The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เนื้อหาในที่นี้ ประเด็นหลักคือเรื่องของนิวรณ์ และอุบายวิธีในการระงับซึ่งนิวรณ์ ในขณะเดียวกันก็ชี้ให้เห็นถึงเป้าหมายขั้นต้นในฐานะชาวพุทธพึงเข้าให้ถึงซึ่งความเป็นพระโสดาบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DrSomchaiV, 2021-11-19 23:41:24

สมาธิเพื่อพลังแห่งชีวิต

เนื้อหาในที่นี้ ประเด็นหลักคือเรื่องของนิวรณ์ และอุบายวิธีในการระงับซึ่งนิวรณ์ ในขณะเดียวกันก็ชี้ให้เห็นถึงเป้าหมายขั้นต้นในฐานะชาวพุทธพึงเข้าให้ถึงซึ่งความเป็นพระโสดาบัน

Keywords: สติ,พลัง,นิวรณ์,โสดาบัน,ชีวิต

คำนำ

“สมาธิเพ่ือพลังแห่งชีวิต” เป็ นหัวขอ้ ที่ใช้บรรยาย ณ ธรรมสถาน สานัก
บริหารศลิ ปวฒั นธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั นบั เป็นเวลาโดยประมาณ 10 กว่า
ปี ถือว่าเป็ นประสบการณ์ที่ช่วยให้เกิดการพฒั นาอย่างตอ่ เน่ืองในการนาเสนอท้งั
ในด้านเน้ือหาและรูปแบบการบรรยายในท่ามกลางการมีปฏิสัมพนั ธ์แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ซ่ึงกันและกนั กบั ผูฟ้ ังท่ีหลากหลาย ทาให้เกิดความคิดที่จะถอดเสียงบนั ทกึ
การบรรยายในวนั ที่ 15 กรกฎาคม 2564 ออกมาเป็ นลายลกั ษณ์อักษร เพื่อเป็ น
หนังสือเล่มน้อย โดยทาการปรบั แตง่ เรียบเรียงใหม่ ซ่ึงก็จะเป็นอีกหน่ึงรูปแบบใน
การนาเสนอเน้ือหา ที่จะช่วยใหส้ ามารถหยิบนามาอ่านไดอ้ ย่างสะดวกในทกุ ท่ที ุก
เวลาที่มีโอกาสพร้อมต่อการใช้ความคดิ พิจารณาวิเคราะห์แยกแยะและทบทวนได้
อยา่ งเหมาะสมรอบดา้ นมากยงิ่ ข้ึน

สาหรับเน้ือหาในทน่ี ้ี ประเด็นหลกั คอื เร่ืองของนิวรณ์ และอุบายวิธีในการ
ระงบั ซ่ึงนิวรณ์ ในขณะเดียวกนั ก็ช้ีให้เห็นถึงเป้าหมายข้นั ตน้ ในฐานะชาวพุทธพึง
เขา้ ใหถ้ งึ ซ่ึงความเป็นพระโสดาบนั ก็หวงั วา่ จะช่วยจุดประกายความคดิ เปิ ดมมุ มอง
อย่างกว้างๆ พอเป็ นแนวทางให้นาไปศึกษาค้นคว้าต่อยอดให้รอบด้านมาก
ยิ่งๆข้ึนไป พร้อมท้งั นาไปปรับใช้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้การปฏิบตั ิธรรมมคี วาม
เจริญกา้ วหนา้ ตามลาดับ ส่วนจะไดม้ ากไดน้ อ้ ยก็ให้เป็ นธมั มานุธัมมปฏิบตั ิ ดว้ ย
ความเป็นเหตุเป็นผลท่ีสอดคลอ้ งตอ้ งกนั แลว้ ดว้ ยธรรมของแต่ละทา่ นเถิด

สมชยั วิเศษมงคลชยั
16 พฤศจกิ ายน 2564

สำรบัญ หน้ำ

กจิ กรรมพ้ืนฐานท่ีไม่อาจละเลย 2
พระโสดาบนั คือเป้าหมายข้นั ตน้ ท่พี งึ เขา้ ให้ถงึ 7
ปัญญาช้ีนาอบรมสมาธิ สมาธิหนุนส่งอบรมปัญญา 13
นิวรณ์ อกุศลธรรมท่ีพงึ ละ 17
กามฉนั ทะ น้าทถ่ี กู ยอ้ มดว้ ยสี 18
พยาบาท น้าทกี่ าลงั เดอื ด 19
ถนี มิทธะ น้าทมี่ ีจอกแหนปกคลุม 23
อทุ ธจั จะกกุ กจุ จะ น้าท่เี ป็นคลนื่ ซัดสาด 30
วิจกิ ิจฉา น้าท่ีมเี ปื อกตม 35
หลุดพน้ แลว้ เพราะรูโ้ ดยชอบ นิวรณ์ 5 ละไดแ้ ลว้ 38
สรุป 41

คาว่า ”สมาธิ” น้ีเป็ นคาซ่ึงโดยทว่ั ไปก็คงจะเคยไดย้ ินไดฟ้ ังมาพอสมควร
โดยเฉพาะนกั เรียนนิสิตนกั ศกึ ษาก็มกั จะไดย้ ินไดฟ้ ังมาว่าสมาธิจะช่วยในเร่ืองของ
การเรียน ชว่ ยในเรื่องของความจาและทาให้เราสามารถทจี่ ะรวมศนู ยค์ วามคดิ ใหอ้ ยู่
ในเรื่องใดเรื่องหน่ึงที่กาลงั สนใจอยู่ ไม่ให้วอกแวกไปในเร่ืองอื่นๆ ซ่ึงคากล่าวน้ี
โดยทวั่ ไปก็เป็นเรื่องท่ถี ูกตอ้ งตรงตอ่ ความเป็นจริง

1

ทาไม? จึงยกเรื่อง ”สมาธิเพื่อพลงั แห่งชีวิต” มาเป็ นประเด็นในการพูดคยุ
กัน ก็เพราะมองเห็นว่าชีวิตที่ไม่มีความต้งั มั่น ชีวิตท่ีไม่มีความสงบ ชีวิตที่ไม่มี
อาหารหลอ่ เล้ียงทางจติ ใจแลว้ จะเป็นชีวิตทไ่ี มม่ ชี ีวิตชีวา จะเป็นชีวติ ท่ไี ม่สามารถ
จะทาหนา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างเป็นปกติสุข

ก่อนอื่นตอ้ งเขา้ ใจคาวา่ ”ชีวิต” ชีวิตคือ ขนั ธ์ 5 เป็ นส่วนประกอบ 5 อย่าง
ท่ีมาประชุมรวมกัน คือ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรื อชีวิต
ประกอบด้วยกายและจิต หรือก็อาจจะเคยได้ยินว่าชีวิตส่วนกาย ชีวิตส่วนจิต จิต
และกายมีความสมั พนั ธ์กนั จติ เป็นนาย กายเป็นบ่าว จติ คดิ จงึ สงั่ กายใหพ้ ดู จติ คิดจงึ
ส่ังกายให้กระทา ให้กายออกไปทาหนา้ ท่ตี ่างๆท้งั ต่อตนเอง ครอบครัว ญาติพ่นี อ้ ง
มิตรสหาย เพ่ือนร่วมงาน เพื่อนร่วมสังคม เพ่ือนร่วมโลก และต่อสิ่งแวดลอ้ มทีเ่ รา
ท่านท้งั หลายไดอ้ ิงอาศยั คอื โลกใบเดยี วกนั น้ีเอง

กจิ กรรมพนื้ ฐำนทไี่ ม่อำจละเลย

ชีวิตส่วนกายเป็ นเรื่องท่ีรู้จกั คุน้ เคยกันดีในแง่มุมต่างๆ แต่ในท่ีน้ีจะขอยก
กิจกรรมพ้ืนฐานท่ีทุกชีวิตลว้ นตอ้ งทาเป็ นกจิ วตั รประจาวนั เพื่อความเป็ นอยู่อยา่ ง
ปกติ ซ่ึงกเ็ ป็นเร่ืองพ้ืนๆธรรมดาๆท่ีทราบกนั ดีอยู่แลว้ ในทนี่ ้ีก็คิดเสียว่ามาทบทวน
กนั เพอื่ ให้เกิดความตระหนกั รู้ร่วมกนั และเตมิ เตม็ ซ่ึงกนั และกนั

ในแง่ที่ 1 ชีวติ ส่วนกาย หากปลอ่ ยใหร้ ่างกายหิว ไมร่ ับประทานอาหารและ
เครื่ องด่ืม ชีวิตส่วนกายก็จะไม่มีพลัง ซ่ึงก็เป็ นเรื่ องที่ทุกท่านทราบกันดี
เพราะฉะน้นั ชีวิตส่วนกายจึงตอ้ งการสิ่งทีม่ าหลอ่ เล้ียงอวยั วะนอ้ ยใหญท่ าให้ระบบ
อวยั วะต่างๆทางานไดอ้ ยา่ งเป็นปกติ เพ่ือใหร้ ่างกายดารงอยไู่ ดแ้ ละพฒั นาได้

2

ขอ้ ที่ 2 ชีวิตส่วนกาย จะตอ้ งมีการบริหารร่างกาย หากตอ้ งการให้ร่างกาย
แข็งแรงก็ตอ้ งออกกาลงั กาย ยดื เสน้ ยดื สาย ยืน เดนิ นง่ั นอน คู้ เหยยี ด หรือจะไปวง่ิ

หรือจะไปออกกาลงั กายในรูปแบบท่หี ลากหลายตา่ งๆ โดยอาจจะตอ้ งอาศยั อปุ กรณ์
เครื่องมอื ดว้ ยก็ได้ กแ็ ลว้ แต่ๆละท่าน เพราะเมือ่ บริหารร่างกาย ร่างกายก็จะแข็งแรง
โดยเฉพาะบางทา่ นทตี่ อ้ งการเพาะกลา้ มเน้ือส่วนใดให้ใหญ่และแขง็ แรงก็จะพุ่งเป้า
ไปสู่กลา้ มเน้ือส่วนน้นั ๆ เชน่ ในส่วนของกลา้ มเน้ือบริเวณแขนหรือขา และทกุ วนั น้ี
ก็มีการพูดกันมากถึงเร่ืองทาให้หุ่นดีหุ่นสวย โดยเฉพาะอย่างย่ิงพวกที่เพาะกาย
ตอ้ งการซิกซ์แพค็ (Six pack) ทาใหก้ ลา้ มเน้ือบริเวณหนา้ ทอ้ งข้ึนเป็นลอน เร่ืองน้ีก็
ชัดเจนที่สุดแลว้ ว่า ชีวิตส่วนกายเม่ือตอ้ งการที่จะทาให้ร่างกายแข็งแรงก็จะตอ้ งมี
การออกกาลงั กาย มีการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เกิดการหมุนเวยี นของระบบตา่ งๆ
นนั่ เอง

3

ขอ้ ที่ 3 เราใชร้ ่างกายใหท้ างานต่างๆมาท้งั วนั กเ็ กดิ อาการออ่ นลา้ ไมส่ ดช่ืน
จึงตอ้ งมีการอาบน้าชาระร่างกายให้สดชื่นผ่องใส ชะลา้ งคราบไคลตา่ งๆออกไป ทา
ให้ร่างกายน้นั มีขบวนการที่เรียกวา่ รีเฟรช (Refresh) การทาให้สดช่ืนข้นึ มาใหม่ ก็
คอื มีการฟ้ื นตวั กลบั มาสดชื่นกระปร้ีกระเปร่า มีความผอ่ งใสทางร่างกายข้ึนมาใหม่
เพอ่ื ใหพ้ ร้อมตอ่ การทาหนา้ ท่ีตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งเป็นปกติ

ขอ้ ที่ 4 ต่อมา ส่ิงที่ขาดไม่ได้ก็คือในเรื่องของการพักผ่อนนอนหลบั ถา้
ร่างกายไม่มีการพกั ผอ่ นนอนหลบั กจ็ ะอ่อนเพลยี อ่อนลา้ การนอนหลบั กเ็ หมือนกบั
การเตมิ พลงั ทเี่ รียกว่า รีพาวเวอร์ริ่ง (Repowering) กค็ อื การฟ้ื นพลงั ทางร่างกาย หาก
ร่างกายอ่อนเพลีย ก็จะหมดเรี่ยวหมดแรงท่ีจะทาหน้าที่ต่างๆได้ แต่พอไดห้ ลบั ตา
งบี สกั พกั หน่ึงประมาณสัก 10 หรือ 15 นาทีกจ็ ะทาให้รู้สึกสดช่ืนข้นึ มาไดท้ นั ที ตรง
น้ีคอื ส่ิงทเี่ รียกว่าร่างกายไดฟ้ ้ื นตวั ในทา่ มกลางการพกั ผอ่ น

เรื่องของการนอนหลบั มีประเด็นที่จะตอ้ งคุยกันอีกมาก หลบั แลว้ ทาไม?
ยงั รู้สึกอ่อนเพลีย ทาไม? ยงั รู้สึกว่าไม่สดช่ืนเมื่อตื่นข้นึ มา ซ่ึงประเดน็ ตรงน้ีก็คือว่า
หลบั น้นั หลบั จริงไหม? หลบั ลกึ ไหม? หลบั โดยท่ไี มม่ ีจิตที่ฟ้งุ ซ่านวิตกกงั วลไหม?
ซ่ึงตรงน้ีถา้ หลบั จริง หลบั ลึกจะทาให้มีความรู้สึกสดชื่นผอ่ งใสข้นึ มาในขณะที่ต่นื
ข้ึนมา แต่ถา้ หลบั โดยมีความรู้สึกวติ กกงั วลหรือความเครียดในท่ามกลางการหลบั
น้นั จะเป็นการหลบั ไม่สนิท ซ่ึงก็จะเกดิ ความฝันอะไรตา่ งๆมากมาย ทาใหก้ ารนอน
หลบั น้นั ไม่ไดห้ ลบั อย่างจริงอย่างสนิท เร่ืองน้ีเป็นอกี หน่ึงประเดน็ ท่ีคนบางคนเมื่อ
เวลาตอ้ งการที่จะหลบั ก็มกั จะไมค่ ่อยหลบั และอาจจะตอ้ งไปใชย้ าคลายเครียดหรือ
ยานอนหลบั ซ่ึงตรงน้ีก็ไม่ไดป้ ฏิเสธในเรื่องของการใชย้ า หากการใชย้ าน้นั เป็ นไป

4

อยา่ งถกู หลกั วิชาการ แต่ดีทส่ี ุดคือไม่ตอ้ งใชย้ า เพราะยาก็คอื สารเคมชี นิดหน่ึง มีท้งั
คุณและโทษ มผี ลขา้ งเคยี งและก็มโี อกาสตดิ ได้

จะเห็นได้ว่าแมแ้ ต่เร่ืองของการพกั ผ่อนนอนหลับทางชีวิตส่วนกายก็ยงั
เก่ียวขอ้ งกบั เรื่องของชีวติ ส่วนจิต จิตมาเก่ียวขอ้ งกบั กายในลกั ษณะอย่างไร? ที่จะ
ทาใหก้ ายสามารถพกั ผ่อนไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี จึงเป็นเร่ืองท่ีควรค่าอย่างย่ิงที่จะตอ้ งเรียนรู้

เขา้ ใจชีวิตส่วนจิตใหด้ ี เพราะจติ กบั กายมคี วามสัมพนั ธก์ นั อยา่ งมนี ยั ยะสาคญั โดยมี
อทิ ธิพลส่งผลถึงกนั และกนั ท้งั ในแง่คณุ และโทษได้

ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ น้ัน จะเห็นว่า 4 กิจกรรมก็คือ เรื่องของการรับประทาน
อาหารและเคร่ืองดืม่ การออกกาลงั กายหรือบริหารร่างกาย การอาบน้าชาระร่างกาย
และเร่ืองของการพกั ผ่อนนอนหลบั 4 กิจกรรมน้ีทกุ ท่านรู้จกั ดวี า่ เป็น 4 กิจกรรมท่ี
เป็นกิจวตั รประจาวนั ท่ตี อ้ งทาใหก้ บั ชีวิตส่วนกาย ซ่ึงเป็นเรื่องพ้นื ฐานปกติของชีวิต
ส่วนกายของคนปกตทิ วั่ ๆไปกจ็ ะตอ้ งเป็นเช่นน้ี

5

แต่ชีวิตส่วนจิต หลายท่านอาจจะไม่เขา้ ใจหรือหลายท่านมิเพียงไม่เขา้ ใจ
แต่ลืมไปเลยว่าจริงๆแลว้ ยงั มีชีวิตส่วนจิตอยู่ แตเ่ น่ืองจากไมม่ ีความรูค้ วามเขา้ ใจใน
เร่ื องของธรรมชาติของชีวิตอย่างดีพอ ซ่ึงตรงน้ีหลักของพุทธธรรมใน
พระพุทธศาสนาได้กล่าวและมีเน้ือหาสาระที่ครอบคลุมท้งั ชีวิตส่วนกายและชีวิต
ส่วนจิต มีการช้ีแนะ แนะนาเป็ นหลกั การประพฤติปฏิบตั ิว่า ทาอย่างไร? ให้ชีวิตมี
ความสุขในทุกมติ ิ ท้งั มติ ิของชีวติ ส่วนกายและมิติของชีวิตส่วนจิตท่กี าลงั เผชิญอยู่
ในท่ามกลางความเป็ นไปของโลกและชีวิตน้ี

