยอ้ มสบี นเสน้ ใยฝา้ ย 26

30 สพุ รรณกิ าร์ ได้โทนสีเหลืองนวลอมสม้ 27

31 เถาตน้ อญั ชัน 28

32 ดอกอญั ชนั ดอกเดีย่ ว 28

33 ดอกอญั ชนั ดอกซ้อน 28

34 ดอกอญั ชนั สดเด็ดข้วั สเี ขียวออกกอ่ นทาการต้ม 29

35 ระหว่างการตม้ ดอกอัญชนั 29

36 ดอกอญั ชัน ไดส้ บี นเสน้ ใยไหมและเสน้ ใยฝา้ ยเปน็ สฟี า้ ออ่ น 31

37 ตน้ สตารแ์ อปเป้ลิ หรอื ลูกน้านม 33

38 ลกั ษณะใบและผลของตน้ สตาร์แอปเปิ้ล 34

39 (แถวบน) ผา้ ลนิ ิน ใช้สารชว่ ยติดสี โคลน สนทิ เหลก็ ปนู แดง สารสม้ และดา่ งขี้เถ้า

(แถวลา่ ง) ผา้ ฝา้ ย (ด้ายดบิ ) ใชส้ ารชว่ ยตดิ สี โคลนและปนู แดง 34

40 ต้นสตาร์แอปเปล้ิ ไดโ้ ทนสีนา้ ตาล 35

41 ตน้ มะมว่ งหาวอายเุ กอื บ 20 ปี 36

42 ดอกมะม่วงหาว 37

43 ออกดอก ผล ตลอดปี 37

44 มะนาวโห่ 37

45 มะมว่ งหาว ไดโ้ ทนสชี มพ-ู ม่วง 39

46 ดาวเรอื งกลีบซ้อนเป็นชน้ั ๆ เรียงตวั กันเป็นวงกลม 40

47 ผ้าลนิ ินมดั ย้อมสดี อกดาวเรอื ง 41

48 ดาวเรือง ได้โทนสเี หลอื งทอง 42

49 เปลือกตน้ ท่บี ากไว้ เนือ้ ในของไม้จะเห็นเปน็ สีแดงมีร้วิ สขี าวๆแซม 43

50 เปลือกต้นมะยม ได้โทนสนี า้ ตาล 45

51 ต้มสกดั สี กอ่ นนามากรองเอาเฉพาะนา้ สีมาใช้ในการยอ้ ม 47

52 ทดลองย้อมกับผา้ ลินนิ เพื่อทดสอบเฉดสี 47

53 เปลอื กมะพร้าว ไดโ้ ทนสนี า้ ตาลอมชมพู-เทา 48

54 ดอกแก้ว 49

55 ใบแกว้ ไดส้ ีเหลืองอมเขียวออ่ นๆ 50 ฉ

สารบัญภาพ (ตอ่ )

56 ต้นหม่อน 51
57 ใบหมอ่ นแก่ขนาดใหญก่ วา่ ฝา่ มอื 52
58 ลาดบั ขน้ั ของการสกดั นา้ สี 53
59 ทดลองครั้งที่ 1 กับเส้นใยไหม เสน้ ใยฝา้ ย 54
60 ทดลองครง้ั ที่ 2 กับเสน้ ใยไหม เสน้ ใยฝา้ ย 55
61 ตน้ คูณ และดอกคูณ 56
62 ฝกั คณู ไดส้ นี า้ ตาลทอง 58
63 สเี ส้นใยฝา้ ย เสน้ ใยฝ้ายยอ้ มยูคา เส้นใยไหม และเส้นใยกญั ชง 58
64 ใบหูกวาง ได้สยี ้อมเป็นสเี หลืองและเปลยี่ นเปน็ สโี ทนนา้ ตาลเมอ่ื แช่สารชว่ ยตดิ สี 60
65 ต้นหว้า 61
66 หวา้ ไดส้ นี ้าตาลออ่ น-นา้ ตาลเข้ม 63
67 ต้นทองกวาวหน้าอาคารศิลป์ พีระศรี 3 64
68 ดอกทองกวาวสด 65
69 ดอกทองกวาวแห้ง 65
70 ดอกทองกวาว ได้สีเหลือสดและเขม้ 66
71 ตน้ และผลหมากสกุ 67
72 หมากสุก ได้สีน้าตาลอ่อนบนเส้นไหม 68
73 ใบการบูรแหง้ 70
74 ผลชามะเลียงบ้านและชามะเลยี งปา่ เม็ดเลก็ และกลมกวา่ 71
75 ชามะเลยี ง ได้สโี ทนฟา้ -ม่วง 72
76 เสน้ ใยกลว้ ยที่ได้จากการฉีกเส้น ผกู ต่อ ม้วนเปน็ ไจ และยอ้ มสี 80
77 ตัวอยา่ งการพบั ม้วน ขยา แล้วทาการหนีบ/มดั ลวดลายด้วยวัสดตุ า่ งๆ 81
78 วัสดุ อปุ กรณ์การสรา้ งลวดลาย 81
79 เมอื่ นาผืนผ้าที่ยอ้ มเรยี บรอ้ ยแลว้ ข้นึ ผึ่งลม สีของผนื ผ้ามีการเปล่ียน 82
80 ผนื ผ้าทเ่ี ตรียมไวส้ าหรับการยอ้ มคราม 84
81 น้าครามหม้อท่ี 1 84
82 นา้ ครามหม้อท่ี 2 84
83 สีย้อมที่ไดจ้ ากครามหม้อท่ี 1 85



สารบัญภาพ (ต่อ) 85
85
84 สยี ้อมทไ่ี ด้จากครามหม้อที่ 2 86
85 ผ้าฝา้ ยมดี ด้วยวธิ ีนาผนื ผ้าหุม้ ตะเกียบแลว้ มัดดว้ ยหนังยางใหแ้ น่น 88
86 ไหมและฝ้ายกบั สีคราม
87 ความสุข...จากในสวน



บทท่ี 1 สวนอาจารย์ประทปี ในการย้อมสีจากธรรมชาติ
ผเู้ ขียนเริ่มจากการทา้ ความสะอาดเส้น
สวนอาจารยป์ ระทีป เป็นสวนที่มีพันธุ์มะม่วง ไมด้ อก ไม้ประดับ ใย การเตรียมอุปกรณ์ส้าหรับการย้อม
พันธุ์ไม้นานาชนิด ผู้เขียนได้ร่วมปลกู ต้นไม้ รดน้า พรวนดิน ใส่ปุ๋ย วิ่งเล่น การเตรียมสารช่วยติด/ สารกระตุ้น/
เดินเล่น ปีนป่าย เก็บผลไม้ในสวน เป็นความสุขในวัยเด็กท่ีเลือนราง จน สารช่วยย้อม การเตรยี มนา้ ด่าง(จากใน
วันหน่ึง วันที่ได้น่ังมองสวนแห่งนี กับความรู้สึกท่ีเปลี่ยนแปลงไป เริ่ม สวน)
มองเห็นคุณค่าจากส่ิงที่อยู่ในสวนมากขึน มองว่าส่ิงไหนสามารถน้ามาท้า
อะไรได้บ้าง สิง่ ที่มองเห็นคือ สีสนั ที่อยู่ภายในสวน สีสันของใบมะม่วง ซ่ึง ภาพท่ี 1 ปา้ ยไมเ้ กา่ “สวนอาจารยป์ ระทปี ”
มะม่วงเป็นต้นไม้ท่ีมีอยู่มากท่ีสุดในสวน ใบมะม่วงจึงเป็นใบท่ีมีมากท่ีสุด
เชน่ กัน ซ่ึงแต่ละใบก็มีลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกันจากหลากหลายชนิดของพนั ธ์ุ
มะม่วง นอกเหนือจากพันธ์ุมะม่วงที่มีมากกว่า 20 สายพันธ์ุแล้ว ยังมี
ต้นไม้น้อยใหญ่อีกมากมาย ทังต้นสุพรรณิการ์ ต้นขนุน ต้นมะยม ต้น
มะพร้าว ต้นหม่อน ต้นแก้ว ต้นสะเดา ต้นหว้า ต้นสตาร์แอปเปิ้ล ต้น
หมากเยอรมัน ต้นมะม่วงหาวมะนาวโห่ ประเภทไม้ดอก เช่น ดอก
ดาวเรือง ดอกสุพรรณิการ์ ดอกอัญชัน เป็นต้น อีกทังยังมีผลของต้นที่
สามารถน้ามาใช้ย้อมสีไดเ้ ช่นกัน ได้แก่ ผลมะม่วงหาวมะนาวโห่ ผลสตาร์
แอปเป้ิล ผลหมากเยอรมันสุก ผลหวา้

พันธุ์ไม้ดอก-ไม้ผล-ไม้ใบ จากในสวนอีกหลากหลายชนิด ล้วน
แล้วแตส่ ามารถหยบิ นา้ มาเป็นวัสดุใหส้ สี า้ หรับสกดั นา้ สีได้เกือบทังสนิ เช่น
ตน้ มะขามปอ้ ม ตน้ สม้ โอ ต้นมะขาม ตน้ มะกอกนา้ ตน้ โมก ฟักข้าว ใบเตย
เปน็ ตน้ พนั ธ์ุพืชเหล่านีสว่ นท่ีนา้ มาปฏบิ ัติการย้อมสี เปน็ ส่วนของเปลือก
ตน้ ใบ และกิ่ง สา้ หรบั ทไ่ี ม่น้าสว่ นของผลมาเป็นวสั ดุให้สี ดว้ ยคณุ ลกั ษณะ
ของไมผ้ ลทสี่ ามารถน้ามาประกอบอาหาร น้ามารับประทานได้ มีค่า/ราคา
มากกว่า จะน้ามาท้าการสกัดสี ในการเลือกใช้ส่วนเปลือกต้นเมื่อท้า
การบากหรือถากเปลือกนอกออกมาแล้วตน้ ไม้จะสามารถเยียวยาตวั เองได้
เมื่อตดั กงิ่ ตดั ใบ ก็สามารถแตกกงิ่ ใบ ออกมาใหม่ไดเ้ ช่นกัน ซึง่ ส่วนของ
เปลือกต้น ส่วนของใบที่น้ามาท้าการย้อมสีนัน เป็นเสมือนการสร้าง
มลู คา่ เพ่ิมให้กับพันธุ์ไม้เหลา่ นัน อีกทังยังสามารถส่งเสริมเป็นไม้เศรษฐกิจ
สา้ หรับชมุ ชนเพือ่ ต่อยอดการใชง้ านได้อกี ด้วย

