The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพื่อการเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตำบลกุดบาก, 2021-11-23 12:02:29

โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพื่อการเกษตร

โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพื่อการเกษตร



คำนำ

จากการที่ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกดุ บาก จดั โครงการภาษาต่างประเทศ
เพื่อการสอ่ื สารด้านอาชีพ หลกั สตู รอาชพี เพ่อื การเกษตร ณ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อธั ยาศัยอำเภอกุดบาก โดยมีกลุม่ เปา้ หมายประชาชนท่ัวไป ในเขต อำเภอกุดบาก จำนวน 15 คน โครงการ
ดังกลา่ วเสรจ็ สิ้นไปด้วยดี ซ่ึงรายละเอียดผลการดำเนนิ งานต่างๆตลอดจนปัญหาอุปสรรค ได้สรปุ ไว้ในรายงาน
เล่มนแ้ี ลว้

รายงานผลการดำเนินงานเล่มน้ี จดั ทำข้ึนเพ่ือการศึกษาหาข้อมูล เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดโครงการ
ในการเขา้ ถึงกลุ่มประชาชนทัว่ ไป โดยตรงจากการแนะแนวทางการศึกษา แนะแนวทางการพฒั นาอาชพี และ
พัฒนาฝึกทักษะชีวิตของนักศึกษา หากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่อง คณะผู้จัดทำขอน้อมรับไว้ เพ่ือปรับปรุงและ
พฒั นาในโอกาสตอ่ ไป

กศน.อำเภอกุดบาก
มิถุนายน 2564

สารบัญ ข

หัวขอ้ ท่ี หนา้
1-2
บทที่ 1 บทนำ 3-5
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง 6-7
บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ การ 8-11
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 12-14
บทท่ี 5 สรุปผล และรายงานผลการดำเนนิ โครงการ

ภาคผนวก
- ภาพกจิ กรรม
- คณะผจู้ ัดทำ

1

บทที่ 1
บทนำ

1. หลักการและเหตผุ ล

ปัจจบุ นั ภาษาอังกฤษมคี วามจำเป็นต่อการติดตอ่ ส่ือสารในโลกแห่งข้อมูลขา่ วสารซ่ึงมีความ
เจรญิ ก้าวหน้าและพัฒนาอย่างรวดเร็วทำใหก้ ารสอื่ สารผา่ นชอ่ งทางต่าง ๆ สามารถทำได้อย่างงา่ ยดายโดยใช้
ภาษาอังกฤษเปน็ สอื่ กลาง ดงั นนั้ การพัฒนาศกั ยภาพในการตดิ ต่อสือ่ สารด้วยภาษาอังกฤษ จึงมีความสำคัญตอ่
บุคลากรภายในหน่วยงาน และประชาชน เพื่อให้กา้ วทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงของประชาคมโลก และเป็นปัจจยั
เกื้อหนุนให้ประชาชนมคี วามพร้อมในการพัฒนาขดี ความสามารถทางดา้ นทกั ษะภาษาองั กฤษในระดับที่
สามารถติดต่อสอ่ื สารเพ่ือการประกอบอาชีพได้

ทงั้ น้ี จากการอา้ งองิ ตามกฎบัตรอาเซยี นมาตราที่ ๓๔ ระบใุ หใ้ ช้ภาษาทำงานของอาเซียนคอื
ภาษาองั กฤษ (The working language of ASEAN shall be English) ซ่ึงหมายความว่าประชาชนใน ๑๐
ประเทศอาเซียนจะต้องใช้ภาษาองั กฤษมากขึน้ นอกเหนือจากการใชภ้ าษาประจำชาตหิ รือภาษาประจำทอ้ งถิน่
ของตนเอง จงึ เป็นสงิ่ ทีน่ า่ เปน็ หว่ งคอื ปัญหาในเรอื่ งทกั ษะทางภาษาตา่ งประเทศของคนไทย จากผลสำรวจของ
สำนักตา่ ง ๆ ล้วนแต่ชช้ี ดั ตรงกนั วา่ “ภาษาองั กฤษ” ของเราสู้เพ่ือนบ้านในอาเซียนไมไ่ ด้ และอยู่ใน “ระดบั ตำ่
มาก” โดยหากมองไปทีพ่ ้ืนฐานทางภาษาในบรรดาทักษะทงั้ ๔ ดา้ นผ้เู รยี นชาวไทยโดยมากจะมีปญั หาดา้ นการ
พดู และการฟงั อนั เปน็ ทักษะพ้ืนฐานในการสอื่ สารระหว่างกนั

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอกุดบาก จงึ เห็นความสำคญั ในการพฒั นา
ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สารด้านอาชีพให้แก่ประชาชนในพน้ื ทอ่ี ำเภอกดุ บากและ กศน. เปน็ หนว่ ยงานทีเ่ น้น
ความสำคัญในการจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดงั น้ัน จงึ ได้จัดทำ
โครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การสือ่ สารดา้ นอาชพี หลักสูตรอาชีพเพ่ือการเกษตรขนึ้ เพ่อื ฝกึ อบรม
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพใหก้ ับประชาชนในพื้นท่ขี องสถานศึกษา และเพอื่ ให้ประชาชน
กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารดา้ นอาชีพ สามารถนำความรูท้ ี่

ไดร้ ับไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั และประกอบอาชพี ได้

2. วัตถปุ ระสงค์

๔.๑ เพือ่ ใหม้ คี วามรแู้ ละเข้าใจคำศัพทพ์ ้นื ฐาน และสำนวนภาษาทีใ่ ช้ในการเกษตร
๔.๒ เพอ่ื ให้สามารถใช้ ภาษาอังกฤษในอาชีพเกษตร

2

๓. เป้าหมาย

1 เชงิ ปรมิ าณ

- ประชาชนท่วั ไป จำนวน 15 คน

2. เชงิ คุณภาพ

ประชาชนกลุม่ เปา้ หมายท่ีผา่ นการอบรมตามโครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การสื่อสารด้านอาชีพ