ซ่ึงไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม หากเรามีความรู้ความเขา้ ใจที่ดีพอท้งั ชีวิตส่วน
กายและชีวิตส่วนจิต อย่างน้อยที่สุดในเรื่องพ้ืนฐานของธรรมชาติส่วนกายและ
ธรรมชาติส่วนจิตแลว้ ไซร้ ก็จะทาใหก้ ารดาเนินชีวิตเป็นไปอยา่ งปกติ และถา้ เขา้ ใจ
มากย่ิงข้ึน มเิ พยี งดาเนินชีวติ ไปอยา่ งเป็นปกตเิ ทา่ น้นั แต่ยงั สามารถทีจ่ ะพฒั นาชีวิต
ในแง่มุมของภูมิจิตภูมิธรรมภมู ิปัญญาไดอ้ ีกด้วย ทาให้สามารถใช้ชีวิตของตวั เอง
อยา่ งมีความสุขในทา่ มกลางการทาหนา้ ท่ีไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ตอ่ ตวั เอง ครอบครัว ญาติ
พ่ีน้อง มิตรสหาย เพ่ือนร่วมงานในสถานที่ทางาน ผูค้ นในสังคม และส่ิงแวดลอ้ ม
ตลอดถึงความเป็ นไปของโลกท่ีชื่อวา่ บา้ นของสรรพชีวิตท้งั มวล โดยทาหน้าทไี่ ด้
อย่างถกู ตอ้ งตรงตอ่ ความเป็นจริง ทาใหเ้ กดิ คณุ มากกวา่ โทษหรือหากเป็นไปได้ ไม่
มโี ทษเลย ซ่ึงเป็นเป้าหมายท่พี ึงประสงคร์ ่วมกนั ของสงั คม

ทาอย่างไร? ที่จะใช้ชีวิตในท่ามกลางความเป็ นไปของโลกแลว้ มีความสุข
เป็ นปกติ ในขณะเดียวกันกส็ ามารถที่จะเกี่ยวขอ้ งกบั เหตุการณ์เร่ืองราว ผูค้ นและ
สรรพส่ิงต่างๆได้อย่างถูกตอ้ ง ถา้ ทาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งก็จะเกิดความสัมพนั ธ์ในเชิง
เก้ือกูล ในเชิงที่เป็ นประโยชน์ ในขณะเดียวกันตวั เราเองก็ได้พฒั นาความรู้ ความ

6

เขา้ ใจ ความสานึกและพฒั นาภูมิจิตภมู ิธรรมภูมิปัญญาให้เขา้ ถึงความเป็ นจริงของ
ชีวิตและโลกได้ ซ่ึงยงั ประโยชนต์ นและยงั ประโยชน์ผูอ้ ่ืนได้ หากทาไดเ้ ชน่ น้ีกถ็ ือ
ว่าใช้ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าที่จะทาไดใ้ นฐานะของความ
เป็นมนุษยค์ นหน่ึงที่อยู่ร่วมโลกเดียวกนั

พระโสดำบนั คือเป้ำหมำยข้นั ต้นทพ่ี ึงเข้ำให้ถึง
บุคคลที่ยงั ประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านได้ และเป็ นบุคคลอันเป็ น
แบบอย่างในทางพระพุทธศาสนา บุคคลเช่นน้ีคือใคร? คือพระอริยบุคคลนน่ั เอง
นบั จากพระโสดาบนั บุคคลเป็ นตน้ ไป พระสกิทาคามี พระอนาคามี และสูงสุดคอื
พระอรหันต์ ซ่ึงตรงน้ีพระอรหันตค์ อื บคุ คลที่ทาประโยชนเ์ ก้ือกลู ต่อสรรพชีวติ ตอ่
โลกโดยถา่ ยเดยี ว เพราะพระอรหันต์ไดท้ ากจิ ที่พงึ ทาแลว้ กิจอื่นทีย่ ่งิ กว่าไม่มี กจิ ที่
ท่านไดท้ าเสร็จแลว้ คอื กิจท่ีมีตอ่ ตนเอง จึงไม่มอี ะไรทจ่ี ะตอ้ งเป็นความยดึ มนั่ ถือมนั่
ใดๆในโลกอีกต่อไป จบสิ้นแลว้ ซ่ึงความเห็นแก่ตวั ใดๆ โลภโกรธหลงไม่มีแลว้

7

ชีวิตของท่านจึงเป็ นชีวิตที่ยงั ประโยชน์สงเคราะห์โลกสงเคราะห์สรรพสัตว์แต่
ถ่ายเดียว เพราะกจิ ของทา่ นไดเ้ สร็จสิ้นแลว้

แต่จุดเร่ิมตน้ ของความเป็ นพระอริยบุคคลคือพระโสดาบนั ซ่ึงคือบุคคลที่
อย่างนอ้ ยที่สุดแมก้ จิ ของตวั เองยงั ไม่บรรลุเป้าหมายสูงสุดทางพระพทุ ธศาสนาคอื
ความเป็นพระอรหันตน์ ้นั แลว้ ไซรก้ จ็ ริง แตว่ า่ พระโสดาบนั บคุ คลเป็นผทู้ ี่มคี วามรูม้ ี
ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ชีวิตส่วนจิตและกายไดอ้ ย่างชดั เจนแลว้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ใน
เรื่องชีวติ ส่วนกายมคี วามรูม้ คี วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั เร่ืองของธรรมอนั เป็นฝ่ายรูปธรรม
หรือธรรมอันเป็ นฝ่ ายวตั ถุธรรมท้งั ภายในและภายนอก รู้คุณค่าความหมายตาม
ความเป็นจริง มีมรณานุสติเป็นปกตแิ ละไม่มคี วามลงั เลสงสยั ในเรื่องของชีวิตและ
โลก ไม่มีความลังเลสงสัยในเรื่องของกฎแห่งกรรม คือพูดง่ายๆว่าท่านเห็น
เป้าหมายของชีวิตอย่างชัดเจน ดว้ ยเหตุท่ีพระโสดาบนั บุคคลคือผูท้ ่ีเขา้ ถึงกระแส
พระนิพพานแลว้ เพราะฉะน้นั คติหรือหนทางทจ่ี ะไปของท่านน้นั พุง่ เป้าไปสู่มรรค
ผลนิพพาน สูงสุดคือความเป็ นพระอรหนั ตน์ น่ั เอง ไม่มีตกต่าลงสู่อบายภูมิอกี แลว้
จึงกล่าววา่ ชีวติ ของพระโสดาบนั จึงเป็นชีวิตที่ปิ ดอบายภมู ทิ ้งั หมด เพราะท่านมศี ีล
สมบรู ณพ์ รอ้ มดว้ ยความรูค้ วามเขา้ ใจในการเกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลและสรรพสัตวอ์ ย่าง
ถูกตอ้ งดว้ ยกายและวาจานนั่ เอง ก็ดว้ ยว่า ท่านละสักกายทิฏฐิ ละวิจิกิจฉา และละ
สีลพั พตปรามาส ไดน้ นั่ เอง

ซ่ึงก็หมายความว่า ความเป็ นพระโสดาบนั บคุ คลย่อมเป็ นหลกั ประกนั วา่
ท่านไม่หลงไปในความเช่ือท่ีเป็ นลกั ษณะท่ีเรียกว่ามิจฉาทิฏฐิ ท่านไม่หลงใน
รูปแบบประเพณีในกรอบของวถิ ีวฒั นธรรมที่เป็นไปในลกั ษณะเพอื่ การให้ร้ายทา
ร้ายหรือเบียดเบียนใคร หมายความว่าชีวิตของท่านมีหลักประกันและเป็ น

8

หลกั ประกนั ว่าไมก่ า้ วลว่ ง ไม่ล่วงละเมิดซ่ึงศีล 5 แลว้ คือการให้รา้ ยทารา้ ยหรือการ
เข่นฆ่าสัตว์ การไม่ลกั ขโมยแมส้ ิ่งของเพียงเล็กนอ้ ย การท่ีไม่กระทาผิดต่อลูกเมยี
ใคร การไม่พูดจาโกหกมดเท็จ และการที่ไม่ยึดติดไม่มวั เมาในส่ิงเสพติดมึนเมา
ท้งั หลายท่ีกอ่ ให้เกดิ ความประมาทในชีวติ และทรพั ยส์ ิน ท่านไมม่ แี ลว้ ตรงน้ีคอื ศลี
ของท่านน้นั สมบูรณเ์ ป็นปกตขิ องคณุ สมบตั ขิ องความเป็นพระโสดาบนั

การที่นาเรื่องน้ีมากล่าว ก็เพราะว่ามีความเก่ียวขอ้ งกับเร่ืองของสมาธิ มี
ความสัมพนั ธเ์ กีย่ วขอ้ งกบั เรื่องของการพฒั นาจิต ทเ่ี รียกว่าพฒั นาก็คือภาวนา คอื ทา
ให้เจริญยิ่งๆข้ึนในทางจิตท้งั ดา้ นสมาธิและปัญญา แต่กายกับจิตมีความเกี่ยวเน่ือง
สัมพนั ธ์กนั อยู่ ซ่ึงเป็ นเรื่องที่ทุกทา่ นเขา้ ใจดีอย่แู ลว้ ในระดบั ใดในระดบั หน่ึง แต่ท่ี
กล่าวถงึ ตรงน้ีกเ็ พื่อให้เห็นภาพโดยกวา้ งๆว่า จากธรรมๆหน่ึง องคธ์ รรมๆหน่ึง พ่งุ
เป้าไปสู่การพฒั นา ไปสู่สภาวธรรมและกา้ วเขา้ ไปสู่คุณภาพที่สูงยิ่งๆข้ึน จนถึง
ความเป็ นพระอริ ยบุคคล เพราะฉะน้ันต้องอย่าลืมว่าเป้าหมายสูงสุดของ
พระพุทธศาสนากค็ อื มรรคผลนิพพาน ถา้ กลา่ วโดยสมมตบิ ญั ญตั ใิ นความเป็น

9

บุคคลก็คอื ตอ้ งพฒั นาตนให้เขา้ ถึงความเป็นพระอริยบุคคล ซ่ึงการเขา้ ถึงในความ
เป็นพระโสดาบนั บุคคล คอื ผเู้ ขา้ ถงึ กระแสพระนิพพาน จงึ นบั เป็นข้นั ตอนของชีวติ
เบ้ืองตน้ ที่ชาวพุทธพึงต้งั เป้าหมายไวว้ ่า แมจ้ ะไมไ่ ดเ้ ขา้ ถงึ ความเป็นบุคคลสูงสุดคือ
พระอรหันต์ แต่อย่างนอ้ ยท่ีสุด ทาอย่างไร? ให้กา้ วเขา้ สู่ความเป็ นพระโสดาบนั
บุคคลใหไ้ ดใ้ นเบ้ืองตน้ น้ี ก็ดว้ ยเหตผุ ลดงั ตอ่ ไปน้ีคอื

1.ความเป็ นพระโสดาบนั บุคคลน้ันปิ ดอบายภูมิท้งั หมด คือไม่มีตกต่าไป
จากภูมิของมนุษย์ มีแต่สูงข้ึน นบั จากภูมิมนุษยข์ ้ึนไปเป็ นเทพไปเป็ นพรหม ไม่มี
ตกต่าจากความเป็ นมนุษยก์ ็คือ ความเป็ นเดรัจฉาน เปรต อสุรกาย และสัตวน์ รก
พระโสดาบนั จึงเป็ นชีวิตท่ีมีหลกั ประกนั แลว้ ว่าไม่ตกต่า และน่ีก็คือหลกั ประกัน
พ้ืนฐานทเ่ี ขา้ ถึงไดด้ ว้ ยการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในศลี สมาธิ และปัญญา นนั่ เอง

2.พระโสดาบันมีแต่การพัฒนาก้าวหน้ามากยิ่งๆข้ึน เป็ นชีวิตที่ทา
ประโยชน์เก้อื กลู ต่อตนเองแลว้ ยงั ประโยชน์เก้อื กูลตอ่ ผอู้ ืน่ ไดด้ ว้ ย เป็นลาดบั ๆ และ

10

อย่างมากที่สุด จกั เกิดอีกไม่เกิน 7 ชาติ จนกระทง่ั พฒั นาจิตถึงจุดสูงสุดคือ จบกิจ
เขา้ ถึงความพน้ ทุกข์ ภพชาติส้ินแลว้ จึงยงั ประโยชนเ์ ก้อื กูลต่อสรรพชีวิตและโลก
แตถ่ ่ายเดยี ว คอื ความเป็นพระอรหันต์

พระโสดาบนั มี 3 ประเภท ดว้ ยระดบั คุณภาพจติ ที่ลดหลนั่ กนั คือ 1.เอกพชี ี
เป็ นประเภทท่ีเกิดอีกคร้ังเดียว ก็จกั บรรลุอรหันต์ 2.โกลงั โกละ เป็ นประเภททเี่ กิด
ในสุคติอกี 2-3 ภพ ก็จกั บรรลุอรหนั ต์ และ 3.สตั ตกั ขตั ตุงปรมะ เป็นประเภทท่ีเวยี น
เกิดในสุคติภพอีกอย่างมากเพียง 7 คร้ัง ก็จกั บรรลุอรหันต์ ซ่ึงเร่ืองน้ีมีการกล่าวถงึ
ในพระไตรปิ ฎกเล่มท่ี 20 พระสุตตนั ตปิ ฎกเล่มที่ 12 องั คุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิ
บาต เสขสูตรที่ 4 ขอ้ ท่ี 528 โดยมีเน้ือหาดังต่อไปน้ี “ดูกรภิกษุท้งั หลาย สิกขาบท
150 ถว้ นน้ี ย่อมมาสู่อเุ ทศทุกก่งึ เดือน ซ่ึงกุลบุตรผปู้ รารถนาประโยชน์พากนั ศึกษา
อยู่ ดูกรภิกษุท้งั หลายสิกขา 3 น้ี ท่ีสิกขาบท 150 น้นั รวมอยู่ดว้ ยท้งั หมด สิกขา 3
เป็นไฉน คอื อธิศลี สิกขา 1 อธิจิตตสิกขา 1 อธิปัญญาสิกขา 1…………………..เธอ
เป็นพระเอกพีชีโสดาบนั เพราะสังโยชน์ 3 หมดสิ้นไป มาบงั เกดิ ยงั ภพมนุษยน์ ้ีคร้ัง
เดียวเท่าน้นั แลว้ จกั ทาท่สี ุดแห่งทกุ ขไ์ ด้ กห็ รือว่าเม่ือยงั ไมถ่ ึง ยงั ไม่แทงตลอดวิมตุ ติ
น้นั เธอเป็ นพระโกลงั โกละโสดาบนั เพราะสังโยชน์ 3 หมดสิ้นไป ยงั ท่องเที่ยว
ไปสู่ 2 หรือ 3 ตระกูล (ภพ) แลว้ จะทาทสี่ ุดแห่งทุกขไ์ ด้ กห็ รือวา่ เมื่อยงั ไม่ถึง ยงั ไม่
แทงตลอดวิมุตติน้นั เธอเป็ นพระสัตตกั ขตั ตุปรมโสดาบนั เพราะสังโยชน์ 3 หมด
สิ้นไป ยงั ท่องเทยี่ วไปในเทวดาและมนุษยอ์ ย่างมากเพียง 7 คร้งั แลว้ จะทาที่สุดแห่ง
ทุกข์ได้ ฯ ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภิกษุทาได้เพียงบางส่วน ย่อมให้สาเร็จได้เพียง
บางส่วน ผูท้ าให้บริบูรณ์ ย่อมให้สาเร็จได้บริบรู ณ์อยา่ งน้ีแล ดูกรภิกษทุ ้งั หลายเรา
กล่าวสิกขาบทท้งั หลายว่า ไมเ่ ป็นหมนั เลย ฯ”

11

3.พระโสดาบนั คือบุคคลท่ีไม่ยงั ความเดือดร้อนให้กบั ตนเองและบุคคล
อ่ืน ดว้ ยการที่ไม่กา้ วล่วง ล่วงละเมิดในระดบั ศีลแลว้ จึงถือไดว้ ่าเป็ นบุคคลที่ยงั
ความผาสุก สงบเยน็ และยงั ประโยชนต์ ่อสงั คมโดยส่วนรวม