บทที่ 2 สีและการยอ้ มสีจากธรรมชาติ เส้นใย แบ่งตามแหล่งก้าเนิด
เป็น 2 ประเภท คือ เส้นใยธรรมชาติ
ต้าราเล่มนี ผู้เขียนมุ่งเน้นรวบรวมพันธ์ุไม้ท่ีสามารถน้ามาสกัด และเส้นใยประดิษฐ์ ในกลุ่มของเส้นใย
เป็นสารสีเพ่อื การย้อมผ้าจาก “สวนอาจารย์ประทีป” สวนของพ่อผู้เขียน ธรรมชาติแบ่งย่อยได้เป็นเส้นใยที่มา
เป็นเวลานานถึง 1 ปีกว่า เร่ิมตังแต่วันท่ีต้นสุพรรณิการ์ล้มลง ได้น้าแก่น จากพชื จากสัตว์ และจากแร่ ส่วนเส้น
ของต้นสุพรรณิการ์มาท้าการย้อมสี ราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2560 จน ใย ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ อ า จ แ บ่ ง เป็ น เส้ น ใ ย ท่ี
ช่วงเดอื นธันวาคม พ.ศ.2560 ทต่ี ้นสุพรรณิการ์แตกก่งิ กา้ นสาขาขึนมาใหม่ ป ระ ดิ ษ ฐ์ จ าก ธ รรม ช าติ เส้ น ใย
และเดอื นกุมภาพนั ธ์ 2561 เป็นช่วงท่ีสพุ รรณกิ ารอ์ อกดอก จงึ ไดน้ า้ ดอกสี สังเคราะห์ และเส้นใยที่ประดิษฐ์จาก
เหลืองนนั มาทา้ การยอ้ ม เช่นเดียวกันกบั พันธไุ์ ม้ในสวนของพ่อทีห่ มุนเวียน วสั ดุอน่ื ๆ
เปล่ียนกันงอกงามตามสภาพดินฟ้าอากาศ ท้าให้แต่ละช่วงเดือนในหน่ึงปี
นี มีพันธ์ุไม้ต่าง ๆ ให้น้ามาท้าการย้อมสีได้มากมาย แต่การย้อมสี เส้นใย หมายถงึ วสั ดุหรือสาร
ธรรมชาตินันอาจไม่คงทนเท่าสีเคมี สีท่ีได้อาจไม่สม่้าเสมอ สีอาจตกง่าย ใดๆทังที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์
และจืดจางเร็ว ด้วยปัจจัยแตกต่างที่หลากหลายทังเรื่องลมฟ้าอากาศ วัน สร้างขึน มีอตั ราส่วนระหวา่ งความยาว
ฝนตก ฟา้ ครมึ สภาพจติ ใจ สภาพร่างกาย วัน เวลา ความอ่อนแกข่ องวสั ดุ ต่อเส้น ผ่ าศู น ย์ กลางเท่ ากับ ห รือ
ท่ีจะน้ามาย้อม ปรมิ าณของวสั ดุท่ีหาได้ หรอื แม้กระทั่งการใชส้ ารชว่ ยติดสี มากกว่า 100 สามารถขึนรูปเป็นผ้าได้
ที่น้ามาใช้ก็ยังเป็นตัวแปรหนึ่งท่ีท้าให้การติดสีแต่ละครังแตกต่างกัน และต้องเป็นองค์ประกอบท่ีเล็กท่ีสุด
ออกไป กอปรกับความเชื่อท่ีว่า ถ้ามี 3 สิ่งต่อไปนีเข้าใกล้ในขณะย้อมผ้า ของผ้าไม่สามารถแยกย่อยในเชิงกลได้
จะท้าให้สีผ้าท่ีย้อมจืดชืด หรืออาจย้อมไม่ติดสีเลยก็เป็นได้ ได้แก่ อกี
พระภิกษุสงฆ์ คนท้อง และหญิงมีประจ้าเดือน ดังนันขณะมีประจ้าเดือน
ก็จะไม่ทา้ การย้อมผา้ เช่นกัน เส้นใย (ประภากร สุคนธมณี
,2556) มีทังชนิดสันและยาว ซ่ึงความ
การย้อมสีจากสีย้อมธรรมชาติ เลือกใช้เส้นใยและผืนผ้าที่เป็น ยาวของเส้นใยจะมีผลต่อคุณสมบัติ
เส้นใยธรรมชาติ คือ เส้นใยฝ้าย เส้นใยไหม และผ้าลินินย้อม ทังย้อมร้อน แ ล ะ ก า ร น้ า ไป ใช้ ง า น ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
และย้อมเยน็ เนื่องจากเสน้ ใยทีม่ ีส่วนผสมหรือเสน้ ใยประเภทใยสงั เคราะห์ สิ่งทอ คือ 1) เส้นใยสัน เป็นเส้นใยที่มี
จะไม่กินสีหรือย้อมไม่ติดธรรมชาติ และทดลองเฉดสีกบั สารกระตุ้นสีชนิด ความยาวระหว่าง 2 ถึง 46 เซนติเมตร
ต่าง ๆ 5 ชนิด เพ่ือให้เห็นความแตกต่างของเฉดสีท่ีชัดเจน ได้แก่ น้าด่าง เส้นใยธรรมชาติทังหมดยกเว้นเส้นใย
ขีเถา้ ปูนแดง สนิมเหล็ก สารส้ม และโคลน อีกทังยังมีการใช้น้าเต้าหู้ช่วย ไหม เป็นเส้นใยสัน เช่น เส้นใยฝ้าย
เพ่ิมโปรตีนและตม้ ยอ้ มด้วยใบยคู าลปิ ตสั เพ่อื เพ่มิ สารแทนนินให้กบั เส้นใย นุ่น ขนสัตว์เส้นใยยาวเป็นเส้นใยท่ีมี
กอ่ นยอ้ มดว้ ย ความยาวต่อเนื่องไม่สินสุด มีหน่วยวัด
เป็นเมตรหรือหลา 2) เส้นใยยาวส่วน
ใหญ่เป็นเส้นใยประดิษฐ์ ยกเว้นเส้นใย
ไห ม ซ่ึ งเป็ น เส้ น ใย ย าว ท่ี ม าจ า ก

ธรรมชาติ เส้นใยยาวอาจเป็นชนิดเส้นยาวเดี่ยว ที่มีเส้นใยเพียงเส้นเดียว ซึ่งเส้นใยที่ได้จะมีลักษณะคล้ายเส้นใย
หรือเส้นใยยาวกลุ่มซ่ึงจะมีเส้นใยมากกว่า 1 เส้นรวมอยู่ด้วยกันตลอด ฝ้าย หรือขนสัตว์ ส่วนมากเส้นใยท่ี
ความยาว เส้นยาวท่ีออกมาจากหัวฉดี จะมีลักษณะเรียบคล้ายเส้นใยไหม ผ่านกระบวนการหยักนิยมน้าไปตัด
หากต้องการลักษณะเส้นใยที่หยักจะต้องน้าไปผ่านกระบวนการท้าหยัก เพือ่ ทา้ เปน็ เสน้ ใยสัน

การทาความสะอาดเส้นใย ไฟโบรอินเป็นการท้าให้เส้นใยไหมมีความนุ่มและเงา
เส้นใยและผืนผ้าที่สามารถน้ามาท้าการย้อม งาม ซึ่ งน อก จาก โป รตี น ทั งส องช นิ ด นี ที่ เป็ น
ไดด้ ีทีส่ ุดคือ เสน้ ใยจากธรรมชาติ และผืนผ้าท่ีทอจาก สว่ นประกอบอยู่ในเส้นใยแล้วนัน ส่วนประกอบอ่ืน ๆ
เส้นใยธรรมชาติ ทุกครังก่อนท่ีจะน้าเส้นใยหรือผ้ามา ได้แก่ ไขมัน น้ามัน แร่ธาตุต่าง ๆ ก็ถือว่าเป็นส่ิง
ท้าการย้อมสี ต้องทา้ ความสะอาดเพ่อื กา้ จดั สงิ่ สกปรก สกปรกบนเสน้ ใยดว้ ยเช่นกัน
ไขมัน และกาวแป้งท่ีเคลือบติดอยู่ออกไป เพราะสาร
ต่าง ๆ ท่ีเคลือบอยู่นันจะท้าให้เส้นใยดูดซึมสีย้อมได้ ก า ร ท้ า ค ว า ม ส ะ อ า ด เส้ น ใย ไ ห ม ห รื อ ท่ี
ไม่ดี หรือเม่ือย้อมไปแล้วเส้นใยไม่ทนต่อการซักล้าง เรียกว่าการฟอกไหม เป็นการต้มฟอกเพ่ือท้าความ
ท้าให้สีตกได้ง่าย เส้นใยหรือผืนผ้าท่ีท้าความสะอาด สะอาดเส้นใยไหมดิบที่มีลักษณะแข็งกระด้างให้เป็น
เรียบรอ้ ยแลว้ เม่อื นา้ ไปทดสอบวางบนผิวน้าจะจมน้า เส้นใยที่มีความอ่อนนุ่ม มันวาว เงางามและมีสีขาว
ภายใน 10 วินาที นวล (เส้นไหมดิบมีทังท่ีเป็นสีเหลืองและสีขาวขึนอยู่
การท้าความสะอาดเส้นใยและผืนผ้าสามารถ กบั สายพนั ธข์ุ องหนอนไหมแต่ละชนิด) ดังนัน การท้า
แบ่งตามชนิดของเส้นใยได้ (ประภากร สุคนธมณี, ความสะอาดเส้นใยไหมจึงเป็นการก้าจัดส่วนของ
2556) ดงั นี เซริซินหรือกาวไหมออกจากเส้นใยเพื่อเตรียมให้เส้น
ใยไหมพร้อมต่อการย้อมสี
1. เสน้ ใยไหม
ขันตอนการทา้ ความสะอาดเส้นใยไหม ดังนี
เส้นใยไหมเป็นเส้นใยโปรตีน (Protein
Fibers) เป็นเส้นใยธรรมชาติที่ได้จากตัวหนอนไหม 1.1 น้าเส้นใยไหมดบิ ลงตม้ ในน้าเดอื ดที่ผสม
พ่นเส้นใยออกมาเพ่ือห่อหุ้มตัวเอง เส้นไหมแต่ละเส้น กับผงด่าง โซดาแอช (Sodium Carbonate) หรือ
จะประกอบด้วยโปรตีน 2 ชนิด คือ 1) ไฟโบรอิน สารที่มีสภาพเป็นด่างเช่น น้าด่างขีเถ้า สบู่ซันไลต์
(Fibroin) ซ่ึงมี 2 เส้น ย่อยเรียงขน าน กัน และ ก้อนขดู ฝอย สบูเ่ ทยี ม หรอื หวั สบู่ เป็นต้น
2) เซริซิน (Sericin) หรือกาวไหมท่ีเป็นตัวหุ้มไฟโบ
รอิน 2 เส้นย่อยเข้าด้วยกัน (หุ้มเส้นใยไหมท่ีสาวจาก
รังไหมแต่ละรังให้รวมเป็นเส้นเดียวกัน) การลอกกาว
ไหม (Degumming) หรือการก้าจัดเซริซิน ออกจาก

1.3 เ ท ส า ร ฟ อ ก ข า ว Sodium
Hydrosulphite ลงในน้าระหว่างต้มเพื่อช่วยกัดฟอก
ให้เส้นใยไหมขาวขึนและง่ายต่อการน้าไปย้อมสี
จากนันตม้ ต่อไปอกี 30 นาที

ภาพท่ี 2 เส้นไหมดิบ 1.4 น้าเส้นใยไหมขึนแกว่งล้างในน้าสะอาด
จนกว่าเส้นใยไหมจะหมดความล่ืนทังจากน้าด่างและ
1.2 ระหว่างต้มคอยกลับพลิกเส้นใยไหม สบู่ บิดหมาดก่อนน้าเส้นใยไหมขึนตากกับราวไม้
ตลอดเวลาโดยการคล้องเส้นใยไหมเข้ากับห่วงเพ่ือ พร้อมท้าการกระตุกเส้นใยไหมเพ่ือเป็นการท้าให้
สะดวกต่อการยกกลับ/ พลิกเส้นใยไหม ใช้เวลาต้ม เสน้ ใยไหมเรียงตัวกัน งา่ ยต่อการน้าเส้นใยไหมไปกวัก
ประมาณ 30 นาที อีกทังเปน็ การท้าให้เส้นใยไหมยดื ขนึ อกี ดว้ ย

ภาพท่ี 3 เส้นใยไหมดบิ (Raw Silk) คอื เส้นใยไหมทไี่ ด้จากการสาวรังไหม ยงั ไมผ่ า่ นการต้มฟอกท้าความ

