The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระเบียบพนักงานราชการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by slayer029, 2019-06-17 00:21:01

ระเบียบพนักงานราชการ

ระเบียบพนักงานราชการ

ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี
วา ดว ยพนักงานราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๗

โดยท่เี ปนการสมควรกาํ หนดใหมกี ารปรับปรุงกระบวนการจา งงานภาครัฐในสวนของ
ลูกจางของสว นราชการใหมีความหลากหลาย เพ่ือใหเกิดความเหมาะสมในการใชก ําลังคนภาครฐั
และใหการปฏิบตั ิราชการมีความคลอ งตวั เกดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล โดยสอดคลองตามแนว
ทางการบรหิ ารจดั การภาครฐั แนวใหม คณะรัฐมนตรีจึงเหน็ สมควรใหมีการจางพนักงานราชการ
สําหรบั การปฏิบัตงิ านของสวนราชการ

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบัญญัตริ ะเบยี บบรหิ าร
ราชการแผน ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรีโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี จึงวางระเบียบไว
ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รียกวา “ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วา ดว ยพนกั งานราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๗”

ขอ ๒ ระเบยี บนใี้ หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตวนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนตนไป

ขอ ๓ ในระเบยี บน้ี
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารพนกั งานราชการ
“สว นราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการทเี่ รยี กชื่อ
อยางอืน่ และมฐี านะเปน กรม หรอื หนว ยงานอนื่ ใดของรฐั ท่ีมีฐานะเปนสว นราชการตามกฎหมาย
วาดวยระเบยี บบริหารราชการแผนดนิ และกฎหมายวา ดว ยการปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม
เวน แตร าชการสวนทองถ่นิ
“หัวหนา สว นราชการ” หมายความวา ปลดั กระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนา
สว นราชการท่ีเรียกชื่ออยา งอ่นื และมีฐานะเปนกรม หรอื หวั หนาหนว ยงานอ่นื ของรัฐท่มี ฐี านะเปน
สว นราชการ และผวู าราชการจงั หวดั ซึ่งเปน ผวู าจางพนกั งานราชการ



“พนกั งานราชการ” หมายความวา บุคคลซึง่ ไดรับการจา งตามสญั ญาจา งโดย
ไดรบั คา ตอบแทนจากงบประมาณของสว นราชการ เพื่อเปนพนกั งานของรฐั ในการปฏิบตั งิ าน
ใหกับสว นราชการน้ัน

“สัญญาจา ง” หมายความวา สัญญาจางพนกั งานราชการตามระเบยี บน้ี

ขอ ๔ บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบงั คบั คาํ สง่ั หรือมติคณะรัฐมนตรี
ท่กี าํ หนดใหขา ราชการหรือลูกจางของสวนราชการมีหนาที่ตอ งปฏิบัติหรอื ละเวน การปฏิบัตหิ รือเปน
ขอหา มในเร่ืองใด ใหถ อื วาพนักงานราชการมหี นา ทตี่ องปฏบิ ัตหิ รือละเวนการปฏบิ ัติหรอื ตองหาม
เชน เดยี วกบั ขาราชการหรอื ลูกจา งดว ย ทัง้ นี้ เวน แตเ ร่ืองใดมีกาํ หนดไวแลวโดยเฉพาะในระเบียบน้ี
หรือตามเงือ่ นไขของสญั ญาจา ง หรือเปน กรณีที่สว นราชการประกาศกาํ หนดใหพ นกั งานราชการ
ประเภทใดหรอื ตําแหนง ในกลมุ งานลักษณะใด ไดร บั ยกเวนไมตอ งปฏบิ ัติเชน เดยี วกับขาราชการ
หรือลูกจางในบางเรือ่ งเพอ่ื ใหเ หมาะสมกับสภาพการปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานราชการ

ในกรณีทค่ี ณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดาํ เนนิ การตามวรรคหนง่ึ
เพ่ือเปน มาตรฐานทัว่ ไปใหสว นราชการปฏิบตั กิ ็ได

