The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตำบลกุดบาก, 2021-11-29 02:33:58

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์



คำนำ

จากการที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกุดบาก จัดโครงการเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพด้านการจดั การเรยี นการสอนและยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ณ กศน.
อำเภอกุดบาก โดยมีกลุ่มเปา้ หมายนักศึกษา กศน.อำเภอกุดบาก จำนวน 150 คน โครงการดังกล่าวเสร็จส้นิ
ไปดว้ ยดี ซง่ึ รายละเอยี ดผลการดำเนินงานตา่ งๆตลอดจนปญั หาอุปสรรค ไดส้ รปุ ไว้ในรายงานเล่มนแี้ ลว้

รายงานผลการดำเนินงานเลม่ นี้ จัดทำขึ้นเพื่อการศึกษาหาข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางในการจัดโครงการ
ในการเข้าถึงกลุ่มประชนทั่วไป โดยตรงจากการแนะแนวทางการศึกษา แนะแนวทางการพัฒนาอาชีพ และ
พัฒนาฝึกทักษะชีวิตของนักศึกษา หากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่อง คณะผู้จัดทำขอน้อมรับไว้ เพื่อปรับปรุงและ
พฒั นาในโอกาสตอ่ ไป

กศน.อำเภอกุดบาก
สิงหาคม 2564

สารบัญ ข

หัวข้อท่ี หนา้
1-2
บทที่ 1 บทนำ 3-4
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง 5-6
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ การ 7-10
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 11-13
บทที่ 5 สรปุ ผล และรายงานผลการดำเนนิ โครงการ

ภาคผนวก
- ภาพกจิ กรรม
- โครงการ
- คณะผู้จดั ทำ



บทท่ี 1
บทนำ

1. หลักการและเหตุผล

การจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกิจกรรมหนงึ่ ทร่ี ัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ใหค้ วามสำคัญในการจดั การศึกษาใหม้ คี ุณภาพ โดยสรา้ งโอกาสทางการศึกษา และ
กระจายโอกาสทางการในสงั คมไทย โดยคำนงึ ถงึ การสรา้ งความเสมอภาค ความเปน็ ธรรมให้เกดิ ขนึ้ แก่
ประชากรทุกกลุ่ม เช่นผดู้ อ้ ยโอกาส และกลุ่มอ่ืนๆ โดยเป็นการจดั กิจกรรมเพ่ือพัฒนาให้ผเู้ รียนมีพน้ื ฐานความรู้
เพยี งพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรูค้ วามสามารถทางด้านวิชาการเพิม่ มากขนึ้
ซึง่ ในภาคเรียนท่ี 2/๒๕๖3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มีผลคะแนนค่อนข้างต่ำ

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกุดบาก ได้เห็นความสำคญั ของ การ
เตรยี มความพร้อมให้กบั ผเู้ รียน เน่ืองจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
สง่ ผลให้การจดั การเรยี นการสอนจากรปู แบบปกติ ซงึ่ รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ออกประกาศและมี
มาตรการเฝา้ ระวงั เพ่ือปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กำหนดให้มีการเวน้
ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคาสถานท่ขี องโรงเรยี นและสถาบันศึกษาทกุ แห่งทุก
ประเภท เพ่ือการจดั การเรยี นการสอน การสอบ การฝกึ อบรม หรอื การทำกิจกรรมใด ๆ ทีม่ ผี ูเ้ ข้ารว่ มเป็น
จำนวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตพุ เิ ศษ ซึง่ กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนดรูปแบบ การจัดการเรยี นการ
สอนเปน็ 5 รปู แบบ เพ่ือให้มีความเหมาะสมต่อการรับมือกับการแพรร่ ะบาดระลอกใหม่น้ี คือ 1.On-site เรียน
ที่โรงเรยี น โดยมีมาตรการเฝา้ ระวังตามประกาศของศนู ย์บริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั
โคโรนา 2019 (ศบค.) 2.On-air เรียนผา่ นมูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ หรอื
DLTV 3.On-demand เรยี นผ่านแอปพลเิ คชนั ต่างๆ 4.On-line เรียนผา่ นอนิ เตอรเ์ น็ต และ 5.On-hand
เรยี นทบ่ี ้านดว้ ยเอกสาร เช่น หนงั สือ แบบฝกึ หัดใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน หรืออาจใช้วธิ อี ืน่ ๆ เชน่ วทิ ยุ
เป็นต้น โดยเลือกรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนที่เหมาะสมกบั แต่ละโรงเรียน เพราะในแต่ละพ้ืนที่มีการแพร่
ระบาดของโรคที่แตกต่างกนั ตามท่ี ศบค.กำหนด ดงั นัน้ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
อำเภอกดุ บาก จงึ ดำเนินการจัดโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพด้านการจดั การเรยี นการสอนและยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนราย วชิ าวทิ ยาศาสตร์ (รปู แบบ On-hand) ประจำภาคเรียนท่ี 1/๒๕๖4 เพอื่ เป็นการเตมิ เต็ม
ความรูใ้ หแ้ ก่ผเู้ รยี น และเปน็ การการเตรยี มความพร้อมให้กับผเู้ รยี นกอ่ นสอบปลายภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา
๒๕๖4 ตอ่ ไป