สะอาด เอาน้าลายหนอนไหม หรือแยกเซริซิน (Sericin) ออกจากเส้นใย จะมีสีเหลืองเข้มและแข็ง

(เส้นใยไหมสีเหลอื งเป็นเส้นใยไหมที่ได้จากไหมพันธุไ์ ทยพนื บ้าน)

ภาพท่ี 4-5 เส้นใยไหมท่ตี ้ม
ฟอกลอกกาวไหม ท่ีจับ
เคลือบอยู่บนเส้นใยออก
แล้ว จะได้สีเหลอื งนวล นุ่ม
ล่ืน และเปน็ เงางาม

2. เส้นใยฝา้ ย ภาพที่ 7 ฝ้ายขาวที่ท้าการคัดแยกแลว้
เส้ น ใย ฝ้ า ย เป็ น เส้ น ใย เซ ล ลู โล ส
ใยฝ้ายไปแช่ ขย้าในน้าข้าว (ปัจจุบันใช้แป้ง
(Cellulose Fibers) เสน้ ใยธรรมชาติท่ีได้จากพืช เป็น ข้าวเจ้าละลายน้าแทน) บิดให้แห้ง ก่อนน้าเส้นใยฝ้าย
เส้นใยสัน พันธ์ุฝ้ายพืนเมืองของไทยมีด้วยกัน 2 ชนิด ไป แข วน ใน ราว ไม้ แล้ วก ระตุ ก ให้ เส้ น ใย ฝ้าย เรีย งตั ว
คือ พันธุ์ปุยสีขาวและพันธุ์ปุยสีน้าตาล (ฝ้ายสีตุ่น ท่ี สามารถน้าขันตอนของการความสะอาดเส้นใยไหมมา
เรียกว่าฝ้ายกะตุย) ซึ่งพันธป์ุ ุยสีขาวจะเป็นพันธ์ุที่นิยม ใชไ้ ด้เช่นกัน หรือใช้วธิ ีการท้าความสะอาด ดงั นี
น้ามาท้าเป็นเส้นใยเพื่อการทอมากกว่าพันธ์ุปุยสี
นา้ ตาล ก่อนทจี่ ะไดเ้ ปน็ เสน้ ใยฝา้ ยนนั ต้องผา่ นกรรมวธิ ี 2.1 น้ าเส้ น ใย ฝ้ าย แ ช่ ใน น้ า ที่ ผ ส ม กั บ
หลายขันตอน ตังแต่การเก็บดอกฝ้าย (เก็บปุยฝ้าย) ผงซกั ฟอก 30 นาที
แล้วนา้ มาตากไว้ให้แห้งสนทิ เพ่อื ปอ้ งกนั การเกิดเชือรา
การแยกปยุ ฝ้ายออกจากเมลด็ เรยี กวา่ การอีดฝ้าย หรือ 2.2 ซักเส้นใยฝ้ายพร้อมท้าการทุบด้วยไม้
การอิวฝ้ายก่อนที่จะน้ามาท้าการดีดฝ้ายให้เป็นใยฟู กลับไปมา 30 นาที เพื่อให้ไขมันท่ีสะสมในเส้นใยฝ้าย
เปน็ ปุยละเอยี ด แล้วทา้ การล้อฝา้ ยเป็นการม้วนใยฝา้ ย ออกได้ดี ซึ่งการทุบเส้นใยฝ้ายก่อนน้าไปย้อมสี
ให้เป็นหลอดกลม ๆ ยาวประมาณ 8-10 นิว ซ่ึง จะท้าใหฝ้ ้ายตดิ สหี รือกินสไี ด้ดี
สามารถเก็บหลอดฝ้ายนีไว้ได้ก่อนที่จะน้ามาป่ันเป็น
เสน้ ใยท่เี รยี กวา่ การเข็นฝา้ ย 2.3 ล้างน้าให้ผงซักฟอกออกจนหมด น้าขึน
ตากแดด
ภาพที่ 6 ฝา้ ยขาวและฝา้ ยกะตยุ
ภาพที่ 8 ดอกฝา้ ยสขี าว
ฝ้ายมีความคงทนต่อสารฟอกขาว มีความทน
ต่อด่าง และสามารถทนต่อความร้อนจากแสงแดดได้ดี
การท้าความสะอาดเส้นใยฝ้ายเพื่อขจัดไขมัน หรือสิ่ง
สกปรกท่ีเคลือบอยู่บนเส้นใยฝ้าย หรือเรียกว่าการฆ่า
ฝ้าย โดยการน้าไปแช่น้า 1 คืน น้าเส้นฝ้ายมาทุบ
เพื่อให้น้าเข้าฝ้าย แล้วจึงน้าไปต้มเอาสิ่งสกปรกหรือ
ไขมันทส่ี ะสมอยูใ่ นเส้นออกให้หมด หลังจากนนั นา้ เส้น

การเตรียมอุปกรณ์สาหรบั การย้อม การเตรียม สารช่วยติด/สารกระตุ้น /
1. หมอ้ ส้ า ห รั บ ต้ ม ย้ อ ม ค ว ร ใช้ ห ม้ อ สารช่วยยอ้ ม (Mordant)

สแตนเลส หรือหม้อท่ีเคลือบผิว ไม่ควรใช้หม้อ สารช่วยติด (Mordant) หรือสารกระตุ้น
อลูมเิ นยี ม หรอื สารช่วยยอ้ ม เปน็ สารที่ช่วยให้สีติดกับเส้นใยขณะ
ท้าการย้อมได้ดีขึน และช่วยปรับเฉดสีให้มีมากขึน ใน
2. กะละมัง ส้าหรับล้างผ้า ล้างเส้นใย แช่ผ้า อดีตนิยมใช้มูลหรือปัสสาวะสัตว์เป็นสารช่วยติด โดย
ทังก่อนและหลังย้อม รวมถึงแช่วัสดุก่อนการย้อมด้วย การเทลงไปผสมในถังย้อม ปจั จบุ ันมีการใช้ทังสารทไ่ี ด้
(สามารถใชเ้ ปน็ กะละมังพลาสตกิ ได้) จากธรรมชาติและสารเคมี เส้นใยธรรมชาติจากพืชแต่
ละชนิดท่ีน้ามาย้อม จะมีความคงทนต่อแสงแดดและ
3. เตาแก๊ส การขัดถูไม่เท่ากัน ขึนอยู่กับองค์ประกอบภายในของ
4. ห่วงคล้องเส้นใย ส้าหรับคล้องแขวนเส้น พชื และชนดิ ของเสน้ ใยที่นา้ มายอ้ ม
ใยระหว่างการย้อม น้าเส้นสแตนเลสกลม เล็ก ยาว
ประมาณ 50 เซนติเมตร โค้งเป็นตัวยู ปลายทังสอง ดังนันจึงมีการใช้สารช่วยติดต่าง ๆ เป็นตัว
ขา้ งหักงอเป็นตะขอสามารถคล้องเก่ียวกันได้ สอดเข้า ช่วยท้าให้เส้นใยดูดซับสีให้สีเกาะเส้นใยได้แน่นขึน มี
ไปในท่อสายยาง ไว้ ความทนทานต่อแสงและการขัดถูเพิ่มขึน สารเหล่านี
5. ไม้ ส้าหรับช่วยคน ช่วยจัดระเบียบเส้นใย นอกจากจะเป็นตัวจับยึดสีและเพ่ิมการติดสีในเส้นใย
ระหว่างยกสายคลอ้ งขนึ ลง แล้ว ยงั ชว่ ยเปล่ียนเฉดสีให้เข้มจาง หรือสดใสสว่างขึน
6. ราวไม้ส้าหรับไว้กระตุกเส้นใย ด้วย เชน่ ยอ้ มสเี ส้นใยดว้ ยเปลอื กต้นมะยม สที ี่ไดค้ ือ
7. อนื่ ๆ เขียง มีด กรรไกร ตะแกรง ราวตาก
ผ้า ไมห้ นบี ผ้า สีน้าตาล น้าเส้นใยแบ่งส่วนจุ่มลงในสารช่วยติด
5 ชนิด 1) สารสม้ ได้เปน็ สนี ้าตาลอ่อนออ่ นลงจากเฉด
ภาพที่ 9 หลอดฝา้ ยก่อนนา้ ไปปัน่ เป็นเส้นใย สเี ดมิ สวา่ งขนึ 2) ปูนแดง ไดเ้ ป็นสนี ้าตาลแดงอฐิ ออก
เข้มท่ีสุดในเฉดสีท่ีได้ 3) สนิมเหล็ก ได้เป็นสีน้าตาล
แดงเช่นกันแต่เฉดสีอ่อนกว่าปูนแดง 4) ด่างขีเถ้า ได้
เป็นสนี ้าตาลสม้ 5) โคลน ไดเ้ ป็นสนี า้ ตาลเทา

ภาพที่ 10 สีย้อมจากเปลือกต้นมะยมบนผา้ ลินนิ ใชส้ ารช่วยตดิ สี 5 ชนิด ได้แก่ สารสม้ ปนู แดง สนมิ เหลก็ ขเี ถ้า และโคลน
หลงั การยอ้ มเพอื่ เป็นการทดสอบเฉดสี

การใช้สารช่วยตดิ สามารถทา้ ได้ 3 วิธี คือ

1. กอ่ นการย้อม : อาจได้สีท่ไี ม่ตรงตามความต้องการเทา่ ท่ีควร
การใช้สารช่วยติดก่อนการย้อมสีนัน เป็นเสมือนการเพ่ิมความแข็งแรงให้กับเส้นใยก่อนการย้อม

โดยเฉพาะกับเส้นใยฝ้ายท่ีเป็นเส้นใยเซลลูโลส (Cellulose Fibers) เส้นใยธรรมชาติที่ได้จากพืช จะไม่เหมือนเส้นใย
ไหมซ่ึงเป็นเส้นใยโปรตีน (Protein Fibers) เป็นเส้นใยธรรมชาติที่ได้จากตัวหนอนไหมท่ีได้จากสัตว์ ซึ่งความแข็งแรง
และการดูดซึมจะแตกต่างกัน ดังนนั การใช้สารช่วยตดิ สีกอ่ นการย้อมจึงนยิ มท้ากบั เส้นใยฝา้ ยหลังจากท้าความสะอาด
เส้นใยเรียบรอ้ ยแล้ว วิธีท่ี 1 การเพ่ิมโปรตีนให้กับเส้นใย โดยการน้าเส้นใยฝ้ายแช่ลงในน้าถั่วเหลืองหรอื น้าเต้าหู้ทิงไว้
1 คนื โปรตีนจากถ่วั เหลืองจะไปจับบนเส้นใยฝ้าย ช่วยให้ความสามารถในการดูดซับน้าสีของเสน้ ใยฝ้ายดีมากขนึ และ
วธิ ที ี่ 2 การเพมิ่ ใหส้ ารแทนนินกับเสน้ ใย โดยสารแทนนินหรอื นา้ ฝาด หรอื สารฝาด มีอยใู่ นส่วนตา่ งๆ ของพชื ที่มรี สฝาด
และขม เช่น ลูกหมาก เปลือกผลทับทิม เปลือกประดู่ ใบยูคาลิปตัส ใบเหมือดแอ เป็นต้น ซ่ึงสารดังกล่าวมีคุณสมบัติ
ช่วยใหส้ ตี ิดกับเสน้ ใยได้ดขี ึน โดยเฉพาะกับเสน้ ใยฝ้าย ท้าไดโ้ ดยการต้มสกดั น้าฝาด หรือแทนนนิ ออกมา แล้วน้าเสน้ ใย
ตม้ ย้อมกับน้าฝาดกอ่ น จากนันจงึ น้าเส้นใยไปยอ้ มกับน้าสียอ้ มอกี ครัง (ในการนีน้าใบยูคาลิปตัสมาต้มสกดั นา้ ฝาดแล้ว
นา้ เส้นใยฝา้ ยลงตม้ ย้อมกอ่ นน้ามาทา้ การยอ้ มสตี อ่ ไปดว้ ยแลว้ )