ขอ ๕ ใหเลขาธกิ ารคณะกรรมการขาราชการพลเรอื นรกั ษาการตามระเบียบน้ี

หมวด ๑
พนกั งานราชการ

ขอ ๖ พนกั งานราชการมีสองประเภท ดังตอไปน้ี
(๑) พนกั งานราชการท่วั ไป ไดแ ก พนักงานราชการซ่ึงปฏบิ ตั งิ านในลกั ษณะเปน งาน
ประจาํ ทัว่ ไปของสวนราชการในดานงานบริการ งานเทคนคิ งานบริหารทัว่ ไป งานวิชาชพี เฉพาะ หรือ
งานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(๒) พนักงานราชการพิเศษ ไดแ ก พนกั งานราชการซงึ่ ปฏบิ ตั งิ านในลักษณะทต่ี อง
ใชค วามรหู รอื ความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพเิ ศษเพื่อปฏิบตั ิงานในเร่อื งทม่ี ีความสาํ คัญและจาํ เปนเฉพาะ
เร่อื งของสว นราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบ คุ คลในลกั ษณะดงั กลาว



ขอ ๗ ในการกาํ หนดตําแหนงของพนกั งานราชการ ใหกาํ หนดตําแหนงโดยจําแนก
เปน กลุมงานตามลกั ษณะงานและผลผลติ ของงาน ดังตอไปนี้

(๑) กลมุ งานบรกิ าร
(๒) กลุมงานเทคนิค
(๓) กลุมงานบรหิ ารทว่ั ไป
(๔) กลุมงานวชิ าชีพเฉพาะ
(๕) กลุม งานเชย่ี วชาญเฉพาะ
(๖) กลมุ งานเชย่ี วชาญพเิ ศษ
ในแตล ะกลมุ งานตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการอาจกาํ หนดใหมีกลมุ งานยอยเพื่อให
เหมาะสมกับลักษณะงานของพนักงานราชการได
การกาํ หนดใหพนักงานราชการประเภทใดมตี าํ แหนงในกลมุ งานใด และการกําหนด
ลักษณะงานและคณุ สมบัตเิ ฉพาะของกลุมงาน ใหเ ปน ไปตามประกาศของคณะกรรมการ
สวนราชการซ่ึงเปน ผูวา จา งพนกั งานราชการอาจกําหนดชื่อตําแหนงในกลมุ งานตาม
ความเหมาะสมกับหนา ที่การปฏิบตั งิ านของพนักงานราชการทีจ่ า งได

ขอ ๘ ผูซงึ่ จะไดร บั การจางเปนพนักงานราชการ ตอ งมีคณุ สมบตั แิ ละไมม ลี ักษณะ
ตอ งหาม ดงั ตอ ไปนี้

(๑) มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) มีอายุไมตา่ํ กวา สิบแปดป
(๓) ไมเปนบคุ คลลมละลาย
(๔) ไมเ ปน ผูมีกายทุพพลภาพจนไมส ามารถปฏบิ ัติหนาทีไ่ ด ไรความสามารถ
หรือจติ ฟน เฟอนไมสมประกอบ หรอื เปนโรคตามทกี่ าํ หนดไวในกฎหมายวาดว ยระเบยี บขาราชการ
พลเรือน
(๕) ไมเ ปน ผดู ํารงตาํ แหนง ทางการเมอื ง กรรมการพรรคการเมอื ง หรอื เจาหนาที่
ในพรรคการเมือง
(๖) ไมเปนผูเคยตองรับโทษจาํ คุกโดยคําพิพากษาถึงท่สี ุดใหจ าํ คกุ เพราะกระทาํ
ความผดิ ทางอาญา เวน แตเ ปนโทษสาํ หรับความผดิ ทไ่ี ดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๗) ไมเปนผเู คยถกู ลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากราชการ รัฐวสิ าหกจิ
หรอื หนว ยงานอืน่ ของรฐั
(๘) ไมเ ปน ขาราชการหรือลกู จา งของสวนราชการ พนกั งานหรือลูกจางของหนว ยงาน
อน่ื ของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ หรือพนกั งานหรือลูกจา งของราชการสว นทองถ่ิน



(๙) คุณสมบตั ิหรอื ลักษณะตอ งหา มอืน่ ตามทส่ี วนราชการกําหนดไวใ นประกาศ
การสรรหาหรอื การเลอื กสรรบุคคลเพื่อจา งเปนพนกั งานราชการ ท้งั นี้ ตอ งเปน ไปเพือ่ ความจําเปน
หรอื เหมาะสมกบั ภารกจิ ของสว นราชการนัน้