ศีลของท่านเป็ น ระดับอริยกันตศีล เป็ นหน่ึงในคุณสมบัติของพระ
โสดาบนั ซ่ึงมีเน้ือหาท่ีกล่าวไว้ในพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) [194] ดงั น้ี
“โสตาปัตติยงั คะ 4 (องคค์ ณุ เครื่องบรรลโุ สดา, คุณสมบตั ทิ ที่ าให้เป็นพระโสดาบนั ,
คุณสมบตั ขิ องพระโสดาบนั )

1. ประกอบดว้ ยความเลือ่ มใสมน่ั ในพระพุทธเจา้
2. ประกอบดว้ ยความเลอ่ื มใสมน่ั ในพระธรรม
3. ประกอบดว้ ยความเล่ือมใสมน่ั ในพระสงฆ์
4. ประกอบดว้ ยอริยกนั ตศลี คือ ศลี อนั เป็นทช่ี ื่นชมพอใจของพระอริยะ บริสุทธ์ิ

ไมถ่ กู ตณั หาและทฏิ ฐิแปดเป้ื อนหรือครอบงา และเป็นไปเพ่ือสมาธิ”

ด้วยเหตุน้ีในฐานะชาวพุทธ แมจ้ ะมีหน้าที่อ่ืนๆหลายประการอยกู่ ็จริง แต่
หน้าที่โดยพ้ืนฐานและเป็ นหน้าที่ที่สาคญั ท่ีสุดของชีวิตก็คือ หนา้ ที่ในการฝึ กฝน
พฒั นาจิตหรือภาวนานน่ั เอง ก็ดว้ ยเหตุทีว่ ่า การท่ีจะไดม้ าซ่ึงอตั ภาพของความเป็น
มนุษยน์ ้นั ช่ือว่าไดส้ ิ่งที่ไดย้ าก ความยากในลาดบั ตอ่ มาคอื ยากทจ่ี ะไดเ้ กิดมาในกปั
ท่มี ีพระพทุ ธเจา้ อบุ ตั ิ ในยคุ สมยั น้ีอยู่ในกปั ท่เี รียกว่า ภทั รกปั คือ กปั ท่มี พี ระพุทธเจา้
อุบตั ิข้ึนมาท้งั หมดห้าพระองค์ ท่ีผ่านมาจนถึงปัจจุบนั มีพระพุทธเจา้ อุบตั ขิ ้ึนแลว้ สี่
พระองค์ ซ่ึงพระองค์ต่อไปในอนาคตก็คือพระศรีอริยเมตไตรย และพวกเราท่าน
ท้งั หลายถือว่าอยู่ในยุคขององคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ พระพุทธเจ้าองคท์ ส่ี ่ี

12

ในกัปน้ีน่ีเอง เพราะฉะน้ันจึงถือว่าเราได้เกิดมาในยุคที่มีพระพุทธเจา้ อุบตั ิข้นึ แลว้
และได้ยินไดฟ้ ังหลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้ แลว้ ซ่ึงก็เป็ นเร่ืองท่ียากมิใช่
หรือ? และมิเพียงเท่าน้นั ยงั ไดม้ ีโอกาสมาศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาความเขา้ ใจ
และบางท่านก็ก้าวเขา้ มาสู่ในเรื่องของการปฏิบตั ิ จึงถือได้ว่าได้มาซ่ึงสิ่งที่ไดย้ าก
แลว้ ตามลาดบั ผา่ นอปุ สรรคความยากลาบากตา่ งๆนานามาจนถงึ ปัจจุบนั ความยาก
ต่อไปก็คือทาอย่างไร? ที่จะพฒั นาภูมิจิตภมู ิธรรมภมู ิปัญญาให้เขา้ ถึงซ่ึงความเป็น
พระอริยบุคคล อย่างน้อยท่ีสุดเบ้ืองตน้ ข้นั แรกน้ีก็คือความเป็ นพระโสดาบนั ซ่ึง
ต้องอาศัยความเพียร ความอดทนในการพัฒนาจิตอย่างสม่าเสมอต่อเนื่องใน
ท่ามกลางความเป็ นไปของชีวิตและโลกในปัจจบุ นั ซ่ึงอย่างนอ้ ยท่ีสุดมีสัมมาทิฏฐิ
เป็นเข็มทิศช้ีนา ไมห่ ลงทศิ ผิดทาง เหน็ แนวทางท่ีจะกา้ วเดิน เห็นเป้าหมายที่จะตอ้ ง
ไปให้ถึง และท่ีสาคญั ในลาดับต่อมาก็คือ รู้ว่าจะตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิตนอย่างไร?
จึงจะประสบความสาเร็จตามทป่ี รารถนา

ปัญญำชี้นำอบรมสมำธิ สมำธิหนนุ ส่งอบรมปัญญำ

สมาธิที่จะกล่าวถึงตรงน้ีก็คือ สมาธิที่มีสัมมาทิฏฐิช้ีนา สมาธิอัน
ประกอบดว้ ยปัญญาช้ีนา สมาธิเป็นกาลงั สมาธิเป็นพลงั สมาธิเป็นความสงบต้งั มนั่
และจิตท่ีมีลกั ษณะความสงบต้งั มน่ั จะมีความใส ความใสตรงน้ีคอื ไม่มีนิวรณ์ใดๆ
มารบกวน สมาธิจติ จงึ ควรแกก่ ารทาหนา้ ที่ ท่เี รียกวา่ ควรแกก่ ารงาน ควรแก่การงาน
ท้งั ท่ีเป็ นปกติท่ัวไปและในทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงก็คือ เป็ นบาทฐานต่อยอด
ในทางปัญญาให้มีความรูแ้ จง้ รู้ชดั ในชีวติ เขา้ ใจโลก เขา้ ใจชีวิต ซ่ึงโลกและชีวติ คือ
ธรรมในส่วนท่ีเรียกว่าสังขตธรรมคือ ธรรมอนั มีเหตปุ ัจจยั ปรุงแต่ง และกอ็ ยู่ภายใต้
สามญั ลกั ษณะทีเ่ รียกวา่ พระไตรลกั ษณ์ คอื อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา นนั่ เอง และเม่ือรู้

13

แจง้ รู้ชดั ในนามและรูปตามความเป็ นจริง ก็จะเกิดความเบ่ือหน่าย คลายกาหนัด
และละวางความยึดมนั่ ถือมนั่ ได้ ก็คือไม่มีอุปาทานในขนั ธ์ห้า ในความเป็ นสัตว์
บุคคลตวั ตน ในความเป็นตวั เราของเรา ซ่ึงพระโสดาบนั บคุ คลมคี วามเขา้ ใจและละ
ไดใ้ นระดบั ทีเ่ รียกวา่ สักกายทฏิ ฐิ คือ มคี วามรูม้ คี วามเขา้ ใจมีความเห็นท่ีสอดคลอ้ ง
ตรงต่อความเป็นจริงทช่ี ัดเจนในชีวติ ส่วนกายในชีวติ ส่วนจิตและรู้ชดั ในเป้าหมาย
ของชีวติ คอื มุ่งตรงตอ่ มรรคผลนิพพานนน่ั เอง ความลงั เลสงสยั จงึ ไมม่ ี มีความเขา้ ใจ
ในเร่ืองของกฎแห่งกรรม มีความเขา้ ใจและศรทั ธาตอ่ คุณของพระรัตนตรยั คือ พระ
พทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ทเี่ รียกว่า อจลศรทั ธา คือเป็นความศรัทธาทีต่ ้งั มนั่ แน่วแน่
มนั่ คงไม่หวน่ั ไหว คอื ไม่หลงไปตกอยู่ในลทั ธิในความเชื่อใดๆอีกแลว้ ตรงต่อพระ
พทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ก็คอื ตรงตอ่ มรรคผลนิพพานเพียงอย่างเดียวอย่างชัดเจน
น่ันเอง ด้วยเหตุน้ีสมาธิตรงน้ีจึงเป็ นสัมมาสมาธิท่ียิงตรงเป้าเขา้ จุด เป็ นพลังอนั
นาไปสู่มรรคผลนิพพาน เป็นอิสระหลุดพน้ จากเคร่ืองพนั ธนาการท้งั ปวง

ท่ามกลางการพัฒนาสมาธิก็จะเป็ นท่ามกลางการเกิดคุณสมบัติทางจิต
เพราะเมื่อจิตต้งั มน่ั จิตจะใส อุปมาอุปไมยเหมือนกับการพฒั นาเลนส์ อย่างกลอ้ ง
จุลทรรศน์( Microscope) ใช้เวลา 400 กว่าปี ในการพฒั นาจนกระทั่งมาสู่กล้อง
จุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่เรียกว่าอิเล็กตรอนไมโครสโคป (Electron Microscope)
ช่วยให้เห็นส่ิงที่เล็กมากๆเช่นเห็นเช้ือไวรัสได้ ซ่ึงสมาธิจิตก็เปรียบเหมือนแว่น
ขยาย เหมือนกลอ้ งจุลทรรศน์ ที่จะช่วยให้เห็นสิ่งที่ไมเ่ คยไดเ้ ห็น ให้ได้พบสิ่งที่ไม่
เคยไดพ้ บ ดว้ ยคุณภาพของจติ ที่มีพลงั และมคี วามใสตรงน้นั

ในขณะเดียวกันก็นามาซ่ึงความรู้ความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ งตามความเป็ นจริง
กลอ้ งจุลทรรศน์เปิ ดโลกให้เห็น จุลินทรีย์ (Microorganism) ซ่ึงก็มีท้งั จุลินทรียท์ ่ดี ี

14

กับจุลินทรียท์ ่ีไม่ดี จุลินทรีย์ท่ีดีมีประโยชน์ในทางเทคโนโลยีชีวภาพ ท้งั ด้าน
การเกษตร อุตสาหกรรม และดา้ นการแพทย์ เป็นตน้ จลุ นิ ทรียท์ ่ไี มด่ ีคือจุลนิ ทรียท์ ี่
ก่อโรคภยั ไขเ้ จ็บท้งั หลายแหล่ อย่างในยุคน้ีคือยุคโควิด 19 คือเช้ือไวรัส กลอ้ ง
จุลทรรศน์อิเล็กตรอนช่วยให้เห็นส่ิงเหล่าน้ี จึงรู้ว่าโรคน้ีมีสาเหตุมาจากเช้ืออะไร?
เห็นในส่ิงท่ีไม่เคยเหน็ รู้และเขา้ ใจในสิ่งที่ไม่เคยรู้ อนั น้ีคือโลกแห่งรูปธรรม แห่ง
วตั ถุธรรม ก็ยงั ทาให้เราสามารถที่จะรู้สาเหตุของโรคภัยไขเ้ จ็บต่างๆได้ กลอ้ ง
จุลทรรศน์กค็ อื อุปกรณ์ เป็นเคร่ืองมือทนี่ ามาชว่ ยนน่ั เอง

สมาธิจิตก็เฉกเช่นกนั เปรียบเหมือนอุปกรณ์เครื่องมือท่ีทาให้เรามีความรู้
ความเขา้ ใจในชีวิตส่วนกาย เห็นกายหยาบ เห็นกายละเอียด เห็นความเป็ นไปของ
จิตของตวั เอง จติ โลภ จิตโกรธ จติ หลง จติ มีความยึดมน่ั ถอื มนั่ อาฆาตพยาบาท จิต
มีปี ติ จติ มคี วามสุข จติ มีความบนั เทงิ ร่าเริง จติ มีความจางคลาย มเี มตตากรุณามุทิตา
อุเบกขาเหล่าน้ี เป็ นตน้ ก็ดว้ ยอานาจของพลงั จิตของสมาธิจิตที่เป็ นบาทฐานของ
ปัญญานน่ั เอง ท่านกอ็ ุปมาอุปไมยเหมอื นกบั น้า ถา้ เราตกั น้าจากแมน่ ้าลาคลองมา มี
โคลน ขุ่นมวั ไมส่ ามารถท่ีจะมองเห็นอะไรได้ แต่ถา้ เราแกว่งน้า เช่น ใชส้ ารส้มมา
แกว่งก็จะทาให้ดินตะกอนตา่ งๆค่อยๆตกลงสู่กน้ ไป กจ็ ะเกดิ ส่วนใสท่สี ่วนข้างบน
ของน้าน้ัน ตรงน้ีแหละคือสมาธิจิตได้เกิดข้ึนแล้ว คือมีความใสปราศจากซ่ึง
ส่ิงรบกวนหรือปราศจากสิ่งซ่ึงเป็ นอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาจิต ส่ิงที่มาเป็ น
อุปสรรคขดั ขวางกค็ อื นิวรณ์ นนั่ เอง นิวรณก์ บั สมาธิ เป็นเร่ืองทีเ่ ก่ยี วเน่ืองสัมพนั ธ์
กัน เป็ นธรรมท่ีเป็ นคู่ปรับกนั จึงขอกล่าวถึงสมาธิพอให้เห็นภาพกวา้ งๆเพ่ืออย่าง
นอ้ ยเป็นแนวทางใหไ้ ดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ในลาดบั ต่อไป

15

สมาธิมี 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ขณิกสมาธิ ระดับท่ี 2 อุปจารสมาธิ และ
ระดบั ท่ี 3 อปั ปนาสมาธิ

ขณิกสมาธิคือ สมาธิช่ัวขณะ เป็ นสมาธิที่ช่วยให้จิตได้พักชั่วคราว ใน
ขณะเดยี วกนั กช็ ว่ ยให้จิตทาหนา้ ทีใ่ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งเป็นปกติ

ส่วนอุปจารสมาธิเป็ นสมาธิจวนจะแน่วแน่ เฉียดฌาน เป็ นระดับจิตท่ีมี
กาลงั มีพลงั ท่ีสามารถใช้ไปทาหนา้ ที่ต่างๆได้ และส่งเสริมการทาหนา้ ท่ีของขณิก
สมาธิ เป็นสมาธิทเ่ี ร่ิมมอี งคฌ์ านท้งั 5 เกิดข้ึนแลว้ จงึ เป็นทมี่ าของคาเรียกวา่ อปุ จาร
ฌาน แต่ก็ยงั ไม่แน่วแน่มนั่ คง ด้วยว่ากาลงั ยงั ไม่มากพอ แต่ก็เป็ นฐานท่ีนาไปสู่
อัปปนาสมาธิ ในอีกด้านหน่ึง อัปปนาสมาธิก็ส่งผลเก้ือกูลต่ออุปจารสม าธิ
และขณิกสมาธิ

อปั ปนาสมาธิน้ีคือ สมาธิแน่วแน่ จิตต้งั มนั่ สนิท เป็ นสมาธิในฌาน องค์
ฌานท้งั 5 คอื วิตก วิจารณ์ ปี ติ สุข และเอกคั คตา มีความแน่วแน่มน่ั คงไม่หวนั่ ไหว

16

แลว้ มตี ้งั แตฌ่ าน 1 ถึงฌาน 8 ซ่ึงฌานที่ 1 ถึงฌานท่ี 4 คอื รูปฌาน ส่วนฌานท่ี 5 ถึง
ฌานท่ี 8 คือ อรูปฌาน แต่สมั มาสมาธิคือฌานที่ 1 ถึงฌานท่ี 4 เป็นระดบั ของสมาธิที่
มีพลงั มากเพียงพอต่อการต่อยอดทางปัญญาคือวิปัสสนาน่ันเอง ในขณะเดยี วกนั ก็
พร้อมตอ่ การพฒั นาคณุ ธรรมพิเศษในดา้ นพลงั จติ ในมิตติ ่างๆไดด้ ว้ ย

นิวรณ์ อกุศลธรรมท่พี งึ ละ
ดังที่ไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ ว่า การจะเขา้ ถึงสมาธิ จิตตอ้ งปราศจากนิวรณ์ มาถึง
ตรงน้ีจึงมีความจาเป็นที่จะตอ้ งรู้เร่ืองของนิวรณ์วา่ มีกี่อย่าง? แต่ละอย่างมีลกั ษณะ
อย่างไร? ส่งผลเสียต่อจิตใจและพฤติกรรมอย่างไร? แลว้ จะมีวธิ ีแกไ้ ขอย่างไร? จึง
จะระงบั ซ่ึงนิวรณ์แต่ละอย่างน้ันๆได้ ซ่ึงลว้ นแลว้ แต่เป็ นประเด็นท่ีน่าสนใจ เพื่อ
ช่วยให้การพฒั นาทางจติ ท้งั ในดา้ นสมาธิและปัญญาเป็นไปอยา่ งถกู ตอ้ ง

สิ่งซ่ึงเป็นอุปสรรคขดั ขวางการพฒั นาจิต คือ นิวรณน์ ้นั มี 5 อย่าง คอื
1.กามฉันทะ 2. พยาบาท 3.ถีนมทิ ธะ 4.อทุ ธจั จะกุกกุจจะ 5.วจิ กิ จิ ฉา