2. ระหว่างการย้อม เป็นการใส่สารช่วยติดผสมลงไปในน้าสีขณะท้าการย้อม ได้สีท่ีติดทนนาน เส้นใยที่
ย้อมสม่า้ เสมอและไดส้ ีตามต้องการมากกว่า

3. หลังการย้อม เป็นการน้าเส้นใยไปย้อมสีก่อน จากนันจึงน้าไปแช่กับสารช่วยติด ซ่ึงวิธีการใช้สารช่วย
ติดสหี ลงั การยอ้ มนี เปน็ วธิ ีท่ที า้ ให้เกิดเฉดสใี หม่ขึน สีตดิ ทนดีในระดับหน่งึ เหมาะแก่การยอ้ มเพื่อทดสอบเฉดสมี ากกวา่

สารช่วยติด หรือสารกระตุ้น หรือสารช่วยย้อม (8-14) ถ้าวัดได้เท่ากับ 7 แสดงว่าสารละลาย
(Mordant) ท่ีน้ามาใช้ในการช่วยย้อมครังนี มีอยู่ด้วยกัน นนั มคี า่ เปน็ กลางเทียบไดก้ ับน้าบริสุทธ์ิ)
5 ชนดิ (ประภากร สคุ นธมณ,ี 2556) ดงั นี
3. น้าสนิมเหล็ก ได้จากสังกะสีเก่า
1. น้าปูนใส ได้จากปูนแดงที่ใช้กินกับหมาก โดย ตะปูเหล็กเก่า ๆ หรือเศษเหล็กที่ขึนสนิมแล้ว
ละลายปูนแดงในน้าสะอาด ทิงไว้ให้ตกตะกอน น้าเฉพาะ แช่น้าทิงไว้ หรือใช้วิธีน้าเหล็กไปเผาไฟให้แดง
สว่ นทเี่ ปน็ น้าใสๆ มาใช้ แล้วนา้ ไปแช่ในน้าทิงไว้ 2-3 วัน ถึงน้าน้าสนิม
มาใช้ น้าสนิมจะช่วยให้สีเข้มขึน ให้เฉดสีเทา-
2. น้าด่างขีเถ้า ได้จากเถ้าของการเผาถ่านที่ได้จาก ด้าเหมือน สารช่วยติดสีเหล็ก แต่ข้อควรระวัง
ธรรมชาติ โดยปกติแล้วนิยมใช้เถ้าจากเหง้ากล้วย หรือต้น ส้าหรับการใช้สารช่วยติดสีชนิดนีคือถ้าสนิม
กล้วย น้ามาตากให้แห้ง แล้วน้ามาเผาให้เกิดเป็นเถ้าจึงน้า มากเกินไปจะท้าใหเ้ สน้ ใยเป่ือยได้
ส่วนที่เป็นขีเถ้ามาใช้ การน้าน้าด่างขีเถ้ามาใช้สามารถท้าได้
2 วิธี 1) น้าขีเถ้า ใส่ในอ่างน้า กวนให้ทั่วทิงไว้ 4 – 5 ช่ัวโมง 4. น้าโคลน ได้จากโคลนในบ่อหลัง
ขเี ถ้าจะตกตะกอน น้านา้ ท่ีไดไ้ ปกรองให้สะอาด กอ่ นน้าไปใช้ บ้านท่ีมีน้าขังตลอด น้าโคลนละลายใน
2) น้าขีเถ้าใส่ลงในกระป๋องหรือถังที่เจาะรูเล็กๆ หลายๆ รูที่ น้าเปลา่ สดั สว่ นนา้ 1 สว่ นต่อดนิ โคลน 1 สว่ น
กน้ ถงั เตรียมไว้ แล้วใส่น้าลงในถังค่อย ๆ เทให้น้าซมึ ลงไปจน จะ ได้ โท น สี เข้ ม ขึ น ห รือ โท น สี เท า -ด้ า
ท่วมขีเถ้า แขวนถังไว้บนที่สูง น้าภาชนะอื่นมารองรับน้าที่ เช่นเดียวกบั น้าสนิม อีกทังยังสามารถน้าโคลน
หยดซึมลงมาจากถังนันก่อนน้าน้าไปใช้งาน น้าด่างขีเถ้าท่ีได้ นีมาหมักกับเส้นใยหรือผ้าท่ีทอแล้วช่วยเพ่ิม
ออกมาชุดแรก จะมเี ปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของความเปน็ ด่าง ความอ่อนนมุ่ ใหก้ บั ผนื ผา้ อกี ดว้ ย
ค่อนข้างสูง สามารถวัดค่า pH ได้อยู่ในช่วง 10-14 (ค่า pH
คือ การวัดภาวะความเป็นกรดหรือด่างของสารละลายในน้า 5. สารส้ม ช่วยจับยึดเม็ดสีกับเส้นใย
สารละลายท่ีมีค่า pH น้อยกว่า 7 จะมีฤทธ์ิเป็นกรด (0-6) และชว่ ยให้สีสดและสวา่ งขึน
และสารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7 จะมีฤทธิ์เป็นด่าง

ภาพท่ี 11 บอ่ น้าหลงั บ้านท่ตี กั โคลนขึนมาใชเ้ ป็นสารช่วยตดิ สี

การสกัดนาดา่ งจากขเี ถา้ (วสั ดุจากในสวน)
การเตรียมวัสดุส้าหรับท้าน้าด่าง วัสดุจากในสวนท่ีหาง่ายที่สุดคือ ต้นกล้วย และต้นมะพร้าว และส่วนท่ี
สามารถน้ามาผลิตเป็นน้าด่างได้ดีก็คือ ส่วนต่างๆของต้นกล้วย และส่วนกาบมะพร้าว เปลือกมะพร้าว ดังนัน ในการ
สกัดน้าด่างขีเถา้ เพือ่ ใชใ้ นการยอ้ มสธี รรมชาติครังนี เลือกใช้เถา้ จากสว่ นของต้นกลว้ ย เรม่ิ จาก 1) น้าส่วนของตน้ กล้วย
ได้แก่ ล้าต้นมาลอกเปลือกออก เหง้ากล้วยเอามาสับ และใบน้ามาตากให้แห้ง ระหว่างตากแห้ง คอยหม่ันพลิกกลับ
เพอ่ื ใหส้ ่วนตา่ งๆแหง้ สนทิ 2) นา้ สว่ นท่แี หง้ แลว้ ทงั หมดเผาไฟใหไ้ ดเ้ ถ้า 3) เตรียมถงั น้าขนาดใหญ่บรรจุเถา้ ทงั หมดโดย
ให้เจาะรูท่ีก้นถังไว้ (รเู ลก็ ๆ ขนาดน้าไหลผา่ นได้หลาย ๆ รู) 4) ใส่นา้ ลงไปให้ท่วมเถ้า หรือประมาณ 2 เท่าของตัวเถ้า
ทังหมด ให้นา้ ค่อย ๆ หยดผ่านเถ้าลงในภาชนะทเ่ี ตรยี มไว้ 5) ไดน้ า้ ดา่ งขีเถ้าจากตน้ กล้วยมาใชใ้ นการช่วยยอ้ ม

1

ภาพท่ี 12 ลา้ ดับขันของการเตรยี มวัสดเุ พอื่ สกดั เปน็ น้าดา่ งขเี ถ้า



บทที่ 3 สียอ้ มจากในสวน

โดยปกติแล้ว พืชพันธุ์ธรรมชาติท่ีให้สี แทบทุกส่วนนับตังแต่ ราก หัว เหง้าท่ีอยู่ในดิน ล้าต้น เปลือกหรือ
แก่นใน ใบ ดอก กระท่งั ผล ซ่ึงมีทังกินได้และกนิ ไมไ่ ด้ สามารถนา้ มาสกดั เป็นนา้ สีเพ่อื การยอ้ มได้นัน จะให้สที ี่แตกตา่ ง
กันออกไป รวมถึงความอ่อนแก่ของสีก็ขึนอยู่กับอีกหลายตัวแปรด้วยเช่นกัน ได้แก่ วัน เวลา ฤดูกาลที่เก็บ ความสด
และความแหง้ ของพืช ถา้ เกบ็ พชื พนั ธ์ใุ นฤดูร้อนจะได้น้าหนกั เบากวา่ เกบ็ ในฤดูฝน เนื่องด้วยความชืนที่สะสมอยใู่ นพืช
ตามฤดูกาลนัน ๆ ฉะนัน ในฤดูร้อนถ้าสัดส่วนของเส้นฝ้าย 1 กิโลกรัม จะใช้เปลือกไม้ 3 กิโลกรัม ถ้าเป็นใบไม้จะใช้
5 กิโลกรมั (ใบไม้มีน้าหนักท่ีเบากว่าเปลือกไม้) โดยใช้น้า 15 ลิตร และสารช่วยติดสี 1 ขีด แต่ในฤดูฝนจะเพ่ิมจ้านวน
วัสดุขึนอีกอย่างละ 1-2 กิโลกรัม (การจดบันทึกถึงสัดส่วนที่ชัดเจนจะช่วยให้ได้สีท่ีคงท่ี) การบากเปลือกของต้นไม้
ควรบากส่วนทห่ี นั หลังใหแ้ ดด เพราะส่วนท่รี ับแดดจะมคี วามชนื น้อยกว่า สา้ หรบั การบากจะตอ้ งไม่บากในสว่ นเดียวกัน
แบบรอบล้าต้น เพราะจะท้าให้ต้นนัน ๆ ตายได้ (เหมือนเป็นการตอนกิ่ง) การเลือกหยิบจับพืชพันธ์ุหรือมองหาต้นไม้
เพื่อมาเป็นวัสดุส้าหรับการย้อมนัน พันธ์ุพืชเกือบทุกชนิด และทุกส่วนสามารถน้ามาใช้ส้าหรับการย้อมให้ติดสีได้
แต่การติดสอี าจไมด่ นี กั และความคงทนต่อการขดั ถูหรอื ความคงทนตอ่ แสงอาจได้ไม่เทา่ กนั ซึ่งข้อสังเกตงา่ ย ๆ เบอื งต้น
คอื พืชพันธธุ์ รรมชาติมียาง มีรสฝาด จากส่วนล้าต้น ผล ใบ ดอก ถา้ เป็นใบหรือดอกให้ลองน้ามาขยี ขย้าหรือถู ๆ ถ้า
ล่ืน ๆ มียางเหนียว ๆ ติดมือแสดงว่าสามารถน้ามาเป็นวัสดุส้าหรับย้อมสีได้ (แต่ถ้ามีแต่ความล่ืนอย่างเดียวสามารถ
ยอ้ มได้เชน่ กันแต่สีจะหลุดออกได้ง่ายเวลาซักล้าง และซีดเมื่อโดนแดด) ถา้ เปน็ ผลที่รับประทานได้ให้เอาลนิ แตะ ๆ ถึง
รสฝาดขม ถ้ารับประทานไม่ได้รวมถึงเปลือก/ ลา้ ต้น ให้นา้ มีดมาขูด ๆ บาก ๆ แลว้ สังเกตจะมียางซึมออกมา สว่ นใหญ่
พืชพันธุท์ ร่ี ับประทานได้มักจะมีสี สามารถน้ามาย้อมได้ แต่สที ่ีได้จะติดไม่คงทน เช่น ลกู ปรัง ลกู หวา้ กระเจย๊ี บ อญั ชัน
บีทรูท แครอท เปลอื กหอมใหญ่ กะหลา้่ ปลสี ีม่วง เป็นตน้