ความใน (๑) ไมใหใชบังคับกบั พนักงานราชการชาวตา งประเทศซง่ึ สวนราชการจาํ
เปน ตอ งจางตามขอ ผูกพันหรือตามความจําเปน ของภารกจิ ของสวนราชการ

ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจประกาศกาํ หนดคุณสมบตั หิ รือลักษณะ
ตองหา มเพ่มิ ขน้ึ หรือกาํ หนดแนวทางปฏิบัตขิ องสว นราชการในการจางพนกั งานราชการเพ่ือให
สอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงคของการกาํ หนดใหม ีพนกั งานราชการตามระเบียบนี้

ขอ ๙ ใหส วนราชการจดั ทาํ กรอบอัตรากําลงั พนกั งานราชการเปนระยะเวลาสีป่ 
โดยใหสอดคลองกบั เปา หมายการปฏบิ ัติราชการของสว นราชการและแผนงบประมาณเชงิ กลยทุ ธ
ท้ังน้ี ตามแนวทางการจัดกรอบอตั รากําลงั พนักงานราชการทค่ี ณะกรรมการกําหนด

กรอบอตั รากาํ ลงั พนกั งานราชการของสวนราชการตามวรรคหนง่ึ จะตองเสนอตอ
คณะกรรมการเพื่อใหค วามเหน็ ชอบ เม่ือคณะกรรมการใหความเหน็ ชอบแลว ใหสาํ นกั งบประมาณ
สนับสนุนงบประมาณเพ่ือเปน คาใชจ า ยดานบุคคลตามความจําเปนและสอดคลองกบั กรอบอัตรา
กาํ ลงั พนกั งานราชการดงั กลา ว ทงั้ น้ี การเบกิ จา ยงบประมาณใหเปน ไปตามประเภทรายจา ยที่ไดรับ
การจดั สรรตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารท่ีกระทรวงการคลังกาํ หนด

ในกรณีที่มเี หตผุ ลความจาํ เปน สวนราชการอาจขอใหเปล่ียนกรอบอัตรากําลงั
พนกั งานราชการได โดยไดรบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และแจงใหสาํ นกั งบประมาณทราบ

ขอ ๑๐ การสรรหาและการเลือกสรรบคุ คลเพ่ือจางเปน พนักงานราชการใหเปน ไป
ตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเงื่อนไขทค่ี ณะกรรมการกําหนด

ในกรณที ี่สว นราชการใดจะขอยกเวนหรือเพ่ิมเตมิ เก่ียวกบั การสรรหาหรือการ
เลือกสรรตามที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหน่ึง ใหสามารถกระทาํ ไดโ ดยทาํ ความตกลงกับ
คณะกรรมการ

ขอ ๑๑ การจา งพนักงานราชการใหก ระทาํ เปน สัญญาจา งไมเกินคราวละสี่ปหรือ
ตามโครงการทม่ี ีกาํ หนดเวลาเริ่มตนและสน้ิ สุดไว โดยอาจมกี ารตอ สญั ญาจา งได ทง้ั นี้ ตามความ
เหมาะสมและความจาํ เปน ของแตล ะสว นราชการ

แบบสญั ญาจางใหเ ปนไปตามท่ีคณะกรรมการกําหนด



การทาํ สัญญาตามวรรคหนึง่ ใหห ัวหนาสวนราชการหรอื ผูซ่งึ ไดรับมอบหมายจาก
หัวหนาสว นราชการเปนผูล งนามในสัญญาจา งกบั ผไู ดร บั การสรรหาหรอื การเลอื กสรรเปน พนกั งาน
ราชการ

ขอ ๑๒ การแตง กายและเครอ่ื งแบบปกติ ใหเปน ไปตามทีส่ ว นราชการกาํ หนด
เครอ่ื งแบบพิธกี ารใหเปน ไปตามทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด

ขอ ๑๓ วันเวลาการทาํ งาน หรือวิธกี ารทาํ งานในกรณีท่ไี มต องอยูปฏิบัติงานประจํา
สว นราชการ ใหเปน ไปตามทส่ี วนราชการกําหนด ซึง่ อาจแตกตา งกนั ไดตามหนา ทข่ี องพนักงานราช
การในแตละตาํ แหนง โดยคาํ นึงถงึ ผลสําเรจ็ ของงาน

