1
เรอื่ ง : การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและความสามารถในรายวชิ าวทิ ยาการคานวณของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ CIPPA และการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ ตามคู่มอื ครู สสวท. เร่ือง แนวคดิ เชงิ นามธรรม
ผ้วู ิจัย : นางสาวอญั ชลติ า อัมรานนท์
.............................................................................................................................................................
บทท่ี 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดเ้ ข้ามามีบทบาทกับชีวติ ประจาวนั ของผู้คนมาก
ยง่ิ ข้นึ อีกทั้งมีวิวฒั นาการทเ่ี จรญิ กา้ วหน้าไปอยา่ งรวดเร็ว การยกระดับความรูเ้ พื่อให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงยอ่ มเปน็ สง่ิ ที่ไดเ้ ปรยี บผอู้ นื่ อยู่มาก คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงถูกจัดเป็น
วชิ าพน้ื ฐานทส่ี าคญั ในการจัดการเรยี นการสอนตามสถาบนั การศกึ ษาทว่ั ไป (วศนิ เพ่มิ ทรัพย์,วิโรจน์
ชยั มลู . 2548:ไมม่ เี ลขหน้า)เทคโนโลยแี ละการศึกษาจึงมบี ทบาทต่อการจึงมีบทบาทตอ่ การพัฒนา
ประเทศ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กาหนดแนวทางในการจัด
การศึกษาไว้ว่า การจดั การศึกษาต้องยึดหลกั วา่ ผู้เรยี นทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และ
ถอื ว่าผู้เรียนมคี วามสาคัญที่สุด ฉะนัน้ ครู ผสู้ อน และผจู้ ัดการศึกษาจะตอ้ งเปล่ียนแปลงจากการเปน็ ผู้
ชนี้ า ผ้ถู ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผชู้ ่วยเหลือ ส่งเสริมและสนบั สนนุ ผเู้ รยี น ในการแสวงหาความรจู้ ากส่ือ
และแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ และใหข้ อ้ มูลที่ถูกต้องแกผ่ ู้เรียน เพื่อนาข้อมลู เหลา่ นนั้ ไปใชส้ ร้างสรรคค์ วามรู้
ตนเอง (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2542:21)
ความสาคัญ ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เปน็ สาระการเรยี นรู้ที่มงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีทกั ษะการทางาน ทกั ษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและเทคโนโลยีตา่ ง ๆ มาใชใ้ น
การทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม ค้มุ คา่ และมคี ุณธรรม สรา้ งและพฒั นาผลิตภัณฑห์ รือวิธกี ารใหม่
สามารถทางานเปน็ หมู่คณะ มีนสิ ยั รักการทางาน เหน็ คุณคา่ และมเี จตคติทีด่ ตี อ่ งานตลอดจนมี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี ป็นพื้นฐาน ไดแ้ ก่ ความขยัน ซอ่ื สัตย์ ประหยัดและอดทน อนั จะ
นาไปสูก่ ารใหผ้ ู้เรยี นสามารถชว่ ยเหลอื ตนเอง และพง่ึ ตนไดต้ ามพระราชดารเิ ศรษฐกิจพอเพยี ง
สามารถดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ร่วมมอื และแข่งขนั ในระดบั สากลในบรบิ ทของ
สังคมไทย (กรมวิชาการ. 2544 ก: 1)
ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่เป็นไปอย่างรวดเรว็ ไดก้ ่อใหเ้ กิดความต่นื ตวั ใน
การนาคอมพิวเตอร์มาใชเ้ ป็นเครือ่ งมือเพิ่มประสิทธิภาพของการทางาน การนาคอมพิวเตอร์มาใช้
งานได้เพิ่มความนยิ มอยา่ งแพรห่ ลายในวงการต่าง ๆ รวมท้ังวงการศึกษา การฝึกฝนหรืออบรม
เยาวชนของชาตใิ หม้ ีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ จงึ เปน็ ส่ิงจาเป็นและสมควรได้รบั การ
สนับสนุนอย่างยง่ิ ในปจั จุบนั คอมพิวเตอร์ไดก้ ลายเปน็ สง่ิ สาคัญในชีวติ ของเรา และความสาคญั นไ้ี ด้
2
ทวีย่งิ ขึน้ ในอนาคต คอมพิวเตอรไ์ ด้เข้าไปมีบทบาทในทุกวงการอาชีพ โดยเฉพาะกบั งานทม่ี ีข้อมูล
มาก ๆ และกาลังจะกลายเป็นเครอ่ื งใชส้ ามัญในบ้านเหมือนกบั เคร่ืองรบั โทรทศั น์ (กรมวชิ าการ.
2534 : 1)
อินเทอร์เนต็ เปน็ อภิระบบเครือข่ายทย่ี ิ่งใหญ่มาก มีเครอื่ งคอมพวิ เตอรห์ ลายล้านเคร่ืองท่ัว
โลกเช่อื มตอ่ กับระบบ ทาให้คนในโลกทกุ ชาติทกุ ภาษาสามารถติดต่อสอื่ สารกนั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งเดินทาง
ไป โลกทั้งโลกเปรียบเสมือนเปน็ บ้านหนงึ่ หลังทีท่ ุกคนสามารถคุยกนั ไดต้ ลอด 24 ชัว่ โมง ประหยัดทั้ง
เวลา คา่ ใช้จ่าย แต่เกิดประโยชน์ต่อสงั คมโลกปัจจบุ ันมาก (นฤชิต แววศรีผอ่ ง,รงุ่ ทิวา ศิรินารารัตน์.
2547:95)
การจัดการเรยี นรแู้ บบซิปปา (CIPPA Model) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีเน้นผ้เู รยี น
เป็นศนู ยก์ ลาง โดยใหผ้ ้เู รียนไดแ้ สวงหาความรู้ ทาความเข้าใจ คิดวเิ คราะห์ ตีความ สร้างความหมาย
สงั เคราะหข์ ้อมูลและสรปุ ความรู้ ตลอดทั้งฝกึ ตนเองใหม้ วี ินัยและความรับผิดชอบในการทางาน โดย
เนน้ ให้ผ้เู รียนได้มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมท้ังทางด้านรา่ งกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสงั คม ลงมอื ปฏบิ ตั ิ
จรงิ ทุกข้นั ตอน เพ่ือให้ผ้เู รียนมีสว่ นรว่ มและมบี ทบาทในการเรียนรใู้ หม้ ากทส่ี ุด จนเกิดความร้ดู ้วย
ตนเอง สามารถนาความรู้ทไี่ ด้ไปใช้ประโยชน์ได้ (ทิศนา แขมมณี . 2542 ก: 14-15)
กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งพฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ความ
เขา้ ใจเก่ียวกับงานเทคโนโลยี มาใชใ้ นการทางานอยา่ งถูกต้องเหมาะสมคุ้มค่าและมีคุณธรรม สร้าง
และพฒั นาผลิตภณั ฑ์หรอื วิธีการใหม่ สามารถทางานเปน็ หมคู่ ณะ มีนสิ ยั รกั การทางาน เหน็ คณุ ค่าและ
มีเจตคติทดี่ ีต่อการทางานงานตลอดจนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มทีเ่ ป็นพนื้ ฐาน ได้แก่ ความขยัน
ซ่อื สตั ย์ ประหยดั และอดทน อนั จะนาไปสู่การใหผ้ ู้เรียนสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ตามพระราชดาริ
เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถดารงชวี ติ ได้อยา่ งมีความสุขรว่ มมือ และแข่งขันในระดับสากลในบริบท
และสงั คม(สุรสิทธิ์ โคบารุง . 2547:2) ผลการเรียนร้กู ลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง
แนวคิดเชิงนามธรรม ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใช้กจิ กรรมการเรียนร้แู บบ CIPPA และ
การเรียนรูต้ ามคู่มือ สสวท. โรงเรยี นโนนเจรญิ พทิ ยาคม โดยใช้กิจกรรมแบบ CIPPA ซ่งึ เปน็
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลางโดยใหผ้ ูเ้ รียนได้แสวงหาความรู้ ทาความ
เขา้ ใจ คดิ วเิ คราะห์ ตีความ สร้างความหมายสงั เคราะห์ขอ้ มลู และสรปุ ความรู้ ตลอดท้งั ฝึกตนเองใหม้ ี
วินยั และความรบั ผดิ ชอบในการทางาน โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมทั้งทางดา้ นรา่ งกาย
สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม ลงมือปฏิบัตจิ รงิ ทุกข้นั ตอน
ผูศ้ กึ ษาค้นคว้า ได้ศึกษาปญั หาเหตผุ ลและความจาเป็นดังกล่าวและตระหนักถึงคุณค่าและ
ความสาคญั จึงผลการเรยี นรู้กล่มุ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ือง แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของ
นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โดยใช้กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ CIPPA และการเรียนรู้ตามคูม่ ือ สสวท.