ช่วงเดือนพฤศจกิ ายนถึงเดือนธันวาคม (ช่วงปลายฝนต้นหนาว) จะเป็นช่วงท่ีพืชพันธ์ุไม้ให้สีดีท่ีสดุ ต้นไม้จะมี
สีมาก การต้มสกัดสีจะต้มท่ี 100 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 40 นาทีถึง 1 ช่ัวโมง และการต้มเพ่ือย้อมจะใช้อุณหภูมิที่
60-80 องศาเซลเซียส

ภายหลังการน้าเส้นใยท่ีทดลองย้อมสธี รรมชาติไปทอเป็นผืนผา้ แลว้ สามารถน้าผืนผ้าไปทดสอบหาความทน
ต่อแสงได้งา่ ย ๆ คือ การน้าผืนผ้านันไปวางแตกแดด แล้วน้ามาเปรียบเทียบระหว่างผืนผ้าที่โดนแดดกับที่ไม่โดนแดด
ถ้าผืนผ้าที่โดนแดดสซี ีดมากแสดงวา่ วสั ดุท่ีนา้ มาทา้ การย้อมนนั ยังไมม่ คี วามคงทน อาจต้องทดลองหรือทดสอบการยอ้ ม
ใหม่ แต่ถา้ เปรยี บเทียบกับผนื ผ้าท่ีไม่โดดแดดแล้วสซี ดี น้อยลงหรอื แทบไม่เปลยี่ นสเี ลยแสดงว่าสที ่ีได้จากวัสดุธรรมชาติ
นันมีความเหมาะสม มีความคงทนและติดทนทานสามารถใชเ้ ปน็ สีย้อมผ้าได้ดตี ่อไป

มะม่วง

เป็นหน่ึงในพืชพันธุ์จากสวนที่สามารถเลือกมาเป็นวัสดุการย้อมได้ มะม่วงในสวนของพ่อมีหลากหลายพันธ์ุ
ดงั นี 1) อกร่องศรีสยาม 2) อกร่องสวน 3) อกร่องพิกลุ ทอง 4) เขียวเสวย 5) เขียวใหญ่ 6) น้าดอกไม้มนั 7) น้าดอกไม้
เบอร์ 4 8) น้าดอกไม้สีทอง 9) มันขุนศรี 10) มันศาลายา 11) มันเดือน 9 12) แก้วลืมรัง 13) โชคอนันต์
14) มหาชนก 15) เทพนิมิตร 16) แอปเป้ิล 17) แก้มแดง 18) หนองแซง 19) สามฤดู 20) แก้ว 21) แดงจักรพรรดิ
และ 22) แม่ลกู ดก

ภาพที่ 13 ใบมะมว่ งพนั ธต์ุ ่าง ๆ เมื่อน้ามาวางเรยี งกัน จะเห็นความแตกต่างของสเี ขียวท่ีมคี วามออ่ นแกต่ า่ งกัน
และบางชนดิ พนั ธกุ์ ม็ ีขอบใบทหี่ ยกั ตา่ งจากชนดิ อื่น และบางชนิดก็คลา้ ยกนั จนแทบแยกชนดิ พันธ์ไุ มไ่ ด้

ภาพที่ 14 “มะมว่ งแกม้ แดง” อายุประมาณ 30-40 ปี ถกู โอบรดั และปกคลุมดว้ ยเถาวลั ยแ์ ละพันธ์ไุ ม้อ่นื ๆ

ภาพท่ี 15 “มะม่วงแกม้ แดง” ตน้ มะมว่ งเกา่ แก่ในสวนหลังบา้ น

มะม่วงนาดอกไม้
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เป็นทรงพุ่มทึบ ใบใหญ่ยาวปลายแหลม ขอบใบมีลักษณะเป็นริวคล่ืน มีหลาย
สายพันธ์ุ ได้แก่ น้าดอกไม้เบอร์4, น้าดอกไม้สีทอง, น้าดอกไม้สีม่วง และน้าดอกไม้มัน เป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมาก
เพราะสามารถทานไดท้ ังผลออ่ น, ผลแก,่ และผลสุก
“ใบ” ลกั ษณะใบของมะมว่ งน้าดอกไม้ สามารถจ้าแนกได้ชัดเจนกว่ามะม่วงพนั ธุ์อ่นื เนือ่ งจากขอบใบมคี วาม
พลวิ เป็นรวิ คล่ืนอย่างเห็นได้ชดั

ขันตอนการสกัดสีจากใบมะม่วงนาดอกไม้
1. นา้ ใบมะมว่ งมาลา้ งทา้ ความสะอาดแลว้ ตดั หรอื สบั ให้เป็นชินเล็ก ๆ
2. แชน่ ้าทิงไวก้ อ่ นตม้ ในนา้ เดือดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นาน
45-60 นาที จนใบมะมว่ งเปลย่ี นสี
3. กรองเอาเฉพาะน้าเพอ่ื ใชย้ อ้ มสี ใสเ่ กลอื แลว้ น้าผา้ หรือเสน้ ใยลงยอ้ ม

4. น้าเส้นใยไหม และเส้นใยฝ้ายลงย้อม ในอุณหภูมิ 60-80 องศาเซลเซียส
ประมาณ 1 ช่ัวโมง การดูดซึมของน้าสีระหว่างเส้นใยไหมกับเส้นใยฝ้ายจะ
แตกต่างกัน ด้วยคุณสมบัติของตัวเส้นใยเอง สีย้อมที่ได้บนเส้นใยไหมจะสด
มคี วามมนั วาวเป็นเงา สว่ นเสน้ ใยฝ้ายจะมีลกั ษณะด้านสไี ม่สด

ภาพท่ี 16-17 ได้สีโทนเหลือง-น้าตาล เม่ือน้าไปชุบสารช่วยย้อมจะได้เฉดสีเพ่ิมขึน น้าหนักเหลือง น้าตาล ขาวนวลที่ต่างกัน และจาก
การนา้ ใบมะมว่ ง 3 ชนดิ ได้แก่ ใบมะมว่ งนา้ ดอกไม้ ใบมะม่วงโชคอนันต์ และใบมะมว่ งเขียวเสวย น้ามาทดลองย้อมสีในขนั ตอนเดยี วกนั และใชส้ าร
ช่วยตดิ สีประเภทเดยี วกัน เหน็ ไดว้ า่ สที ี่ได้ออกมาเปน็ สีเหลือง, เขยี วเหลอื งและน้าตาล เฉดสีใกล้เคียงกนั ทงั หมด ทงั บนเส้นใยไหม และเสน้ ใยฝ้าย

มะมว่ งโชคอนันต์
เป็นมะม่วงทรงพุ่มขนาดใหญ่ เป็นใบเด่ียว เรียวยาว ปลายใบแหลม ขอบใบตรงไม่เป็นคล่ืนเป็นหยักแบบ
มะม่วงน้าดอกไม้ เม่ือน้าใบมาท้าการย้อม สีที่ได้มีความเหมือนกับสีท่ีย้อมด้วยใบมะม่วงน้าดอกไม้ และใบมะม่วง
เขียวเสวย ถงึ แม้วา่ ใบและสขี องใบจะมคี วามแตกต่างกันตามรปู ลกั ษณภ์ ายนอกแต่ผลท่ีได้ กลบั ให้สีใกล้เคียงกัน
ขันตอนการสกัดสีจากเปลือกตน้ มะม่วงโชคอนนั ต์
1. เปลือกต้นมะม่วงโชคอนนั ต์ บาก/ถาก เปลือกออกจากตน้ และกงิ่ จากเปลือกนอก ถึงเนอื ด้านในจะเหน็
เป็นสแี ดงนา้ ตาลชัดเจน

2. นา้ เปลือกท่ีบากได้ นา้ มาแชน่ ้าทงิ ไว้ 1 คืน น้ามาต้มสกดั น้าสี เห็นน้าสเี ป็นสีนา้ ตาลแดงชัดเจนตงั แตต่ อน
แชเ่ ปลือกไม้

ภาพท่ี 18 ไดส้ โี ทนเหลอื ง-นา้ ตาลเช่นเดียวกบั ใบมะม่วง และเม่อื ชบุ สารชว่ ยย้อมทงั 5 ชนิด ทา้ ให้เฉดสเี ปลยี่ นไปเชน่ กนั
ภาพที่ 19 ผ้าลนิ นิ ยอ้ มเปลือกต้นมะมว่ ง ใช้สารชว่ ยติดสีทแี่ ตกต่างกนั ชว่ ยเพิม่ เฉดสีท่ีตา่ งกนั ออกไป

สพุ รรณกิ าร์

ภาพที่ 20 ตน้ สุพรรณิการ์ทีป่ ลกู อยู่ในสวนหลังบ้าน โค่นล้มจนรากลอยขึนมา (ชว่ งเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2560)

ต้นสุพรรณิการ์ กับ ต้นฝ้ายค้า ตอนแรกคิดว่าคือต้นเดียวกัน เพียงแต่เรียกชื่อต่างกัน สุพรรณิการ์เป็นช่ือที่
เรียกอย่างทางการในภาคกลาง และฝ้ายค้าเป็นชื่อที่เรียกกันทางภาคเหนือ แต่ในความเป็นจริงทังสุพรรณิการ์และ
ฝ้ายค้ามีความแตกต่างคือ ฝ้ายคา เป็นพันธุ์กลีบดอกเดี่ยวหรือกลีบดอกชันเดียว มีกลีบดอก 5 กลีบ (โดยประมาณ)
ส่วน สุพรรณิการ์ เป็นพันธ์ุกลีบดอกซ้อน ซึ่งอาจเรียกว่า ฝ้ายคาซ้อน เป็นพันธ์ุที่พบมากและกระจายอยู่ทั่วไป ล้าต้น
และกง่ิ ก้านที่แตกแขนงดเู กง้ กา้ ง มีใบสีเขียวเต็มต้น เปน็ ใบเดยี่ วแยกเปน็ 5 แฉกคลา้ ยรูปมอื โคนใบเว้า ปลายใบแหลม
ขอบใบเปน็ คล่นื

สพุ รรณิการ์ออกดอกสีเหลือง เมอื่ ดอกออกบานสะพร่ังเต็มต้นแล้ว ใบจะผลดั ร่วงจากต้นจนหมดเห็นแต่ดอก
ชชู ่อสีเหลืองสวยงาม ช่อดอกเปน็ ช่อแบบแยกแขนง ดอกจะทยอยบานทปี่ ลายกงิ่ และบานอยไู่ ด้นานแตเ่ ม่ือดอกร่วงจะ
ทยอยร่วงจนหมดต้นเช่นกัน เหลือแต่ก่ิงก้านไว้ เพ่ือแตกเป็นใบใหม่ในปีต่อไป ลักษณะกลีบดอกจะเป็นลอนหยักเรียง
ตัวเบียดซ้อนกนั เป็นชนั ๆ ตรงกลางจะเปน็ กระจุกเกสรสเี หลืองสม้ และกระจายตัวแทรกอยู่ตามกลบี ดอก แต่ถอื วา่ เป็น
ดอกไม่สมบรู ณเ์ พศ เพราะมแี ต่เกสรตัวผู้ จงึ ทา้ ใหส้ ุพรรณิการ์ไม่มผี ล และไม่สามารถผสมพันธุ์ได้ การขยายพนั ธุ์จึงท้า
ไดโ้ ดยการปักช้าเท่านัน