หมวด ๒
คาตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน

ขอ ๑๔ อัตราคา ตอบแทนของพนกั งานราชการใหเ ปน ไปตามทค่ี ณะกรรมการ
ประกาศกําหนด

ขอ ๑๕ สว นราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนง ใน
กลมุ งานใดไดรับสิทธปิ ระโยชนอ ยางหน่งึ อยางใด ดังตอ ไปนี้

(๑) สิทธเิ กีย่ วกบั การลา
(๒) สทิ ธใิ นการไดรับคา ตอบแทนระหวา งลา
(๓) สิทธใิ นการไดรับคาตอบแทนการปฏบิ ตั งิ านนอกเวลางาน
(๔) คาใชจ า ยในการเดนิ ทาง
(๕) คา เบีย้ ประชมุ
(๖) สิทธิในการขอรบั เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ
(๗) การไดร ับรถประจาํ ตาํ แหนง
(๘) สิทธอิ นื่ ๆ ทคี่ ณะกรรมการประกาศกาํ หนด
หลกั เกณฑการไดร ับสิทธติ ามวรรคหน่งึ ใหเปนไปตามทส่ี วนราชการกาํ หนด
ท้ังน้ี เทา ท่ีไมขัดหรือแยง กบั หลักเกณฑท่ีกาํ หนดเกี่ยวกบั การไดร ับสิทธนิ น้ั ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี ในกรณที เ่ี หน็ สมควรคณะกรรมการอาจเสนอตอ คณะรัฐมนตรเี พอ่ื ให
แกไ ขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมตคิ ณะรฐั มนตรี เพอ่ื ใหไ ดรบั สทิ ธิประโยชนต ามวรรคหนง่ึ



ในกรณที ่ีเหน็ สมควรคณะกรรมการอาจกาํ หนดมาตรฐานท่ัวไปเกย่ี วกับการกาํ หนด
สิทธปิ ระโยชนใ หแกพ นกั งานราชการเพือ่ ใหส วนราชการปฏิบัตกิ ็ได

ขอ ๑๖ ใหคณะกรรมการพิจารณาทบทวนอตั ราคาตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน
ของพนักงานราชการตามขอ ๑๔ และขอ ๑๕ เพื่อปรบั ปรุงใหเหมาะสมเปนธรรมและมมี าตรฐาน
โดยคาํ นงึ ถึงคาครองชพี ทเ่ี ปลี่ยนแปลง คาตอบแทนของเอกชน อตั ราเงินเดือนของขาราชการ
พลเรอื น และฐานะการคลงั ของประเทศ รวมทั้งปจ จัยอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ ง

ขอ ๑๗ ใหพ นักงานราชการไดรบั สิทธิประโยชนแ ละมหี นา ที่ตอ งปฏบิ ตั ติ าม
กฎหมายวาดวยการประกนั สงั คม

ขอ ๑๘ สว นราชการอาจกาํ หนดใหพ นักงานราชการประเภทใดหรือตาํ แหนง ใน
กลุมงานใดไดรับคา ตอบแทนการออกจากงานโดยไมม คี วามผิดไดต ามหลักเกณฑท่ีคณะกรรมการ
กาํ หนด

หมวด ๓
การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน

ขอ ๑๙ ในระหวางสญั ญาจา ง ใหส วนราชการจดั ใหมกี ารประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน
ของพนักงานราชการ ดังตอ ไปน้ี

(๑) การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานราชการทว่ั ไป ใหก ระทาํ ในกรณี
ดงั ตอ ไปนี้

(ก) การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านประจาํ ป
(ข) การประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือตอสญั ญาจาง
(๒) การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของพนกั งานราชการพเิ ศษ ใหก ระทาํ ในกรณี
การประเมินผลสาํ เร็จของงานตามชว งเวลาท่กี าํ หนดไวใ นสญั ญาจาง
การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานราชการตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปนไป
ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการทีส่ วนราชการกาํ หนด ในการนี้คณะกรรมการอาจกาํ หนดแนวทาง
การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านดงั กลา วเพอ่ื เปนมาตรฐานทว่ั ไปใหสวนราชการปฏบิ ตั ิก็ได