หลกั สตู รอาชีพเพื่อการเกษตร สามารถนำความรู้ท่ีไดร้ บั ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวันและนำไปประกอบ
อาชพี ด้านการค้าขายดว้ ยภาษาต่างประเทศได้อย่างดี

4. ดัชนตี วั ชว้ี ัดความสำเรจ็ ของโครงการ
ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ
1.มีผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 100 ของกลมุ่ เปา้ หมาย/นักศกึ ษา

ตวั ช้ีวัดผลลัพธ์
1.ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความ ตระหนักถึงความสำคัญของ

ภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพื่อการเกษตร และสามารถนำไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้

3

บทท่ี 2
เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

ภาษาองั กฤษ หรอื ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกล่มุ ภาษาเจอรแ์ มนคิ ตะวันตกทใี่ ช้ครั้งแรกใน
อังกฤษสมยั ตน้ ยคุ กลาง และปจั จุบนั เป็นภาษาทใ่ี ชก้ นั แพร่หลายท่ีสุดในโลก ประชากรส่วนใหญใ่ นหลาย
ประเทศ รวมท้ัง สหราชอาณาจกั ร สหรัฐอเมรกิ า แคนาดา ออสเตรเลยี ไอร์แลนด์ นวี ซแี ลนด์ และประเทศใน
แคริบเบยี น พดู ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาทหี่ น่งึ ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาแม่ท่ีมีผพู้ ูดมากที่สุดเปน็ อันดับสามของ
โลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมผี ู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสองอย่างกวา้ งขวาง และ
ภาษาองั กฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยโุ รป หลายประเทศเครอื จักรภพแห่งชาติ และ สหประชาชาติ
ตลอดจนองคก์ ารระดบั โลกหลายองคก์ าร

ภาษาอังกฤษเจริญขน้ึ ในราชอาณาจักรแองโกล-แซก็ ซอนองั กฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวนั ออก
เฉยี งใต้ในปจั จุบัน หลงั อทิ ธิพลอยา่ งกวา้ งขวางของบริเทนใหญ่และสหราชอาณาจักรตัง้ แต่คริสต์ศตวรรษที่ 17
จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผา่ นจักรวรรดิองั กฤษ และรวมสหรัฐอเมรกิ าด้วยตงั้ แต่กลางคริสต์ศตวรรษท่ี
20 ภาษาองั กฤษได้แพรห่ ลายทว่ั โลก กลายเปน็ ภาษาชน้ั นำของวจนพิ นธร์ ะหว่างประเทศและเป็นภาษากลาง
ในหลายภมู ภิ าค

ในประวตั ิศาสตร์ ภาษาองั กฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถน่ิ หลายภาษาท่ีสัมพันธอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ ซึ่ง
ปัจจบุ นั เรียกรวมวา่ ภาษาอังกฤษเกา่ ซง่ึ ผตู้ ัง้ นคิ มนำมายงั ฝ่ังตะวันออกของบรเิ ทนใหญ่เมอ่ื คริสตศ์ ตวรรษที่ 5
คำในภาษาองั กฤษจำนวนมากสร้างข้นึ บนพืน้ ฐานรากศพั ท์ภาษาละตนิ เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเปน็
ภาษากลางของครสิ ตจกั รและชีวิตปญั ญาชนยุโรป ภาษาอังกฤษยังได้รับอิทธพิ ลเพมิ่ จากภาษานอรส์ เก่าเพราะ
การบกุ ครองของไวกงิ้ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 9 และ 10

การพชิ ิตองั กฤษของชาวนอรม์ นั ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 11 ทำให้ภาษาองั กฤษยืมคำมาจากภาษานอร์มนั
อยา่ งมาก และสญั นยิ มคำศัพทแ์ ละการสะกดเรมิ่ ให้ลกั ษณะความสมั พนั ธใ์ กล้ชิดกับกลุ่มภาษาโรมานซ์ แก่
ภาษาที่ตอ่ มากลายเป็นภาษาอังกฤษกลาง การเล่ือนสระคร้งั ใหญ่ (Great Vowel Shift) ซ่ึงเริ่มขน้ึ ทางตอนใต้
ขององั กฤษในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 15 เปน็ หน่งึ ในเหตุการณ์ประวัติศาสตรซ์ ่งึ เปน็ เครอ่ื งหมายของการกำเนดิ ของ
ภาษาอังกฤษใหมจ่ ากภาษาอังกฤษกลาง

เนอื่ งจากการกลมกลืนคำจากภาษาอนื่ มากมายตลอดประวัตศิ าสตร์ ภาษาอังกฤษใหม่จึงมีคำศัพท์
ใหญ่มาก โดยมีการสะกดทซี่ บั ซอ้ นและไมส่ ม่ำเสมอ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ สระ ภาษาองั กฤษใหม่ไม่เพยี งแต่
กลมกลนื คำจากภาษาอ่ืนของยโุ รปเท่าน้นั แต่ยังรวมภาษาอืน่ ท่วั โลกด้วย พจนานุกรมภาษาองั กฤษ ฉบับ
ออกซฟอรด์ แสดงรายการคำไวก้ ว่า 250,000 คำ ซึ่งยงั ไมร่ วมศัพท์เทคนิค วิทยาศาสตรแ์ ละสแลง