ภาพท่ี 21 ลกั ษณะของกิ่งก้าน การออกดอก และการรว่ งหลน่ ของสุพรรณิการ์

ด้วยความท่ีสุพรรณิการ์เปน็ ไม้ท่ีมกี ่ิงเปราะ หักโค่นง่ายจึง
ไม่นิยมปลูกใกล้บ้าน แต่ด้วยความเปราะและหักโค่นของสุพรรณิการ์นัน
กลับท้าให้ค้นพบความน่าสนใจที่ซ่อนอยู่ภายในล้าต้นที่เปราะบาง จาก
เปลือกนอกของต้นที่ห่อหุ้มไว้ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา ภายในล้าต้นท่ี
ซ้อนเป็นวงอยู่ภายใน เห็นได้ชัดว่าเป็นสีเหลืองสด ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเป็น
ท่ีมาของการน้าแก่นท่ีอยู่ภายในต้นสุพรรณิการ์มาสกัดเพ่ือท้าสีส้าหรับย้อม
เป็นสีย้อมธรรมชาติ

ขันตอนการสกดั สจี ากสุพรรณกิ าร์
“แก่น”
1. ตัดทอนต้นสุพรรณกิ าร์เป็นทอ่ น ๆ บากเปลอื กนอกออก เอาเฉพาะส่วนแกน่ ทีเ่ ปน็ สีเหลืองเพ่ือเตรยี ม

นา้ ไปต้มสกัดเปน็ นา้ สสี ้าหรบั ใชใ้ นการยอ้ ม

ภาพท่ี 22 สุพรรณกิ าร์ที่หกั โค่น ต้นสงู และล้าต้นใหญ่ แตไ่ ม่มรี ากแกว้ เพ่ือเกาะยึด เมื่อโดนลมพัดแรง ๆ จงึ ทา้ ให้โคน่ ลม้ ลงได้

2. ตัดสุพรรณิการ์เป็นท่อน ๆ จากนนั นา้ มาบากเอาเฉพาะแกน่ ขา้ งในท่มี สี เี หลืองอมส้มไปใช้

3. นา้ แกน่ สพุ รรณิการท์ บ่ี ากได้ไปแช่น้าทงิ ไว้ 1 ช่วั โมง จะมีสารสจี าง ๆ ออกมาใหเ้ ห็น

4. น้าแก่นสพุ รรณิการ์ตม้ ในกะละมังทีต่ ังไฟด้วยความรอ้ นท่ี 100 องศาเซลเซยี ส เพอ่ื สกดั สารสีทอ่ี ย่ใู น
เนือไมใ้ หอ้ อกมา สงั เกตจากการต้ม เมอื่ ตม้ นานเข้าเนอื ไมย้ ่ิงมีสีเหลืองสดมากขนึ เรื่อย ๆ

5. ทดลองน้าสีท่ีสกัดได้ โดยการน้าผ้าสาลูท่ีมัดเตรียมไว้ลงย้อม ปรับอุณหภูมิน้าพร้อมส้าหรับย้อมให้อยู่ท่ี
ประมาณ 60-80 องศาเซลเซยี ส ใช้เวลาย้อม 1 ช่ัวโมง

ขอ้ สงั เกต
โดยปกติในการท้าการย้อมสีธรรมชาติ ต้องเทกรองเอาเฉพาะนา้ สแี ยกออกจากวสั ดุให้สี เพ่อื ป้องกันความ

สกปรกที่จะเกาะติดกบั เส้นใย และการพันกันของวัสดุฯกับเส้นใยด้วย แต่ในการทดลองย้อมครังนเี ป็นการย้อม
โดยการน้าผืนผ้าท่มี ดั ด้วยเชือกฟางลงย้อมในน้าสีทย่ี ังมีแก่นไม้สพุ รรณกิ าร์ค้างอยใู่ นกะละมงั ย้อมด้วย และด้วย
เหตุท่ีต้องท้างานแข่งกับเวลา และต้องการทดสอบการยึดติดของน้าสีกับผืนผ้าไปในตัว ท่ีว่ายิ่งต้ม สีย่ิงออกมา
จากเนือไม้มาก ท้าให้คิดวา่ ถ้าต้มผ้าไปพรอ้ มกันอาจทา้ ให้สารสีสกัดออกมาจากเนือไม้ไดอ้ ย่างเตม็ ที่ อีกทังการ
ย้อมครงั นี เป็นการยอ้ มโดยไม่ใช้สารช่วยติดสี (Mordant) ใด ๆ เลย แม้แตเ่ กลอื ท่ีเปน็ ตวั ช่วยดดู ซึมสีกับเนือผ้า
เหตุเพราะต้องการเหน็ ถงึ เนือสที ่ีแท้จริงของเนอื ไมห้ ลังการยอ้ มกบั ผนื ผ้าเพียงอยา่ งเดยี ว
6. เมือ่ ครบเวลา นา้ ผ้าขึนจากการย้อม จากนันหมกั ไวใ้ ห้สที ้าปฏกิ ิรยิ ากับผืนผา้ จนแห้งหมาด แกเ้ ชอื กทม่ี ัด
ไว้แล้วน้าผ้าไปล้างน้าให้สะอาด น้าไปตาก ได้ผ้าสีเหลืองสด สีติดทนกับผืนผ้าโดยท่ียังไม่ได้ใช้สารช่วย
ติดสี (Mordant) ใด ๆ

ภาพที่ 23 ผ้าสาลูมดั ลายและย้อมจากแกน่ สพุ รรณิการ์

ภาพท่ี 24 ตน้ สพุ รรณกิ าร์ เร่มิ แตกกงิ่ กา้ นขนึ มาใหม่ (ชว่ งเดอื นธนั วาคม พ.ศ.2560) จากลา้ ตน้ เดิมที่หกั โคน่ แต่ยงั มสี ว่ นหนึ่งของรากท่หี ย่งั อย่ใู นดนิ
ภาพท่ี 25สุพรรณกิ ารอ์ อกดอกบานสะพรงั่ อีกครัง (ชว่ งเดอื นกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2561)

“ดอก” การสกดั สีดอกสพุ รรณิการ์เพ่อื การยอ้ ม ผูเ้ ขียนทา้ การย้อมทงั แบบยอ้ มรอ้ น และยอ้ มเย็น ดงั นี
ย้อมร้อน : การสกัดสีย้อมด้วยการต้ม จากนัน
นา้ เส้นใยลงยอ้ มตอ่ ในนา้ นัน มขี นั ตอนดังนี
1. เด็ดกลีบดอกสพุ รรณิการ์ออกจากขัว
2. ขยา้ ในนา้ แชท่ ิงไว้ 1 ช่วั โมงก่อนนา้ ไปต้ม
สกดั นา้ สี
3. กรองดว้ ยผ้าขาวบางเอาเศษกลบี ดอกออก
4. น้าเสน้
ใยฝา้ ยและเสน้ ใย
ไหมท่ีทา้ ความ
สะอาดเรยี บร้อย
แลว้ ลงต้มยอ้ มนาน
45-60 นาที

ภาพท่ี 26 ดอกสพุ รรณิการ์ เด็ดกลีบ แช่น้า และตม้

เส้นใยไหมและเส้นใยฝ้ายย้อมร้อน พร้อมทังแช่สาร
ช่วยติดสี 5 ชนิด สีท่ีได้ออกมาโทนสีเหลือง ได้เฉดสีท่ีมีความ
แตกต่างกันไปตามแต่สารชว่ ยติดสแี ต่ละชนิด เฉพาะอย่างยิง่ สาร
ช่วยติดสี สารส้ม สีท่ีได้จางลงกลายเป็นสีเหลืองอ่อนกว่าตอน
ยอ้ มไดค้ รังแรก และเส้นใยไหมดูดซบั สไี ด้ดีกวา่ เสน้ ใยฝ้าย ได้สีที่
สดและเขม้ กว่า (การย้อมครงั ที่ 1)

ภาพท่ี 27 ทดสอบการยอ้ มครงั ที่ 1

ยอ้ มเย็น : การสกัดสยี ้อมดว้ ยการหมัก การแช่ หรอื การใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดน้า
สีย้อม ซึ่งโดยการย้อมที่ไม่ใชค้ วามร้อนสามารถควบคุมการย้อมได้ง่ายกว่า เนื่องจากสามารถมองเหน็ การติดสี การดูด
ซึมท่ีไม่ทัว่ ถึงและสามารถขย้ากระตุ้นใหเ้ สน้ ใยดูดซึมน้าสีได้ดีขึน อกี ทังยังช่วยถนอมเสน้ ใยผา้ อกี ด้วย มขี ันตอนดงั นี

1. เดด็ กลีบดอกสพุ รรณกิ าร์ออกจากขวั้ บบี ขยา้ กลีบดอกในน้าอุณหภูมปิ กติ กรองเอาแต่น้าสที ีส่ กัดได้
2. น้าเส้นใยฝ้ายลงแชย่ อ้ ม

2.1 เส้นใยฝ้ายที่ท้าความสะอาดแล้ว และแช่น้าเต้าหู้ทิง
คา้ งคนื ไว้ 1 คนื (เสริมโปรตีน)

2.2 เส้นใยฝ้ายที่ทา้ ความสะอาดแลว้ น้าลงย้อมสีโดยไม่ได้
แช่น้าเตา้ หู้

ภาพท่ี 28 เส้นใยฝ้ายแช่นา้ เต้าห้ทู งิ ไว้ 1 คืน

ภาพที่ 29 เปรยี บเทียบการย้อมสีบนเส้นใยฝ้ายท่ีแชน่ า้ เต้าหูก้ บั เสน้ ใยฝ้ายปกติ เหน็ ถึงความแตกต่างของสีที่ไดช้ ดั เจน จะเหน็ ได้วา่ เสน้ ใยฝา้ ยท่เี สริม
โปรตนี เขา้ ไปจะยอ้ มติดสีได้ดกี ว่า

ภาพท่ี 30 ได้โทนสีเหลืองนวลอมส้ม สีท่ตี ิดบนเส้นใยไหมและเสน้ ใยฝา้ ยคอ่ นข้างแตกต่างกัน ในการทดลองย้อมสคี รังท่ี 1 การย้อมร้อน
เสน้ ใยฝ้ายไม่ตดิ สีเท่าทีค่ วร จึงทดลองครงั ท่ี 2 ด้วยการยอ้ มเย็น โดยการนา้ เสน้ ใยฝา้ ยไปแชน่ า้ เตา้ หูเ้ พ่อื เปน็ การเพม่ิ โปรตนี ให้กบั เสน้ ใย เห็นไดช้ ดั วา่
มีการดดู ซับนา้ สีไดด้ ขี นึ และการติดสีก็ไดส้ เี หลอื งท่ีเข้มขนึ เชน่ กัน

อัญชนั
เป็นพันธ์ุไม้เลือย ล้มลุกท่ีมีช่วงอายสุ ัน มีเถากลมขนาดเล็กและอ่อน แต่ถ้าเป็นเถาแก่จะมีสีน้าตาล สามารถ
ใช้ยอดเลือยพันปกคลุมไปได้ไกล ลักษณะใบจะมีขนาดเล็ก บาง ทรงรี ก้านหนึ่งก้านจะมีใบเป็นเลขคี่ ประมาณ
5-7 ใบ เปน็ คู่เรยี งขนานกนั ไป สว่ นตรงสว่ นปลายกา้ นจะมี 1 ใบที่เปน็ ใบเดียว