ขอ ๒๐ พนกั งานราชการผูใ ดไมผ า นการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านตามขอ ๑๙
ใหถอื วาสัญญาจา งของพนักงานราชการผูน นั้ สน้ิ สดุ ลง โดยใหสว นราชการแจง ใหพนักงานราชการ
ทราบภายในเจด็ วันนับแตวันท่ีทราบผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานราชการผนู ั้น

ขอ ๒๑ ใหสว นราชการรายงานผลการดาํ เนนิ การจางพนกั งานราชการ รวมทง้ั
ปญหาอปุ สรรคหรอื ขอ เสนอแนะตอ คณะกรรมการภายในเดือนธนั วาคมของทุกป

หมวด ๔
วินยั และการรักษาวินัย

ขอ ๒๒ พนักงานราชการมีหนา ท่ตี องปฏิบัติงานตามท่ีกาํ หนดในระเบียบน้ี ตามที่
สวนราชการกําหนด และตามเงื่อนไขทกี่ าํ หนดไวในสัญญาจา ง และมีหนาทีต่ อ งปฏบิ ตั ิตามคาํ ส่งั ของ
ผูบังคับบญั ชาซึ่งสง่ั ในหนาท่รี าชการโดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ

ขอ ๒๓ พนกั งานราชการตอ งรักษาวนิ ัยโดยเครง ครัดตามทก่ี าํ หนดไวเ ปนขอ หาม
และขอปฏบิ ัติทส่ี วนราชการกาํ หนด

พนกั งานราชการผใู ดฝาฝนขอ หา มหรอื ไมปฏบิ ตั ติ ามขอปฏิบตั ิตามวรรคหนึง่
พนกั งานราชการผนู ัน้ เปน ผูก ระทําผิดวินัยจะตอ งไดรบั โทษทางวินยั

ขอ ๒๔ การกระทาํ ความผดิ ดงั ตอไปนี้ ถือวา เปน ความผิดวินัยอยางรา ยแรง
(๑) กระทาํ ความผดิ ฐานทุจรติ ตอหนา ท่รี าชการ
(๒) จงใจไมปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั หรอื เงือ่ นไขทที่ างราชการ
กําหนดใหป ฏบิ ัตจิ นเปนเหตใุ หท างราชการไดรบั ความเสียหายอยา งรายแรง
(๓) ปฏิบตั หิ นา ท่โี ดยประมาทเลินเลอจนเปนเหตใุ หทางราชการไดร บั ความเสยี หาย
อยางรายแรง
(๔) ไมป ฏบิ ัตติ ามเงือ่ นไขทีก่ าํ หนดในสัญญา หรือขดั คําสง่ั หรอื หลีกเลยี่ งไมปฏิบตั ิ
ตามคําส่ังของผูบ ังคบั บญั ชาตามขอ ๒๒ จนเปนเหตใุ หทางราชการไดรบั ความเสยี หายอยางรา ยแรง
(๕) ประมาทเลินเลอ จนเปนเหตุใหทางราชการไดร ับความเสยี หายอยา งรา ยแรง
(๖) ละท้ิงหรอื ทอดทิง้ การทํางานเปนเวลาตดิ ตอ กนั เกนิ กวา เจด็ วัน สําหรับตําแหนง
ท่ีสวนราชการกาํ หนดวนั เวลาการมาทํางาน



(๗) ละทิง้ หรอื ทอดทิง้ การทาํ งานจนทาํ ใหงานไมแลว เสรจ็ ตามระยะเวลาทก่ี าํ หนด
จนเปนเหตุใหทางราชการไดร ับความเสยี หายอยางรายแรง สาํ หรบั ตาํ แหนงที่สวนราชการกาํ หนด
การทาํ งานตามเปา หมาย

(๘) ประพฤตชิ ว่ั อยา งรายแรง หรือกระทําความผิดอาญาโดยมีคําพิพากษาถึงทสี่ ุด
ใหจําคกุ หรือหนกั กวา โทษจาํ คกุ