2. วตั ถุประสงค์

๑ เพ่อื เปน็ การเตรียมความพร้อมด้านวชิ าการแก่ผู้เรยี น
๒ เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
๓ เพอ่ื สง่ เสรมิ พัฒนากระบวนการวดั ผลและประเมินผลให้เป็นกลไกในการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
ของผเู้ รยี น



๓. เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ

ผ้เู รยี น มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๑๕0 คน
- ตำบลกุดบาก จำนวน 50 คน
- ตำบลกดุ ไห จำนวน 50 คน
- ตำบลนาม่อง จำนวน 50 คน

เชิงคณุ ภาพ
- ผเู้ รียนไดฝ้ ึกฝนทักษะในด้านวิชาการ
- ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น รายวชิ าวิทยาศาสตร์ เพ่ิมสงู ขนึ้

4. ดชั นตี ัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วดั ผลผลติ
1.มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100 ของนักศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กศน.อำเภอกุดบาก
ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์
1.ผู้เข้ารว่ มโครงการรอ้ ยละ ๘๐ มคี วามรู้ความเข้าใจในรายวชิ าวิทยาศาสตร์ และมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษามากยง่ิ ข้ึน



บทที่ 2
เอกสารทีเ่ กยี่ วข้อง

วทิ ยาศาสตร์ หมายถึง ความร้เู ก่ียวกบั สง่ิ ต่าง ๆ ในธรรมชาติทงั้ ท่มี ชี ีวิตและไมม่ ีชีวติ รวมท้งั
กระบวนการประมวลความรเู้ ชงิ ประจกั ษ์ ทเ่ี รยี กว่ากระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และกลมุ่ ขององคค์ วามรู้ที่ได้
จากกระบวนการดงั กล่าว

การศึกษาในดา้ นวิทยาศาสตร์ยงั ถกู แบ่งย่อยออกเปน็ วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วทิ ยาศาสตร์
ประยุกต์ คำวา่ science ในภาษาอังกฤษ ซง่ึ แปลว่า วิทยาศาสตรน์ ้นั มาจากภาษาลาติน คำวา่ scientia ซง่ึ
หมายความวา่ ความรู้ ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคดิ คน้ วิธมี าตรฐานในการอุปนยั
เพอ่ื นำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวทิ ยาศาสตรจ์ ากข้อมูลท่ีทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เปน็ ผู้
รอ้ื ถอนและปรับปรุงแนวความคดิ เก่ียวกบั วิทยาศาสตรส์ มัยเกา่ ทยี่ ึดตดิ กบั แนวความคดิ ของอริสโตเติลทงิ้ ไป.
ณ ขณะน้ัน กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหมไ่ ว้ดงั น้ี

ทำนายสง่ิ ทเ่ี กิดขึน้ ในปรากฏการณธ์ รรมชาตไิ ด้ โดยท่ไี มจ่ ำเป็นต้องอธิบายสาเหตไุ ด้ เชน่ ในขณะทีย่ ัง
ไม่มีความรูเ้ รื่องแรงโนม้ ถ่วงน้ัน กาลิเลโอไมส่ นใจทีจ่ ะอธบิ ายวา่ "ทำไมวตั ถถุ ึงตกลงสู่พื้นดิน ?" แตส่ นใจคำถาม
ทวี่ ่า "เม่อื มนั ตกแล้ว มนั จะถึงพ้ืนภายในเวลาเทา่ ใด ?"
ใช้คณิตศาสตรเ์ พ่ือเป็นภาษาหลกั ของวิทยาศาสตร์ (ดหู ัวข้อ คณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร)์
ในเวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ตอ่ เติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคดิ เหลา่ น้ี และเปน็ ตน้ แบบสำหรับ
สาขาด้านอ่ืน ๆ ของวิทยาศาสตร์