17

ท้งั 5 อย่างน้ีกค็ ือ อกศุ ลธรรมท่ีเป็นตวั ขดั ขวางไมใ่ ห้เกดิ สมาธิจิต ซ่ึงมีการ
กล่าวอปุ มาอุปไมยเปรียบไดก้ บั น้าชนิดตา่ งๆ ทาให้งา่ ยตอ่ ความเขา้ ใจในนิวรณ์ท้งั
5 น้ีไดอ้ ยา่ งดี ดงั ตอ่ ไปน้ีคือ

กำมฉันทะ น้ำท่ถี ูกย้อมด้วยสี

อุปสรรคขอ้ ท่ี 1 คือกามฉันทะ เปรียบเหมือนกับน้าท่ีถูกยอ้ มดว้ ยสีต่างๆ
ในท่นี ้ีหมายถงึ จิตที่ถกู ยอ้ มดว้ ยราคะ ดว้ ยความกาหนดั ยินดีพอใจ ดว้ ยความโลภท่ี
อยากจะดึงสิ่งตา่ งๆน้นั เขา้ มาหาตวั มาตอบสนองความรู้สึกรกั ใคร่ เป็นความรกั ใคร่
พอใจอนั ประกอบดว้ ยอุปาทานคือความยึดมนั่ ถือมนั่ ในกามคุณท้งั 5 คือ รูป รส
กลิ่น เสียง และสัมผสั ทางกาย เชน่ ฉนั ชอบอาหารแบบน้ี ฉนั ชอบเส้ือผา้ อย่างน้ี ฉนั
ชอบเคร่ืองประดบั อยา่ งน้นั อยา่ งน้ี ฉันชอบกล่นิ หอมแบบน้ี เป็นตน้ ซ่ึงถูกยอ้ มดว้ ย
สีคือราคะคือความกาหนัดยินดี และติดใจ ทาให้รู้สึกว่าขาดส่ิงน้ันไม่ได้ ดว้ ยว่า
เบ้ืองหลังคือความหลง หลงโลภ หลงรัก หลงชอบ เมื่อจิตถูกยอ้ มก็ทาให้เกิด
ความรู้สึกว่าตอ้ งการสิ่งน้ันตอ้ งการส่ิงน้ี ยอ้ มใจเราด้วยความหลงว่าน้ีคือ ความ
งดงาม เป็ นความสวยงามท่ีขาดไม่ได้ จิตในลกั ษณะน้ีก็จะเป็ นลกั ษณะซ่ึงจะคอย
แสวงหาสิ่งแปลกๆใหม่ๆอยูต่ ลอดเวลา โดยหวงั ที่จะใหม้ าสนองตอบจติ ของตวั เอง
ให้มีความบนั เทิงให้มีความสุข เช่น ตอ้ งไปทานอาหารที่นี่ ความสุขเกิดจากการท่ี
เราจะตอ้ งไปเห็นไปชมภาพยนตร์เรื่องน้นั เร่ืองน้ีหรือไปดูเส้ือผา้ อย่างน้ันอย่างน้ี
ไปดูเครื่องประดบั อยา่ งน้นั อยา่ งน้ี คือความสวยความงามยอ้ มจิตของตวั เองให้เกดิ
ความรักใคร่มวั เมาและลุ่มหลงในส่ิงเหล่าน้นั อันน้ีคือกามฉันทะ และหากเกิด
ความคนุ้ เคย เคยชินจนเป็นพ้ืนจติ ท่ีเป็นจริตนิสยั กจ็ ะเป็นคนที่มีราคจริตนนั่ เอง มกั
ชอบของสวยๆงามๆ ถา้ ชอบธรรมดาทวั่ ไปกย็ งั อยูใ่ นระดบั ทยี่ อมรับกนั ไดต้ ามปกติ

18

คือ ได้ก็ดี ไม่ไดก้ ็ไม่เสียใจ แต่ถา้ การชอบพอยินดีพอใจน้ันมีความรุนแรงชนิดที่
เรียกว่า ฉันขาดเธอไม่ได้ ฉันขาดสิ่งน้นั ไม่ได้ ฉันขาดเรื่องน้นั ไม่ได้ อนั น้ีหนกั เขา้
ไปอีก คือมีอุปาทานที่ยึดมน่ั ถือมน่ั ชนิดที่ลุ่มหลงลึกซ้ึงมาก ยากที่จะถอนตวั ออก
จากสิ่งน้ันหรือเรื่องน้นั ๆ คือ ย่ิงเสพก็ยิ่งติด ย่ิงติดก็ย่ิงเสพ ก็จะมีโอกาสของการ
นามาซ่ึงความเส่ือมเสียหายตอ่ การดาเนินชีวติ ได้

จะเห็นไดว้ ่าเร่ืองของกามฉันทะน้ันมีระดบั ของความหนักเบาท่ีแตกต่าง
กันไป ท้งั ในระดบั ของจิตท่ีไปยึดถือ และระดบั ของอารมณ์พร้อมท้งั ประเภทของ
อารมณท์ ่ถี กู ยดึ ถือ ซ่ึงตรงน้ีนอกจากแสดงออกทางพฤตกิ รรม คอื ทางกายและวาจา
แลว้ ยงั แสดงออกทางจติ คอื เวลาเราปฏิบตั ิสมาธิภาวนาก็มกั จะนึกถงึ สิ่งน้นั สิ่งน้ีท่ี
ชอบ เป็ นความนึกคิดในเรื่องสิ่งสวยๆงามๆอย่างน้นั อย่างน้ี ความนึกคิดในเรื่อง
ของเส้ือผา้ ความนึกคิดในเรื่องของอาหาร ท่ีอยู่อาศยั สิ่งอานวยความสะดวกสบาย
ต่างๆ และความนึกคิดกาหนดั ยนิ ดีพอใจในเรื่องของทางเพศซ่ึงเป็ นหน่ึงในเร่ืองที่
ยากที่จะกา้ วขา้ มไป ในทางปฏบิ ตั กิ ม็ ีอุบายวิธีเพ่ือแกไ้ ขโดยเฉพาะในราคจริต ดว้ ย
การให้กรรมฐานที่ถูกตอ้ งเหมาะสม เช่น อสุภกรรมฐาน และกายคตาสติ เป็ นตน้
แตท่ ้งั น้ีและท้งั น้นั กค็ งตอ้ งพิจารณาอยา่ งเหมาะสมเป็นกรณีๆไป

พยำบำท น้ำทีก่ ำลังเดือด

อุปสรรคขอ้ ท่ี 2 คือเร่ืองของความคดิ ท่ีอาฆาตพยาบาทจองเวร ความคดิ ที่
ผกู ใจเจบ็ เคยี ดแคน้ คดิ จะแกแ้ คน้ ดว้ ยการให้ร้ายทาร้าย พยาบาทเป็นเร่ืองของความ
โกรธท่ีจะผลกั ออก โดยมีอุปาทานคือความยึดมนั่ ถือมนั่ ในความเป็ นสัตว์บุคคล
ตวั ตนเราเขา ของเราของเขานนั่ เอง เป็นตวั โทสะ คือตวั โกรธ เวลาเรานึกถึงหนา้ คน
น้นั รู้สึกไม่พอใจ รูส้ ึกอยากที่จะไปหาเร่ืองดว้ ยความเคอื งแคน้ ท่านเคยสังเกตไหม?

19

บางคร้ังเราไม่เคยรู้จกั กบั คนๆน้ันมาก่อนเลย ไม่เคยพบเจอกนั มาก่อนเลย แต่พอ
เห็นหน้ารู้สึกว่าเราไม่ค่อยชอบใจ หรือรู้สึกว่าไม่ถูกชะตาเลย ตรงน้ีลึกๆแล้ว
สามารถอธิบายไดใ้ นแงม่ ุมของ กฎแห่งกรรม เป็นกฎแห่งเหตุและผล ซ่ึงอาจจะเคย
มีอดีตเหตุอะไรกนั มาก่อน จึงนามาสู่ปัจจุบนั ผล เพราะในหลักทางธรรมะไม่มี
อะไรที่เกิดข้นึ มาอย่างลอย ๆ ไม่มีอะไรท่ีเกดิ ข้ึนมาโดยบงั เอิญ ทุกส่ิงมีเหตมุ ีผล มี
เหตปุ ัจจยั ท่มี าเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธ์กนั เสมอ เพราะฉะน้นั ในทา่ มกลางการฝึกฝนปฏบิ ตั ิ
กค็ ือตอ้ งตามรู้ตามดคู วามเป็นไปท้งั ชอบและไม่ชอบ ท้งั พอใจและไม่พอใจ ท้งั ยินดี
และยินร้ายกบั สิ่งต่างๆเหล่าน้ี ดว้ ยสติ สัมปชญั ญะ สมาธิ และปัญญา โดยมีความ
เพยี รอย่างต่อเน่ือง

ความพยาบาท เป็นจิตที่มโี ทสะ เปรียบเหมือนกบั น้าทกี่ าลงั เดือด น้าเดอื ด
คือน้าร้อน โทสะเป็ นของรอ้ น จิตเร่าร้อน จิตท่ีมีความอาฆาตพยาบาทท่ีแรงกลา้ ก็
ยากท่ีจะถอนหรือละวางความยึดมน่ั ถือมน่ั ในเรื่องกามฉนั ทะเป็ นเรื่องของการดึง
เขา้ หาตัวดว้ ยความโลภ แต่ความพยาบาทเป็ นเร่ืองของการผลกั ออกจากตวั ดว้ ย
ความโกรธ คือเจตนาต้งั ใจที่จะให้ร้ายท่ีจะทาร้ายให้ได้ด้วยกายและวาจา แต่ใน
ลาดับตน้ ใจเราไปแลว้ คือคิดแกแ้ คน้ คิดปองร้าย ซ่ึงตรงน้ีจึงเป็นอุปสรรคต่อการ
พฒั นาจิต สาคญั ทสี่ ุดคอื ถอื เป็นกรรมใหม่ เป็นกรรมทางใจ ซ่ึงรุนแรงเหมือนน้าท่ี
กาลงั เดือด จิตเร่าร้อน ร้อนรุ่ม เป็ นการทาร้ายท้งั ร่างกายและจติ ใจของตนเองโดย
รู้ตวั หรือไม่รูต้ วั ก็ตาม ในท่นี ้ีจะขอลองเปรียบเทยี บความอาฆาตพยาบาทกบั รอยมีด
ท่กี รีดบนพ้นื ผิวประเภทตา่ งๆดงั น้ีคือ

1.มีดที่กรีดบนหิน 2. มีดที่กรีดบนผืนดิน 3.มีดที่กรีดบนผืนทราย 4.มีดที่
กรีดบนผนื น้า 5.มดี ที่กรีดบนอากาศ

20

ขอให้ท่านลองนึกภาพว่า รอยบนหินท่ีถูกมีดกรีดน้นั จะมีลกั ษณะลึก ทา
ให้รอยน้นั อยู่ไดน้ านนบั เป็ นพนั ๆปี หรือนานกว่าน้นั เปรียบไดก้ ับคนท่ีเคยี ดแคน้
ชิงชงั อาฆาตพยาบาทจองเวรอย่างรุนแรง บาดลึกเขา้ ไปในจติ ใจ ยากท่ีจะลืมเลือน
แมก้ าลเวลาจะผา่ นไปนานแสนนาน จติ จะเร่าร้อนทกุ ขท์ รมานเพยี งใด?

ถดั มาคือ มีดท่ีกรีดบนดิน ร่องรอยที่เกิดข้ึนก็ยงั เบากว่ารอยที่กรีดบนหิน
คือว่า เม่ือทาการเกลี่ยดินน้ันโดยออกแรงบา้ ง ไม่มากนักก็สามารถทาให้ร่องรอย
หายไปได้ง่ายกว่าร่องรอยบนหิน เปรียบไดก้ บั ความเคียดแคน้ อาฆาตพยาบาททีม่ ี
น้าหนักของความรุนแรงรองลงมา แต่ก็ยงั ตอ้ งใช้ระยะเวลาพอประมาณ ในการ
ปลอ่ ยวางจางคลายของจิต

มีดท่ีกรีดบนผืนทราย รอยบนผืนทรายสามารถถูกลบไปไดง้ า่ ยมาก เพียง
ใชม้ อื เกลย่ี ไปเบาๆ รอยน้นั ก็หายไปแลว้ เปรียบไดก้ บั ความเคยี ดแคน้ ชิงชงั อาฆาต
พยาบาท ท่ีไม่รุนแรง ใช้เวลาเพียงเล็กน้อย ก็ให้อภัยกันได้ เม่ือมีโอกาสหรือ
เงือ่ นไขทเ่ี หมาะสมเอ้อื อานวย

มีดที่กรีดบนผืนน้า ในขณะที่กาลงั กรีดมีดไปบนผิวน้าน้นั ก็จะเห็นรอย
ไหวพลิ้ววิง่ ตามรอยมีดทีก่ าลงั กรีดน้นั พร้อมกบั หายวบั ไปอย่างรวดเร็ว แลว้ ผวิ น้า
น้ันก็ราบเรียบเป็ นปกติเหมือนเดิม เปรียบได้กับความเคียดแค้นชิงชังอาฆาต
พยาบาท ซ่ึงเป็นประเภททเี่ รียกวา่ โกรธง่ายหายเร็ว มีความคกุ รุ่นอยู่ แต่ไม่มาก ไม่
ถงึ ข้นั ย้าคดิ ย้าจา สามารถทาใจให้กลบั มาเป็นปกตไิ ดใ้ นเวลาอนั รวดเร็ว

ส่วนมดี ที่กรีดบนอากาศแมไ้ ม่เหน็ ร่องรอยเลย แตอ่ ากาศกย็ งั ถูกแหวกแยก
ออกไปไดอ้ ยู่ดี ถา้ มแี สงแดดส่องมาตอ้ งกบั ฝ่นุ ละอองในอากาศ กจ็ ะเห็นฝ่นุ ละออง

21

แหวกกระจายออกไป แมจ้ ะดว้ ยระยะเวลาอนั ส้ันอยา่ งมาก แค่แป๊ บเดียวเทา่ น้นั แต่
ก็ถอื วา่ ยงั มคี ล่ืนกระแสของอากาศ เปรียบไดก้ บั จติ ท่ียงั มีความกระเพื่อม หวนั่ ไหว
ขุ่นมวั หงดุ หงดิ ราคาญใจ เพียงเลก็ นอ้ ย แลว้ ก็จางคลายหายไปอยา่ งรวดเร็ว

จากการเปรียบเทยี บเชิงอปุ มาอปุ ไมยน้ี ช่วยให้เห็นถึงระดบั ของความหนกั
เบา และระยะเวลาของความจางหายของร่องรอย ระหว่างมีดท่ีกรีดบนหิน มีดท่ี
กรีดบนดิน มีดที่กรีดบนผืนทราย มีดท่ีกรีดบนผืนน้า และมีดที่กรีดบนอากาศ จะ
เห็นไดว้ า่ พวกประเภทมีดท่ีกรีดบนอากาศถอื วา่ ดีมากกว่าประเภทอ่นื ๆ แตก่ ็ยงั มมี ีด
ที่ถืออยู่ในมือ ดว้ ยเหตุท่ียงั มีความเป็ นตวั ตน ยงั มีความถือตวั ถือตน ด้วยความยึด
มน่ั ถือมนั่ อยู่ ดงั น้ันดีที่สุดคือ ไม่มีมีด ไม่มีมีดที่จะตอ้ งไปกรีดอะไร? ซ่ึงในแง่มุม
ของการพฒั นาจติ ตอ้ งอาศยั ระยะเวลาในการฝึกฝนปฏิบตั ิอย่พู อควร จึงจะทาใจได้
และหน่ึงในการทาใจตรงน้ีเรียกวา่ อภยั ทานคอื ให้ความไมม่ ีภยั เลกิ แลว้ ตอ่ กนั

จติ ทมี่ คี วามคดิ อาฆาตพยาบาท และสงั่ สมจนเป็นอปุ นิสัย ก็จะเป็นประเภท
โทสจริต ซ่ึงก็จะตอ้ งใชอ้ ุบายวิธีแกไ้ ขดว้ ยการฝึกกรรมฐานที่เรียกวา่ อปั ปมญั ญา
หรือพรหมวิหาร 4 และวรรณกสิน 4 เป็ นตน้ โดยใช้อารมณ์กรรมฐานเหล่าน้ี เป็ น
อารมณใ์ นการปฏบิ ตั สิ มาธิภาวนา และหากประสบความสาเร็จในระดบั หน่ึง โดยที่
จิตต้งั มนั่ จิตสงบ จิตใส จิตมีพลงั จิตควรแก่การงานได้แลว้ ในขณะน้นั ก็ถือเป็ น
การละวางความโกรธพยาบาทไดใ้ นแบบชั่วคราว จิตจะมีความทรงตวั ดว้ ยสติ
สมาธิ และสัมปชัญญะ สภาวะจิตตรงน้ีมีพลงั ท่ีจะแผ่เมตตาและโน้มนาให้เกิด
อภัยทานได้ โดยมีสัมมาทิฏฐิช้ีนาหรือจะกล่าวว่าเป็ นการแผ่เมตตาที่มีพลงั ของ
สมาธิอนั ประกอบดว้ ยปัญญา และถา้ จิตเขา้ ถึงสมาธิในระดบั อปั ปนาสมาธิ ถึงข้นั
ฌานที่ 3 ซ่ึงทรงตวั ด้วยสภาวะแห่งความสุข และเอกัคคตา ดว้ ยแลว้ ก็จะส่งผลให้