ใหผ้ ูเ้ รียนไดร้ ับประสบการณต์ รง มโี อกาสได้เรยี นร้สู ง่ิ ใหม่ ๆ สามารถพัฒนาชวี ติ พัฒนาเศรษฐกิจ
พฒั นาสงั คม และครอบครวั ซงึ่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรใู้ ห้มปี ระสทิ ธภิ าพ
ย่ิงข้ึน
เครอ่ื งมอื ท่จี ะนามาพัฒนา ผเู้ รยี นมีมากมายหลายประเภท และแผนการจดั การเรยี นร้กู ็เป็น
เครื่องมืออกี ประเภทหนง่ึ ซึง่ แผนการจดั การเรียนรู้มอี ยมู่ ากมาย เช่น แผนการจัดการเรียนรู้แบบซปิ
ปา แผนการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน แผนการจดั การเรียนรู้แบบเบญจขันธ์ เปน็ ต้น ซ่งึ แผนแต่ละ
แผนจะมวี ิธกี ารขดั กิจกรรมท่ีแตกตา่ งกนั และแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีดีคือแผนที่นาไปจดั การเรียนรู้
แลว้ ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ที่ตง้ั ไว้ ผเู้ รียนมคี วามพึงพอใจ
3
การจัดการเรียนร้แู บบ CIPPA ซึ่งมีทง้ั หมด 7 ขน้ั แตล่ ะขั้นผูเ้ รียนจะได้เรยี นรเู้ ปน็ ไปตามขน้ั ตอน
ตา่ ง ๆ รปู แบบน้ีมุง่ พฒั นาผเู้ รียนให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองทเ่ี รยี นอยา่ งแทจ้ ริง โดยการให้
ผูเ้ รียนสร้างความรดู้ ้วยตนเอง โดยอาศัยความรว่ มมือจากกล่มุ นอกจากนัน้ ยังช่วยพฒั นาทักษะ
กระบวนการต่าง ๆ จานวนมาก อาทิ กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏสิ มั พันธ์ทาง
สังคม และกระบวนการแสวงหาความรู้ เปน็ ต้น
ผู้ศึกษาไดศ้ ึกษาสภาพปญั หาความสาคญั ความจาเปน็ ของการจดั การศึกษาและความสาคญั
ของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวมาผูศ้ กึ ษาคน้ คว้า จึงได้ทาผลการเรยี นรู้กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เร่ือง แนวคิดเชิงนามธรรม ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรมการ
เรียนรูแ้ บบ CIPPA และการเรยี นรตู้ ามคมู่ ือ สสวท.ข้นึ เพื่อใช้เปน็ แนวทางสาหรับครกู ลุ่มสาระ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ละผูท้ ่สี นใจในการพฒั นาการเรียนการสอนวชิ ากลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีตอ่ ไป
คำถำมวิจยั
1. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 กล่มุ ท่ีเรียนโดยใชก้ จิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ CIPPA และ
กจิ กรรมการเรียนตามคูม่ ือ สสวท.เรอ่ื ง แนวคดิ เชิงนามธรรม แบบใดมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นได้
ดกี วา่ กัน
2. นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มที่เรียนโดยใชก้ จิ กรรมการเรียนรแู้ บบ CIPPA เรื่อง แนวคดิ
เชิงนามธรรม และกลมุ่ ทเ่ี รยี นตามคมู่ ือ สสวท. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ตกต่างกัน
อย่างไร
3. นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 กลมุ่ ท่เี รยี นโดยใชก้ จิ กรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA เรอ่ื ง แนวคดิ
เชิงนามธรรม และกลุม่ ที่เรยี นตามคู่มือ สสวท. มีเจตคติต่อการเรียนอย่างไร
วัตถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ัย
1. เพ่ือพัฒนาแผนการเรยี นรู้กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรือ่ ง แนวคิดเชงิ นามธรรม
ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบ CIPPA และการเรียนรู้
ตามคมู่ ือ สสวท.ที่มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพอ่ื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เร่ือง แนวคิดเชิง
นามธรรม ระหว่างกลมุ่ ทีเ่ รยี นโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA กบั การเรยี นรตู้ าม
คูม่ อื สสวท.
3. เพ่อื เปรียบเทยี บความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ของของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
เร่อื ง แนวคิดเชิงนามธรรม ระหวา่ งกลมุ่ ทเี่ รยี นโดยใชก้ จิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA กับ
การเรยี นรูต้ ามคู่มือ สสวท.
4. เพอ่ื เปรียบเทยี บเจตคติต่อการเรียนกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ CIPPA กบั การเรยี นรู้
ตามคมู่ ือ สสวท.
5. เพอื่ ศกึ ษาดัชนปี ระสิทธิผลของแผนการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง
แนวคดิ เชิงนามธรรม ทเ่ี รยี นโดยใช้กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ CIPPA และการเรยี นรตู้ ามคู่มอื
สสวท.
4
สมมุติฐำนของกำรวจิ ัย
1. นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 กลมุ่ ที่เรยี นโดยใชก้ จิ กรรมการเรียนรแู้ บบ CIPPA มี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง แนวคดิ เชิงนามธรรม สูงกว่ากลุม่ ที่เรียนตามค่มู ือ สสวท.
2. นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 กลุ่มท่ีเรียนโดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA เรือ่ ง แนวคิด
เชิงนามธรรม และกลุม่ ทเี่ รียนตามคมู่ ือ สสวท. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์แตกต่างกนั
3. นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 กลมุ่ ท่เี รยี นโดยใช้กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ CIPPA เรื่อง แนวคดิ
เชงิ นามธรรม และกลมุ่ ท่เี รยี นตามคู่มือ สสวท. มีเจตคตติ ่อการเรยี นกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยแี ตกต่างกนั
ควำมสำคัญของกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ทาใหไ้ ดแ้ ผนการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอ่ื ง แนวคิดเชงิ นามธรรม
ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใชก้ จิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรียนร้ตู ามคมู่ ือ
สสวท. ท่มี ปี ระสิทธิภาพไวส้ อนนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
2. เพื่อเปน็ แนวทางสาหรบั ครผู ้สู อนนาผลการวจิ ยั ไปประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาแผนการ
เรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกล่มุ สาระการเรียนรู้อน่ื ต่อไป
ขอบเขตของกำรวิจัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากร นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นโนนเจรญิ พิทยาคม อาเภอบ้านกรวด
จังหวดั บุรรี มั ย์ จานวน 3 หอ้ ง มจี านวนนักเรยี น 120 คน
1.2 กลุ่มตัวอยา่ ง นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนโนนเจริญพทิ ยาคม อาเภอบ้าน
กรวด จังหวดั บรุ รี ัมย์ จานวน 2 ห้อง นักเรียน 70 คน ได้มาโดยการเลือกแบบกลุ่ม (Cluster
Random Sampling) (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2540: 41)
1.3 เนอ้ื หาทีใ่ ช้ในการวิจยั ไดแ้ กเ่ รอื่ ง แนวคิดเชงิ นามธรรม จานวน 20 ช่ัวโมง
ประกอบด้วย
1.3.1 แผนที่ 1 แนวคดิ เชิงนามธรรม
1.3.2 แผนท่ี 2 การคัดเลือกคณุ ลักษณะทจี่ าเปน็ ต่อการแก้ปัญหา
1.3.3 แผนที่ 3 การถ่ายทอดรายละเอยี ดของปญั หาและการแกป้ ัญหา
1.4 ตวั แปรในการวจิ ยั ประกอบด้วย
ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ ไฟดับ คอมพวิ เตอร์เครื่องคา้ ง
ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะการใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบ CIPPA
1.5 ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ตั้งแตว่ ันท่ี 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561 ถงึ วันท่ี 31 มกราคม
พ.ศ. 2562
ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะไดร้ ับ
1. นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดีขน้ึ กว่าเดิม
2. นกั เรยี นสามารถเรียนรดู้ ้วยตนเอง
3. นกั เรยี นไดม้ ีสว่ นร่วมในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซ่งึ กันและกัน
5
4. นกั เรียนมที ักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ได้เปน็ อย่างดี
5. นักเรยี นมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ วชิ าวทิ ยาการคานวณ
6. นักเรยี นสนุกและไม่เบื่อหน่ายกบั การเรียนคอมพิวเตอร์
นยิ ำมปฏบิ ตั กิ ำร
1. ผลการเรยี นรู้ หมายถงึ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี น การคดิ เชงิ วิพากษข์ อง
นกั เรยี น และเจตคติทีม่ ตี ่อการเรียนในรายวิชาวิทยาการคานวณของกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ทมี่ ตี ่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรยี นรตู้ ามคู่มอื สสวท.
2. แผนการจัดการเรยี นรู้ หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้
กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA เร่ือง แนวคดิ เชิงนามธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ทผี่ ศู้ ึกษาค้นควา้
พฒั นาข้นึ
3. กจิ กรรมแบบ CIPPA หมายถงึ รูปแบบนมี้ ุ่งพัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจใน
เรือ่ งที่เรยี นอยา่ งแท้จริง โดยการใหผ้ ู้เรียนสรา้ งความรดู้ ้วยตนเอง โดยอาศัยความร่วมมอื จากกลมุ่
นอกจากนน้ั ยังชว่ ยพัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ จานวนมาก อาทิ กระบวนการคดิ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการปฏิสัมพนั ธ์ทางสังคม และกระบวนการแสวงหาความรู้ เป็นต้น
4. ประสิทธภิ าพของแผนการจดั การเรยี นรู้ หมายถงึ กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
กลุม่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอ่ื ง แนวคิดเชิงนามธรรม ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1
โดยใช้กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA และการเรียนร้ตู ามคมู่ อื สสวท. ทาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้
ตามเกณฑ์ 80/80
80 ตวั แรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการ คือร้อยละของคะแนนเฉลยี่ ของ
นกั เรยี นทง้ั หมด ที่ได้จากประเมินพฤติกรรมการเรยี นรู้ระหวา่ งเรยี น การประเมนิ ใบงาน และการ
ประเมนิ แบบฝึกหัด ในแตล่ ะแผนการเรยี นรูข้ องนักเรยี นท้ังหมด ท่ีเรียนตามผลการเรียนรู้กล่มุ สาระ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง แนวคิดเชิงนามธรรม ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้
กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ CIPPA และการเรยี นรู้ตามคูม่ ือ สสวท. ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
80 ตวั หลงั หมายถึง ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์ คือร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรยี น
ทงั้ หมด ทไ่ี ดจ้ ากการการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรียน กลุม่ สาระ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้
กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรียนรตู้ ามคูม่ ือ สสวท. ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
5. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หมายถงึ คะแนนของผเู้ รยี นทีไ่ ด้จากการทาแบบทดสอบวัดผล
สมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ของนักเรยี นทเ่ี รยี นดว้ ยแผนการเรียนรคู้ อมพวิ เตอร์ เรื่อง แนวคดิ เชิงนามธรรม
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กจิ กรรมแบบ CIPPA และโดยวธิ กี ารสอนของ สสวท.