ก่อนหน้านน้ั , ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเร่อื ง Rules for the
Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสรจ็ ). โดยความเรยี งชิ้นน้ถี ือเป็นความเรยี งชน้ิ แรกท่ีเสนอกระบวนการ
คิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตรส์ มัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่. อย่างไรก็ตามเนอ่ื งจากเดส์การตส์ได้ทราบเร่ืองที่กาลิ
เลโอ ผ้มู ีความคิดคล้ายกบั ตนถูกเรียกสอบสวนโดย โปป๊ แหง่ กรงุ โรม ทำใหเ้ ดส์การตสไ์ ม่ได้ตพี มิ พ์ผลงานชิ้นนี้
ออกมาในเวลานน้ั

การพยายามจะทำใหร้ ะเบยี บวธิ ที างวิทยาศาสตร์เป็นระบบน้ัน ต้องพบกบั ปัญหาของการอุปนัย ท่ี
ช้ีให้เหน็ ว่าการคดิ แบบอุปนยั (ซง่ึ เร่มิ ต้นโดยฟรานซิส เบคอน) น้นั ไมถ่ ูกต้องตามหลกั ตรรกศาสตร์. เดวิด ฮูมได้
อธบิ ายปญั หาดังกลา่ วออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคดิ ลักษณะเดียวกับคนอน่ื ๆ ได้พยายาม
อธบิ ายวา่ สมมตฐิ านท่ีจะใชไ้ ด้นน้ั จะตอ้ งทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยใู่ นฐานะที่ถูกปฏเิ สธได้
ความยุ่งยากน้ีทำให้เกดิ การปฏิเสธความเชอ่ื พ้นื ฐานท่ีว่ามรี ะเบยี บวธิ ี 'หนึ่งเดียว' ทีใ่ ชไ้ ดก้ ับวทิ ยาศาสตร์ทกุ
แขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอ่นื ท่ีไมเ่ ปน็ วทิ ยาศาสตร์ได้

ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัตขิ องวทิ ยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวทิ ยาศาสตร์
หรือวงการวิชาการ ในระบบยุตธิ รรมและในการถกเถียงปัญหาเก่ียวกบั นโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใชว้ ธิ กี าร
นอกเหนือจาก แนวปฏบิ ตั ิทางวทิ ยาศาสตรท์ ีเ่ ป็นท่ียอมรบั จะถกู ปฏเิ สธ และถกู จดั วา่ เป็น "วทิ ยาศาสตรเ์ ทยี ม
ปรัชญาวิทยาศาสตร์

ความสำเร็จอนั ยง่ิ ใหญ่ของวทิ ยาศาสตรใ์ นประวัติศาสตรม์ นุษย์ ได้สรา้ งประเดน็ คำถามทางปรชั ญาไว้
มากมาย. โดยนกั ปรชั ญาวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ต้ังคำถามทางปรัชญาท่ีสำคญั ดังนี้

- ส่ิงใดเปน็ ตวั แบง่ แยกความรู้ทางวิทยาศาสตร์กบั ความรู้ประเภทอื่น ๆ เชน่ โหราศาสตร์
- ความร้ทู างวิทยาศาสตรเ์ ปน็ ความจรงิ หรือไม่
- ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ชื่อถอื ได้แค่ไหน
- วิทยาศาสตร์มปี ระโยชนจ์ ริง ๆ หรอื ไม่
- ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ทเี่ หมาะสม คือรูปแบบใด



- ประเดน็ เหล่าน้ียงั เป็นทถ่ี กเถยี งในหมนู่ ักปรชั ญาวิทยาศาสตรอ์ ย่างมากในปัจจบุ นั และไมม่ ีความเหน็
ใดทไี่ ด้รับการยอมรับทวั่ ไปอีกเลยทีเดยี ว
วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์

- วิศวกรรมศาสตร์
- สาขาของวศิ วกรรมศาสตร์
- วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ
- วิทยาการคอมพวิ เตอร์
- วิทยาการสารสนเทศ หรือ สารสนเทศศาสตร์
- วิทยาศาสตรพ์ ทุ ธิปัญญา (Cognitive science)
- วชิ าเก่ียวกับการตดิ ต่อและควบคมุ ของสัตว์และเคร่ืองจกั ร (eng)
- บรรณารักษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์
Systemics
วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ (Health Science)
- เภสัชศาสตร์ (Pharmacy)
- ทนั ตแพทยศาสตร์ (Dentistry)
- แพทยศาสตร์ (Medicine)
- เน้ืองอกวิทยา (Oncology)
- พยาธวิ ทิ ยา (Pathology)
- อายรุ เวช
- เวชศาสตร์
- เภสชั วิทยา (Pharmacology)
- พษิ วทิ ยา (Toxicology)