22

การแผ่เมตตาน้นั มีประสิทธิผลมาก เปรียบเหมือนวา่ ขณะน้ีเป็นเศรษฐีมีเงนิ พร้อม
แล้วท่ีจะแจกจ่ายเงินไปช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้คนและสรรพสัตว์ได้มาก นี่
อุปมาอุปไมยว่าการมีความสุขเหมือนมีทรัพย์ แต่เป็ นทรัพยภ์ ายใน ปี ติสุขเป็ น
ทรัพยภ์ ายในท่ีเป็นพลงั แผไ่ ปยงั สรรพสตั วไ์ ด้ แมก้ ระทง่ั ทเ่ี คยเป็นเจา้ กรรมนายเวร
กันมาหรือผูท้ ่ีเคยเกย่ี วขอ้ งกนั มาในลกั ษณะท่ีเคยให้ร้ายทารา้ ยอาฆาตพยาบาทกนั
มาก็สามารถช่วยให้จางคลาย จนถึงข้นั ให้อภยั กนั ได้ นี่คือหน่ึงในประโยชน์ของ
การปฏิบตั ิสมาธิภาวนา ซ่ึงแมว้ า่ จะยงั ปฏบิ ตั ิไมไ่ ดใ้ นเวลาน้ี แต่การทม่ี ีความรู้ความ
เข้าใจที่ถูกตอ้ งเป็ นเบ้ืองตน้ ก็นับว่ายงั ดี คืออย่างน้อยก็มีแผนที่ช่วยช้ีทิศบอก
แนวทาง ก็นบั ว่ายงั เป็นประโยชน์อยดู่ ี

ถีนมิทธะ น้ำที่มีจอกแหนปกคลมุ

ขอ้ ที่ 3 ของนิวรณ์ 5 ก็คือ ถีนมิทธะ มีลกั ษณะของความหดหู่ เซื่องซึม มี
การเปรียบเหมือนกบั น้าที่มีจอกแหน มีสาหร่ายมีตะไคร่น้าปกคลุมอยู่ คอยปิ ดบงั
ทาให้คลุมเครือ มองเห็นไม่ชัด หากสะสมสภาวะจิตน้ีจนเป็ นอุปนิสัย ก็จะมีความ
โนม้ เอยี งไปในทางโมหจริตได้ และในขณะท่ีกาลงั ปฏิบตั ิภาวนาอยูน่ ้นั ก็มกั จะเกดิ
อาการง่วงเหงาหาวนอน ซ่ึงในประเด็นง่วงหาวนอนน้นั ก็มีแง่คิดที่น่าทาความ
เขา้ ใจคือ หากพจิ ารณาแลว้ เห็นวา่ เกดิ จากการพกั ผอ่ นไม่เพียงพอ โดยเฉพาะท่านที่
ทางานในเมือง ใชช้ ีวิตที่ตอ้ งด้ินรนขวนขวายท้งั กลางวนั และกลางคนื จึงไมม่ เี วลาท่ี
จะพกั ผอ่ นนอนหลบั อย่างเพียงพอ ทาใหเ้ กดิ ความออ่ นลา้ ออ่ นเพลียสะสม ในทีน่ ้ีก็
สมควรท่ีจะหยุดพกั ผ่อนนอนหลบั ให้เต็มอิ่มจริงๆเสียก่อน เพื่อให้ร่างกายฟ้ื นตวั
กลบั มาสดชื่นอย่างเป็ นปกติ อย่างนอ้ ยก็รักษาดุลยภาพระหว่างกายและจิตอย่าง
พอเหมาะไวก้ ่อน แลว้ ก็ค่อยกลบั มาภาวนาตอ่

23

อาการตอ่ มาคือ เกียจครา้ น หดหู่ บางคร้งั กถ็ ึงข้นั ทอ้ แท้ ไมเ่ อาแลว้ ไม่รู้จะ
ปฏิบตั ิไปทาไม? เป็ นเร่ืองที่ยาก ไม่เหมือนกับการออ้ นวอนร้องขอ การออ้ นวอน
ร้องขอเป็นเรื่องท่ที าไดง้ า่ ย หรือการบวงสรวง เซ่นดว้ ยเครื่องบวงสรวงต่างๆนานา
ทาได้ง่ายกว่า ที่กล่าวตรงน้ี มิได้หมายความว่าการให้ทาน การบวงสรวงไม่มีผล
ตอบไดว้ ่ามีผล เม่อื มีการทาเหตุ ยอ่ มนามาซ่ึงผลเสมอ แตผ่ ลตรงน้ีเป็นผลในระดบั
เบ้อื งตน้ เท่าน้นั ยงั ไมอ่ าจเทียบกบั ผลอนั เกิดจากการภาวนาได้ เพราะว่าการภาวนา
เป็ นเรื่องที่ตอ้ งฝึ กฝนพฒั นาจิต ขดั เกลาจิตให้ละความโลภ โกรธ และหลง ให้ละ
วางจางคลายในเร่ืองของความยึดมนั่ ถอื มนั่ ในความเป็นตวั ตน เป็ นเร่ืองที่ยากกวา่
กนั มาก แตไ่ มว่ า่ จะอยา่ งไรกต็ าม ชื่อวา่ บญุ กุศลแลว้ คคู่ วรแก่การทาใหเ้ จริญท้งั ส้ิน
แต่ต้องทาด้วยปัญญา และก็มีหลักอยู่ในบุญกิริยาวตั ถุ 10 อันเป็ นที่ต้งั แห่งการ
ทาบุญ เป็ นอารมณ์ท่ีสนับสนุนเก้ือกูลให้เกิดกุศลธรรม และมีความเก่ียวข้อง
สมั พนั ธ์กนั ท้งั ในแงข่ ้นั ตอน ในแงร่ ะดบั ของการพฒั นาจิตท่ลี ะเอียดลมุ่ ลกึ และใน
แงอ่ านิสงสผ์ ลบญุ ที่แตกต่างกนั แต่สนบั สนุนซ่ึงกนั และกนั

ซ่ึงในเร่ืองของการให้ทานน้ี มแี ง่คดิ มุมมองท่คี วรแกก่ ารพจิ ารณาในหลาย
มิติ เช่น ในแง่อามิสทานและธรรมทาน ในแง่ของผูร้ ับ ผูใ้ ห้ และส่ิงของท่ีให้ และ
ในแงท่ ีเ่ ป็นปาฏิบุคลิกทานและสังฆทาน เป็นตน้ ขอยกตวั อย่างพอเป็นสังเขป เชน่
ต้งั แต่ระดบั การใหว้ ตั ถุทานธรรมดาทว่ั ไปทใี่ ห้ไดง้ ่ายกว่า เม่ือเทียบกบั การให้ทาน
ดว้ ยอวยั วะ เช่น บริจาคเลือด ซ่ึงเป็ นการเสียสละเก้ือกูลท่ีดีที่น่ายกย่องสรรเสริญ
จนกระทง่ั ถงึ อภยั ทานทเี่ ลิกแลว้ ต่อกนั ดว้ ยการละวางทางจติ ละวางความเป็นตวั ตน
ละวางความเป็นของของตน เป็ นการละวางอุปาทาน ความยึดมน่ั ถือมนั่ นนั่ เอง ซ่ึง
ในแต่ละระดบั กม็ ีอานิสงส์ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป เป็นตน้

24

ความยึดมัน่ ถือมน่ั ก็เปรียบเหมือนคุกท่ีขงั ตวั เอง หรือโซ่ท่ีพันธนาการ
ตวั เอง คอื ความเป็นอตั ตาตวั ตน และของตนในทางความคิด เป็นคุกทางความคิดที่
ถูกสร้างข้ึนมาดว้ ยความยึดมนั่ ถือมนั่ จึงไม่ใช่เร่ืองง่ายเลยท่ีจะหลุดพน้ ไปได้ ดว้ ย
เหตุน้ีจึงไมใ่ ชเ่ ร่ืองผิดปกติ ทเ่ี มอื่ ปฏบิ ตั ิไปแลว้ จึงรูส้ ึกว่าไมเ่ ห็นความกา้ วหนา้ รู้สึก
ว่าใช้เวลานานมาก ไม่รู้อีกกี่ปี จึงจะบรรลุถึงเป้าหมาย ทาให้เกิดความเบ่ือหน่าย
ทอ้ แท้ เกยี จคร้าน ซ่ึงเป็นเร่ืองท่เี ขา้ ใจไดใ้ นฐานะหน่ึงในผปู้ ฏบิ ตั ิ

ในอีกแง่มุมหน่ึงของอปุ สรรคตรงน้ี ก็คือความหวงั ผล ไมไ่ ดห้ มายความว่า
ไม่มีเป้าหมาย เป้าหมายน้ันมีอยู่ อย่างน้อยที่สุดคือการบรรลุถึงความเป็ นพระ
โสดาบนั แต่ในขณะปฏบิ ตั ิน้นั จะไปเอาผลมาเป็นตวั ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้ หมายความว่า จะ
ไปมวั คิดคานึงถึงแต่ผลในขณะปฏิบตั ิไม่ได้ มวั แต่ปรารถนาแต่ไม่ทาเหตุ ผลจะ
เกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร? ท่ผี ดิ คอื ผิดตรงน้ี การปฏิบตั คิ อื การทากรรม การทากรรมคอื การ
ทาเหตุ ดังน้ันในขณะปฏิบตั ิ จึงเป็ นขณะแห่งการทาหน้าท่ีของจิต จิตทาหน้าที่
พัฒนาสติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ในขณะเพ่งพิจารณาอารมณ์ คือ กาย
เวทนา จิต และธรรม นนั่ เอง

ถา้ ว่ากนั โดยยุทธศาสตร์และยุทธวิธี เช่น เมื่อดูแผนท่ี โดยยุทธศาสตร์ต้งั
เป้าไวว้ ่าจะตอ้ งไปให้ถึงจงั หวดั เชียงใหม่ เชียงใหม่คือเป้าหมาย ยุทธวิธีคือจะไป
โดยทางรถ ทางเรือ ทางเคร่ืองบิน ถา้ เป็ นในสมยั โบราณกเ็ ดนิ เอาบา้ ง ข่ีมา้ บา้ ง นั่ง
เกวียนบา้ ง เป็ นตน้ นน่ั ย่อมหมายความวา่ การที่จะบรรลุเป้าหมายท่ีต้งั ไวน้ ้ัน ตอ้ ง
เดินทาง ตอ้ งกา้ วยา่ งจากกา้ วแรกไปสู่กา้ วตอ่ ๆไปอย่างตอ่ เนื่อง เหนื่อยที่ไหนก็พกั ท่ี
นน่ั เมอื่ หายเหนื่อยแลว้ กเ็ ดินทางตอ่ ไป เดนิ ทางดว้ ยความเพียร ดว้ ยความอดทน ถงึ
เป้าหมายเมื่อไหร่ก็เมื่อน้ัน น่ีคือจิตใจท่ีมีความมุ่งมน่ั ดว้ ยการทาเหตุ เมื่อทาเหตุ

25

อยา่ งจริงจงั ตอ่ เนื่อง ผลกย็ ่อมปรากฏเอง ดว้ ยเหตุจึงนามาซ่ึงผล และผลยอ่ มไหลมา
จากเหตุท่ีทานน่ั เอง

หรือจะยกอีกตวั อย่างหน่ึง ยุทธศาสตร์คือ ตอ้ งรับประทานอาหารท้งั 10
อย่างบนโต๊ะน้ีให้หมด จะรับประทานอาหารทีเดยี วท้งั 10 อย่างพรอ้ มกนั เลยหรือ?
ทาแบบน้ันไม่ได้แน่นอน ยุทธวิธีก็คือ ตอ้ งรับประทานอาหารทีละคา ๆไปเรื่อย ๆ
อาหารกจ็ ะคอ่ ยๆหมดไปทีละอย่างๆ และแลว้ ในทสี่ ุดอาหารท้งั 10 อยา่ งบนโตะ๊ ก็
จะตอ้ งหมดอย่างแน่นอน จะหมดช้าหรือเร็วก็อยู่ท่ีความต้ังใจมุ่งมน่ั ความเพียร
และความอดทนในการรับประทานอาหารน้นั อยา่ งต่อเน่ืองนนั่ เอง

จากการยกตวั อย่างท่ีนามากล่าวแสดงไปแลว้ น้ัน ก็คงจะช่วยให้เห็นภาพ
ชดั เจนข้ึน ในแง่มุมของการปฏิบตั ิก็คือ ทาเหตุอย่างจริงจงั และสม่าเสมอต่อเน่ือง
ทาเหตุในท่นี ้ีกค็ ือ จิตทาหนา้ ทพ่ี ฒั นาสติ สมั ปชญั ญะ และความเพยี ร อย่างต่อเน่ือง
ในการกาจดั ซ่ึงอภิชฌาและโทมนัสเสียได้ในโลก สติ สัมปชญั ญะ และความเพยี ร
ท้งั 3 องคธ์ รรมน้ี เป็นองคธ์ รรมทีต่ อ้ งพฒั นาในสติปัฏฐาน 4 ดงั น้นั คาว่าทอ้ แท้ คา
ว่าหมดหวงั คาว่าสิ้นหวงั คาว่าเกียจคร้าน จะไม่มีเลย หน้าที่คือทาเหตุ ส่วนผล
ย่อมจะปรากฏตามมาเองอนั สมควรแกเ่ หตุน้นั อย่างมิตอ้ งสงสัย การปฏิบตั ิธรรมก็
จะไดร้ บั ผลของการปฏบิ ตั อิ นั สมควรแก่ธรรมท่ปี ฏบิ ตั ิน้นั นน่ั เอง

หากเปรียบการปฏิบตั ิเหมือนกับขดลวดสปริง เมื่อมองจากดา้ นบนลงมา
ด้านล่าง ก็จะเห็นเป็ นวงๆเดียว แต่ถา้ มองจากดา้ นขา้ ง จะเห็นว่า ขดลวดน้นั จะวน
ข้นึ ไปเรื่อย ๆ นน่ั กเ็ ปรียบไดก้ บั การปฏบิ ตั ิ หากมองผิวเผนิ ก็เหมือนกบั ว่ายา่ อยู่กบั ท่ี
ไมม่ ีความกา้ วหนา้ พฒั นา แต่อนั ท่ีจริงทุกคร้งั ทฝี่ ึกฝนปฏบิ ตั ยิ ่อมนามาซ่ึงผลปรากฏ
ไม่มากก็นอ้ ย ย่อมนามาซ่ึงประสบการณ์อนั เป็ นบทเรียนแบบฝึ กหัดให้เรียนรูท้ กุ

26

คร้ัง นั่นก็คือ ความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เป็ นการสั่งสมจากปริมาณหน่ึง ไปสู่
ปริมาณหน่ึง และจากปริมาณน้นั ๆ เมื่อถงึ จุดหน่ึงกจ็ ะเปล่ียนไปสู่คณุ ภาพ และจาก
คุณภาพหน่ึง ไปสู่อีกคุณภาพหน่ึง เปรียบได้กับการตม้ น้า ให้อุณหภูมิแก่น้าน้ัน
อย่างต่อเน่ือง ในที่สุดน้าก็เดือดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ภายใตส้ ิ่งแวดลอ้ ม
ปกติ และระเหยกลายเป็นไอน้า เปล่ียนจากสถานะของเหลวเป็นก๊าซในทนั ที