ดอกอัญชันจะเปน็ ดอกเดยี่ ว และจะออกดอกเป็นช่อตามปลายยอด ช่อหน่ึงจะมดี อก 2-4 ดอก มที ังชนดิ ดอก
เด่ยี วและดอกซ้อน มีทังอญั ชันสีม่วง สฟี ้า สีขาว และสมี ว่ งอมนา้ เงิน โดยดอกอญั ชันทว่ั ไปจะมีสมี ว่ ง ลกั ษณะของดอก
คลา้ ยส่วนกลางของดอกกลว้ ยไมแ้ ต่ไมม่ ีกลบี ซ้อน กลบี ดอกบาง พลิวเปน็ ลอน เมอ่ื กลีบดอกบานเตม็ ทจ่ี ะมองเหน็ กลีบ
ดอกเลก็ ๆ ตรงกลางซ้อนอยู่ และโคนกลีบดอกท่ีติดกับขัวสีเขยี วจะเปน็ สีขาว แต่ถ้าเป็นอัญชันดอกซอ้ นจะมกี ลบี ซอ้ น
กัน 4-5 ชัน ซอ้ นเวียนพลวิ เปน็ เกลียวขึนมา

ภาพท่ี 31 เถาตน้ อญั ชนั ท่ีเลอื ยพนั กับคา้ งทีจ่ ัดทา้ ไว้ พนั เลอื ยเปน็ พุ่มขนาดใหญ่

ภาพท่ี 32 ดอกอญั ชนั ดอกเด่ียว ภาพที่ 33 ดอกอญั ชนั ดอกซอ้ น

ขนั ตอนการสกัดสจี ากดอกอญั ชนั
ทดลองครงั ท่ี 1
1. น้าดอกอัญชนั สดมาเดด็ ขัวสเี ขียวออก
2. น้าดอกไปต้มในน้าเดอื ดเพ่อื สกดั นา้ สี โดยตม้ ทิงไว้
ประมาณ 30-45 นาที เมื่อตม้ ทิงไว้ กลบี ดอกจะค่อยๆคายน้าสีออกมา จะเห็นได้จากกลีบดอกนันสีจะจางลง จนเหลือ
เปน็ สฟี ้าอ่อน และซดี ลงในทสี่ ดุ
3. เมื่อครบเวลา ยกลงเทใสผ่ ้ากรองเอาเฉพาะน้าสีไปใช้ หรือใชก้ ระชอนแทนการกรองช้อนกลบี ดอกออกมา

ภาพที่ 34 ดอกอญั ชันสด เดด็ ขวั สีเขยี วออกกอ่ นท้าการต้ม

สีย้อมท่ีได้จากดอกอัญชันคือสีฟ้า-น้าเงิน เม่ือน้าน้ามะนาว มาเป็นส่วนผสมในน้าย้อม จะท้าให้น้าย้อม
เปล่ยี นเป็นสมี ่วง ยอ้ มออกมาไดส้ ีม่วงอมแดง แต่สีท่ไี ด้จะตดิ ไมท่ น หลังจากแหง้ สีจะซดี ลงเลก็ นอ้ ย และเปลยี่ นสไี ปไม่
เหมอื นกับการย้อมขนึ มาครงั แรก เนือ่ งด้วยการท้าปฏิกิริยาของสีกบั อากาศ

ภาพท่ี 35 ระหวา่ งการตม้ ดอกอญั ชัน

ทดลองครงั ท่ี 2 กรองเอาเฉพาะ
น้าสีไปใช้ในการ
1.น้าดอกอัญชันมาแช่น้า (ทังขัวดอก) ขย้าให้กลีบดอก ย้อม
อ่อนตวั

2. แช่น้าทิงไว้
30 นาที

3. น้าไปตังไฟ
น้าออกเป็นสี
ฟ้าชดั เจนโดยทย่ี ังไม่ไดท้ ้าการตม้ สกัดน้าสี
เมื่อต้มสีท่ีได้จะย่ิงเข้ม และสีที่กลีบดอกจะเปลี่ยนไป
จากสมี ว่ งกลายเปน็ สีฟ้า

4. น้าเส้นใยไหมและเส้นใยฝ้ายลงต้มย้อม 45-60 นาที
หม่ันกลับพลิกเส้นใยทุก ๆ 15 นาทีเพ่ือให้เส้นใยติดสี
สม่้าเสมอ

* ค่าสีที่ได้จากการย้อมครังท่ี 1 เด็ดขัวดอก และการย้อมครังที่ 2
ไมท่ ้าการเดด็ ขวั ดอกออก ไดส้ ีย้อมท่ีไม่ต่างกนั

* ไมค่ วรเก็บดอกอัญชนั ตอนเช้า
เพราะดอกอัญชันจะมีน้าค้าง
เกาะอยู่ค่อนข้างมาก กลีบดอก
เปี ยก ท้าให้ สีจากกลีบ ดอก
ละลายติดออกมาด้วย

* ดอกอญั ชันตากแห้ง สามารถย้อมได้สีเช่นเดียวกนั ดอกสด สามารถ
น้าดอกสดตากลม-ตากแดดอ่อน ๆ ให้แห้งสนิท เก็บใส่ขวดโหลหรือ
ใสถ่ ุงปดิ ฝาใหส้ นิท กนั ความชนื และการขึนราได้

ภาพที่ 36 ได้สีบนเส้นใยไหมและเส้นใยฝ้ายเป็นสฟี ้าออ่ น ต่างจากการมองเหน็ ครงั แรกในการเอาเส้นใยลงที่มองเห็นเป็นสีฟ้าเขม้ เหมือนสีของกลีบ
ดอกอญั ชัน และใช้สารช่วยตดิ สี 3 ชนิด ไดแ้ ก่ สารส้ม ปนู แดง และสนมิ เหล็ก ผลท่ไี ด้ คือ ไดส้ มี ว่ งจากสารส้ม ได้สฟี ้าอมเขียวจากปนู แดง และได้สี
น้าตาลจากสนมิ เหล็ก ทุกเฉดสที ไ่ี ด้ออกมาเป็นเฉดสอี ่อนทงั สิน

ขนนุ
เป็นพันธ์ุไม้ยืนต้น เนือแข็ง ท่ีสามารถขึนได้ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย แต่จะมีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน
ออกไปตามพืนที่ต่าง ๆ เช่น ภาคอีสานจะเรียก บักม่ี ภาคเหนือเรียก มะหนุน ภาคใต้เรียก หนุน ขนาดต้นสูงได้ถึง
15 เมตร คนไทยนิยมปลูกขนุนไว้ในบ้าน เพราะเชื่อว่า ขนุน เป็นไม้มงคล เมื่อปลูกแล้วจะช่วยเหลือเกือหนุนให้
เจริญรุง่ เรือง ตลอดล้าต้นถา้ เอามีดฟันหรือเพยี งสะกิด กรดี เป็นแผล จะมียางขาวออกมา ออกดอกออกผลตลอดปี
ลักษณะใบเป็นทรงกลมปลายรีแหลมเห็นเส้นใบค่อนข้างชัด ความพิเศษของใบขนุนคือ เป็นเงาวาว
ด้วยตัวของมันเอง ใบอ่อนเป็นสีเขียวอ่อน ไล่ขึนไปจนเป็นเขียวเข้มเมื่อใบแก่ขึน ขนาดใบประมาณฝ่ามือ ส่วนของ
ต้นขนนุ ท่ีสามารถน้ามายอ้ มสไี ดค้ ือ ใบ เปลือก และแก่น แต่วธิ กี ารสกดั สีจะตา่ งกนั ถ้าเป็นใบจะสามารถน้ามาตม้ สกัด
น้าสีได้เลย แต่ถ้าเป็นเปลือกต้องบากแล้วน้ามาสับก่อนน้าไปต้มสกัดสี เช่นเดียวกันกับแก่นต้น เป็นการน้าต้นขนุน
ทังตน้ มาผา่ และไสหรือสบั ผา่ เอาแก่นกลางต้นใหเ้ ปน็ ชนิ เล็ก ๆ หรือตากแห้งทิงไว้กอ่ นนา้ มาใช้งาน งา่ ยตอ่ การสกดั นา้ สี
ให้ไดอ้ อกมา

ขันตอนการสกัดสีจากใบขนุน ดังนี
1. นา้ ใบขนุนมาสบั หรอื ตดั ให้เป็นชินเลก็ ๆ
2. ก่อนน้าไปต้มเพ่ือสกัดน้าสี สามารถเก็บ
ใบขนุนสดมาท้าการต้มยอ้ มได้เลยโดยไมต่ ้องท้า
การแช่ทงิ ไวก้ ไ็ ด้ โดยใช้ใบท่มี ีสีเขียวแกป่ ระมาณ
5 กิ โล ก รัม (ถ้ าเป็ น แ ก่ น จะ ใช้ ป ระม าณ
3 กิโลกรัม) ย้อมเส้นใยไหมและเส้นใยฝ้าย
น้าหนักรวมกัน 1 กิโลกรัม ใช้เวลาต้มสกัดน้าสี
ป ระม าณ 45 น าที ถึง 1 ช่ั วโม ง ห รือใบ
เปลย่ี นเป็นสีนา้ ตาลเขียว
3. เทกรองเอาแตน่ ้าสีท่ไี ด้
4. น้าเส้นใยไหมและเส้นใยฝ้ายลงย้อมทิง
ไว้ 1 ช่ัวโมง คอยหมั่นกลับพลิกเส้นใยทุก
15 นาที
5. เม่อื ครบเวลา นา้ เสน้ ใยขึนบดิ หมาด ไดส้ ี
บนเสน้ ไหมเป็นสีเขียวก่อนน้าไปแชส่ ารชว่ ยตดิ สี
ทัง 5 ชนิด ได้เป็นเฉดสีท่ีแตกต่างกัน ในโทน
เขยี ว-เหลอื ง อมนา้ ตาล

ส่ ว น ข อ งต้ น ข นุ น ท่ี นิ ย ม น้ า ม าใช้ ย้ อ ม สี คื อ แ ก่ น (แ ก่ น ห ม าย ถึ ง ส่ ว น ข อ งเนื อ ไม้ ที่ แ ข็ ง
ที่สุด อยู่ภายในสุดของต้น) น้ามาผ่า สับให้เป็นชินเล็ก ๆ แช่น้าทิงไว้ 1 คืนก่อนท่ีจะน้ามาต้มสกัดน้าสี โดยใช้แก่น
3 กิโลกรัม (ถ้าเป็นแก่นตากแห้งอาจใช้มากกว่า) ต่อเส้นใยไหมและเส้นใยฝ้ายร่วมกัน 1 กิโลกรัม กรองใช้เฉพาะน้า
นา้ มาต้มย้อม 45-60 นาที จะได้สเี หลอื ง และเมอ่ื น้าไปแช่สารช่วยติดสีทัง 5 ชนิด สารส้ม จะเป็นตัวที่ให้สีเหลืองทสี่ ด
เขม้ ขนึ (สเี หลอื งอมน้าตาล) นยิ มใช้แก่นขนุนยอ้ มผ้าเพ่ือทา้ เปน็ จวี รพระ เรียกวา่ ผ้าย้อมกรัก

สตาร์แอปเปล้ิ / ลูกนานม
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ทรงพุ่ม ก่ิงก้านยาว ใบเด่ียว ทรงเรียวรี หน้าใบเป็นเงามัน สีเขียวอ่อนถึงเข้ม
ดา้ นหลงั ใบเปน็ สีนา้ ตาลแดง เปน็ มันเช่นกัน ออกดอกเปน็ ช่อ สีขาวอมชมพู มกี ล่ินหอม ผลทรงกลม มีทังพนั ธ์ุสเี ขียวซึ่ง
มีเปลอื กนอกเป็นสีเขยี ว เนือข้างในสีขาวมีเม็ดตรงกลาง และพันธ์ุสีมว่ งแดง เปลือกนอกเปน็ สีแดงอมม่วง เนอื ขา้ งในสี
ขาวอมมว่ ง รสหวานหอม เมลด็ สนี า้ ตาลออ่ น กนิ เปน็ ผลไม้สด