(๙) การกระทาํ อืน่ ใดทส่ี ว นราชการกําหนดวาเปนความผดิ วนิ ยั อยางรายแรง

ขอ ๒๕ เมอ่ื มกี รณที พี่ นกั งานราชการถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ใหห วั หนา สว นราชการจดั ใหมคี ณะกรรมการสอบสวนเพือ่ ดาํ เนนิ การสอบสวนโดยเร็ว และตอ ง
ใหโ อกาสพนักงานราชการท่ถี ูกกลา วหาชแ้ี จงและแสดงพยานหลกั ฐานเพอ่ื ใหเ กิดความเปนธรรม
ในกรณที ีผ่ ลการสอบสวนปรากฏวา พนักงานราชการผูน นั้ กระทาํ ความผดิ วินัยอยางรา ยแรง
ใหหัวหนาสวนราชการมคี ําสงั่ ไลอ อก แตถ า ไมมีมลู กระทําความผิดใหส่ังยตุ ิเรือ่ ง

หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการการสอบสวนพนกั งานราชการ ใหเ ปน ไปตามทีส่ ว นราชการ
กาํ หนด

ขอ ๒๖ ในกรณที ีป่ รากฏวาพนกั งานราชการกระทําความผดิ วินัยไมร า ยแรงตามที่
สว นราชการกาํ หนด ใหหวั หนาสว นราชการสั่งลงโทษภาคทณั ฑ ตัดเงนิ คา ตอบแทน หรือลดข้นั เงิน
คา ตอบแทน ตามควรแกกรณใี หเหมาะสมกบั ความผิด

ในการพจิ ารณาการกระทาํ ความผดิ ตามวรรคหนึ่ง ใหหวั หนา สว นราชการพจิ ารณา
สอบสวนใหไดความจริงและยุตธิ รรมตามวธิ ีการท่เี หน็ สมควร

ขอ ๒๗ ในกรณที ี่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกาํ หนดแนวทางการดําเนนิ การ
ทางวินยั แกพ นกั งานราชการ เพ่อื เปน มาตรฐานท่ัวไปใหสวนราชการปฏิบัตกิ ็ได

หมวด ๕
การส้นิ สดุ สญั ญาจาง

ขอ ๒๘ สญั ญาจา งสิ้นสุดลงเม่อื
(๑) ครบกําหนดตามสญั ญาจา ง
(๒) พนกั งานราชการขาดคณุ สมบัติหรือมีลกั ษณะตอ งหามตามระเบยี บนห้ี รอื ตามท่ี
สว นราชการกําหนด



(๓) พนกั งานราชการตาย
(๔) ไมผ านการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านตามขอ ๑๙
(๕) พนกั งานราชการถูกใหอ อก เพราะกระทาํ ความผิดวินัยอยางรา ยแรง
(๖) เหตอุ น่ื ตามท่ีกําหนดไวในระเบยี บน้ีหรอื ตามขอ กําหนดของสว นราชการ
หรอื ตามสัญญาจาง

ขอ ๒๙ ในระหวางสญั ญาจา ง พนกั งานราชการผใู ดประสงคจ ะลาออกจากการ
ปฏิบตั ิงาน ใหย ืน่ หนังสอื ขอลาออกตอ หวั หนา สว นราชการตามหลักเกณฑท ่ีสวนราชการกําหนด

ขอ ๓๐ สวนราชการอาจบอกเลิกสญั ญาจา งกบั พนักงานราชการผูใดกอ นครบ
กําหนดตามสญั ญาจางได โดยไมต อ งบอกกลา วลว งหนา และไมเปน เหตุทพี่ นักงานราชการจะ
เรยี กรอ งคาตอบแทนการเลิกสัญญาจา งได เวนแตส วนราชการจะกําหนดใหใ นกรณใี ดไดร ับ
คา ตอบแทนการออกจากงานโดยไมมีความผดิ ไว

ขอ ๓๑ เพื่อประโยชนแ หง ทางราชการ สวนราชการอาจสัง่ ใหพนกั งานราชการ
ไปปฏิบัตงิ านนอกเหนอื จากเงื่อนไขท่ีกาํ หนดไวใ นสญั ญาจางได โดยไมเ ปน เหตุใหพนักงานราชการ
อา งขอเลกิ สัญญาจา งหรอื เรยี กรองประโยชนต อบแทนใด ๆ ในการน้ีสว นราชการอาจกาํ หนดให
คา ลวงเวลาหรอื คาตอบแทนอื่นจากการส่งั ใหไ ปปฏิบตั ิงานดงั กลา วก็ได