ตรงน้ีตอ้ งการท่จี ะบอกว่า เราจะตอ้ งวางจิตของเราไปในแนวทางท่ีว่า เป็น
การฝึ กฝนเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงก็เป็ นเรื่องที่ถูกตอ้ งตรงต่อความเป็ นจริง แต่อย่าง
น้อยที่สุด เราเห็นแผนที่แล้ว เป็ นแผนที่ทางพุทธธรรม เป็ นหลักวิชาทางพุทธ
ศาสนา ทาให้เห็นทิศทาง แนวทางที่จะกา้ วเดิน และเห็นเป้าหมายที่จะตอ้ งกา้ วไป
ให้ถึง เป็ นการกา้ วเดินไปสู่ความเป็ นพระอริยบุคคลให้ได้ อย่างน้อยที่สุดคือพระ
โสดาบนั ทมี่ ีความศรัทธาที่ต้งั มน่ั แน่วแน่มนั่ คงไมห่ วน่ั ไหวในพระพทุ ธ พระธรรม
พระสงฆ์ ปิ ดอบายภูมิ ไม่ตกต่าไปกว่าอตั ภาพของความเป็ นมนุษยแ์ ลว้ อย่างนาน
ที่สุดก็จะเกิดอีกไม่เกิน 7 ชาติ ก็จะเขา้ ถึงความเป็ นพระอรหันต์ ไม่กลบั มาเกิดอีก
ไม่ต้องมาอยู่ในวังวนของวฏั สงสาร และหน่ึงในพ้ืนฐานของความเป็ นพระ
โสดาบนั ก็คือ มมี รณานุสติเป็นอารมณอ์ นั ระลกึ นึกถึงอยู่อยา่ งเป็นปกติ มีความรูม้ ี
ความเขา้ ใจในเร่ืองท่ีว่าเกิดมาแลว้ ไม่ตายไม่มี โดยอตั ภาพของความเป็ นธาตขุ นั ธ์
น้นั ย่อมมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา แจง้ ประจกั ษช์ ัดในความเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป
ภายใตก้ ฎแห่งพระไตรลกั ษณ์ เพราะชีวติ และโลกเป็นสงั ขตธรรมหรือสังขารธรรม
ธรรมอนั มีเหตุปัจจัยปรุงแต่ง ย่อมท่ีจกั ตอ้ งอยู่ภายใต้สิ่งท่ีเรียกว่า อนิจจงั ทุกขงั
อนัตตา คุณภาพของจิตตรงน้ี ถือว่าเป็ นจิตท่ีมีอริยทรัพยภ์ ายใน ที่เป็ นคุณภาพใน
ระดับหน่ึงแลว้ ไม่มีตกต่าไปจากน้ีแลว้ มีแต่พุ่งข้ึนไปอย่างตรงเป้าเขา้ จุด สู่มรรค

27

ผลนิพพานเทา่ น้นั คอื เขา้ สู่ความเป็นพระอรหันตเ์ พียงถ่ายเดียวเท่าน้นั ไมม่ เี ป็นอ่ืน
ไปจากน้ีแน่นอน

ดว้ ยเหตนุ ้ีจงึ กล่าวไดว้ ่า พระพทุ ธเจา้ เป็นเพียงผชู้ ้ีแนะบอกทางเท่าน้นั หาก
ปรารถนาที่จะไดผ้ ลแบบใด ก็ตอ้ งทาหน้าท่ีคือต้องทาเหตุให้สอดคลอ้ งกับผลท่ี
ปรารถนาน้นั นั่นหมายความว่าตอ้ งลงมือทาเอง ใครทาใครได้ ใครกินใครอ่ิม ไม่
ไดม้ าดว้ ยเพียงแค่ความปรารถนาเท่าน้นั เปรียบไดก้ บั แม่ไกท่ ีเ่ มื่อออกไขม่ าแลว้ เฝ้า
ปรารถนาท่ีจะให้ไข่ฟักออกมาเป็ นตวั ลูกไก่ โดยไม่ทาหน้าที่กกไข่ให้อุณหภูมิที่
พอเหมาะแล้วไซร้ ไข่ก็ไม่อาจท่ีจะฟักออกมาเป็ นตวั ลูกไก่ได้ และแม้แม่ไก่ไม่
ปรารถนาให้ไข่ฟักออกมาเป็ นตวั ลูกไก่เลย แต่มีความเพียรทาหน้าที่กกไข่อย่าง
สมา่ เสมอต่อเนื่อง ไข่ก็ยอ่ มท่จี ะฟักออกมาเป็นตวั ลูกไกอ่ ยา่ งแน่นอน

ธรรมอนั องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไดต้ รัสกล่าวแล้วน้นั เปรียบ
ประดุจหงายของที่คว่า เปิ ดของที่ปิ ด ช้ีทิศแก่ผูห้ ลงทาง จุดแสงสว่างในท่ีมืด ดว้ ย
หวงั ว่าผูท้ ี่มีดวงตาจกั เห็นรูปน้นั ได้ จึงเป็ นความชัดเจนที่ว่า เม่ือทาเหตุให้ถึงแลว้
ผลย่อมตอ้ งปรากฏอยา่ งมิตอ้ งสงสัย ดุจหงายของท่ีควา่ เปิ ดให้เห็นของท่ถี กู ปิ ดอยู่
และช้ีบอกทิศทาง ไม่ใหไ้ ปในทางทีผ่ ิด นน่ั ก็คอื สมั มาทิฏฐิ ช้ีบอกไปในแนวทางท่ี
จะเป็ นหลกั ประกนั ไม่ให้ไปสู่ทิศทางของการตอ้ งตกอยู่ภายใตก้ ารครอบงาของ
กิเลส ตณั หา อปุ าทาน มานะ ทฏิ ฐิ และอวชิ ชา ซ่ึงจะนาพาให้ชีวิตตกตา่ อยใู่ นวงั วน
ของทะเลเพลงิ แห่งความทกุ ขอ์ นั หาตน้ ไม่เจอหาปลายไม่พบ ยากแสนยาก ยาวนาน
แสนยาวนานยิ่งนกั ท่ีจะได้มีโอกาสของการไดก้ ลับมาซ่ึงอตั ภาพของความเป็ น
มนุษย์ ไดพ้ บพระพุทธศาสนา ไดม้ าศึกษาและปฏิบตั ิธรรม อนั จกั นาไปสู่ความพน้
ทุกข์ หลดุ จากวงั วนแห่งวฏั สงสาร เขา้ ถึงซ่ึงพระนิพพาน

28

ถามว่าทา่ นรับประทานอาหารทกุ วนั ไหม? ทา่ นออกกาลงั กายทุกวนั ไหม?
คาว่าออกกาลงั กายอาจจะออกกาลงั กายเป็ นไปอย่างธรรมชาตกิ ็ได้ คือการยนื เดิน
น่ัง นอน คู้เหยียด ทากิจกรรมหน้าท่ีการงานต่างๆ แม้กระทง่ั กวาดบา้ น ถูบา้ น
ทากับขา้ ว ก็คือการออกกาลงั กายโดยธรรมชาติน่นั เอง และภายในร่างกายเองก็มี
การบริหารร่างกายอย่างเป็ นอตั โนมตั ิอย่างสม่าเสมอต่อเน่ือง เช่น หัวใจทาหน้าที่
สูบฉีดโลหิตให้หมุนเวียนนาสารอาหารไปหล่อเล้ียงอวยั วะนอ้ ยใหญ่ ปอดก็ทา
หน้าที่เก่ียวกับการหายใจ ให้เกิดการแลกเปล่ียนก๊าซออกซิ เจ น แ ละ
คาร์บอนไดออกไซด์ เป็ นต้น ในขณะเดียวกันก็ตอ้ งอาบน้าชาระร่างกาย และ
พกั ผ่อนนอนหลบั เพอ่ื ใหร้ ่างกายสดชื่น และฟ้ื นฟพู ลงั ทางกายข้ึนมา การกล่าวถึง 4
กิจกรรมน้ีข้ึนมา ก็เพื่อใหเ้ ห็นว่าแมแ้ ต่ร่างกายเองก็มีหนา้ ทที่ ่ตี อ้ งทา เพอ่ื รกั ษาความ
เป็นปกติของชีวิตร่างกาย ไม่อาจปล่อยปละละเลยเกยี จครา้ นได้

แลว้ ชีวติ ส่วนจติ ล่ะ? ทา่ นเคยใหอ้ าหารทางจติ ไหม? ท่านเคยบริหารทางจติ
ไหม? ท่านเคยอาบน้าทางจติ ไหม? ทา่ นเคยพกั ผอ่ นทางจิตไหม? 4 กิจกรรมทางจติ
น้ี โดยส่วนใหญ่อาจจะไม่ทราบเลยว่า ชีวิตส่วนจิตมีด้วยหรือ? หรืออาจจะทราบ
บา้ งแตก่ ็ไมช่ ดั เจน จึงไมต่ อ้ งกลา่ วถึงการที่จะตอ้ งดาเนินการใน 4 กิจกรรมน้ีใหก้ บั
ชีวิตส่วนจิตเลย เพราะไม่รู้ ไม่เขา้ ใจ ไม่ตระหนกั รู้ในความจาเป็ นอนั สาคญั โดย
พ้ืนฐานของชีวิต

ชีวิตประกอบดว้ ยกายและจิต จิตคิด จึงส่ังให้กายกระทาท้งั ทางวาจาและ
ทางกาย จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว แตเ่ รากลบั รู้เร่ืองบ่าวมากกวา่ รู้เร่ืองนาย การรู้เร่ือง
บ่าวนบั เป็นเรื่องทดี่ แี ลว้ แต่ใหด้ ีกวา่ คอื รูท้ ้งั เรื่องบ่าวและเรื่องนาย จึงจะถอื วา่ เป็ น
ความรู้ที่สมบูรณ์ ซ่ึงนายก็คือจิต มีความสาคัญในฐานะผูส้ ั่ง ผูช้ ้ีนา แต่เรากลับ

29

ละเลยที่จะดูแลบริหารจดั การให้ถูกตอ้ ง ผลก็คือนามาซ่ึงความทุกขท์ ้งั ทางจิตและ
ทางกาย ท้งั น้ีก็ดว้ ยขาดสตปิ ัญญาทจ่ี ะบริหารจดั การทางจิตนนั่ เอง

ชีวิตส่วนจิตก็ตอ้ งการอาหารทางจิต ต้องการส่ิงหล่อเล้ียงสิ่งอิงอาศัย
เช่นกนั ถา้ ไม่มอี าหารทางจิตหล่อเล้ยี งกจ็ ะเป็นหน่ึงในสาเหตุท่ีทาให้เกิดนิวรณ์ขอ้
ท่ี 3 น้ีได้ กค็ ือเกยี จคร้าน หดหู่ ทอ้ แท้ หมดหวงั สิ้นหวงั ไมม่ ีกาลงั ไมม่ พี ลงั ทางจติ
หรืออาจจะกล่าวในมมุ ท่ีวา่ ไม่มีกาลงั ใจก็ได้ การไดร้ ับประทานอาหารกจ็ ะนามา
ซ่ึงพละกาลงั หากได้อาหารทางจติ กจ็ ะทาให้มีกาลงั ใจมพี ลงั ทางจิต ซ่ึงตรงน้ีหาก
ไม่มีความรู้ความเขา้ ใจ ก็ไม่รู้เหมือนกนั ว่าอะไร?คือ อาหารทางจิต ขอบอกกล่าว
อย่างตรงไปตรงมาเลยวา่ ปี ติและสุขคอื อาหารทางจิต คอื สิ่งที่หลอ่ เล้ียงจิตให้มีพลงั
หล่อเล้ียงจิตให้มีความอิ่มเอิบเบิกบาน เบาสบาย โล่งโปร่ง มีความบนั เทิงทางจิต
ใหจ้ ิตมีกาลงั ทจ่ี ะทาหนา้ ที่ได้อยา่ งเป็นปกติ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพท้งั ต่อธรรมท้งั
ฝ่ายนามธรรมและรูปธรรม ท้งั ภายในและภายนอกนน่ั เอง ซ่ึงเรื่องน้ีเป็นประเด็นท่ี
ยงั ตอ้ งใชเ้ วลาในการพดู คุยใหก้ วา้ งขวางและลงรายละเอียดกนั ในลาดบั ตอ่ ๆไป

อุทธัจจะกุกกุจจะ น้ำที่เป็ นคล่นื ซัดสำด

ต่อมานิวรณ์ข้อที่ 4 คือ อุทธัจจะกุกกุจจะ คือฟุ้งซ่าน หงุดหงิด ราคาญ
เดือดร้อนใจ ปฏิบตั ไิ ปทาไป กเ็ กดิ คาถามข้ึนมาว่า ทาไมเราจะตอ้ งมาอยู่ตรงน้ีดว้ ย?
ทาไมเราตอ้ งมาฝึ กตรงน้ีดว้ ย? ทามาต้งั นานแลว้ ก็ไมไ่ ปไหนเลย? ก็ยงั วนเวียนอยู่
ตรงน้ี ความคิดก็ยงั หมกมุ่นในส่ิงน้ันในส่ิงน้ีในเรื่องน้ันเร่ืองน้ี มนั วนเวียนอยู่
ตลอดเวลาหาจุดจบมิได้ ในท่สี ุดก็นง่ั ไมไ่ ดห้ รือปฏบิ ตั ไิ ม่ได้ เพราะรูส้ ึกราคาญ รูส้ ึก
หงุดหงิดใจ เป็ นตวั บน่ั ทอนจิตใจ ซ่ึงตรงน้ีในเชิงอุปมาอุปไมยก็เหมือนน้าท่ีพร้ิว
ไหวจนเป็ นคลื่นที่ซัดสาด สะเทือนอย่างรุนแรง จิตสะเทือน กลุม้ ใจ เดือดร้อนใจ

30

เป็ นคลื่นกระแสของความหมกมุ่นครุ่นคิดฟุ้งซ่านหงุดหงิดราคาญใจ ซ่ึงอาจเป็ น
ส่วนหน่ึงของสาเหตทุ ีน่ าไปสู่พฤติกรรมหยบิ โหย่ง ฉาบฉวย หุนหนั พลนั แล่น และ
อาจจะถึงข้ันก้าวร้าว โดยมีลักษณะท่ีอยู่กับเร่ืองน้ันเร่ืองน้ีได้ไม่นานก็ต้อง
เปลี่ยนไปแลว้ เพราะความคิดเคลื่อนไปเร็ว เปล่ียนไปเรื่องน้นั เปล่ียนไปเรื่องน้ี
เปล่ียนไปสิ่งน้นั เปล่ียนไปส่ิงน้ีอย่ตู ลอดเวลา เหตุการณ์เร่ืองราวผคู้ นวนเวยี นไปมา
ทาให้วิตกกงั วลฟุ้งซ่าน ซ่ึงก็จะมีระดับความรุนแรงมากนอ้ ยแตกต่างกนั ไป หาก
สะสมไปจนเป็นนิสัย ก็จะโนม้ เอียงไปในทางวิตกจริตได้ ซ่ึงกรรมฐานท่ีช่วยแกไ้ ข
ได้ก็ด้วยการเจริญอานาปานสติ หรือเพ่งกสิณ เป็ นตน้ แต่ก็คงต้องใช้ดุลยพินิจ
พิจารณาอย่างรอบด้านเหมาะสมเป็ นกรณีๆไป ซ่ึงในทางปฏิบตั ิมีความจาเป็ นที่
จะตอ้ งมีกัลยาณมิตรช่วยเหลือแนะนา ก็จะช่วยให้คล่ีคลายไปในทางที่ถูกต้อง
เหมาะสมได้

ในท่ีน้ีจะกล่าวในแง่ที่จะระงบั อกุศลธรรมที่มาเป็ นอุปสรรคขดั ขวางการ
พฒั นาทางจติ คอื ไม่ให้เกิดสมาธิจิตได้ จะมีอุบายวธิ ีการระงบั อยา่ งไร? ในภาคของ
การปฏิบตั ิคือ ให้จิตทาหน้าท่ีพฒั นา สติ สัมปชญั ญะ และความเพียร ตามรู้ตามดู
ความเป็ นไปของความนึกคิดต่างๆที่ผุดข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง โดยท้งั ไม่ห้ามและไม่
ส่งเสริม เพียงรู้เทา่ ทนั ก็เพียงพอ รู้เทา่ ทนั แลว้ กป็ ลอ่ ยวาง ไม่มีความยนิ ดี ไมม่ ีความ
ยนิ รา้ ย อะไรจะเกิดก็เกดิ อะไรจะเป็นไปกเ็ ป็นไป เป็นเช่นน้นั เอง เป็นอยา่ งน้นั เอง
น่ีคือแนวทางในการวางจิต

มาถึงตรงน้ีทาใหน้ ึกถึงภาพๆหน่ึงทศ่ี ิลปิ นท่านหน่ึงไดว้ าดระบายดว้ ยสีน้า
ไว้ เป็ นภาพที่ส่ือแสดงให้เหน็ เด็กนอ้ ยยืนอยู่บนหนา้ ผา กาลงั เฝ้ามองกอ้ นเมฆบน
ทอ้ งฟ้า พรอ้ มประกอบ คาบรรยายโดยมเี คา้ ความไวว้ ่า เดก็ นอ้ ยเฝ้ามองกอ้ นเมฆ