ความสำคัญ
ภาษาอังกฤษใหม่ ท่ีบางคร้งั มผี อู้ ธบิ ายวา่ เปน็ ภาษากลางภาษาแรกของโลก เป็นภาษาที่ใช้กนั มากท่ีสดุ
หรือในบางกรณี เป็นภาษาระหว่างประเทศทต่ี อ้ งใช้ในการส่ือสาร วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ธรุ กิจ
การเดินเรอื การบนิ การบนั เทงิ วทิ ยแุ ละการทตู ภาษาอังกฤษเริ่มแพร่ออกนอกหมูเ่ กาะองั กฤษจากการเติบโต
ของจักรวรรดิองั กฤษ และเมอ่ื ถึงปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 19 ภาษาองั กฤษก็ไปทว่ั โลกอย่างแทจ้ ริง หลงั การยึด
อาณานิคมของอังกฤษตั้งแตค่ ริสตศ์ ตวรรษที่ 16 ถงึ 19 ภาษาองั กฤษไดก้ ลายเป็นภาษาเดน่ ในสหรัฐอเมรกิ า
แคนาดา ออสเตรเลียและนิวซแี ลนด์ อิทธิพลทางเศรษฐกจิ และวัฒนธรรมทีเ่ พม่ิ ข้ึนของสหรัฐอเมริกาและ
สถานภาพอภมิ หาอำนาจตงั้ แตส่ งครามโลกครงั้ ท่ีสองยิง่ เร่งการแพรข่ องภาษาไปทว่ั โลก ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษา
เด่นของผูไ้ ดร้ ับรางวลั โนเบลทางวิทยาศาสตร์แทนภาษาเยอรมนั ในช่วงครง่ึ หลังของครสิ ต์ศตวรรษที่
20 ภาษาองั กฤษเป็นภาษาเด่นเทียบเทา่ และอาจแซงหน้าภาษาฝรั่งเศสในทางการทตู ตงั้ แต่คร่งึ หลังของ
คริสต์ศตวรรษท่ี 19

4

ความรภู้ าษาองั กฤษในการปฏบิ ตั ิงานกลายเป็นสง่ิ จำเปน็ ในหลายสาขา อาชพี และวชิ าชพี เชน่
แพทยศาสตร์และวิชาการคอมพิวเตอร์ ผลคือ กว่าหนงึ่ พนั ลา้ นคนสามารถพดู ภาษาอังกฤษได้อยา่ งนอ้ ยใน
ระดับพ้นื ฐาน และยังเปน็ หน่งึ ในหกภาษาราชการของสหประชาชาติ

ผลกระทบหน่งึ ของการเติบโตของภาษาองั กฤษ คือ การลดความหลากหลายทางภาษาพน้ื เมืองใน
หลายส่วนของโลก อิทธิพลของภาษาองั กฤษยังมบี ทบาทสำคญั ในการลดจำนวนภาษา ในทางตรงขา้ ม ความ
หลากหลายภายในโดยธรรมชาติของภาษาอังกฤษ ร่วมกบั ภาษาผสม (creole) และภาษาแก้ขัด (pidgin) มี
ศกั ยะผลิตภาษาใหม่ทีแ่ ยกกนั ชดั เจนจากภาษาอังกฤษตามกาล

การกระจายทางภมู ศิ าสตร์
มีผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาทหี่ นง่ึ ราว 360 ล้านคน ปจั จุบนั ภาษาองั กฤษอาจเป็นภาษาที่มผี ู้พดู
เปน็ ภาษาแมม่ ากท่ีสุดเปน็ อนั ดับสาม รองจากภาษาจนี กลางและภาษาสเปน อย่างไรกด็ ี เมอ่ื รวมผู้ท่พี ดู
ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาแม่และมใิ ชภ่ าษาแมแ่ ล้ว ภาษาอังกฤษก็อาจเป็นภาษาท่มี ผี ้พู ดู มากที่สุดในโลก แมอ้ าจ
น้อยกวา่ ผู้พดู ภาษาจนี รวมกัน (ขึ้นอยู่กับว่านับรวมเป็น "ภาษา" หรือนับแยกเป็น "ภาษาถิ่น")
การประมาณซงึ่ รวมผพู้ ดู เป็นภาษาทส่ี องนั้นแปรผันอยา่ งมากตัง้ แต่ 470 ลา้ นคน ถงึ กวา่ หนึง่ พันล้านคน
ขน้ึ อยกู่ บั วา่ นิยามและวัดการร้หู นงั สือหรอื ความชำนาญอยา่ งไร เดวิด คริสทอล (David Crystal)
ศาสตราจารยด์ า้ นภาษาศาสตร์ คำนวณว่าผู้ทพี่ ูดมิใชภ่ าษาแมน่ นั้ มมี ากกว่าผพู้ ดู เปน็ ภาษาแม่เป็น
สดั สว่ น 3 ต่อ 1
ประเทศท่ีมปี ระชากรผพู้ ดู ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาแม่มากท่สี ุด ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมรกิ า (226 ล้าน
คน) สหราชอาณาจกั ร (61 ลา้ นคน) แคนาดา (18.2 ล้านคน) ออสเตรเลีย (15.5 ล้านคน) ไนจีเรีย (3-5
ลา้ นคน) ไอร์แลนด์ (3.8 ลา้ นคน) แอฟริกาใต้ (3.7 ลา้ นคน) และนวี ซแี ลนด์ (3.6 ล้านคน) ตามลำดบั ขอ้ มูล
มาจากสำมะโนปี 2549
หลายประเทศ อยา่ งฟลิ ิปปีนส์ จาเมกาและไนจเี รียยงั มผี ู้พดู ภาษาถิน่ ตอ่ เน่อื ง (dialect continuum)
เป็นภาษาแม่อกี หลายลา้ นคน ซงึ่ มีต้งั แตภ่ าษาครโี อล (creole language) อิงภาษาองั กฤษไปจนถงึ
ภาษาองั กฤษรนุ่ ท่ีเป็นมาตรฐานมากกว่า ประเทศอินเดียเปน็ ประเทศท่มี ีผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสองมาก
ทีส่ ุด ครสิ ทอลอา้ งว่า เม่ือรวมผพู้ ดู ภาษาองั กฤษเป็นภาษาแมแ่ ละไมเ่ ปน็ ภาษาแมร่ วมกัน ปัจจุบัน ประเทศ
อินเดยี มปี ระชากรทพ่ี ูดหรือเข้าใจภาษาอังกฤษมากกวา่ ประเทศใดในโลก
ประเทศที่ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาหลกั
เป็นภาษาหลักในแองกวลิ ลา แอนตกิ าและบารบ์ ดู า ออสเตรเลยี บาฮามาส บารบ์ าโดส เบลซี เบอร์มวิ
ดา บริทิชอินเดยี นโอเชียนเทรร์ ิทอรี หมูเ่ กาะบรทิ ิชเวอร์จนิ แคนาดา หมูเ่ กาะเคย์แมน ดอมินกี า หมเู่ กาะ
ฟอลค์ แลนด์ ยิบรอลตาร์ เกรนาดา กวม เกิร์นซีย์ กายอานา ไอร์แลนด์ เกาะแมน จาไมกา เจอร์ซีย์ มอนต์เซอร์
รตั นาอูรู นวี ซแี ลนด์ หมู่เกาะพิตแครน์ เซนตเ์ ฮเลนา อสั เซนชนั และตรสิ ตันดากนู ยา เซนตค์ ิตสแ์ ละเน
วิส เซนต์วนิ เซนตแ์ ละเกรนาดนี ส์ สงิ คโปร์ เกาะเซาทจ์ อร์เจียและหมู่เกาะเซาทแ์ ซนด์วชิ ทรินิแดดและ
โตเบโก หมูเ่ กาะเตกิ สแ์ ละหมู่เกาะเคคอส สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา
ในบางประเทศซงึ่ ภาษาองั กฤษมิใช่ภาษาทีม่ ีผู้พูดมากทสี่ ุด แต่เป็นภาษาราชการ ได้แก่ บอต
สวานา แคเมอรูน สหพันธรัฐไมโครนเี ซยี ฟิจิ แกมเบีย กานา อนิ เดีย เคนยา คริ บิ าส เลโซ
โท ไลบเี รีย มอลตา หมเู่ กาะมารแ์ ชลล์ มอริเชยี ส นามเิ บีย ไนจเี รีย ปากีสถาน ปาเลา ปาปัวนีวกินี ฟลิ ิป
ปีนส์ รวนั ดา เซนตล์ ูเชีย ซามัว เซเชลส์ เซยี รร์ าลโี อน หมูเ่ กาะโซโลมอน ศรลี งั กา ซูดาน เซาท์
ซูดาน สวาซแิ ลนด์ แทนซาเนยี ยกู นั ดา แซมเบยี และซิมบับเว นอกจากน้ยี ังมีบางประเทศท่ภี าษาอังกฤษเปน็
ภาษาราชการร่วมในบางดนิ แดน เชน่ กลมุ่ เกาะซันอนั เดรส โปรบีเดนเซยี และซันตากาตาลนี าของโคลอมเบยี
และมัสคโี ทโคสท์ของนกิ ารากวั ซ่งึ เป็นผลจากการยึดเปน็ อาณานคิ มขององั กฤษในพ้นื ที่
ภาษาอังกฤษยังเป็นหนึง่ ใน 11 ภาษาราชการทไี่ ดร้ บั สถานภาพเท่ากันในแอฟริกาใต้ ภาษาอังกฤษยงั เปน็
ภาษาราชการในดนิ แดนในภาวะพ่ึงพงิ ปัจจุบนั ของออสเตรเลยี (เกาะนอรฟ์ อล์ก เกาะครสิ ต์มาสและเกาะโค