6. ดชั นปี ระสทิ ธิผล (The Effectiveness Index) หมายถึง ค่าทีแ่ สดงความกา้ วหน้าใน
การเรยี นของนกั เรยี นท่ีเรียนด้วยแผนการเรียนรู้คอมพวิ เตอร์ เรอื่ ง แนวคดิ เชิงนามธรรม ของนักเรยี น
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใชก้ ิจกรรมแบบ CIPPA และโดยวธิ กี ารสอนของ สสวท. โดยเทียบคะแนน
ท่ีเพิ่มขนึ้ จากคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรยี น
6
บทท่ี 2
เอกสำรและงำนวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง
ผูศ้ ึกษาคน้ ควา้ ได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นาผล
การเรยี นร้กู ล่มุ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอื่ ง แนวคิดเชิงนามธรรม ของนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรยี นรตู้ ามคู่มือ สสวท. ดังตอ่ ไปนี้
1. การจัดการเรียนรแู้ บบ CIPPA
2. กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามค่มู ือ สสวท. ต่อตวั แปรตาม คือการคดิ เชงิ วิพากษแ์ ละเจตคติ
3. แผนการจัดการเรยี นรู้
4. การหาประสทิ ธภิ าพของเครื่องมือ
5. ดัชนีประสทิ ธผิ ล
6. งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง
7.1 งานวิจัยในประเทศ
7.2 งานวิจัยต่างประเทศ
ทฤษฎกี ำรสอนโดยยดึ ผ้เู รยี นเปน็ ศูนยก์ ลำง : โมเดลซิปปำ (CIPPA Model)
หรือรปู แบบกำรประสำนห้ำแนวคิด
ทฤษฎ/ี หลักกำร/แนวคิดของรปู แบบ
ทัศนา แขมมณี (2543: 17) รองศาสตราจารย์ ประจาครุศาสตรจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไดพ้ ฒั นารปู แบบน้ขี ึ้นจากประสบการณ์ทีไ่ ด้ใช้แนวคิดทางการศึกษาต่าง ๆในการสอนมาเป็นเวลา
ประมาณ 30 ปี และพบว่าแนวคิดจานวนหนึง่ สามารถใชไ้ ด้ผลดีตลอดมา ผู้เขียนจึงได้นาแนวคิด
เหลา่ นัน้ มาประสานกัน ทาใหเ้ กิดแบบแผนขึ้นแนวคิดดงั กล่าวได้แก่ (1) แนวคดิ การสรา้ งความรู้
(2) แนวคดิ เก่ียวกบั กระบวนการกลุ่มและการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื (3) แนวคดิ เก่ยี วกับความพร้อมใน
การเรยี นรู้ (4) แนวคิดเก่ียวกับการเรียนรกู้ ระบวนการ และ (5) แนวคิดเกี่ยวกับการถา่ ยโอนการ
เรยี นรู้
ทศั นา แขมมณี (2543 : 17-20) ได้ใชแ้ นวคิดเหล้าน้ีในการจัดการเรียนการสอนโดยจดั
กจิ กรรมการเรียนรใู้ นลักษณะที่ให้ผเู้ รียนเป็นผูส้ ร้างความรู้ด้วยตนเอง (Construction of
knowledge) ซ่ึงนอกจากผเู้ รียนจะต้องเรียนดว้ ยตนเองและพึง่ ตนเองแลว้ ยังตอ้ งพง่ึ การปฎิสมั พันธ์
(Interaction) กบั เพือ่ น บุคคลอื่น ๆ และส่ิงแวดล้อมรอบตัวด้วย รวมทงั้ ต้องอาศัยทักษะ
กระบวนการ (Process skills) ต่าง ๆจานวนมากเป็นเครอ่ื งมือในการสรา้ งความรู้ นอกจากนั้นการ
เรยี นรจู้ ะเปน็ ไปอยา่ งต่อเน่ืองไดด้ ี หากผู้เรียนอยใู่ นสภาพท่ีมีความพร้อมในการรบั ร้แู ละการเรยี นรู้ มี
ประสาทการรบั รู้ที่ต่นื ตวั ไม่เฉ่ือยชา ซงึ่ ส่ิงท่สี ามารถชว่ ยให้ผู้เรยี นอยใู่ นสภาพท่ีมีความพรอ้ มในการ
รับรู้ และการเรียนรู้ มปี ระสาทการรับรทู้ ่ตี ่ืนตัว ไมเ่ ฉ่ือยฉา ซึ่งส่งิ ท่สี ามารถชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นอย่ใู นสภาพ
ดังกล่าวได้ก็คือ การใหม้ ีความเคลือ่ นไหวทางรา่ งกาย (physical participation) อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่มลี กั ษณะดังกลา่ วจะชว่ ยให้ผ้เู รยี นเกิดการเรยี นรู้ได้ดี เปน็ การเรยี นรทู้ ่ีมีความหมายต่อ
ตนเอง และความรูค้ วามเข้าใจท่เี กดิ ขนึ้ จะมคี วามลึกซง้ึ และอยู่คงทนมากขึ้น หากผ้เู รยี นมโี อกาสนา
7
ความร้นู ัน้ ไปประยุกต์ใช้ (application) ในสถานการณท์ ห่ี ลากหลาย ดว้ ยแนวคิดดังกล่าว จึงเกดิ แบบ
แผน “CIPPA” ขน้ึ ซึ่งผู้สอนสามารถนาแนวคดิ ท้ัง 5 ดงั กล่าวไปใชเ้ ป็นหลักในการจดั กิจกรรมการ
เรยี นการสอนโดยยดึ ผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลางให้มีคณุ ภาพได้
วตั ถปุ ระสงค์ของรูปแบบ
รูปแบบน้ีมุง่ พฒั นาผู้เรียนใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งที่เรยี นอยา่ งแท้จริง โดยการให้
ผเู้ รียนสรา้ งความรดู้ ้วยตนเอง โดยอาศัยความรว่ มมอื จากกลุม่ นอกจากน้นั ยงั ชว่ ยพัฒนาทักษะ
กระบวนการต่าง ๆ จานวนมาก อาทิ กระบวนการคิด กระบวนการกลมุ่ กระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์ทาง
สังคม และกระบวนการแสวงหาความรู้ เป็นต้น
กระบวนกำรเรียนกำรสอนของรปู แบบ
ซิปปา (CIPPA) เป็นหลกั การซ่งึ สามารถนาไปใช้เป็นหลกั ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรตู้ ่าง ๆ
ให้แกผ่ ู้เรียน การจดั กระบวนการเรียนการสอนตามหลกั “CIPPA” นสี้ ามารถใชว้ ธิ กี ารและ
กระบวนการท่ีหลากหลาย ซงึ่ อาจจดั เป็นแบบแผนได้หลายรูปแบบ รูปแบบหนง่ึ ที่ผู้เขยี นได้นาเสนอไว้
และได้มกี ารนาไปทดสอบใช้แล้วไดผ้ ลดี ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนการดาเนนิ การ
7 ข้นั ตอนดังนี้
ข้นั ที่ 1 กำรทบทวนควำมรเู้ ดมิ
ข้ันนีเ้ ปน็ การดึงความรู้เดิมของผเู้ รียนในเร่ืองทจี่ ะเรียน เพ่ือช่วยให้ผเู้ รียนมีความ
พร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหมก่ ับความรู้เดิมของตน ซึ่งผู้สอนอาจใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ ได้อย่าง
หลากหลาย
ขั้นท่ี 2 กำรแสวงหำควำมรู้ใหม่
ขัน้ นเี้ ปน็ การแสวงหาความรใู้ หมข่ องผ้เู รียนจากแหลง่ ข้อมูลหรอื แหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ
ซ่งึ ครอู าจจดั เตรยี มมาใหผ้ ้เู รยี นหรอื ให้คาแนะนาเก่ียวกับแหลง่ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนไปแสวงหา
ก็ได้
ขั้นท่ี 3 กำรศึกษำทำควำมเขำ้ ใจข้อมูล / ควำมรใู้ หม่ และเชือ่ มโยงควำมร้ใู หม่กบั ควำมรู้
เดมิ
ขนั้ นเี้ ป็นขั้นที่ผ้เู รยี นจะตอ้ งศึกษาและทาความเขา้ ใจกับข้อมลู /ความร้ทู ห่ี ามาได้
ผเู้ รียนจะตอ้ งสรา้ งความหมายของขอ้ มลู /ประสบการใหม่ ๆ โดยใชก้ ระบวนการตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง
เช่น ใช้กระบวนการคดิ และกระบวนการกล่มุ ในการอภิปรายและสรปุ ความเขา้ ใจเก่ียวกับขอ้ มลู น้นั ๆ
ซ่ึงจาเป็นต้องอาศยั การเชื่อมโยงกับความรู้เดิม
ขั้นที่ 4 กำรแลกเปล่ียนควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจกบั กล่มุ
ข้นั น้เี ปน็ ขัน้ ท่ผี ู้เรยี นอาศยั กลุ่มเปน็ เครือ่ งมือในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
ตน รวมทง้ั ขยายความรู้ความเขา้ ใจของตนให้กวา้ งขนึ้ ซงึ่ จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นได้แบง่ ปันความรคู้ วาม
เขา้ ใจของตนแกผ่ อู้ ื่น และได้รบั ประโยชนจ์ ากความรู้ ความเข้าใจของผู้อืน่ ไปพร้อม ๆ กัน
8
ขั้นท่ี 5 กำรสรปุ และจัดระเบียบควำมรู้
ขน้ั นี้เป็นข้ันของการสรุปความรูท้ ีไ่ ด้รับท้งั หมด ทงั้ ความรเู้ ดมิ และความรู้ใหม่ และ
จัดสิง่ ท่เี รยี นให้เปน็ ระบบระเบยี บเพือ่ ช่วยให้ผูเ้ รยี นจดจาส่ิงทีเ่ รยี นรู้ได้ง่าย
ข้ันที่ 6 กำรปฏิบตั ิ และ/หรือกำรแสดงผลงำน
หากข้อความรทู้ ่ีได้เรียนรมู้ าไม่มีการปฏบิ ัติ ขน้ั น้ีจะเป็นข้ันท่ีช่วยใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ี
โอกาสแสดงผลงานการสร้างความรู้ของตนใหผ้ ู้อ่นื ไดร้ บั รู้ เปน็ การชว่ ยให้ผเู้ รยี นไดต้ อกย้าหรอื
ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนและช่วยสง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ แต่หากตอ้ งมีการปฏิบตั ิ
ตามข้อความรูท้ ี่ได้ ขน้ั น้ีจะเปน็ ขั้นปฏบิ ัติ และมีการแสดงผลงานท่ไี ด้ปฏบิ ตั ิด้วย
ขั้นท่ี 7 กำรประยกุ ตใ์ ชค้ วำมรู้
ข้ันนเี้ ปน็ ขัน้ ของการส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ ึกฝนการนาความรู้ ความเขา้ ใจของตนเอง
ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลายเพอื่ เพิ่มความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการ
แกป้ ัญหาและความเขา้ ใจในเร่ืองน้ัน ๆ
หลังจากการประยุกต์ใชค้ วามรู้ อาจมีการนาเสนอผลงานจากการประยุกต์อกี ครง้ั ก็
ได้ หรอื อาจไม่มกี ารนาเสนอผลงานในขั้นท่ี 6 แต่นามารวมแสดงในตอนท้ายหลงั ขั้นการประยกุ ต์ใช้ก็
ได้เชน่ กนั
ข้ันตอนต้งั แต่ข้นั ท่ี 1-6 เปน็ กระบวนการของการสรา้ งความรู้ (Contruction of
knowledge) ซึ่งครูสามารถจัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนได้มโี อกาสปฏิสมั พันธแ์ ลกเปลี่ยนเรียนรกู้ นั
(Interaction) และฝกึ ฝนทกั ษะกระบวนการต่าง ๆ (process learning) อย่างตอ่ เน่ือง เนอื่ งจาก
ขน้ั ตอนแตล่ ะขน้ั ตอนแตล่ ะข้ันตอนช่วยให้ผเู้ รียนได้ทากจิ กรรมหลากหลายทีม่ ลี ักษณะให้ผ้เู รียนไดม้ ี
การเคล่อื นไหวทางกาย ทางสติปัญญา ทางอารมณ์ และทางสังคม อย่างเหมาะสม อนั ช่วยใหผ้ เู้ รียน
ตน่ื ตวั (Active) สามารถรับรู้และเรยี นรู้ได้ดี จึงกล่าวได้วา่ ข้ันตอนท้ัง 6 มีคุณสมบัติตามหลกั การ
CIPP ส่วนขน้ั ตอนท่ีชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนนาความรไู้ ปใช้ (application) จงึ ทาให้รปู แบบนี้มคี ณุ สมบตั ิครบ
ตามหลัก CIPPA
ผลทีผ่ เู้ รยี นจะได้รบั จำกเรยี นตำมรปู แบบ
ผเู้ รยี นจะเกิดความเข้าใจในสงิ่ ท่เี รียน สามารถอธิบาย ช้ีแจง ตอบคาถามได้ดี นอกจากนนั้ ยงั
ได้พฒั นาทกั ษะในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทางานเป็นกลุ่ม การสอ่ื สาร รวมทงั้ เกดิ
ความใฝร่ ดู้ ้วย
เทคนิคกำรสอน
รปู แบบการสอนแบบ ยึดผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลางน้นั เป็นนโยบายหน่ึงทที่ างรัฐบาลรณรงค์
ใหก้ ับการศึกษาของประเทศดาเนนิ ไปตามรูปแบบนเี้ พราะการเรยี นการสอนแบบนส้ี อนใหน้ กั เรยี นมี
ความคิด เกิดกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ มกี ารทางานเป็นกระบวนการกล่มุ และการเรยี นแบบรว่ มมือ
สรา้ งความพร้อมในการเรยี นรู้ตลอดเวลา และมีแนวคิดเก่ียวกบั การการถ่ายโอนการเรียนรู้
9
เพราะฉะนัน้ เทคนิคการสอนควรท่จี ะเน้น ให้นกั เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง ครเู ปน็ เพียงตวั นาทาง เปน็ ตัวคุม
เกมสเ์ ทา่ น้นั เวลาทางานให้นกั เรียนทางานเปน็ กลุ่มเพ่ือให้นกั เรียนสามารถที่จะแลกเปลยี่ นความรู้ซง่ึ
กันและกัน นักเรยี นสามารถที่จะค้นหาข้อมลู ในสื่ออิเลคทรอนิกส์ต่าง ๆ โดยไม่ต้องให้ครูถา่ ยทอดมาก
นัก และถ้านักเรยี นไม่เขา้ ใจก็ใหถ้ ามครูโดยครเู ปน็ สื่อกลางให้เทา่ น้ัน แต่นกั เรียนต่างหากทจ่ี ะเปน็ ตวั
เดนิ เกมส์
ดงั น้ันกระบวนการสอนท่สี อดคลอ้ งกับวิธี CIPPA คือ
1. วิธีกำรสอนโดยใช้กำรไปทัศนศึกษำ (Field Trip)
คือกระบวนการที่ผสู้ อนใชใ้ นการช่วยให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ตามวตั ถุประสงคท์ ่ี
กาหนด โดยผสู้ อนและผ้เู รียนรว่ มกนั วางแผนและเดนิ ทางไปศึกษาเรยี นรู้ ณ สถานทอ่ี ันเป็นแหล่ง
ความร้ใู นเรอื่ ง ๆ นัน้ โดยมีการศกึ ษาสงิ่ ต่าง ๆ ในสถานท่ีน้ันตามกระบวนการหรือวิธีการท่ไี ดว้ างแผน
ไว้และมีการอภปิ รายสรุปการเรียนรจู้ ากข้อมลู ท่ีไดศ้ ึกษามา
ซง่ึ วธิ กี ารสอนโดยใช้การไปทัศนศกึ ษาเปน็ วธิ ีการท่ีช่วยใหผ้ ู้เรยี นได้รับประสบการณ์
ตรงในเร่อื งท่ีเรียน ได้เรียนรู้สภาพความเปน็ จริง ได้ใช้แหลง่ ชมุ ชนให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ ทา
ให้เกดิ ความเข้าใจ และเกิดเจตคติทีด่ ที ั้งต่อสถานที่น้นั และต่อการเรียนรู้
2. วิธสี อนโดยใชก้ ำรอภปิ รำยกลมุ่ ยอ่ ย (Small Group Discussion)
วิธกี ารสอนโดยใช้การอภิปรายกลมุ่ ยอ่ ย คือกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการชว่ ยให้
ผ้เู รยี นเกิดกาเรียนร้ตู ามวัตถุประสงค์ที่กาหนดโดยการจัดผ้เู รียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 4-8 คน
และให้ผู้เรยี นในกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมลู ความคดิ เหน็ และประสบการณใ์ นประเด็นท่ีกาหนด
และสรุปผลการอภปิ รายออกมาเปน็ ข้อสรุปของกลุ่ม
วิธีการสอนโดยใช้การอภปิ รายกลุ่มย่อย เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมใน
กิจกรรมการเยนรอู้ ยา่ งทั่วถงึ มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแลกเปลย่ี นประสบการณ์ อนั จะช่วยให้
ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรใู้ นเร่ืองที่เรียนกวา้ งข้นึ
3. วิธีกำรสอนโดยใช้กรณตี ัวอยำ่ ง (Case)
เปน็ กระบวนการทผี่ ้สู อนใช้ในการช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรูต้ ามวตั ถุประสงคท์ ี่
กาหนด โดยให้ผเู้ รยี นศกึ ษาเรื่องท่สี มมตุ ิข้นึ จากความเป็นจรงิ และตอบประเด็นคาถามเก่ียวกบั เรอื่ ง
นั้น แลว้ นาคาตอบ และเหตผุ ลทีม่ าของคาตอบนั้นมาเป็นข้อมูลในการอภปิ ราย เพื่อใหผ้ ู้เรียนเกิดการ
เรยี นรตู้ ามวตั ถปุ ระสงค์
วิธีการสอนโดยใช้กรณตี ัวอยา่ ง เป็นวิธีการสอนที่มุ่งชว่ ยให้ผเู้ รยี นฝกึ ฝนการเผชญิ
และแกป้ ัญหาโดยไม่ตอ้ งรอให้เกิดปญั หาจริง เป็นวธิ กี ารท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นคดิ วิเคราะห์ และ
เรยี นรู้ความคิดของผู้อ่นื ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นมีมุมมองท่กี วา้ งขนึ้
4. วธิ ีสอนโดยใชเ้ กม (Game)
เป็นกระบวนการทีผ่ สู้ อนใชใ้ นการช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนรเู้ กดิ การเรยี นรู้
ตามวุตถุประสงคท์ ี่กาหนด โดยการใหผ้ เู้ รียนเล่นเกมตามกตกิ า และนาเนื้อหาและข้อมูลของเกม
พฤติกรรมการเล่น วิธกี ารเลน่ และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปราย เพ่ือสรุปการเรยี นรู้
10
วธิ กี ารสอนโดยใชเ้ กมเปน็ วิธกี ารท่ีชว่ ยให้ผเู้ รียนได้เรียนรเู้ ร่ืองตา่ ง ๆ อย่าง
สนุกสนานและทา้ ทายความสามารถ โดยผเู้ รียนเป็นผูเ้ ลน่ เอง ทาให้ได้รบั ประสบการณ์ตรง เปน็
วิธกี ารทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นไดม้ ีสว่ นร่วมสงู
เทคนคิ ในกำรสอน
เทคนคิ ในการสอนเป็นวธิ ีการสอนอย่างหนง่ึ ท่ีสามารถดงึ ดูให้ผเู้ รียนมคี วามสนใจในการเรยี น
การสอนมากข้นึ ซ่ึงเทคนิคการสอนนน้ั มีหลากหลายวธิ ี ท่คี รูแต่ละคนนนั้ นามาใชใ้ นการสอน เช่น
เทคนิคการตง้ั คาถาม เทคนิคในการนาเข้าสบู่ ทเรยี น เทคนคิ การเขยี นกระดานดา เทคนคิ การสรุป
บทเรียน เทคนิคการเสรมิ แรง เทคนคิ การยกตัวอยา่ ง เทคนกิ ารใชส้ ่อื การสอนและอปุ กรณ์การสอน
ฉะนน้ั เทคนคิ การสอนที่สอดคล้องกับทฤษฎี CIPPA มีดงั น้ี
1. เทคนิคกำรสอนแบบใชผ้ ังกรำฟิก (Graphic organizers)
เป็นผังกราฟิก เปน็ แผนผังทางความคิด ซ่ึงประกอบดว้ ยความคิดหรอื ขอ้ มูล
สาคญั ๆ ที่เชือ่ มโยงกนั อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ซงึ่ ทาให้เห็นโครงสร้างของความรหู้ รือเน้ือหาสาระ
นน้ั ๆ การใชผ้ ังความคิดเปน็ เทคนิคทผ่ี เู้ รียนสามารถนาไปใช้ในการเรยี นรูเ้ นอ้ื หาสาระต่าง ๆ จานวน
มาก เพ่ือชว่ ยให้เกิดความเข้าใจในเน้อื หาสาระนั้นได้งา่ ยขนึ้ เรว็ ขึ้นและจดจาได้นาน
ตัวอยำ่ งผังควำมคิดเร่อื งกำรใช้ MIND MAP
จดบนั ทึก ประชุม
ศึกษา การใช้ MIND MAP วางแผน
นาเสนอ ฟ้ื นความจา
11
2. เทคนิคกำรใช้คำถำมเพ่ือพฒั นำลักษณะกำรคิดท่พี ึงประสงค์
ลกั ษณะการคดิ วธิ คี ดิ และตัวอย่างคาถามกระตุ้นการคดิ
ลกั ษณะกำรคิด วธิ ีคดิ หรือขั้นตอนในกำรคิด ตวั อย่ำงคำถำมกระตุ้นคิด
1. คดิ คล่องคือการดาเนนิ การ 1. คิดเกีย่ วกบั เรือ่ งทีค่ ิดใหไ้ ด้ 1. บอกสาเหตทุ ท่ี าให้บ้านเมือง
คิดอยา่ งรวดเรว็ และได้ผลคือได้ จานวนมากอยา่ งรวดเร็ว สกปรกมาให้มากทสี่ ดุ และเร็ว
ความคิดจานวนมาก ท่สี ดุ
2. ขยะที่ผู้คนท้ิงมีอะไรบ้าง
บอกมาให้มากทส่ี ดุ และเร็วที่สดุ
2. คิดหลากหลาย คือ การ 1. คิดเก่ยี วกับเรื่องทคี่ ดิ ให้ได้ 1. ขยะมีกี่ประเภท จง