31

ก็จะมีจินตนาการไปต่างๆนานาวา่ กอ้ นเมฆท่ีถูกสายลมพดั ผ่านไปก้อนแลว้ กอ้ น
เล่า บา้ งก็เหมือนรูปสัตว์ บา้ งก็เหมือนรูปคน ในลกั ษณะท่วงท่าอาการต่างๆ เป็ น
ความนึกคิดจินตนาการไปในท่ามกลางบรรยากาศน้ัน และแลว้ ในท่ีสุดก้อนเมฆ
น้ันๆก็ค่อยๆเลือนลางจางหายไป ศิลปิ นท่านน้ีท้งั วาดภาพและเขียนบรรยายไดด้ ี
มาก เป็ นความประทบั ใจที่ยงั คงจดจาได้มาจนถึงทุกวนั น้ี ได้แง่คิดมุมมองทาง
หลกั ธรรมที่ดี เปรียบเหมือนกับความคิดท่ีโลดแล่นไปด้วยความเป็ นอตั ตาตวั ตน
ด้วยความยึดมน่ั ถือมัน่ ด้วยความคิดที่จกั ไปบงั คบั บัญชาส่ิงน้ันสิ่งน้ี ให้เป็ นไป
ตามท่ีเราปรารถนา หากสมหวงั ก็ดีใจเย่อหย่ิงลาพองใจ หากผิดหวงั ก็เศร้าโศก
เสียใจทอ้ แทห้ มดหวงั สิ้นหวงั ชีวิตจึงตอ้ งประสบกับความทุกข์ท้งั กายและใจ ก็
เพราะเป็ นชีวิตที่ไม่ยอมรับความจริงตามความเป็ นจริง หาความเหมาะความพอดี
อย่างมีดุลยภาพไม่ได้ เน้ือแท้ก็คือความว่างเปล่า ความว่างเปล่าตรงน้ีมิได้
หมายความว่าไม่มีอะไร แต่หมายถึง มีอะไรๆน่ันแหละ แต่ไม่มีความเป็ นอัตตา

32

ตวั ตนและของๆตน มีอยู่ ดารงอยู่ เกิดข้ึน ต้งั อยู่ และดบั ไปตามเหตุปัจจยั เป็ นเช่น
น้นั เอง เป็นอยา่ งน้นั เอง ไมเ่ ป็นอน่ื

อปุ มาอุปไมยกบั การท่กี าลงั ดโู ทรทศั น์ เป็นละครเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงกแ็ ลว้ แต่
ที่ท่านชอบ พระเอกนางเอกหัวเราะ ท่านก็หัวเราะไปกบั พระเอกนางเอก พระเอก
นางเอกร้องไห้ ท่านก็ร้องไห้ไปกับพระเอกนางเอก ในขณะน้นั ก็หมายความว่า
ท่านกาลงั เล่นไปกับละครเรื่องน้ัน ตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง จิตนึกคิดปรุงแต่ง
จินตนาการไปตามน้นั แลว้ ก็แสดงอาการออกมาท้งั ทางกายและวาจา ซ่ึงก็เป็ นไป
ตามกลไกปฏิสัมพนั ธ์ตามปกติของจิตกบั อารมณ์โดยผ่านช่องทางอายตนะ แต่ท่ี
เกินเลยไปก็คือความยดึ มนั่ ถือมน่ั นน่ั เอง ที่นามาซ่ึงความฟ้งุ ซ่าน กระวนกระวายใจ
ก็เพราะว่าไปเล่นกบั ความคิดของเราเอง ที่จริงความคิดน้ี ในทางหลกั ธรรมก็คือ
การที่จิตปรุงแต่งในขณะผสั สะกบั สัญญาอารมณ์และปัจจบุ นั อารมณ์ ซ่ึงก็เป็นการ
ทาหน้าที่ในขนั ธ์ 5 ที่เป็ นการประชุมร่วมกนั ของ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และ
วญิ ญาณ นามาสรา้ งเป็นเร่ืองราวดว้ ยการนึกคดิ ปรุงแต่งไปตา่ งๆนานา หากไปเล่น
กบั ความคิดมากจนเกินความพอดี คือมาร้อยเร่ืองก็เล่นร้อยเร่ือง มาพนั เรื่องก็เล่น
พันเร่ือง ตรงน้ีแหละคือความฟุ้งซ่าน เป็ นภาวะท่ีต้องใช้พลงั ทาให้เกิดอาการ
เหน่ือยลา้ ท้งั ใจและกาย สาหรับนกั ปฏิบตั ิแลว้ ตอ้ งรู้เท่าทนั กระแสความคดิ ไม่ท้งั
ตามเพลิดเพลินและไมห่ ักห้ามดว้ ยความโลภ โกรธและหลง แต่ให้จิตทาหนา้ ทค่ี อื
มสี ตริ ะลกึ รู้ มสี มั ปชญั ญะรู้ตวั ทว่ั พร้อมในกระแสความนึกคดิ ปรุงแตง่ น้นั คอื ตามรู้
ตามดูความเป็นไปของความนึกคดิ ปรุงแต่งน้นั โดยท่ีไม่มีความยินดี ไม่มีความยิน
ร้ายกับความนึกคิดน้ันๆ ในท่ีสุดความนึกคิดน้ันๆก็จะค่อยๆหายไปเองโดย
ธรรมชาติ เป็นธรรมชาติท่เี กิดข้ึน ต้งั อยู่ และดบั ไปนนั่ เอง

33

สาหรับผูท้ ี่เริ่มฝึกฝนปฏิบตั ิใหมๆ่ ลว้ นแลว้ แต่ทีจ่ ะตอ้ งพบกบั กระแสคลื่น
ความคิดปรุงแต่งท่ีผุดข้ึนมา คลื่นแลว้ คลื่นเล่า มาร้อยเรื่อง ก็คิดต่อไปจนเป็ นพนั
เร่ือง หาจุดท่ีจะหยดุ กระแสไดย้ ากมาก มาลองดูว่าในขณะกาลงั ปฏิบตั ิ เช่น ในท่า
นง่ั มอื ขวาทบั มือซ้าย เทา้ ขวาทบั เทา้ ซา้ ย นง่ั ตวั ตรง ดารงสติอยู่เฉพาะหนา้ หลบั ตา
เพ่ือให้ได้พกั ผ่อนสายตา หลบั ตาเพ่ือลดอารมณ์ภายนอกให้เหลือนอ้ ยที่สุด ให้อยู่
กบั อารมณภ์ ายในคอื กาย เวทนา จติ และธรรม เช่นในทน่ี ้ีจะฝึกอานาปานสติ โดยมี
ความเพียร มีสติระลึกรู้ มีสัมปชญั ญะรู้ตวั ทวั่ พร้อม อยู่กับลมหายใจเขา้ และลม
หายใจออก ณ จุดกระทบที่ปลายจมูกเท่าน้นั และเม่ือมีความนึกคิดผุดข้นึ มา ก็ให้
เพียงกาหนดรู้ในความนึกคิดน้ันๆ เช่นสมมติว่าในระยะแรกจะมีความนึกคิดผุด
ข้ึนมา 50 เร่ือง ระยะตอ่ มาจะค่อยๆเหลือ 20 เรื่อง ต่อมาเหลอื 10 เร่ือง ตอ่ มาเหลอื 5
เรื่อง กระแสความคิดเกิดดบั เร็วมาก พอมคี วามชานาญในการพฒั นาสติ ให้รู้เท่าทนั
ไดเ้ ร็วข้ึน และมีกาลงั ของสติมากข้ึนตามลาดบั คล่นื ความคดิ เหล่าน้นั ก็จะค่อยๆลด
นอ้ ยลงๆตามลาดบั จนในทส่ี ุดไม่มคี วามนึกคิดใดๆเลย จติ มสี ติกาหนดรู้ทีจ่ ุดเดียว
คือที่ปลายจมูกเท่าน้นั เมื่อมาถึงตรงน้ีก็หมายความว่ามีความสาเร็จในระดบั หน่ึง
แลว้ คือ สามารถรู้เท่าทนั อารมณ์ และยงั สมาธิจิตให้เกิดข้ึน ด้วยความต้งั มน่ั สงบ
ใส และพร้อมต่อการทาหน้าท่ีพัฒนาทางจิตท้ังทางสมาธิและปัญญาให้มี
ความกา้ วหนา้ อย่างต่อเนื่องต่อไปตามลาดบั ในขณะเดียวกนั กม็ ีผลปรากฏคือ ปี ติ
และสุข ซ่ึงปี ติและสุขน้ีคืออาหารทางจิต ท่ีจะช่วยหล่อเล้ียงเก้ือกูลให้จิตฟ้ื นตวั มี
กาลงั ข้ึนมา มีความสดชื่นสดใสข้ึนมาเปรียบได้กบั การอาบน้าทางจิต ความสงบก็
นามาซ่ึงการพกั ผ่อนทางจิต และในทา่ มกลางการมีสติ สัมปชญั ญะ กาหนดรูเ้ ทา่ ทนั
อารมณ์ตา่ งๆน้นั กเ็ ป็ นการบริหารทางจิต สมาธิจิตทีเ่ ขา้ ถึงน้นั กน็ ามาซ่ึงพลงั นามา

34

ซ่ึงกาลงั ทางจิต จิตย่งิ นิ่งยิ่งต้งั มน่ั ก็จกั ยงิ่ มีพลงั มาก ซ่ึงตา่ งกบั ร่างกายท่ีหากตอ้ งการ
ให้มพี ลงั แขง็ แรงก็ตอ้ งมีการเคลื่อนไหว

ในขณะทกี่ าลงั ฝึกจิตใหท้ าหนา้ ที่โดยมี สติ สมั ปชญั ญะในท่ามกลางความ
เป็นไปของอารมณ์คอื กาย เวทนา จิต และธรรมน้นั กค็ อื การบริหารทางจิต โดยจะ
กาหนดให้จิตเคล่ือนหรือจะกาหนดให้จิตนิ่ง ด้วยการเพ่งและพิจารณาในอารมณ์
น้ันๆ ก็อุปมาอุปไมยเหมือนกับการฝึ กม้าป่ าซ่ึงเป็ นมา้ พยศท่ีมีพลังและว่ิงด้วย
ความเร็วมาก จะทาอย่างไร? ที่จะฝึ กม้าพยศน้ีให้เช่ือง ให้เช่ือฟังคาส่ังเพ่ือที่จะ
สามารถนามาใชง้ านตามที่ตอ้ งการได้ จงึ ตอ้ งมีเทคนิคอบุ ายวธิ ีในการฝึก พรอ้ มท้งั
มีความรูเ้ ท่าทนั ในอุปนิสัย อารมณค์ วามรู้สึกของมา้ โดยตอ้ งรู้จกั ใชโ้ อกาสจังหวะ
ทเ่ี หมาะสมพอดี ไมต่ งึ และหย่อนเกนิ ไปในขณะที่ทาการฝึกมา้ น้นั

วจิ กิ ิจฉำ นำ้ ทมี่ เี ปื อกตม

ต่อมาข้อสุดท้ายของนิวรณ์ 5 ก็คือ วิจิกิจฉา คือความลังเล ความสงสัย
ความไม่แน่ใจตา่ งๆนานาที่เกิดข้ึน เปรียบเหมือนกบั น้าท่ีมีเปื อกตม ความสงสัยน้ี
จะกวนจติ ให้ขุ่นมวั อยู่ตลอดเวลาดว้ ยความคิดคานึง คิดนัน่ คดิ น่ีเรื่องน้นั เรื่องน้ี จะ
จริงไหม? จะใช่ไหม? จะเป็ นแบบน้ันไหม? จะไม่เป็ นแบบน้ันไหม? ซ่ึงหากมี
ความรู้มีความเขา้ ใจในระดับหน่ึงแล้ว เร่ืองของวิจิกิจฉาความลงั เลสงสัยต่างๆ
เหล่าน้ี อย่างไรเสีย ก็ไม่สามารถทาให้หายสงสัยได้อยา่ งแจ่มแจง้ ชดั เจน ในระดบั
ของสุตมยปัญญาและจินตามยปัญญา แต่ก็ยงั มีความจาเป็ นโดยพ้ืนฐาน เพ่ือได้รับ
การช้ีนาอย่างถูกตอ้ งในเบ้ืองตน้ ดว้ ยการโยนิโสมนสิการ คือการคิดพิจารณาดว้ ย
ปัญญาอย่างรอบดา้ น วิเคราะห์และสังเคราะห์โดยแยบคายอย่างเป็ นระบบก็จะ
สามารถช่วยให้เห็นปัญหา และวิธีการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตรงต่อความเป็ น

35

จริงได้ และก็ค่อยๆก้าวเข้ามาสู่ภาวนามยปัญญา เพราะภาวนามยปัญญาคือ
ประสบการณต์ รงอนั เกิดจากการฝึกฝนปฏิบตั จิ ริงดว้ ยตนเอง ส่วนสุตมยปัญญาและ
จินตามยปัญญาน้ันเปรียบไดก้ บั การดูแผนที่ซ่ึงช่วยให้เห็นทิศทาง เห็นเป้าหมาย
เห็นแนวทางที่จะไปได้โดยไม่หลงทิศผิดทาง แลว้ ก็เร่ิมเดินทางจริง ลงมือปฏิบตั ิ
จริงซ่ึงก็คือภาวนามยปัญญาน่ันเอง ทาให้ได้ความรู้ความเขา้ ใจที่ละเอียดลึกซ้ึง
ย่ิงข้ึนด้วยประสบการณ์ตรง ส่วนความรู้ในระดับของสุตมยปัญญาน้ันเป็ น
ประสบการณ์ทางอ้อม เป็ นความรู้ เป็ นองค์ความรู้จากประสบการณ์ของท่านผูร้ ู้
ประสบการณ์ขององคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า ประสบการณข์ องพระอรหันต์
ประสบการณ์ของพระอริยบุคคลในระดบั ต่างๆ ประสบการณ์ของผูท้ รงฌานทรง
อภญิ ญา ประสบการณข์ องผทู้ เี่ คยปฏิบตั ฝิ ึกฝนพฒั นาทางจิตมาก่อน ทาใหไ้ ดย้ ินได้

ฟังเน้ือหาทางธรรมที่ไม่เคยได้ยินได้ฟังมาก่อน ทาให้เกิดความสนใจใฝ่ รู้ท่ีจะทา
ความเขา้ ใจในเน้ือหาตา่ งๆเหลา่ น้นั มากข้นึ ตามลาดบั

36

ความลงั เลสงสัยย่อมเกิดข้ึนเป็ นเรื่องปกติธรรมดา แต่อย่างนอ้ ยก็พอจะ
เห็นแนวทางบา้ งแลว้ และเม่ือลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง ก็จะทาให้ไดป้ ระสบการณ์
โดยตรง เปรียบไดก้ บั การไปเดินในป่ าจริงๆ หลงั จากท่ไี ดด้ ูแผนที่มาแลว้ ทาใหเ้ หน็
รายละเอียดว่าเป็ นป่ าแบบไหน? มีตน้ ไมช้ นิดใดบา้ ง? เดินขา้ มแม่น้าลาคลองมากี่
แห่ง? เจอสิงสาราสัตว์ชนิดน้ันชนิดน้ี เป็ นต้น ซ่ึงความรู้เหล่าน้ีก็เปรียบได้กับ
ภาวนามยปัญญานน่ั เอง เป็ นประสบการณ์ตรง ซ่ึงตอ้ งอาศยั ความเพียรและความ
อดทนในการฝึ กฝนปฏิบตั ิ และองคค์ วามรู้ในระดบั ภาวนามยปัญญาน้ีคอื ของจริง
เชิงแจง้ ประจกั ษ์ ทาใหส้ ามารถรูแ้ จง้ แทงตลอดในพระสัทธรรมไดจ้ ริง และเป็นตวั
ตดั สินช้ีขาดในผลสาเร็จอย่างแทจ้ ริง

ทฤษฎีได้มาจากการปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิพิสูจน์ทฤษฎี ทฤษฎีช้ีนาการปฏบิ ตั ิ
การปฏบิ ตั นิ ามาซ่ึงผลปรากฏจริง ทาใหเ้ กิดกาลงั ใจในการปฏบิ ตั ิท่ีจริงจงั สม่าเสมอ
และต่อเนื่อง นามาซ่ึงความก้าวหน้าไปโดยลาดับ ความสงสัยก็ได้รับคาตอบที่
ชดั เจนข้นึ ตามระดบั แห่งคณุ ธรรมที่เขา้ ถงึ น้นั ๆตามลาดบั ความลงั เลกน็ อ้ ยลง ความ
ศรทั ธาอนั ประกอบดว้ ยปัญญาก็มมี ากข้นึ ในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ในหลกั
ปฏิบตั ิคือ ศีล สมาธิ ปัญญา และในกฎแห่งกรรม คือความเป็ นเหตุเป็ นผล จนใน
ทส่ี ุดก็เขา้ ถงึ ความศรัทธาที่แน่วแน่มน่ั คงไมห่ วน่ั ไหวที่เรียกว่า อจลศรัทธา ซ่ึงเป็ น
หน่ึงในคณุ ธรรมของพระโสดาบนั นนั่ เอง

จะเหน็ ไดว้ ่าหากยงั มวั อยู่กบั ความลงั เลสงสยั โดยไม่ทาให้เกิดความชัดเจน
แลว้ กจ็ ะไม่สามารถหลดุ จากปมเงอื่ นน้ีไปได้ ก็จะย้าคดิ ย้าจาย้าสงสยั ไปเรื่อย ในแง่
น้ีกจ็ ะเกิดความโนม้ เอียงไปทางวติ กจริต ฟุ้งซ่านไปได้ แต่หากใชค้ วามสงสัยน้นั มา
เป็นโอกาสแห่งการคน้ ควา้ หาคาตอบอยา่ งมเี หตมุ ผี ล ตรงน้ีก็จะมีความโนม้ เอียงมา