ภาพท่ี 37 ตน้ สตาร์แอปเป้ลิ หรอื ลกู นา้ นม ไม้ยืนต้นขนาดใหญใ่ นสวน

ภาพที่ 38 ลกั ษณะใบและผลของต้นสตาร์แอปเปิ้ล ใบดา้ นหน้าเป็นสเี ขยี วมนั เงา ด้านหลงั ใบเป็นสนี า้ ตาล ผลเปน็ สีเขยี ว ทรงกลมคลา้ ยลูกแอปเป้ลิ

ขันตอนการสกดั สจี ากใบสตารแ์ อปเปิ้ล
1. น้าใบมาขยา้ แชน่ า้ ทงิ ไว้ 1 ชวั่ โมง
2. น้าไปตม้ สกัดนา้ สี ใบจะค่อย ๆ เปล่ยี นสีเป็นสนี า้ ตาล นา้ สที ี่ได้จะเปน็ สนี า้ ตาลคลา้ ยกบั สใี ตใ้ บ

ภาพท่ี 39 (แถวบน) ผ้าลินิน ใช้สารชว่ ยตดิ สี โคลน สนทิ เหล็ก ปูนแดง สารส้ม
และด่างขเี ถ้า (แถวลา่ ง) ผา้ ฝา้ ย (ด้ายดบิ ) ใชส้ ารช่วยติดสี โคลนและปูนแดง

ภาพที่ 40 ไดโ้ ทนสนี า้ ตาลคลา้ ยสีใตใ้ บของสตาร์แอปเปิล้ เม่อื นา้ ไปชุบสารช่วยยอ้ ม ทา้ ใหไ้ ด้เฉดสีอ่อนและเปน็ สนี า้ ตาลทีเ่ ขม้ ขึน
ตามแต่ละชนดิ ของสารชว่ ยยอ้ มตา่ ง ๆ

มะม่วงหาว มะม่วงหาว สามารถเติบโตตามธรรมชาติได้
มะมว่ งหาว มะนาวโห่ หรอื ด้วยวิธีเพาะเมล็ด แต่ปัจจุบันนิยมปลูกกันมาก
มะมว่ งไมร่ ้หู าว มะนาวไมร่ โู้ ห่ เน่ืองจากแทบทุกส่วนของต้นมีคุณประโยชน์มากมาย
ตังแต่ราก ล้าต้น เนือไม้ ใบ เปลือก ยาง และผล
เป็นไม้ต้นทรงพุ่มขนาดกลาง สูง 1-5 เมตร อีกทังยังสามารถน้ามาปลูกเป็นไม้ประดับได้อีกด้วย
ซ่ึงสามารถสูงได้ถึง 10 เมตร เปลือกล้าต้นสีน้าตาล เช่น ผลอ่อนสามารถน้าไปดองหรือแช่อิ่มรับประทาน
มีหนามแหลมท่ัวล้าต้น ก่ิงก้านก็มีหนาวแหลมด้วย ได้ ผลสุกถึงแก่สามารถน้าไปท้าเป็นน้าผลไม้ด่ืม
เช่นกัน ใบเด่ียวสีเขียวปลายโค้งมน ทรงรีรูปไข่ยาว ดบั กระหาย อกี ทังยังมฤี ทธใิ์ นการต้านอนมุ ูลอสิ ระได้ดี
ประมาณ 2 นิว ขอบใบเรียบ เห็นเส้นใบสีเขียวอ่อน เสริมสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรง วิตามินซีสูง
ชัดเจนออกดอกเป็นช่อก้านดอกเป็นสีขาวอมชมพู สามารถช่วยกระตุ้นการหล่ังของน้าลายท้าให้อยาก
กลีบดอกเป็นสีขาวมี 5 กลีบ ปลายกลีบดอกแหลม อาหารหรือทานอาหารได้มากขึน น้ายางสามารถ
มีกลิ่นหอม ผลทรงกลมค่อนไปทางรี รูปไข่ ขนาดผล สมานแผล รักษาหูด ตาปลา เป็นต้น ปัจจุบันมีการ
ประมาณ 1 นิว ผลอ่อนมีสีขาวอมแดงมีลักษณะแข็ง ขยายพันธดุ์ ว้ ยการตอนกงิ่ การเสยี บกิ่ง หรือการปกั ช้า
กรอบ มีรสเปรียว มียาง (ฝั่งที่โดนแดดมักเป็นสีแดง)
แล้วคอ่ ยเปล่ียนสีเม่อื เร่ิมแกจ่ ะเป็นสีส้มแดงอมม่วงผล เพื่ อ ให้ ไ ด้ ต้ น ต อ ท่ี ให ญ่
เริ่มน่ิม และผลสุกจัดจะมีสีม่วงออกไปทางด้ามีรส สามารถน้าไปปลูกแล้ว
เปรียวอมหวาน เจริญเติบโตได้เร็ว และ
ใหผ้ ลเร็วเช่นกนั

ภาพท่ี 41 ต้นมะม่วงหาวอายุ
เกือบ 20 ปี ทรงพุ่มขนาดใหญ่
สูงประมาณ 4-5 เมตร ออก
ดอก ผล ตลอดปี

ภาพท่ี 42 ดอกมะมว่ งหาว
ชชู อ่ ดอกบานสะพร่งั เต็มต้น

ภาพท่ี 43 ออกดอก ผล ตลอดปี ผลแกจ่ ะมีสีแดงม่วงออกไปทางดา้ มีน้าขา้ งในสแี ดงคล้ายเลอื ด ผลออ่ นจะมีสขี าวแกมแดง กรอบ
มีรสเปรยี ว มียางฝาดมาก

ภาพท่ี 44 “มะนาวโห่” คดิ มาตลอดวา่ มะมว่ งหาว และมะนาวโห่ เป็นต้นไม้ชนดิ หน่งึ ท่ีชอ่ื ยาว แต่จริง ๆ แล้วเปน็ คนละตน้ มะนาวโห่ เปน็ ต้นไมอ้ กี
ชนิดหนึง่ ทีม่ ีลักษณะคลา้ ยกันกับมะมว่ งหาว แตอ่ อกจะเล็กกวา่ ทังลกั ษณะใบและผล ใบมีทรงรีปลายมนหยกั เข้า ผลจะออกเปน็ สีสม้ และแดงเม่อื สดุ

ขนั ตอนการสกัดสีจากลกู มะมว่ งหาว
1. ยอ้ มรอ้ น : ใช้ผลสุกสแี ดงม่วงมาแชน่ า้ ตม้ สกดั น้าสี นา้ เสน้ ใยไหมและเส้นใยฝ้ายลงตม้ ยอ้ ม 1 ชัว่ โมง

2. ยอ้ มเย็น : ใช้ผลสุกสีแดงมว่ งมาขยา้ ให้นา้ ของลูกมะม่วงหาวออกมา กรองแยกเอาเฉพาะนา้ มาใช้ยอ้ มสี
น้าเส้นใยไหมลงแชใ่ นนา้ ทส่ี กดั ได้ โดยขยา้ เสน้ ใยใหส้ ตี ิดทว่ั ๆ กนั แช่ทงิ ไว้ 45-60 นาที

3. ผลการย้อมสี ทังย้อมร้อน และย้อมเย็น

ยอ้ มรอ้ น ยอ้ มเยน็

ภาพที่ 45 ได้โทนสชี มพู-มว่ ง เมื่อนา้ ไปแชส่ ารชว่ ยติดสี บางชนิดไม่จบั สี เมอ่ื น้าไปล้าง
ท้าให้สีหลุดออกมา บางชนิดเปลี่ยนสีกลายเป็นอีกโทนสีหนึ่ง เฉดสีที่ได้จะเปลี่ยนไป
ตามแต่สารช่วยตดิ สีแต่ละชนดิ สที ี่ได้จากการย้อมร้อน และย้อมเย็น ให้สใี กล้เคยี งกัน

ดาวเรอื ง
ดาวเรือง เป็นไม้ล้มลุก อายุประมาณ 1 เดือนถึงเดือนครึ่งหลังออกดอกบานสะพร่ัง ล้าต้นตังตรงความสูง
ประมาณ 30-50 เซนติเมตร ล้าต้นเป็นสีเขียวข้างในโปรง่ เม่ือขย้าหรอื เพียงขยีท่ีกา้ นใบจะมกี ล่นิ เหม็น ทา้ ให้ไม่คอ่ ยมี
โรคและแมลงมารบกวน
ใบ มีลักษณะเป็นใบเล็กเรียงตัวตรงกันข้ามคู่กันจากโคนก้านขึนไป ปลายสุดท้ายเป็นคี่ เป็นทรงรีปลายใบ
แหลม รอบใบมรี อยหยกั ใบยาวสดุ ประมาณ 8-10 เซนตเิ มตร
ตัวดอก เป็นดอกเดี่ยว สีเหลืองสด บางชนิดเป็น
สีเหลืองปนส้ม มีกลีบดอกเรียงเป็นชัน ๆ ซ้อนกันเป็น
ว ง ก ล ม ขึ น ไป ข น า ด ด อ ก ป ร ะ ม า ณ ก้ า มื อ ห รื อ
เส้นผา่ ศนู ย์กลางท่ี 10 เซนตเิ มตร

ภาพท่ี 46 ดาวเรืองกลีบซ้อนเป็นชัน ๆ เรียงตัวกันเป็นวงกลม เมื่อแรก
ออกมาเป็นดอกตูมค่อย ๆ แตกกลีบออกมาคล้ายรัศมีจากชันนอกสุดไล่
เรียงผลบิ านจนเปน็ ชอ่ ดอกกลมสวยงาม

ขนั ตอนการสกดั สจี ากดอกดาวเรอื ง

น้าดอกดาวเรืองมาเด็ดเอาเฉพาะกลีบดอกสีเหลือง เด็ดขัวดอกสีเขียวทิง การสกัดสีดอกดาวเรืองครังนี
ทดลองท้าด้วยกัน 2 วิธี 1) แช่น้าก่อนน้าไปต้มสกัดน้าสี 45 นาที ถึง 1 ชั่วโมง และ 2) น้าดอกดาวเรืองที่เด็ดขัวออก
แล้วไปน่ึงให้กลับดอกชุ่มน้าก่อนน้ามาต้มเพ่ือสกัดน้าสีเช่นเดียวกัน ซึ่งทังสองวิธีให้ค่าความเข้มของสีที่ไม่แตกต่างกัน
มากนัก

ภาพท่ี 47 ผา้ ลนิ ินมัดย้อมสดี อกดาวเรอื ง ไดส้ ี
เหลืองอ่อน น้าไปแช่สารช่วยติดสี สารส้ม
โคลน ปูนแดง และน้าด่างขีเถ้า เฉดสีท่ีได้จะ
เปลี่ยนไปจากเดิม เฉดสีที่สวยท่ีสุดคือสีท่ีได้
จากการใช้สารส้ม ได้เป็นสีเหลืองสด สว่าง
ขึนจากสีเหลืองเดิม และเฉดสีท่ีเปล่ียนไป
อย่างเห็นได้ชัดคือผืนที่แช่สารช่วยย้อมปูน
แดง เปล่ยี นจากสีเหลอื งกลายเป็นสนี ้าตาลอฐิ
ส่วนน้าด่างจากขีเถ้าเม่ือแช่สารช่วยติดสีแทบ
ไม่แตกต่างจากผนื ผา้ ของเดมิ มากนัก


Click to View FlipBook Version