5

คอส) และสหรัฐอเมรกิ า (อเมรกิ นั ซามัว กวม หม่เู กาะนอรเ์ ทิรน์ มาเรยี นา เปอรโ์ ตริโก และหมู่เกาะเวอรจ์ ินของ
สหรัฐอเมรกิ า และอดตี อาณานคิ มอังกฤษ ฮอ่ งกง

แม้รัฐบาลกลางสหรฐั อเมรกิ าจะไมม่ ภี าษาราชการ แต่ภาษาอังกฤษได้รับสถานะราชการโดยรฐั บาล
ของ 30 จาก 50 รฐั แม้จะมไิ ด้ระบสุ ถานะราชการ ภาษาอังกฤษยังเป็นภาษาสำคัญในอดีตอาณานิคมและรัฐ
ในอารักขาของสหราชอาณาจักรหลายแหง่ เชน่ บาห์เรน บงั กลาเทศ บรไู น ไซปรสั มาเลเซยี และสหรัฐอาหรบั
เอมิเรตส์

ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล
ภาษาองั กฤษมกั ถกู เรยี กว่าเปน็ "ภาษาสากล" เพราะมกี ารพูดอยา่ งกวา้ งขวาง และแมจ้ ะมิใชภ่ าษา
ราชการในประเทศสว่ นใหญ่ แตป่ ัจจบุ นั มีการสอนภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศมากที่สุด ตาม
สนธิสัญญาระหวา่ งประเทศ ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาราชการของการสอ่ื สารการบนิ และในทะเล ภาษาองั กฤษ
เป็นภาษาราชการของสหประชาชาติและองคก์ ารระหวา่ งประเทศอกี หลายแหง่ ซง่ึ รวมถึงคณะกรรมการโอ
ลิมปิคสากล
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีมกี ารศกึ ษาเปน็ ภาษาต่างประเทศมากท่ีสุดในสหภาพยโุ รป ถงึ 89% ในเด็ก
วยั เรยี น นำหน้าภาษาฝร่ังเศสท่ี 32% ขณะท่ีการรับร้ปู ระโยชน์ของภาษาตา่ งประเทศในบรรดาชาวยโุ รป คอื
68% สนบั สนนุ ภาษาอังกฤษ มากกว่าภาษาฝร่งั เศสที่ 25% ในบรรดาบางประเทศสหภาพยโุ รปทไ่ี ม่พูด
ภาษาอังกฤษ ประชากรผูใ้ หญ่จำนวนมากอา้ งว่าสามารถสนทนาภาษาองั กฤษได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สวีเดน
85%, เดนมารก์ 83%, เนเธอร์แลนด์ 79%, ลกั เซมเบริ ์ก 66% และในฟินแลนด์ สโลวีเนีย ออสเตรเลยี
เบลเยยี มและเยอรมนี กว่า 50% ในปี 2555 หากไมน่ ับผูพ้ ูดภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาแม่ ชาวยุโรป 38% มอง
วา่ ตนสามารถพูดภาษาอังกฤษ แต่ชาวญี่ปนุ่ เพยี ง 3% ท่มี องเช่นนัน้ หนังสือ นิตยสารและหนงั สือพิมพ์ท่เี ขยี น
เปน็ ภาษาอังกฤษพบได้ในหลายประเทศทัว่ โลก และภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้มากท่ีสุดในแวดวงวิทยาศาสตร์
โดยดัชนีการอ้างอิงวิทยาศาสตร์รายงานเม่ือปี 2540 ว่า บทความของดัชนฯี 95% เขียนในภาษาอังกฤษ แม้
เพยี งครง่ึ หนง่ึ จะมาจากผูป้ ระพันธใ์ นประเทศท่พี ูดภาษาอังกฤษ วรรณกรรมภาษาองั กฤษคิดเปน็ 28% ของ
วรรณกรรมทง้ั หมดที่ตพี ิมพ์ทัว่ โลก และคดิ เป็น 30% ของเนือ้ หาเว็บในปี 2554 (จาก 50% ในปี 2543)
การใชภ้ าษาองั กฤษท่ีเพ่มิ ขึ้นท่ัวโลกนี้ได้มีผลกระทบใหญ่หลวงตอ่ ภาษาอ่ืนจำนวนมาก จนนำไปสู่ภาษาเปลีย่ น
หรือกระท่ังภาษาตาย และการอา้ งจักรวรรดนิ ยิ มทางภาษา ภาษาอังกฤษเองกเ็ ปิดรับการเปลยี่ นแปลงทาง
ภาษามากขึ้น เพราะความหลากหลายในภมู ิภาคป้อนกลบั ไปยังภาษาโดยรวมเชน่ กัน
ข้อมลู และแหลง่ ที่มา :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8
%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9