37

ทางพุทธิจริต เป็ นพวกนักคิด นักพิจารณาหาเหตุผล กรรมฐานท่ีเหมาะก็คือ จตุ
ธาตุววฏั ฐาน อาหาเรปฏิกูลสัญญา มรณานุสติ และอุปสมานุสติ เป็ นตน้ ซ่ึงอย่าง
นอ้ ยก็ให้เหน็ แนวทางกวา้ งๆในเชิงหลกั วชิ า แตใ่ นเชิงของการปฏบิ ตั กิ ็คงจะตอ้ งลง
รายละเอียดในแงร่ ูปธรรมทเี่ ป็นจริงเฉพาะกรณีๆไป

สาหรับในเรื่องความลงั เลสงสัยน้ี มีแง่คดิ โดยอุปมาอปุ ไมยเหมือนกับการ
เลือกหารองเทา้ ใส่ หากมวั แต่ยืนจ้องมองรองเทา้ รูปแบบน้นั รูปแบบน้ี ขนาดน้ัน
ขนาดน้ีอยู่อย่างน้นั ก็ยากท่ีจะได้รองเทา้ ท่ีเหมาะสมมาใส่ ส่ิงท่ีควรจะตอ้ งทาคือ
หลงั จากพิจารณาในเบ้ืองตน้ แลว้ ก็ถึงเวลาท่ีตอ้ งตดั สินใจหยิบรองเทา้ มาลองสวม
ใส่ ลองผิดลองถูก แลว้ ในที่สุดกจ็ ะไดร้ องเทา้ ตามที่ตอ้ งการไดใ้ นขณะน้นั แต่เมื่อ
นามาใส่เดินในชีวิตจริงแลว้ อาจจะเกิดสิ่งที่เรียกตามภาษาบา้ นๆว่า “รองเทา้ กดั ”
กดั จนหนงั เทา้ ถลอกเป็นแผลได้ ดว้ ยเหตุท่ีคบั แน่นทาให้เกิดการเสียดสีท่ีจดุ ใดจุด
หน่ึงของเทา้ นนั่ เอง ดงั น้ันจึงจะตอ้ งทาการปรับปรุงแกไ้ ขสรุปบทเรียนตามความ
เป็นจริงอีก จะเห็นไดว้ า่ ในทา่ มกลางความเป็นจริงของชีวติ ลว้ นแลว้ แต่จะตอ้ งพบ
กับปัญหาอุปสรรคนานาประการท้ังสิ้น ขอแต่ให้โอกาส กลา้ คิด กลา้ ทา กล้า
ตัดสินใจ กระบวนการเรียนรู้ก็จะเกิดข้ึน ก็จะช่วยให้การแกไ้ ขความลงั เลสงสัย
น้นั ๆผ่านไปไดต้ ามลาดบั อยา่ งเป็นระบบ

หลดุ พ้นแล้วเพรำะรู้โดยชอบ นิวรณ์ 5 ละได้แล้ว

เร่ืองของนิวรณ์น้ีเป็นเร่ืองของอกุศลธรรมทีเ่ กดิ ข้นึ ภายในความนึกคิดปรุง
แตง่ ทเี่ กิดข้ึนไดก้ บั ทุกท่านทย่ี งั เป็นปุถุชนอยู่ รวมถงึ พระเสขะคือ พระอริยบคุ คลที่
ยงั ไม่ถึงความเป็นพระอรหนั ต์ ซ่ึงมีชนิดที่ละไดแ้ ลว้ และยงั ละไมไ่ ด้ พรอ้ มท้งั ระดบั
ความหนกั เบา ตลอดถงึ การส่งผลที่แตกตา่ งกนั ไป เช่น นิวรณใ์ นระดบั ปุถชุ น ส่งผล

38

ถึงการละเมิดศลี ทาใหม้ โี อกาสไปเกดิ ในอบายภูมไิ ด้ แต่ในระดบั ของพระโสดาบนั
บคุ คลน้นั ไมม่ ีการกา้ วลว่ งละเมิดศลี แลว้ จึงปิ ดอบายภมู ิไดเ้ ลย ซ่ึงในพระไตรปิ ฎก
เล่มท่ี 19 พระสุตตนั ตปิ ฎก เล่มท่ี 11 สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค โลมสกงั ภิยสูตร
วิหารธรรมของพระเสขะ ต่างกับของพระพุทธองค์ ขอ้ ท่ี 1369 มีใจความดงั น้ี
“สมยั หน่ึง ท่านพระโลมสกังภิยะอยู่ ณ นิโครธาราม ใกล้เมืองกบิลพัสดุ์แควน้
สกั กะ คร้งั น้นั เจา้ ศากยะพระนามวา่ มหานาม เสด็จเขา้ ไปหาท่านพระโลมสกงั ภิยะ
ถึงท่ีอยู่ถวายนมสั การแลว้ ประทบั น่ัง ณ ที่ควรส่วนขา้ งหน่ึง คร้ันแลว้ ไดต้ รสั ถาม
ว่า ขา้ แต่ท่านผูเ้ จริญ สมาธิอนั สัมปยุตดว้ ยอานาปานสติน้ัน เป็ นวิหารธรรมของ
พระเสขะ เป็ นวิหารธรรมของพระตถาคต หรือว่าวิหารธรรมของพระเสขะอย่าง
หน่ึง ของพระตถาคตอย่างหน่ึง ท่านพระโลมสกังภิยะถวายพระพรว่า ดูกร
มหาบพิตร สมาธิอนั สมั ปยตุ ดว้ ยอานาปานสตนิ ้นั แล เป็นวหิ ารธรรมของพระเสขะ
เป็ นวิหารธรรมของพระตถาคต หามิได้ วิหารธรรมของพระเสขะอย่างหน่ึง ของ
พระตถาคตอย่างหน่ึง.” และขอ้ ที่ 1370 มเี น้ือความวา่ “ดกู รมหาบพิตร ภกิ ษเุ หลา่ ใด
เป็ นเสขะ ยงั ไม่บรรลุอรหัตผล ย่อมปรารถนาความเกษมจากโยคะอนั ยอดเยย่ี มอยู่
ภิกษุเหล่าน้นั ย่อมละนิวรณ์ 5 นิวรณ์ 5 เป็ นไฉน? คือ กามฉันทนิวรณ์ พยาบาท
นิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธจั จกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ ภิกษุเหล่าใดเป็นเสขะ
ยงั ไม่บรรลุอรหัตผล ย่อมปรารถนาความเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยมอยู่ ภิกษุ
เหล่าน้นั ย่อมละนิวรณ์ 5 เหล่าน้ี.” และขอ้ ท่ี 1371 มีเน้ือความว่า “ดูกรมหาบพิตร
ภิกษุเหล่าใดเป็นพระอรหันตขีณาสพอยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจท่ีควรทา ทาเสร็จแลว้
ปลงภาระแลว้ บรรลปุ ระโยชนต์ นแลว้ ส้ินสังโยชนเ์ คร่ืองนาไปสู่ภพแลว้ หลดุ พน้
แลว้ เพราะรู้โดยชอบ นิวรณ์ 5 อนั ภิกษุเหล่าน้นั ละไดแ้ ลว้ ถอนรากเสียแลว้ กระทา
ไม่ให้มีที่ต้งั ดุจตาลยอดด้วน กระทาไม่ให้มี มีอนั เกิดข้ึนอีกต่อไปเป็ นธรรมดา

39

นิวรณ์ 5 เป็ นไฉน? คือกามฉันทนิวรณ์ พยาบาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธจั จกุก
กุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ ภิกษุเหล่าใดเป็ นพระอรหันตขีณาสพ ... หลุดพน้ แลว้
เพราะรู้โดยชอบ นิวรณ์ 5 เหล่าน้ี อนั ภิกษุเหล่าน้ันละได้แลว้ ถอนรากเสียแลว้
กระทาไม่ให้มีที่ต้งั ดุจตาลยอดดว้ น กระทาไม่ให้มี มีอนั ไม่เกิดข้ึนอีกต่อไปเป็ น
ธรรมดา.” และ ขอ้ ที่ 1372 มีเน้ือความว่า “ดูกรมหาบพิตร พระองค์พึงทราบขอ้ น้ี
โดยปริยายที่วิหารธรรมของพระเสขะอย่างหน่ึง ของพระตถาคตอย่างหน่ึง.”

เป้าพึงประสงค์คือการพฒั นาจิตให้เกิดความเจริญงอกงามทางสมาธิและ
ปัญญา แต่มีนิวรณ์มาขวางก้ัน จึงเป็ นหน้าที่ที่จักตอ้ งระงับซ่ึงนิวรณ์ให้ได้ เมื่อ
นิวรณ์ระงบั สมาธิก็เกิดข้ึนเองโดยธรรมชาตินน่ั เอง แตส่ ิ่งเหล่าน้ีไม่ไดเ้ กดิ ข้นึ ง่ายๆ
และไม่ได้เกิดข้ึนมาลอย ๆ มีเหตุมีปัจจยั มีท่ีมามีที่ไป ด้วยเหตุน้ีจึงตอ้ งเรียนรู้ทา
ความเขา้ ใจดว้ ยการฝึกฝนปฏิบตั ใิ ห้ไดส้ มาธิที่มีความต้งั มน่ั มคี วามสงบ มคี วามใส
มีพลงั มีความควรแก่การงาน แลว้ ใช้ฐานจากสมาธิจิตน้ี มาพฒั นาทางปัญญาใน
ระดับที่เรียกว่าภาวนามยปัญญา เป็ นปัญญาที่เกิดจากการฝึ กฝนปฏิบตั ิจริงพฒั นา
จริง ซ่ึงในเบ้อื งตน้ กโ็ ดยอาศยั ฐานปัญญาในระดบั สุตมยปัญญาและจินตามยปัญญา
มาเป็นแนวคิดแนวทางชว่ ยช้ีนาการปฏบิ ตั ใิ หเ้ ป็นไปอย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

หากกล่าวในภาพรวมในเชิงเปรียบเทียบ นิวรณเ์ ป็ นสิ่งท่ีทาน้าให้ขนุ่ น้าที่
ขุ่น ย่อมมิอาจมองเห็นอะไรได้ สมาธิเป็ นส่ิงท่ีทาให้น้าใส ปัญญาเป็ นส่ิงท่ีทาให้
มองเห็นว่าในน้ าที่ใสน้ันมีกุ้งหอยปูปลา ด้วยเหตุน้ีสมาธิและปัญญาจึงมี
ความสัมพนั ธ์เชิงเก้ือกูลซ่ึงกนั และกนั โดยมีศีลเป็ นพ้ืนที่ยงั ความเป็นปกติของกาย
และวาจา เพื่อให้จติ ทาหนา้ ทีพ่ ฒั นาไปไดอ้ ยา่ งสมา่ เสมอต่อเนื่อง

40

นิวรณก์ บั สมาธิเป็นเร่ืองในระดบั จิต โดยตอ้ งระงบั นิวรณแ์ ละพฒั นาสมาธิ
ซ่ึงมีคาตรัสกล่าวในพระไตรปิ ฎก เล่มที่ 31 พระสุตตนั ตปิ ฎก เลม่ ท่ี 23 ขทุ ทกนิกาย
ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค อานาปาณกถา ขอ้ ท่ี 363 ท่ีมีเน้ือหาท่ีเป็ นประโยชน์
ส่งเสริมการปฏิบตั ิธรรม โดยมเี น้ือความดงั ตอ่ ไปน้ี “ญาณในธรรมอนั เป็นอนั ตราย
8 และญาณในธรรมอนั เป็นอปุ การะ 8 เป็นไฉน ฯ กามฉนั ทะเป็นอนั ตรายแกส่ มาธิ
เนกขมั มะเป็ นอุปการะแกส่ มาธิ พยาบาทเป็ นอนั ตรายแก่สมาธิ ความไม่พยาบาท
เป็นอปุ การะแก่สมาธิ ถนี มิทธะเป็นอนั ตรายแกส่ มาธิ อาโลกสญั ญาเป็นอุปการะแก่
สมาธิ อุทธัจจะเป็ นอันตรายแก่สมาธิ ความไม่ฟุ้งซ่านเป็ นอุปการะแก่สมาธิ
วจิ กิ จิ ฉาเป็นอนั ตรายแกส่ มาธิ ความกาหนดธรรมเป็นอุปการะแก่สมาธิ อวิชชาเป็น
อนั ตรายแก่สมาธิ ญาณเป็ นอุปการะแก่สมาธิ อรติเป็ นอนั ตรายแก่สมาธิ ความ
ปราโมทยเ์ ป็ นอุปการะแก่สมาธิ อกุศลธรรมแมท้ ้งั ปวงเป็ นอนั ตรายแกส่ มาธิ กุศล
ธรรมท้งั ปวงเป็ นอุปการะแก่สมาธิ ญาณในธรรมอนั เป็ นอนั ตราย 8 และญาณใน
ธรรมเป็ นอุปการะ 8 เหล่าน้ี จิตอนั ฟุ้งซ่านและจติ สงบระงบั ย่อมดารงอยู่ในความ
เป็นธรรมอยา่ งเดยี วและย่อมหมดจดจากนิวรณ์ ดว้ ยอาการ 16 เหลา่ น้ี ฯ”

สรุป

เน้ือหาท้งั หมดในที่น้ี เป็ นเน้ือหาโดยสังเขป เช่ือว่าอย่างน้อยที่สุดคงจะ
ช่วยให้ท่านท้งั หลายพอจะได้แง่คิดมุมมองและเห็นแนวทางในการพฒั นาจิตท้ัง
ทางดา้ นสมาธิและปัญญา โดยทจ่ี ะตอ้ งระงบั ซ่ึงนิวรณ์ กา้ วขา้ มอปุ สรรคน้ีไปให้ได้
ว่าไปแลว้ ส่ิงต่างๆเหล่าน้ีก็คอยรบกวนจิตใจของเราท่านอยู่แลว้ ในชีวิตประจาวนั
ไมม่ ากก็นอ้ ยตามเหตปุ ัจจยั ในแต่ละโอกาสทต่ี อ้ งเผชิญกบั อารมณต์ ่างๆทผ่ี า่ นเขา้ มา
ในท่ามกลางการพบปะกบั ผูค้ น เหตุการณ์เรื่องราวทเี่ กิดข้นึ อยู่ตลอดเวลา แต่อย่าง

41

นอ้ ย การท่ีได้หลกั วิชา ได้หลกั คิด ไดแ้ นวทางในการเก่ียวขอ้ งกับส่ิงเหล่าน้ี ก็จะ
ช่วยให้ทราบว่าจะดาเนินการจดั การอย่างไร? ให้เป็ นไปในทิศทางทีถ่ ูกตอ้ ง เขา้ ถงึ
ความสงบ มคี วามทุกขน์ อ้ ยลง มคี วามสุขมากข้ึนพรอ้ มดว้ ยความเจริญในสตปิ ัญญา

เป็ นเรื่องทตี่ อ้ งยอมรบั ว่าเน้ือหาในท่ีน้ียอ่ มตอ้ งมีจดุ อ่อนขอ้ บกพร่องอย่าง
แน่นอน ซ่ึงก็ขอน้อมรับขอ้ วิพากษ์วิจารณ์ต่างๆดว้ ยความเคารพ และจะพยายาม
พฒั นาเพ่อื ใหเ้ กดิ ความรอบดา้ นมากยง่ิ ข้ึนดว้ ยกศุ ลเจตนาในประโยชนท์ จ่ี ะพึงมี

ขอนอบนอ้ มนมสั การพระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ ซ่ึงเป็น
ทีพ่ ่งึ อนั ประเสริฐ เป็นท่พี ่งึ อนั เกษม เป็นทีพ่ ่งึ อนั สูงสุด ทีย่ งั ความพน้ ทกุ ขไ์ ด้

ดว้ ยอานิสงสผ์ ลบุญแห่งธรรมทานน้ี ขออุทิศแด่พอ่ แม่ ครูอาจารย์ และผูม้ ี
พระคุณทุกท่าน ท้งั เจา้ กรรมนายเวร ตลอดถึงสรรพสัตวท์ ้งั หลายท่ีเป็ นเพ่ือนร่วม
ทุกขเ์ กิดแก่เจ็บตายด้วยกนั ท้งั หมดท้งั สิ้น ขอให้ท่านท้งั หลายมีความสุข มีความ
เจริญในกาลงั ทรัพย์ กาลงั กาย กาลงั ใจ กาลงั สติปัญญา กาลงั ความสามารถ กาลงั
แห่งความดี ตราบจนบรรลซุ ่ึงมรรคผลและนิพพานในท่ีสุดน้ีเทอญ.

42

43


Click to View FlipBook Version