ขอ ๓๒ ในกรณีท่บี คุ คลใดพน จากการเปนพนักงานราชการแลว หากในการ
ปฏิบตั งิ านของบคุ คลนั้นในระหวางท่เี ปน พนักงานราชการกอใหเกิดความเสยี หายแกสวนราชการ
ใหบ คุ คลดังกลาวตองรบั ผดิ ชอบในความเสียหายดังกลาว เวน แตค วามเสียหายนัน้ เกดิ จากเหตสุ ดุ วสิ ยั
ในการนสี้ วนราชการอาจหักคา ตอบแทนหรอื เงนิ อืน่ ใดท่บี ุคคลนั้นจะไดรับจากสวนราชการไวเพอ่ื ชําระ
คาความเสยี หายดงั กลาวกไ็ ด

ขอ ๓๓ ในกรณีทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควรอาจกาํ หนดแนวทางการดําเนินการ
เกย่ี วกับการเลกิ สัญญาจา งตามหมวดนี้ เพ่ือเปนมาตรฐานทวั่ ไปใหสว นราชการปฏบิ ตั กิ ไ็ ด

๑๐

หมวด ๖
คณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ

ขอ ๓๔ ใหม คี ณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกวา “คณะกรรมการบริหารพนักงาน
ราชการ” เรียกโดยยอ วา “คพร.” ประกอบดวยรองนายกรฐั มนตรีหรอื รัฐมนตรีซง่ึ นายกรฐั มนตรี
มอบหมาย เปน ประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น เปน รองประธาน
กรรมการ ผอู าํ นวยการสํานกั งบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎกี า เลขาธกิ ารคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ เลขาธิการสาํ นักงานประกนั สงั คม อยั การสูงสุด อธบิ ดี
กรมบญั ชีกลาง ผแู ทนกระทรวงกลาโหม ผแู ทนกระทรวงการคลงั ผูแ ทนกระทรวงแรงงาน ผแู ทน
สาํ นักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลสวนทอ งถ่นิ เปน กรรมการ และกรรมการ
ผูทรงคณุ วุฒิจาํ นวนสีค่ นซึง่ ประธานกรรมการแตงต้งั จากผเู ช่ยี วชาญในสาขาการบรหิ ารงานบคุ คล
กฎหมาย เศรษฐศาสตร และแรงงานสัมพันธ สาขาละหนึ่งคน

ใหผแู ทนสํานักงานคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น เปน กรรมการและเลขานกุ าร
และผูแ ทนสาํ นักงบประมาณและผูแทนกรมบัญชีกลาง เปน กรรมการและผชู วยเลขานกุ าร

ขอ ๓๕ กรรมการผทู รงคุณวฒุ ใิ หมวี าระการดํารงตาํ แหนง คราวละสองป กรรมการ
ผูทรงคุณวฒุ ิซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดร ับแตง ต้งั อกี ได

ขอ ๓๖ นอกจากการพนจากตาํ แหนง ตามวาระแลว กรรมการผทู รงคณุ วฒุ พิ นจาก
ตําแหนง เมื่อ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ประธานกรรมการใหออก
ในกรณีทม่ี ีการแตงตง้ั กรรมการผทู รงคุณวุฒแิ ทนตาํ แหนง ที่วางหรอื แตงตงั้ เพมิ่ ข้ึน
ใหผ ูซ ่ึงไดร ับแตง ตั้งมีวาระเทากับวาระการดาํ รงตาํ แหนง ที่เหลอื อยขู องกรรมการผูท รงคุณวฒุ ซิ ึง่ ยังอยู
ในตาํ แหนง

ขอ ๓๗ ใหคณะกรรมการมีอาํ นาจหนา ทีด่ งั นี้
(๑) กําหนดแผนงานและแนวทางปฏิบตั ิ รวมทงั้ เสนอแนะสว นราชการในการ
ปรบั ปรงุ หรอื แกไขระเบยี บหรือประกาศเก่ยี วกับการบริหารพนกั งานราชการเพื่อใหเ ปน ไปตาม
ระเบียบน้ี

๑๑

(๒) กาํ หนดหลกั เกณฑ วธิ ีการ และเงอื่ นไขเก่ยี วกบั การสรรหาและการเลอื กสรร
บุคคลเพือ่ จา งเปน พนักงานราชการ รวมทั้งแบบสญั ญาจาง