6

บทที่ 3

วิธีการดำเนนิ งาน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกุดบาก จดั โครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือ
การสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพ่ือการเกษตร ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564
ณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกดุ บาก โดยมีกลมุ่ เปา้ หมายประชาชนท่ัวไป ใน

เขต อำเภอกดุ บาก จำนวน 15 คน มีวธิ ดี ำเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้
1. วธิ กี ารดำเนินงาน

กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
ดำเนินการ

1. ประชมุ บุคลากร เพือ่ ให้บุคลากร ผู้บรหิ าร/คณะ 12 คน กศน.อำเภอ 4 มิ.ย. 64 -
กดุ บาก
กศน.อำเภอกดุ บาก เข้าใจ ครคู รู กศน.

การดำเนินการ
โครงการ

2. เสนอโครงการ เพอ่ื ขออนมุ ตั ิ ครผู ู้รบั ผิดชอบ 1 คน กศน.อำเภอ 7 มิ.ย. 64 -
โครงการ กุดบาก -

3. ประสาน เพื่อร่วมโครงการ ประชาชนทว่ั ไป 15 กศน. ทง้ั 3 14 ม.ิ ย. 64 -
กลุม่ เปา้ หมาย
ภาษาต่างประเทศ ตำบล

เพื่อการส่ือสาร

ดา้ นอาชพี

4.ดำเนนิ การตาม เพอื่ จดั ประชาชนทวั่ ไป 15 กศน.อำเภอ 18-22 ม.ิ ย. 64

โครงการ กระบวนการ กดุ บาก

- โครงการ เรยี นรู้ให้
ภาษาตา่ งประเทศ กลมุ่ เปา้ หมาย

เพอื่ การสือ่ สารดา้ น

อาชีพ

5.สรุปและรายงาน เพอื่ ประเมินผล/ ครู กศน. 2 คน กศน.อำเภอ 28 มิ.ย. 64
ผลการดำเนนิ วัดผล กุดบาก
โครงการ ภาษาตา่ ง

ประเทศเพือ่ การ
ส่ือสารด้านอาชีพ

7

2. งบประมาณ
ใช้เงนิ งบประมาณปี 2564 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพอื่ สนับสนุนดา้ นพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพ

ทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมภาษาต่างประเทศเพอื่ การสอื่ สารด้านอาชีพ งบรายจา่ ยอน่ื โครงการ
ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ รหัสงบประมาณ 200023505270013 แหล่งของเงิน
6411500 (ตั้งแต่เดือนเมษายน - ถึงเดอื นมถิ ุนายน 2564)
จำนวน 14,400 บาท (ส่ีหม่นื สีพ่ ันสร่ี อ้ ยบาทถ้วน)

1. คา่ อาหาร 15 คน x 70 บาท x 5 มือ้ เป็นเงิน 5,250 บาท
2. คา่ อาหารวา่ งและเครอ่ื งดมื่ 15 คน x 20 บาท x 10 มอ้ื เปน็ เงิน 3,000 บาท

3. ค่าวทิ ยากร 30 ชว่ั โมง x 200 บาท x 1 คน เปน็ เงิน 6,000 บาท
4. คา่ วสั ดุ เปน็ เงิน 150 บาท

รวมเป็นเงนิ 14,400 บาท (หนง่ึ หม่นื สพ่ี นั สองรอ้ ยหา้ สบิ บาทถ้วน)

3. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส4
ต.ค. – ธ.ค.63 ม.ค. – มี.ค. 64 เม.ย. – ก.ค. – ก.ย. 64
กจิ กรรมหลกั ม.ิ ย. 63

1. การวางแผนการดำเนนิ งาน 14,400
- ประชุมช้ีแจงแนวทางการ
ดำเนินงาน
- เขียนโครงการเสนอขออนุมตั ิ
2. ดำเนินการตามแผน
1. อบรมให้ความรู้เก่ียวกับชาติ
ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. อบรมการส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน
เทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
3. กิจกรรมการตอ่ จิกซอวเ์ พ่อื สรา้ ง
ความสามัคคี
3. การติดตามและประเมนิ ผล

4. รายงานผลและแนวทางการพฒั นา
โครงการ

4. ระยะเวลาการดำเนินงาน
- วันท่ี 18 มิถุนายน 2564

5. สถานทดี่ ำเนินงาน
- ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอกุดบาก

6. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ
- ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกุดบาก

8

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

การจดั กจิ กรรม โครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การส่ือสารด้านอาชพี หลักสตู รอาชีพเพื่อการเกษตร
ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ณ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
อำเภอกดุ บาก โดยมกี ลมุ่ เป้าหมายประชาชนท่ัวไป ในเขต อำเภอกุดบาก จำนวน 15 คน ผลการดำเนนิ
โครงการเปน็ ดงั น้ี

เกณฑท์ ่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู

การวิเคราะห์ขอ้ มลู มีระดับคะแนน ดังน้ี

มคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ุด ระดับคะแนน เทา่ กับ 5

มีความพึงพอใจมาก ระดบั คะแนน เทา่ กบั 4

มคี วามพงึ พอใจปานกลาง ระดบั คะแนน เทา่ กบั 3

มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย ระดบั คะแนน เทา่ กับ 2

มีความพงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ ระดบั คะแนน เทา่ กบั 1

การหาค่าเฉลยี่

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกบั เกณฑ์การประเมินคา่ เฉล่ีย ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด 2532 : 111

คา่ เฉลย่ี ระดบั 4.51 – 5.00 มคี วามพงึ พอใจมากทีส่ ุด

คา่ เฉลี่ยระดบั 3.51 – 4.50 มคี วามพงึ พอใจมาก

ค่าเฉล่ียระดับ 2.51 – 3.50 มีความพึงพอใจปานกลาง

ค่าเฉลยี่ ระดับ 1.51 – 2.50 มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย

ค่าเฉลี่ยระดบั 1.00 – 1.50 มีความพึงพอใจน้อยทส่ี ดุ

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

ตารางที่ 1 แสดงจำนวน รอ้ ยละ ของเพศผู้ตอบแบบประเมิน

เพศ จำนวน(คน) รอ้ ยละ

ชาย 4 26.7

หญงิ 11 73.3

รวม 15 100

จากตารางท่ี 1 พบว่าผ้ตู อบแบบประเมนิ เป็นเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย

ตารางท่ี 2 แสดงจำนวน รอ้ ยละ ของอายุผตู้ อบแบบประเมนิ

อายุ จำนวน(คน) ร้อยละ

อายตุ ำ่ กวา่ 15 ปี 0 0

อายุ 15-39 ปี 11 73.3

อายุ 40-59 ปี 4 26.7

60 ปีขนึ้ ไป 0 0

รวม 15 100

จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบประเมนิ ส่วนใหญ่อายุ 15-39 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 73.3 รองลงมาอายุ

40-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 26.7

9

ตารางท่ี 3 แสดงจำนวน ร้อยละ ของระดับการศกึ ษาผู้ตอบแบบประเมิน

ระดบั การศึกษา จำนวน(คน) ร้อยละ

ประถมศกึ ษา 0 0

มธั ยมศึกษาตอนตน้ 8 53.3

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 7 46.7

รวม 15 100

จากตารางท่ี 3 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น

คิดเป็นร้อยละ 59.3 รองลงมาอยู่ในระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย คดิ เป็นร้อยละ 46.7

ตารางที่ 4 แสดงจำนวน รอ้ ยละ ของอาชพี ผูต้ อบแบบประเมนิ

อาชพี จำนวน(คน) ร้อยละ

ว่างงาน 5 33.3

รับจ้าง 5 33.3

เกษตรกรรม 4 26.7

อื่นๆ 1 6.7

รวม 15 100

จากตารางที่ 4 พบว่าผตู้ อบแบบประเมินส่วนใหญ่รบั จ้างและรับจา้ ง คิดเปน็ ร้อยละ 33.3 รองลงมา

เกษตรกร คิดเป็นรอ้ ยละ 26.7 และอ่นื ๆคิดเป็นร้อยละ 6.7

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหร์ ะดบั ความพงึ พอใจของผเู้ รียน/ผู้รับบริการ

ตารางท่ี 5 แสดงความพงึ พอใจของผู้เรยี น/ผูร้ ับบริการ ด้านสภาพแวดลอ้ ม

ระดบั ความคิดเหน็

ประเด็นการประเมิน มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย คา่ เฉลี่ (S.D) ผลลพั ธ์
ท่สี ุด กลาง ที่สุด ย(X ) มาก
0.640 มากที่สุด
1. ความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานท่ใี น 86 1 4.47 มากทสี่ ดุ
การจัดกิจกรรม 0.507
0.573
2. มกี ารใหบ้ ริการอน่ื ๆ ที่เออ้ื อำนวยตอ่ การ 90.6

เขา้ ใชบ้ รกิ าร (เช่น ห้องนำ้ , พัดลม, อาหาร 9 6 4.60

วา่ ง ฯลฯ)

ค่าเฉลีย่ รวม 4.53

ร้อยละ

จากตารางที่ 5 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานท่ีในการ
จัดกิจกรรม ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 4.47 และการให้บริการอ่ืนๆ ท่ีเอ้ืออำนวยต่อการเข้าใช้บริการ (เช่น
ห้องน้ำ, พัดลม, อาหารวา่ ง ฯลฯ) ในระดับ มากที่สุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.60

10

ตารางท่ี 6 แสดงความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผรู้ บั บริการ ด้านปจั จยั นำเข้า

ระดบั ความคดิ เห็น

ประเด็นการประเมนิ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ค่าเฉลยี่ (S.D) ผลลพั ธ์
ทีส่ ุด กลาง ทส่ี ุด (X )

1. เน้อื หาการบรรยายมีความเหมาะสมตรง 95 1 4.53 0.640 มากทีส่ ุด
กบั ความต้องการ

2. ผเู้ รียน/ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามรคู้ วามเข้าใจใน 7 7 1 4.40 0.632 มาก
เนอื้ หาการจดั กิจกรรม

คา่ เฉลี่ยรวม 4.46 0.636 มาก

ร้อยละ 89.2

จากตารางที่ 6 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมคี วามพึงพอใจเน้ือหาการบรรยายมีความเหมาะสมตรงกับ

ความต้องการมีความพึงพอใจในระดับ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 4.53 และผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความรคู้ วาม