ดาเนนิ การคิดทีแ่ ตกออกเป็น ลกั ษณะ/รปู แบบ/ประเภท/ ยกตวั อยา่ งขยะแต่ละประเภท
หลายทาง หลายแบบ ชนดิ ท่หี ลากหลาย มาใหม้ ากทส่ี ุด
2. เราสามารถนาขวดพลาสติก
ทไี่ มใ่ ช้แล้วไปใชท้ าประโยชน์
อะไรไดบ้ ้าง จงคดิ ให้ได้จานวน
มากท่สี ดุ และหลากหลาย
ประเภท
3. คิดละเอยี ด คือการ 1. คดิ ให้ได้สาระหลักของเรอ่ื ง 1. ขยะท่ีเป็นอนั ตราย
ดาเนินการคดิ ที่จับได้ทง้ั หลกั ท่คี ิด หมายถงึ อะไร
และรายละเอยี ดของสงิ่ ท่คี ดิ 2. คดิ ใหไ้ ดร้ ายละเอียดย่อย 2. ขยะอันตรายแต่ละประเภท
ของเร่ืองท่ีคิดได้ มีโทษอยา่ งไร
4. คิดชัดเจน คือการ 1. คดิ ใหไ้ ดว้ า่ ตนเองรู้-ไมร่ ู้ 1. จากขอ้ มูลเกีย่ วกบั ขยะที่ให้
ดาเนินการคิดทผ่ี ู้คิดสามารถ เขา้ ใจ-ไม่เข้าใจอะไรบา้ ง นักเรียนศึกษา
บอกไดว้ า่ ตนเข้าใจหรอื ไม่ 2. คดิ หาคาอธบิ ายขยายความ 1.1 นกั เรยี นรูแ้ ละเข้าใจ
เข้าใจอะไรในเร่อื งทีค่ ดิ หรือยกตวั อย่างในเรื่องท่ตี นเอง อะไรบา้ ง ลองอธบิ ายให้ฟงั
ร/ู้ เขา้ ใจได้ 1.2 นักเรยี นสงสยั ตรงไหนบ้าง
1.3 นักเรยี นยังไมร่ ู้หรือยังไม่
เขา้ ใจ อะไรบ้าง
1.4 นกั เรยี นอยากรู้อะไร
เพิ่มเติมบา้ ง
บทบำทของผู้สอน
บทบาทของครูผู้สอนในการสอนตามทฤษฎี CIPPA นน้ั ซ่งึ เป็นการสอนแบบเนน้ ผู้เรียนเป็น
ศนู ยก์ ลาง โดยครูจะเป็นผนู้ าทางเปน็ ตัวช้ีทางให้กับนกั เรยี นเอง ซึง่ กระบวนการคิดน้นั จะขึ้นอยู่กบั
นักเรียน ซ่งึ เป็นการสอนให้นักเรยี นรู้จัก การคดิ วิเคราะห์ การทางานแบบมีส่วนร่วม
12
กจิ กรรมกำรเรียนรู้ตำมคมู่ ือ สสวท. ต่อตัวแปรตำม คือกำรคดิ เชงิ วิพำกษ์และเจตคติ
สาขาคอมพวิ เตอร์ สาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ไดพ้ ฒั นา
เอกสารสาหรบั อบรมครเู ทคโนโลยสี ารสนเทศ ระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา รวม 2 ชดุ จาก
การดาเนนิ การพบว่าเอกสารชุดฝึกอบรม และส่ือ เปน็ ท่ีต้องการของครู ครูไดน้ าไปใชจ้ ัดการเรียนรใู้ น
สถานศกึ ษา และเห็นวา่ สามารถชว่ ยเพมิ่ ประสิทธภิ าพประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียน
เอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง สาหรับครูเทคโนโลยสี ารสนเทศ ชดุ นี้ มีเน้อื หาความรู้ทจ่ี าเป็น
สาหรบั การสอนรายวิชาวทิ ยาการคานวณ กิจกรรมการเรยี นรู้ มี 7 กิจกรรม คือ ความรู้เบ้ืองต้น
เกีย่ วกับอินเทอรเ์ น็ต การใช้งานโปรแกรมบราวเซอร์ การสืบค้นขอ้ มูลผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ปญั หาและข้อควรระวังในการใชง้ านอินเทอร์เน็ต เว็บเพจของฉัน พาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
จุดมงุ่ หมายของการศึกษาคมู่ ือครูดว้ ยตนเอง เพื่อให้ครเู ทคโนโลยีสารสนเทศใช้ศึกษาด้วยตนเองและ
เม่อื ศึกษาแลว้ ผูใ้ ช้เอกสารจะตอ้ ง
1. มีความรแู้ ละทกั ษะในเนอ้ื หาสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ได้แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาการคานวณ
3. เข้าใจและสามารถนาส่ือในกิจกรรมไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
กำรหำประสทิ ธิภำพของเคร่อื งมือ
กาหนดสาระทจี่ ะนาไปจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เรือ่ ง แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้
แบบ CIPPA และการเรียนรู้ตามคูม่ ือ สสวท.
1.1 ศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสตู รการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 (กรมวชิ าการ . 2544 : 67)
1.2 ศกึ ษาเร่ืองการเรยี นแบบ CIPPA ของทิศนา แขมมณี
1.3 เขยี นแผนการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง แนวคิดเชงิ นามธรรม
ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA และการเรยี นรู้ตามคู่มือ
สสวท. โดยแต่ละแผนจะประกอบดว้ ย สาระสาคญั ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จานวน 10 แผน ใชเ้ วลา
แผนละ 2 ชัว่ โมง รวมเวลา 20 ชัว่ โมง
1.4 นาแผนท่เี ขียนแล้ว เสนอตอ่ ผู้บรหิ ารเพือ่ พิจารณาตรวจสอบสาระสาคญั จุดประสงค์
เนอื้ หา กจิ กรรมการเรียนการสอน สอื่ การวดั ผลประเมินผล เพื่อเสนอแนะ
1.5 นาแผนการเรียนรูม้ าแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผ้บู ริหาร
1.6 นาแผนการจัดการเรียนรูไ้ ปให้ผู้เช่ยี วชาญประเมนิ ความสอดคล้องระหวา่ งสาระสาคัญ
ของแผนการจัดการเรียนรู้ จดั ประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อในการเรียนรแู้ ละการวดั ผล
การเรียนรู้ วา่ มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกันหรือไมโ่ ดยใช้แบบประเมนิ ค่า IOC
1.7 นาคะแนนท่ีผู้เชย่ี วชาญประเมนิ แผนการจดั การเรียนมาหาคา่ เฉล่ีย
1.8 นาแผนการเรยี นร้กู ลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรือ่ ง แนวคิดเชงิ นามธรรม
ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ CIPPA และการเรียนรู้ตามค่มู ือ
สสวท.ทีผ่ ู้เชี่ยวชาญว่ามีความเหมาะสมแล้วเสนอตอ่ ผู้บริหารโรงเรียน
13
1.9 นาแผนการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ จิ กรรม CIPPA ไปทดลองใช้กบั นักเรียน ชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ซ่งึ เป็นนักเรียนห้องอ่ืน
1.10 นาแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีไดท้ ดลองแลว้ ไปแก้ไขปรับปรุงตามข้อบกพร่องท่ีพบ
นาเสนอตอ่ ผู้บริหารโรงเรียน
1.11 จดั ทาตน้ ฉบับและนาไปสอนจริงกับนักเรยี นกล่มุ ตัวอยา่ ง
ลักษณะเจตคติ
ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์(2543: 242-245) กลา่ วถงึ ลกั ษณะของเจตคติไว้ดังน้ี
1.เจตคตจิ ากประสบการณ์ สิ่งเร้าตา่ ง ๆ รอบตัวบุคคลการอบรมเลยี้ งดู การเรียนรู้
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมเป็นก่อใหเ้ กิดเจตคติแมว้ า่ ประสบการณ์ที่เหมือนกนั
ก็มเี จตคติที่แตกต่างกัน ด้วยสาเหตุหลายประการ เช่น อายุ เพศ เปน็ ต้น
2. เจตคติเปน็ การตระเตรยี มหรือความพร้อมในการตอบสนองต่อสงิ่ เร้า เป็นการเตรยี ม
ความพร้อมภายในจิตใจมากกวา่ ภายนอกท่ีสงั เกตได้ สภาวะความพรอ้ มที่จะตอบสนองมีลกั ษณะ
ซบั ซอ้ นของบุคคลจะชอบหรือไมช่ อบ
3. เจตคติมที ิศทางการประเมิน ทิศทางของการประเมนิ คือลกั ษณะอารมณ์ท่ีเกดิ ขน้ึ ถ้าเปน็
การประเมนิ หรือความร้สู กึ วา่ ชอบพอใจ เหน็ ดว้ ย ก็คือทิศทางในทางทดี่ ี หรือเรยี กว่าทศิ ทางใน
ทางบวก
4. เจตคติมีความเขม้ หมายถงึ มปี รมิ าณมากน้อยของความร้สู ึกถ้าชอบมากหรอื เห็นด้วย
อยา่ งมาก กแ็ สดงว่ามคี วามเข้มสูง
5. เจตคตมิ ีความคงทน เจตคตมิ ีความยึดม่นั ถือมนั่ และมีส่วนของการกาหนดพฤติกรรมของ
คน ๆ นัน้ การยดึ มั่นในเจตคติตอ่ สงิ่ ใดทาให้การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเกิดข้นึ ไดย้ าก
งำนวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง
งำนวิจยั ในประเทศ
เรวดี มนตรพี ิลา ไดว้ ิจยั เรอ่ื ง การวจิ ยั เพื่อพัฒนาครใู นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ี
เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั โดยใช้การสอนแบบซปิ ปา ผลการวิจัยพบวา่ สภาพปจั จุบนั ปญั หาและความ
ต้องการดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญของครูผู้สอน ก่อนการพัฒนาครผู สู้ อน
ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญในการสร้างองคค์ วามรู้
ด้วยตนเอง การใหผ้ เู้ รียนได้ปฏสิ มั พันธท์ ่ีดตี อ่ กนั ไมส่ ามารถนาแผนไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ านจรงิ ไดท้ าให้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ขาดประสิทธภิ าพและส่งผลต่อผลสมั ฤทธต์ิ อ่ ผ้เู รียนต่า
อรพรรณ ไชยสงิ ห์ ไดท้ าการวิจัยพบว่ากจิ กรรมการเรียนรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์ โดยการสอน
แบบกจิ กรรมซิปปาประกอบด้วยกระบวนการเรยี นรู้ 7 ข้ัน ทาใหน้ กั เรียนเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมไป
ในทางทด่ี ีขน้ึ คือนกั เรยี นสามารถแสวงหาความรู้ ในการทากิจกรรมพร้อมทจ่ี ะเรยี นได้ตลอดเวลา
นักเรียนรู้จักการใช้เทคนิคการคดิ วิเคราะห์ สามารถนาความรทู้ ไี่ ด้ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้
นงค์ แน่นอดุ ร ได้ทาการวจิ ยั พบว่า การจัดการเรียนการสอนโดยเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญตาม
รปู แบบของ ซิปปา โมเดลโดยภาพรวมและรายข้นั 4 ขัน้ อยูใ่ นระดบั ดีมาก
ครูผสู้ อนวิชาภาษาอังกฤษท่เี รียนจบภาษาอังกฤษ มกี ารจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี น
เปน็ สาคัญมีระดับสูงกว่า ครูท่ีไมใ่ ชว้ ธิ กี ารสอนแบบซปิ ปา โมเดล อย่างมนี ยั สาคญั ที่ ระดับ 0.5
14
งำนวิจัยต่ำงประเทศ
เคลล์ (Kelly. 2001 : 3893-A) ได้วจิ ัยความพยายามของนกั ศกึ ษาวิชาครู 3 คน จาก
โปรแกรมปฐมวยั ศกึ ษาท่เี น้นการสอนแบบใช้นักเรียนเปน็ ศูนย์กลางในการสอนบทเรยี นวิชาการอา่ น/
การใชภ้ าษา การวิจัยมีคาถามดงั นี้ (1) สิ่งท่ีได้และสิง่ ทไี่ มไ่ ด้ในการสอนวิชาการอ่าน/การใชภ้ าษาโดย
ใชน้ ักเรียนเป็นศูนยก์ ลางในช้ันเรียนโรงเรียนปฐมวัย (2) สิ่งทสี่ ะท้อนการสอนของนกั ศกึ ษาวชิ าครู
จากการสอนแบบมีส่วนร่วมและการเนน้ นกั เรียนเป็นศนู ย์กลาง ปัจจยั สนบั สนุนวิธกี ารสอนแบบเนน้
นกั เรยี นเป็นศนู ย์กลาง วธิ ีวิจยั ใชก้ ารเก็บข้อมลู ดว้ ยการสังเกตการณ์
การสัมภาษณ์เชงิ ลูกกบั นักศึกษาครู และครูท่ีสอนรว่ ม ครนู ิเทศและผูบ้ รหิ ารโรงเรียน ใช้เกณฑ์วดั
5 ข้อ ในท้ังสองด้าน คอื การสอนแบบใชน้ กั รเยนเปน็ ศูนยก์ ลางและการสอนแบบใช้ครูเป็นศนู ย์กลาง
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ปรากฏวา่ ไมม่ นี ักศกึ ษาวิชาครูคนใด ใช้วธิ กี ารสอนเน้นนกั เรยี นเป็น
ศนู ย์กลาง จากผลการวิจยั มขี ้อเสนอแนะว่า ผลท่ปี รากฏจากนักศึกษาวชิ าครตู ่อผสู้ อนในเน้ือหาของ
การสอนโดยใชน้ กั เรยี นเป็นศูนยก์ ลางในโปรแกรมเตรยี มการสอน โดยเฉพาะในวิชาการสอนการอ่าน/
การใช้ภาษา ความสามารถท่ีล้าหลังของนักศึกษาวชิ าครู การขาดความคุน้ เคยกบั การใชน้ ักเรยี นเปน็
ศนู ย์กลาง การสอนการอา่ น/การใชภ้ าษาของนักศกึ ษาวิชาครใู นโรงเรียนปฐมวยั ยังคงทาให้การสอน
แบบนี้เปน็ เร่อื งยาก ครทู สี่ อนรว่ มและครนู ิเทศขาดการสนบั สนุนเปน็ อปุ สรรคสาหรบั นกั ศึกษาวชิ าครู
ในการใช้วิธีการสอนแบบนักเรียนเปน็ ศูนย์กลาง
คอนเฟอร์ (Confer. 2001 : 2573) ได้ศึกษาและอธบิ ายความเขา้ ใจของนักเรียนชน้ั
มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 42 คน และครูจานวน 6 คน เกีย่ วกบั การสอนและการท่ีเน้นผู้เรยี น
เป็นสาคญั ครผู รู้ ว่ มศกึ ษาไดพ้ ยายามทาให้ชัน้ เรยี นของตนเองเป็นช้นั เรยี นที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั มาก
ขน้ึ ข้อมลู เบ้ืองต้นทน่ี ามาวิเคราะห์ได้จากการสัมภาษณ์และการสงั เกตในช้นั เรียน
15
บทที่ 3
วธิ ดี ำเนินกำรศกึ ษำคน้ ควำ้
การศกึ ษาครง้ั นี้ มจี ุดประสงค์เพ่ือพัฒนาผลการเรยี นรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรือ่ ง แนวคดิ เชิงนามธรรม ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA
และการเรยี นร้ตู ามคู่มือ สสวท. โดยผ้ศู ึกษาคน้ คว้าได้ดาเนินตามขัน้ ตอนดังนี้
1. กลุ่มเป้าหมายการวิจัย
2. เครือ่ งมือที่ใช้ในการวจิ ยั
3. การสร้างและการหาคุณภาพเครอ่ื งมือ
4. ขน้ั ตอนการดาเนนิ การวจิ ัย
5. ระยะเวลาในการทดลอง
6. การวเิ คราะห์ข้อมลู
7. สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์
กลุม่ เปำ้ หมำยกำรวจิ ัย
1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1.1 ประชากร คือ นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561
จานวน 120 คน โรงเรยี นโนนเจรญิ พทิ ยาคม อาเภอบา้ นกรวด จังหวดั บุรรี มั ย์
1.2 กล่มุ ตวั อยา่ ง คือ นกั เรียนชนั้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปี
การศกึ ษา 2561 โรงเรียนโนนเจรญิ พทิ ยาคม อาเภอบ้านกรวด จังหวดั บรุ ีรมั ย์ จานวน 2 หอ้ ง
จานวนนกั เรียน 70 คน ได้มาโดยการเลอื กแบบกลมุ่ (Cluster Random Sampling) โดยสุ่ม
หอ้ งเรียนจานวน 2 ห้อง เพ่อื ใช้เปน็ กล่มุ ทดลอง 1 หอ้ ง กลุ่มควบคุม 1 ห้องเรียนโดยการสมุ่ แบบกลมุ่
(Cluster Random Sampling) เป็นกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุม ไดผ้ ลการสุ่มดังนี้
1.2.1 กลุม่ ทดลอง เปน็ นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/1 ได้รบั วิธกี าร
จัดการเรียนรโู้ ดยการทากจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA
1.2.2 กลมุ่ ควบคุม เปน็ นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1/2 ได้รบั วิธีการจดั
กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามคู่มือ สสวท.
เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในกำรวิจยั
เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั คร้งั น้ีมี 3 ชนิด
1. แผนการเรียนร้คู อมพิวเตอร์ กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรือ่ ง แนวคดิ เชิง
นามธรรม ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ CIPPA และการเรียนรู้
ตามคมู่ ือ สสวท. จานวน 10 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมจานวน 20 ชวั่ โมง
2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง แนวคดิ เชิงนามธรรม ของนักเรยี นช้นั
มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เป็นแบบทดสอบชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 50 ขอ้
3. แบบวัดเจตคติของนักเรียนที่มีตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ CIPPA และสสวท.
เร่ือง แนวคิดเชงิ นามธรรม ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 15 ข้อ
16
4. แบบวดั ความคดิ เชิงวพิ ากษ์วิจารณ์ ทมี่ ีต่อผลการเรียนรู้กล่มุ สาระวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เร่ือง แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้
แบบ CIPPA และการเรียนรู้ตามค่มู ือ สสวท. จานวน 5 ตอน 54 ข้อ
กำรสร้ำงและกำรหำคณุ ภำพเครือ่ งมอื
1. การสร้างและหาคุณภาพของผลการเรยี นรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ือง
แนวคิดเชงิ นามธรรม ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบ CIPPA และ
การเรียนรูต้ ามคู่มอื สสวท. ผศู้ ึกษาคน้ คว้าไดด้ าเนนิ การตามลาดับข้ันตอนดังนี้
1.1 ศึกษาหลกั สูตร คน้ คว้าขอ้ มูล เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกับสาระและมาตรฐานการ
เรียนรูช้ ว่ งชนั้ ที่ 3 คมู่ อื การจัดการเรยี นรู้ หลักสูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในหลกั สูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เพ่ือให้ทราบแนวทางในการสร้างแผนการ
จดั การเรยี นรู้ (กรมวชิ าการ . 2545 : 10-12)
1.2 วิเคราะห์หลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 เกย่ี วกบั
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั และสาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร)์ เพื่อนามาเปน็ กรอบในการเขียนผลการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เรอ่ื ง แนวคิดเชงิ นามธรรม ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โดยใชก้ ิจกรรมการ
เรียนร้แู บบ CIPPA และการเรยี นรตู้ ามคู่มือ สสวท.
1.3 กาหนดสาระทจี่ ะนาไปจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามแผนการเรยี นรู้คอมพวิ เตอร์
เร่ือง แนวคดิ เชิงนามธรรม ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 โดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA
และการเรยี นรตู้ ามคู่มอื สสวท.