(๓) กําหนดกลมุ งานและลักษณะงานในกลุม งาน และคณุ สมบตั เิ ฉพาะของกลมุ งาน
ของพนกั งานราชการ

(๔) ใหความเหน็ ชอบกรอบอตั รากาํ ลังพนกั งานราชการทสี่ ว นราชการเสนอ
(๕) กาํ หนดอตั ราคาตอบแทนและวางแนวทางการกาํ หนดสทิ ธปิ ระโยชนอ นื่ ของ
พนักงานราชการ
(๖) กําหนดมาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัตงิ านของพนกั งานราชการ
(๗) ตคี วามและวินิจฉยั ปญหาทเี่ กดิ ขึ้นจากการใชบ งั คบั ระเบยี บน้ี
(๘) แตง ตงั้ คณะอนุกรรมการตามที่เหน็ สมควร
(๙) อาํ นาจหนาทอ่ี ่นื ตามทกี่ ําหนดไวในระเบียบนหี้ รอื กฎหมายอ่ืน

ขอ ๓๘ ใหสํานักงานคณะกรรมการขา ราชการพลเรือนรบั ผิดชอบในงานธุรการของ
คณะกรรมการและปฏิบัติหนา ทีต่ ามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย

ขอ ๓๙ ในกรณีที่เร่อื งใดตามระเบียบนี้กาํ หนดใหส วนราชการกาํ หนดหลกั เกณฑ
หรอื ปฏิบตั ใิ นเรื่องใด คณะกรรมการอาจกาํ หนดใหเ ร่อื งน้ันตอ งกระทาํ โดย อ.ก.พ. กรม องคการ
บริหารงานบุคคลอืน่ ของสวนราชการ หรอื ใหห วั หนา สว นราชการแตงตงั้ คณะกรรมการเปน
ผดู าํ เนนิ การก็ได

บทเฉพาะกาล

ขอ ๔๐ ในระหวางทีย่ งั ไมมีคณะกรรมการตามระเบยี บนี้ ใหคณะกรรมการ
บรหิ ารงานลูกจา งสญั ญาจางตามคําสัง่ คณะกรรมการกาํ หนดเปาหมายและนโยบายกําลังคน
ภาครฐั ที่ ๓/๒๕๔๖ เรอ่ื ง แตงตั้งคณะกรรมการบริหารงานลูกจา งสญั ญาจา ง ลงวันท่ี ๓๐
กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ปฏิบัติหนาทีเ่ ปนคณะกรรมการตามระเบยี บนี้ จนกวา คณะกรรมการ
ตามระเบียบน้จี ะเขารับหนาที่

ขอ ๔๑ ในกรณที ี่สวนราชการยงั จดั ทํากรอบอตั รากาํ ลังพนักงานราชการไมแลวเสรจ็
ถา มคี วามจาํ เปนตอ งจา งพนกั งานราชการในกลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ใหดําเนนิ การจางไดในกรณี
ท่มี งี บประมาณและโครงการแลว หรือสาํ หรับโครงการใหม โดยเสนอคณะกรรมการพจิ ารณาอนมุ ัติ
การจา ง

๑๒

ขอ ๔๒ ในกรณีทอี่ ัตราลูกจา งประจําวางลงและคณะกรรมการกําหนดเปาหมายและ
นโยบายกําลงั คนภาครฐั กาํ หนดใหจ า งเปนลูกจา งชวั่ คราว สวนราชการจะดาํ เนินการจางเปน พนกั งาน
ราชการตามระเบยี บน้ีไดต งั้ แตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน ตนไป หรอื ตามที่คณะกรรมการ
กาํ หนด

ขอ ๔๓ ในกรณีทอ่ี ตั ราลูกจา งประจาํ วางลงระหวา งป ในปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๗
ซงึ่ ตอ งยุบเลกิ ตาํ แหนงนัน้ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมื่อวันท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๖ หากสว นราชการยงั มี
ความจําเปน และไมใ ชกรณกี ารจางเหมาบรกิ าร ใหข ออนมุ ตั ิคณะกรรมการเพ่ือพิจารณากาํ หนดใหเ ปน
พนกั งานราชการ


Click to View FlipBook Version