เข้าใจในเนอ้ื หาการจดั กจิ กรรม มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.40

ตารางท่ี 7 แสดงความพึงพอใจของผ้เู รียน/ผรู้ ับบรกิ าร ดา้ นกระบวนการ

ระดบั ความคดิ เห็น

ประเดน็ การประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ค่าเฉลย่ี (S.D) ผลลพั ธ์
ทีส่ ดุ กลาง ที่สุด (X )
0.516 มาก
1. ส่ือ/วัสดอุ ุปกรณป์ ระกอบกจิ กรรมการ 78 4.47 มาก
เรียนรู้มคี วามเหมาะสม 0.724 มากท่สี ุด
มากท่สี ุด
2. ความสามารถและทกั ษะในการถ่ายทอด 76 2 4.33 0.632 มาก
ความรู้ของวิทยากร
0.834
3. ผ้รู บั บรกิ ารมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม/ 10 4 1 4.60 0.676
ฝกึ ปฏบิ ตั ิ 89.6

4. ความหลากหลายของกิจกรรมทจี่ ัด 10 4 1 4.53
กิจกรรม

ค่าเฉลย่ี รวม 4.48

ร้อยละ

จากตารางท่ี 7 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการ
เรียนรู้มีความเหมาะสม ความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ในระดับ มากท่ีสุด คิด
เปน็ รอ้ ยละ 4.43 และ 4.33 รองลงมา ผรู้ ับบรกิ ารมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม/ฝึกปฏบิ ัติ ความหลากหลาย
ของกิจกรรมที่จัดกิจกรรม ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 4.60 และ 4.53

11

ตารางที่ 8 แสดงความพงึ พอใจของผเู้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร ด้านผลผลติ

ระดับความคดิ เห็น

ประเดน็ การประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย คา่ เฉล่ีย (S.D) ผลลัพธ์
ที่สดุ กลาง ท่สี ดุ (X )
1.01 มาก
1. สามารถถ่ายทอดและเผยแพรค่ วามร้แู ก่ 83 3 1 4.20 มากทส่ี ุด
ผู้อน่ื ได้ 0.617
0.311 มาก
2. สามารถนำความรแู้ ละทกั ษะไปใชใ้ นการ 11 3 1 4.67 88.8
พัฒนาการศึกษาและทกั ษะชวี ติ ได้

คา่ เฉลย่ี รวม 4.44

รอ้ ยละ

จากตารางท่ี 8 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจ ในการนำความรู้และทักษะไปใช้ในการ
พัฒนาการศึกษาและทักษะชีวิตได้ ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 4.67 และ สามารถ
ถา่ ยทอดและเผยแพร่ความรแู้ กผ่ ู้อื่นได้ ในระดับความพงึ พอใจ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 4.20

12

บทท่ี 5
สรปุ ผล และรายงานผลการดำเนนิ โครงการ

ในการจดั กจิ กรรม โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการส่อื สารดา้ นอาชพี หลกั สูตรอาชพี เพอื่ การเกษตร
ประจำภาคเรยี นที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 ณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
อำเภอกุดบาก โดยมีกลุม่ เป้าหมายประชาชนทวั่ ไป ในเขต อำเภอกดุ บาก จำนวน 15 คน ผลการดำเนิน
โครงการเปน็ ดังน้ี

1. วตั ถปุ ระสงค์
๑ เพือ่ ให้มีความรู้และเข้าใจคำศัพท์พื้นฐาน และสำนวนภาษาทใี่ ช้ในการเกษตร
๒ เพือ่ ใหส้ ามารถใช้ ภาษาองั กฤษในอาชพี เกษตร

2. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
๑ ประชาชนทว่ั ไปมีความร้แู ละเข้าใจคำศพั ท์พืน้ ฐาน และสำนวนภาษาทใ่ี ชใ้ นการเกษตร
๒ ประชาชนทวั่ ไปสามารถใช้ ภาษาอังกฤษในอาชีพเกษตร

3. วธิ กี ารดำเนินโครงการ

กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
ดำเนนิ การ
1. ประชมุ บคุ ลากร เพ่ือใหบ้ คุ ลากร ผ้บู ริหาร/คณะ 12 คน 4 ม.ิ ย. 64 -
กศน.อำเภอกุดบาก เขา้ ใจ ครูครู กศน. กศน.อำเภอ
กดุ บาก
การดำเนินการ
โครงการ

2. เสนอโครงการ เพอ่ื ขออนมุ ัติ ครูผูร้ บั ผดิ ชอบ 1 คน กศน.อำเภอ 7 มิ.ย. 64 -
โครงการ กดุ บาก -

3. ประสาน เพื่อรว่ มโครงการ ประชาชนท่วั ไป 15 กศน. ทัง้ 3 14 มิ.ย. 64
กล่มุ เป้าหมาย
ภาษาตา่ งประเทศ ตำบล

เพ่อื การส่ือสาร

ด้านอาชพี

4.ดำเนินการตาม เพอ่ื จดั ประชาชนทว่ั ไป 15 กศน.อำเภอ 18-22 ม.ิ ย. 64

โครงการ- โครงการ กระบวนการ กุดบาก

ภาษาตา่ งประเทศ เรยี นรู้ให้

เพ่อื การส่อื สารด้าน กลมุ่ เปา้ หมาย

อาชีพ

13

5.สรุปและรายงาน เพอ่ื ประเมินผล/ ครู กศน. 2 คน กศน.อำเภอ 28 มิ.ย. 64 -
ผลการดำเนนิ วดั ผล กุดบาก

โครงการภาษาตา่ ง
ประเทศเพือ่ การ
ส่อื สารด้านอาชีพ

4. สรุปผล/อภปิ รายผลการดำเนินโครงการ

1. ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพ่ือการเกษตร
ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 เป็นเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย

2. ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพ่ือการเกษตร
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 สว่ นใหญ่อายุ 15-39 ปี คิดเป็นร้อยละ 73.3 รองลงมา
อายุ 40-59 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.7

3. ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพื่อการเกษตร
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษา
ตอนต้น คดิ เป็นร้อยละ 59.3 รองลงมาอยใู่ นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ 46.7

4. ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพ่ือการเกษตร
ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่รับจ้างและรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 33.3
รองลงมา เกษตรกร คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.7 และอื่นๆคดิ เป็นรอ้ ยละ 6.7

5. ผ้เู ข้าร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การส่ือสารดา้ นอาชพี หลักสูตรอาชพี เพอ่ื การเกษตร
ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานท่ใี น
การจดั กิจกรรม ระดบั มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.47 และการใหบ้ รกิ ารอน่ื ๆ ที่เอือ้ อำนวยตอ่ การเขา้ ใช้บริการ (เชน่
หอ้ งนำ้ , พัดลม, อาหารวา่ ง ฯลฯ) ในระดบั มากท่ีสุด คิดเป็นรอ้ ยละ 4.60

6. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชีพ หลักสูตรอาชพี เพ่ือการเกษตร
ประจำภาคเรยี นท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มคี วามพึงพอใจเนอ้ื หาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตรง
กับความต้องการมคี วามพึงพอใจในระดับ มากที่สุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.53 และผ้เู รียน/ผรู้ บั บรกิ ารมีความรู้
ความเข้าใจในเน้อื หาการจัดกิจกรรม มคี วามพงึ พอใจในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 4.40

7. โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพ่ือการเกษตร ประจำภาค
เรยี นท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจ สื่อ/วัสดุอปุ กรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้มคี วาม
เหมาะสม ความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ในระดับ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ
4.43 และ 4.33 รองลงมา ผรู้ ับบรกิ ารมีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม/ฝึกปฏิบัติ ความหลากหลายของกิจกรรม
ที่จดั กิจกรรม ในระดับ มาก คิดเปน็ ร้อยละ 4.60 และ 4.53

8. ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาต่างประเทศเพือ่ การส่ือสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชพี เพอ่ื การเกษตร
ประจำภาคเรยี นที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 มคี วามพึงพอใจ ในการนำความรแู้ ละทักษะไปใชใ้ นการ
พัฒนาการศึกษาและทกั ษะชีวติ ได้ ในระดับความพงึ พอใจ มากทส่ี ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.67 และ สามารถ
ถา่ ยทอดและเผยแพรค่ วามรู้แก่ผู้อน่ื ได้ ในระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.20

14

โครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การสือ่ สารด้านอาชพี หลกั สูตรอาชีพเพือ่ การเกษตร ประจำภาคเรยี น
ที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ให้แกก่ ล่มุ เปา้ หมาย 15 คน โดยมกี ลุ่มเป้าหมายเข้ารว่ มโครงการทง้ั หมด
15 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เขา้ รว่ มโครงการ และพบว่าผู้เข้ารว่ มโครงการภาษาต่างประเทศเพอ่ื การ
สื่อสารด้านอาชีพ หลักสตู รอาชพี เพอื่ การเกษตร ประจำภาคเรยี นที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ในระดับ
มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 4.47 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 2.196

5. ปญั หาและอุปสรรค
- ไมม่ ี

6. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแก้ไข
- ไมม่ ี

15

ภาคผนวก

ประกอบดว้ ยเอกสารดังตอ่ ไปนี้
- สำเนาโครงการ
- สำเนารายชื่อผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
- ภาพกจิ กรรม
- คณะผูจ้ ดั ทำ

16

ภาพกิจกรรม
โครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรอาชีพเพ่อื การเกษตร

ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564

ภาพกิจกรรม : แนะนำวทิ ยากรและสร้างความคนุ้ เคยกบั ผ้เู ข้าอบรม

17

ภาพกิจกรรม(ต่อ)
โครงการภาษาต่างประเทศเพือ่ การสอ่ื สารด้านอาชพี หลกั สตู รอาชพี เพอ่ื การเกษตร

ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564

ภาพกจิ กรรม : กิจกรรมการใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั โครงการภาษาต่างประเทศเพอื่ การสอ่ื สารด้าน
อาชีพ หลักสูตรอาชีพเพือ่ การเกษตร

18

ภาพกิจกรรม(ต่อ)
โครงการภาษาต่างประเทศเพือ่ การสอ่ื สารด้านอาชพี หลกั สตู รอาชพี เพอ่ื การเกษตร

ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564

ภาพกจิ กรรม : กิจกรรมการใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั โครงการภาษาต่างประเทศเพอื่ การสอ่ื สารด้าน
อาชีพ หลักสูตรอาชีพเพื่อการเกษตร

19

คณะผจู้ ดั ทำ

ท่ปี รึกษา
นางปัทมา เวียงอนิ ทร์ ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอกดุ บาก

คณะทำงาน/ขอ้ มลู /ประสานงาน ตำแหนง่ ครู ผู้ช่วย
ตำแหน่ง ครู อาสาสมคั รฯ
1. นางสาวนิตยา โชตบิ รู ณ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
2. นายวัชระ สรุ ยิ วงค์
3. นางสาวศรภี ทั รฌาย์ สิทธธิ ร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
4. นางสาวพมิ ลรตั น์ ทพิ ยค์ ำมี
5. นายทินกร มาตราช ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
6. นางสาวอรอมุ า ดาบลาอำ ตำแหน่ง ครู ศรช.
7. นางสาวนพมาศ ไพคำนาม ตำแหน่ง ครู ศรช.
8. นางจุฑามาศ ดาบพลอ่อน
ตำแหนง่ ครู ศรช.
9. นายธนั ยพฒั น์ เถาวลั ย์ดี ตำแหนง่ บรรณารักษ์
10.นางสาวกนกอร ทิพย์สุวรรณ
ตำแหนง่ เจา้ หน้าท่บี นั ทกึ ข้อมูล
11.นางสาววลิ าวัลย์ ลามคำ

รวบรวม/เรยี บเรยี ง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
นางสาวอรอมุ า ดาบลาอำ

ออกแบบปก/รูปเลม่ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ


Click to View FlipBook Version