1.4 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตร
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544 (กรมวิชาการ . 2544 : 67)
1.5 ศึกษาเรื่องการเรียนแบบ CIPPA ของทิศนา แขมมณี
1.6 เขยี นแผนผลการเรียนรูก้ ล่มุ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ือง แนวคดิ เชงิ
นามธรรม ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โดยใชก้ จิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรยี นรู้
ตามคมู่ ือ สสวท. โดยแต่ละแผนจะประกอบดว้ ย สาระสาคัญ ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั จดุ ประสงค์
การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จานวน 10
แผน ใช้เวลาแผนละ 2 ชวั่ โมง รวมเวลา 20 ชวั่ โมง
1.7 นาแผนทเ่ี ขียนแล้ว เสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษาเพอ่ื พิจารณาตรวจสอบ
สาระสาคัญ จุดประสงค์ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นการสอน สือ่ การวัดผลประเมนิ ผล เพือ่
เสนอแนะ
1.8 นาแผนการเรยี นรูม้ าแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาควบคุม
งานวิจัยในช้นั เรียน
1.9 นาแผนการจดั การเรยี นรู้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้องระหว่าง
สาระสาคญั ของแผนการจัดการเรียนรู้ จดั ประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมกรเรยี นรู้ ส่ือในการเรยี นรู้และ
การวัดผลการเรยี นรู้ ว่ามีความสอดคล้องเหมาะสมกนั หรือไม่โดยใชแ้ บบประเมนิ ค่า IOC
1.10 นาคะแนนทผ่ี ูเ้ ชีย่ วชาญประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาหาค่าเฉล่ยี
17
1.11 นาแผนผลการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ือง แนวคดิ เชิง
นามธรรม ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใชก้ จิ กรรมการเรียนร้แู บบ CIPPA และการเรยี นรู้
ตามคูม่ ือ สสวท. ท่ผี ้เู ชย่ี วชาญว่ามคี วามเหมาะสมแล้วเสนอต่อผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควบคมุ งานวิจยั
1.12 นาแผนการจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ จิ กรรม CIPPA ไปทดลองใชก้ ับนกั เรียน ชน้ั
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ซ่งึ เปน็ นักเรยี นห้องอ่ืน
1.13 นาแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ีได้ทดลองแล้วไปแก้ไขปรับปรุงตามข้อบกพร่องที่
พบนาเสนอต่อผูบ้ รหิ ารควบคุมงานวจิ ยั
1.14 จดั ทาต้นฉบับและนาไปสอนจริงกบั นักเรยี นกลมุ่ ตัวอย่าง
2. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ได้ดาเนินการตามลาดบั
ดังนี้
2.1 ศึกษาทฤษฎีและวธิ ีการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
2.2 ศกึ ษาหลักสูตรคูม่ ือครกู ารวัดผลประเมนิ ผล ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้
พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
2.3 วเิ คราะหเ์ นื้อหาสาระการเรยี นร้แู ละจัดประสงคก์ ารเรียนรู้
2.4 สรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิแบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 50 ข้อ
2.5 นาแบบทดสอบทส่ี ร้างขึ้น เสนอครูพเี่ ลี้ยง
2.6 นาแบบทดสอบมาแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสนอผู้เช่ียวชาญ
2.7 นาแบบทดสอบเสนอตอ่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควบคมุ งานวจิ ยั ในชน้ั เรียน
ให้เหน็ ชอบเพ่ือนาไปทดลองใช้
2.8 นาแบบทดสอบไปทดสอบกบั นกั เรยี นห้องอ่ืน แลว้ นาแบบทดสอบมาหา
คณุ ภาพ
2.9 นาแบบทดสอบเสนอตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาควบคมุ งานวจิ ยั ในชัน้ เรียน เพอื่
ขอความเหน็ ชอบ ใหน้ าไปเก็บขอ้ มลู ได้
2.10 จัดพมิ พ์ข้อสอบ แล้วใช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู กับกล่มุ ตัวอยา่ ง
3. แบบวัดเจตคตแิ ละแบบทดสอบเชิงวพิ ากษ์วจิ ารณ์ของนักเรยี นทม่ี ีต่อผลการเรยี นร้กู ลุ่ม
สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โดย
ใชก้ จิ กรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรียนร้ตู ามคมู่ ือ สสวท.
3.1 ศกึ ษาวิเคราะห์ จุดประสงค์ เน้ือหา ผลการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เรอ่ื ง แนวคดิ เชิงนามธรรม ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใชก้ จิ กรรมการ
เรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรียนรู้ตามคูม่ ือ สสวท.
3.2 ศกึ ษาการสร้างแบบวัดเจตคตแิ ละแบบทดสอบการคดิ เชิงวพิ ากษว์ ิจารณ์และ
เอกสารที่เกย่ี วข้อง
3.3 สรา้ งแบบวดั เจตคตแิ ละแบบทดสอบการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรยี นทมี่ ี
ตอ่ กจิ กรรมการเรยี นรูจ้ ากแผนการจดั กิจกรรมเรียนรู้โดยใชก้ ิจกรรมแบบ CIPPA
3.4 นาแบบวดั เจตคติและแบบทดสอบการคิดเชิงวิพากษ์วจิ ารณ์เสนอต่อผู้บรหิ าร
สถานศึกษา
3.5 นาแบบวดั เจตคติและแบบทดสอบการคิดเชงิ วพิ ากษ์วิจารณ์เสนอผู้เชย่ี วชาญ
ตรวจสอบ
18
3.6 นาแบบวดั เจตคตแิ ละแบบทดสอบการคิดเชิงวพิ ากษ์วิจารณ์ไปทดลองใชก้ บั
นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 หอ้ งอืน่
3.7 นาแบบวดั เจตคตแิ ละแบบทดสอบการคิดเชงิ วิพากษ์วจิ ารณ์ไปใชก้ ับกลุ่ม
ตวั อยา่ งนักเรียน
ขัน้ ตอนกำรดำเนนิ กำรวจิ ยั
การศกึ ษาคน้ คว้าครัง้ นี้ เปน็ การศึกษาคน้ ควา้ ก่งึ ทดลองผู้ศกึ ษาค้นควา้ เปน็ ผูด้ าเนนิ การ
ทดลองด้วยตนเอง ใชเ้ วลาในการทดลองภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 โดยใช้เวลาสอน 20
ชวั่ โมง ไมร่ วมเวลาทดสอบก่อนและหลงั เรียน มรี ายละเอียดในการศึกษาค้นคว้าดงั นี้
1. ทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) กับนักเรยี นกล่มุ ตัวอย่าง ดว้ ยแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียน ใชเ้ วลา 30 นาที ทดสอบก่อนที่จะทาการทดลองสอน เพื่อศึกษาความรู้เดิมของ
นักเรยี นแลว้ ทาการเกบ็ ข้อมูลทไ่ี ด้จากการทาแบบทดสอบไว้เพอื่ วิเคราะห์ข้อมลู ขนั้ ต่อไป
2. ดาเนินการทดลอง โดยใช้แผนผลการเรยี นรู้กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่อื ง
แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นร้แู บบ CIPPA
และการเรยี นรตู้ ามคู่มือ สสวท. ใชท้ งั้ หมด 10 แผน แผนละ 2 ชัว่ โมง ในระหวา่ งการจดั กจิ กรรมผู้
ศกึ ษาค้นคว้าไดท้ าการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรยี นของนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ ทสี่ ร้างข้ึน
หลงั จากทีน่ ักเรยี นทากจิ กรรมเสรจ็ แตล่ ะกลมุ่ จะออกมาอภิปรายรว่ มกัน หน้าห้องเรียน และครู
ประกาศผลคะแนนให้นักเรียนทราบ
3. ทดสอบหลังเรียน(Post – test) กบั นกั เรียนกลุม่ ตัวอยา่ งเดมิ ดว้ ยแบบทดสอบวัด
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ฉบับเดียวกบั ท่ีทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใหค้ ะแนน แล้วนาไปวิเคราะห์ผล
ทางสถติ ิ
ระยะเวลำทใี่ ช้ในกำรทดลอง
ผู้ศกึ ษาค้นคว้าดาเนนิ การทดลองในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โดยใช้แผนการจดั การ
เรยี นรู้ 10 แผน เริ่ม วนั ท่ี 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2561 ถงึ 31 มกราคม พ.ศ. 2562 ใชเ้ วลาสอน
สัปดาห์ละ 2 ช่ัวโมง ซง่ึ ไม่รวมเวลาการทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน
กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู
การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ผูศ้ ึกษาค้นควา้ วเิ คราะหข์ ้อมูลมาวเิ คราะห์ดังน้ี
1. วิเคราะห์หาประสทิ ธภิ าพของผลการเรยี นรู้กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง
แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนรแู้ บบ CIPPA และ
การเรียนรตู้ ามคู่มือ สสวท. ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใชส้ ูตร E1 / E2 (เผชญิ กจิ ระการ .2544 : 49)
2. วเิ คราะห์หาดชั นปี ระสิทธิภาพของแผนผลการเรยี นรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เรื่อง แนวคดิ เชงิ นามธรรม ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนรู้
แบบ CIPPA และการเรยี นรู้ตามคู่มือ สสวท. โดยใชส้ ูตร EI (เผชญิ กจิ ระการ และสมนึก ภัททยิ
ธาน.ี 2545 :31)
19
3. วเิ คราะห์เจตคตแิ ละความคิดเชงิ วพิ ากษว์ ิจารณ์ของนักเรียนท่ีมีแผนผลการเรยี นรูก้ ลุ่ม
สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่อื ง แนวคดิ เชิงนามธรรม ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้แบบ CIPPA และการเรียนรู้ตามคมู่ อื สสวท. ใชม้ าตราสว่ นประมาณคา่
(Rating Scale) (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 102-103)
สถติ ิทีใ่ ชใ้ นกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์หาคุณภาพของเคร่อื งมือ
1.1 หาประสทิ ธภิ าพของแผน E1 / E2 ใช้ในการหาประสิทธภิ าพของแผนการจดั การ
เรียนรโู้ ดยใชส้ ูตรของ (เผชญิ กิจระการ .2544 : 49)
X x 100
E1= N
A
เมอ่ื E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการ
X แทน คะแนนของแบบฝกึ หัดหรอื ของแบบทดสอบย่อยทกุ ชุดรวมกัน
A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกึ หัดทกุ ชุดรวมกัน
N แทน จานวนนกั เรียนท้งั หมด
X x 100
E2= N
B
เม่ือ E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์
X แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลงั เรยี น
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลงั เรยี น
N แทน จานวนนกั เรียนทั้งหมด
1.2 สถติ ทิ ่ีใชห้ าดชั นีประสทิ ธผิ ลของแผนการเรียนรคู้ อมพิวเตอร์ เรื่อง แนวคดิ เชงิ นามธรรม
ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใชก้ จิ กรรมแบบ CIPPA และโดยวธิ ีการสอนของ สสวท. โดย
ใชด้ ชั นปี ระสิทธิผล (E.I.) (เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภทั ทิยธนี . 2545 : 31)
ผลรวมของคะแนนทดสอบหลงั เรียน – ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
คา่ ดชั นีประสทิ ธิผล =
(จานวนนกั เรียน x คะแนนเต็ม) - ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
1.3 การหาคา่ ความเทยี่ งตรง (Validity) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้
สูตร ดัชนคี า่ ความสอดคลอ้ ง IOC (สมนกึ ภทั ทยิ ธนี . 2546 :220)
สตู ร IOC= NR
20
เมอื่ IOC แทน ดชั นคี วามสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับเนอ้ื หาหรือ
ระหวา่ งข้อสอบกับจุดประสงค์
R
N แทน ผลรวมคะแนนความคดิ เหน็ ของผ้เู ชี่ยวชาญทั้งหมด
แทน จานวนผู้เช่ียวชาญทั้งหมด
1.4 การหาคา่ อานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน โดยใชส้ ูตร
Brennan (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 90)
สตู ร B= U - L
n1 n2
เมอ่ื B แทน คา่ อานาจจาแนก
U แทน จานวนผู้สอบผา่ นเกณฑ์ที่ตอบถูกต้อง
แทน จานวนผสู้ อบไมผ่ ่านเกณฑ์ทีถ่ ูกต้อง
L แทน จานวนผสู้ อบผา่ นเกณฑ์
แทน จานวนผสู้ อบไม่ผา่ นเกณฑ.์
n1
n2
1.5 การหาคา่ ความเช่อื มน่ั (Reliability) ของแบบทดสอบหาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนโดย
ใช้วธิ ีของ Lovett (บญุ ชม ศรสี ะอาด .2545 :96)
rcc = 1 - kxi - x2i
(k-1) (xi - C) 2
เม่ือ r แทน ความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบ
k แทน จานวนขอ้ สอบ
Xi แทน คะแนนของคนท่ี (คะแนนของแตล่ ะคน)
C แทน คะแนนเกณฑ์หรอื จุดตัดของแบบทดสอบ
2. สถิติพืน้ ฐาน ได้แก่
2.1 ร้อยละ( Percentage ) โดยใชส้ ูตร P (บุญชม ศรีสะอาด .2545 :104)
สูตร P= f x 100
N
เมือ่ P แทน ร้อยละ
F แทน ความถท่ี ่ตี ้องการเปลี่ยนแปลงใหเ้ ปน็ ร้อยละ
N แทน จานวนความถ่ีทั้งหมด
21
2.2 ค่าเฉลีย่ (Arithmetic Mean) โดยคานวณจากสูตรตอ่ ไปนี้ (บุญชม ศรี
สะอาด .2545 :105)
สตู ร X = NX
X แทน ค่าเฉลย่ี
X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดในกล่มุ
N แทน จานวนคนทง้ั หมด
2.3 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) มีสตู รดงั น้ี (บุญชม ศรี
สะอาด .2545 :106)
สตู ร
S.D. = NX2 – (X)2
N(N-1)
เมือ่ S แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนแต่ละตวั
N แทน จานวนคะแนนในกลมุ่
แทน ผลรวม
3. สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการทดสอบสมมตุ ฐิ าน
3.1 การเปรียบเทียบความแตกตา่ งผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนของนักเรียนกล่มุ ทดลอง
และนกั เรียนกลุ่มควบคุม โดยใช้กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA และการเรยี นตามคู่มือ สสวท. โดย
ใช้ t-test (dependent Samples) (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2543 : 112)
t = ∑D
N∑D2 – (∑D)2
N-1
เมอ่ื D แทน ความแตกตา่ งระหว่างคะแนนแตล่ ะคู่
N แทน จานวน คู่
df แทน ความเปน็ อิสระมีค่าเทา่ กบั N - 1
22
บทท่ี 4
ผลกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ
ผลการศกึ ษาคน้ คว้าคร้ังน้มี ีจุดมุ่งหมายเพ่อื พฒั นาแผนการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ เร่ือง แนวคดิ
เชิงนามธรรม ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โดยใช้กิจกรรมแบบ CIPPA ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพตาม
เกณฑ์ 80/80 และศกึ ษาเจตคตขิ องนกั เรยี นท่ีมตี ่อแผนการเรยี นรคู้ อมพิวเตอร์ เร่ือง แนวคดิ เชิง
นามธรรม ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใช้กจิ กรรมแบบ CIPPA ซึง่ ผู้ศึกษาค้นคว้าขอเสนอ
ผลการศึกษาคน้ คว้าดังนี้
1. สญั ลกั ษณท์ ี่ใช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
2. ลาดบั ขั้นในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู
3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
สญั ลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผศู้ กึ ษาค้นควา้ ได้กาหนดความหมายของสญั ลักษณท์ ่ีใช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ดังนี้
N แทน จานวนนักเรยี นในกลุม่ ทดลอง
X แทน ค่าเฉลีย่
S.D. แทน สว่ นเบยี่ งเบน
ลาดบั ข้นั ในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ผู้ศึกษาค้นควา้ ได้ดาเนินการวิเคราะหข์ ้อมลู ตามลาดบั ขน้ั ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 การหาคณุ ภาพของแผนการเรียนร้คู อมพวิ เตอร์ เรอ่ื ง แนวคิดเชิงนามธรรม ของ
นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โดยใชก้ ิจกรรมแบบ CIPPA ท่ีมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80
1. คุณภาพด้านทกั ษะพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านระหวา่ งเรียน หาไดจ้ ากคา่ เฉล่ยี ส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐานและรอ้ ยละ
2. คณุ ภาพดา้ นทกั ษะกระบวนการในการจดั ทา โฮมเพจ หาได้จาก คา่ เฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบน
มาตรฐานและร้อยละ
3. คณุ ภาพดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ ไดห้ าจากค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานและร้อยละ
ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการรเรียนหลังจากการเรียนรู้คอมพวิ เตอร์ เร่ือง
แนวคิดเชิงนามธรรม ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โดยใชก้ จิ กรรมแบบ CIPPA
23
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
ตอนที่ 1 คุณภาพของแผนการเรียนร้คู อมพวิ เตอร์ เร่ือง แนวคิดเชิงนามธรรม ของ
นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้กจิ กรรมแบบ CIPPA
1. คณุ ภาพด้านพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านระหวา่ งเรยี นของนักเรียน หาได้จาก
คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และรอ้ ยละ จากแบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรนี ของ
นักเรียนหลงั จากการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู นแตล่ ะแผน ผลดังตาราง 1
ตำรำงที่ 1 คะแนนเฉลย่ี ของนกั เรยี นท่ีสอบไดจ้ ำกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลัง
เรยี น
คะแนนท่ีนกั เรยี นสอบได้ จานวนนกั เรยี นทีส่ อบได้ คะแนนรวม
คะแนนเต็ม 30 คะแนน จากนกั เรียน 35 คน
28 8 224
27 10 270
26 12 312
25 5 125
รวม 35 913
คะแนนเฉล่ยี 26.37
คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.91
จากตารางที่ 1 พบวา่ คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียนของ
นักเรียนเตม็ 30 คะแนน ไดค้ ่าเฉล่ยี 26.37 คา่ เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 87.91 ของคะแนนเตม็
24
ตำรำงท่ี 2 สรุปผลประเมินเจตคตขิ องนกั เรยี นที่มตี ่อแผนกำรเรยี นรู้คอมพิวเตอร์ เรื่อง แนวคดิ
เชิงนำมธรรม ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 โดยใช้กิจกรรมแบบ CIPPA
ดา้ นกิจกรรมการเรยี นรู้ X S.D. แปลความ
1. กจิ กรรมการเรียนรู้ในชัว่ โมง 4.71 0.45 เห็นด้วยอย่างย่งิ
2. นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 4.75 01.43 เห็นด้วยอย่างยิ่ง
3. นักเรียนมคี วามเข้าใจในเน้อื หาที่เรยี น 4.33 0.47 เห็นด้วยอย่างมาก
4. ใบงานทีป่ ฏบิ ตั ใิ นช่วั โมงมีความยากง่ายเหมาะสมกบั เนื้อหาท่ี 4.71 0.45 เห็นด้วยอยา่ งยง่ิ
เรยี น
5. นกั เรยี นสามารถสรุปเนือ้ หาทีเ่ รยี นได้ 4.88 0.33 เหน็ ดว้ ยอย่างยิ่ง
6. นักเรียนลงมอื ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง 4.75 0.43 เห็นดว้ ยอย่างยง่ิ
7. เวลาที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู หมาะสม 4.29 0.45 เห็นดว้ ยอยา่ งมาก
8. นกั เรยี นพอใจกบั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยโครงงาน 4.79 0.41 เห็นด้วยอยา่ งยง่ิ
9. ตัวหนังสือในใบความรูแ้ ละใบงานชัดเจน 7.33 0.47 เห็นดว้ ยอยา่ งมาก
10. แผนประกอบส่ือเน้ือหาทสี่ อน 4.63 0.48 เหน็ ด้วยอยา่ งยิ่ง
11. ใบความรูม้ ีรายละเอียดเพยี งพอ 4.67 0.47 เห็นดว้ ยอยา่ งย่งิ
12. ใบงานมีความชัดเจน และสามารถปฏบิ ัติได้ 4.42 0.49 เห็นด้วยอยา่ งยิ่ง
13. แหล่งเรียนรู้มีเพยี งพอ 4.88 0.33 เห็นด้วยอย่างยิ่ง
14. ครูมคี วามรู้ในเน้ือหาท่สี อน 4.83 0.37 เหน็ ด้วยอย่างยิ่ง
15. ครมู เี ทคนิคการสอนทีต่ ่ืนเต้น นา่ สนใจ 4.63 0.48 เห็นด้วยอยา่ งยงิ่
16. ครมู ีการวางแผน มแี ผนการสอนและส่อื การสอน 4.17 0.37 เห็นด้วยอย่างยิ่ง
17. ครูมกี ารเตรยี มอปุ กรณ์และเครอื่ งมือในการสอน 4.83 0.45 เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ
18. ครสู อนแบบสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม 4.71 0.47 เห็นดว้ ยอย่างยง่ิ
19. ใชภ้ าษาถกู ต้องชดั เจน 4.67 0.43 เห็นดว้ ยอย่างยงิ่
20. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซักถามปัญหา การอภปิ รายและให้ 4.75 0.43 เหน็ ด้วยอย่างยง่ิ
คาปรกึ ษาในระหว่างสอน
รวม คา่ เฉล่ยี 4.64 0.43 เหน็ ดว้ ยอยา่ งยง่ิ
จากผลตาราง 2 การประเมนิ เจตคติของนกั เรียนทม่ี ีต่อแผนการเรียนร้คู อมพิวเตอร์ โดยรวม เห็นด้วย
มากเมื่อจาแนกเป็นรายข้อ พบว่านักเรียนมเี จตคติตอ่ ครูในด้านความรใู้ นเนื้อหาในระดับเหน็ ด้วยอย่าง
ย่งิ
25
บรรณำนุกรม
กรมวิชาการ. ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์.กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรสุ ภา ลาดพร้าว,2534.
วศิน เพิ่มทรัพย,์ วโิ รจน์ ชยั มลู . ความรูเ้ ก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรุงเทพฯ :
โปรวิชน่ั , 2548.
นฤชติ แววศรผี อ่ ง. หนงั สอื เรียนคอมพิวเตอร์เบ้อื งต้น . กรุงเทพฯ: ซเี อด็ ยเู คชัน่ ,2547.
บญุ ชม ศรสี ะอาด.การวิจยั เบือ้ งต้น.พมิ พ์ครั้งที่ 7. กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาสน์ ,2545.
เผชญิ กิจระการ และสมนึก ภัททยิ ธน.ี “ดัชนปี ระสทิ ธิผล “ วารสารการวดั ผลการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(2) : 31-35 ; กรกฎาคม,2545.
สมนกึ ภทั ทยิ ธนี. การวดั ผลการศึกษา . มหาสารคาม : ภาควิชาวิจัยและพฒั นาการศึกษา คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม , 2544.