ข้อมลู และแหลง่ ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/วิทยาศาสตร์



บทที่ 3
วิธกี ารดำเนินงาน

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกุดบาก จัดโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพด้าน
การจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนท่ี
1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ณ กศน.อำเภอกุดบาก โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักศึกษา กศน.อำเภอกุดบาก
จำนวน 150 คน มวี ิธีดำเนินการดงั ต่อไปน้ี

1. วิธกี ารดำเนนิ งาน

กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กล่มุ เป้า เป้า พน้ื ท่ดี ำเนนิ การ ระยะ งบประมาณ
หมาย หมาย กศน.ตำบล เวลา (บาท)
๑.ข้ันวางแผน (Plan) เพื่อเตรียมความพรอ้ มใน คณะครู กศน. คณะครู จำนวน 3 แห่ง วนั ท่ี 6 -
๑.๑ ประชมุ วางแผน ชี้แจงการ การดำเนนิ โครงการ อำเภอ กศน.อำเภอ สิงหาคม
ปฏบิ ตั งิ าน กดุ บาก กุดบาก รว่ ม กศน.ตำบล ๒๕๖๔ 20,0๐๐.-
๑.๒ ประสานเครือขา่ ย จดั หา ๒.๑ เพือ่ เปน็ การเตรยี ม ประชุม จำนวน 3 แหง่ บาท
สถานท่ี ความพร้อมด้านวิชาการ - ผเู้ รยี น วางแผน วนั ที่ 23-
๑.๓ เตรยี มสอื่ เอกสารและวสั ดุ แกผ่ เู้ รยี น ระดับ กศน.ตำบล 24สิงหาคม -
๑.๔ จดั ทำโครงการ/หลักสูตร ๒.๒ เพื่อยกระดับ ม.ต้น 150 คน จำนวน 3 แหง่ ๒๕๖๔
และการอนมุ ัติโครงการ ผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี น ม.ปลาย -
๒. ขัน้ ดำเนนิ การ (Do) รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ คณะครู กศน.ตำบล วนั ท่ี 25
จัดกจิ กรรมโครงการ ๒.๓ เพอ่ื สง่ เสริมพัฒนา ครู กศน. กศน.อำเภอ จำนวน 3 แห่ง สงิ หาคม
- แจกสื่อความรู้ ใบงาน และQR กระบวนการวดั ผลและ อำเภอ กุดบาก ๒๕๖๔
cord คลิปการสอน ตาม ประเมนิ ผลใหเ้ ปน็ กลไกใน กุดบาก
กำหนดการ การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ คณะครู วันที่ 27
- ตดิ ตามรวบรวมใบงาน ของผเู้ รียน ครู กศน. กศน.อำเภอ สงิ หาคม
นักศกึ ษา ๓.๑ เพอ่ื ศกึ ษาความ อำเภอ กุดบาก ๒๕๖๔
- รายงานผลการดำเนินงาน เป็นไปได้ กุดบาก
๓.๒ เพื่อศกึ ษา
๓.ประเมินโครงการ ความกา้ วหนา้ ของ
(Check) โครงการ
๓.๑ ประเมินกอ่ นดำเนิน ๓.๓ เพือ่ ศึกษา
โครงการ ความสำเรจ็ ของโครงการ
๓.๒ ประเมนิ ระหวา่ งดำเนนิ เพอื่ นำผลการประเมนิ มา
โครงการ ใชใ้ นการปรับปรุงและ
๓.๓ ประเมินหลังเสรจ็ โครงการ พัฒนาโครงการต่อไป
๔. ขน้ั ปรับปรงุ แกไ้ ข (Action)
๔.๑ ประชมุ คณะกรรมการ
โครงการเพอื่ สรปุ ผลการ
ดำเนนิ งานโครงการ
๔.๒ นำผลการดำเนินโครงการ
ไปปรบั ปรุงและ
พัฒนาโครงการ



2. งบประมาณ

งบประมาณ แผนงานยทุ ธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการ

จดั การศกึ ษาตัง้ แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา

ขนั้ พ้ืนฐานงบอดุ หนนุ ค่าจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนที่ 1/2564 (รอบที่ 2) รหสั งบประมาณ

2000243016500279 แหล่งของเงิน 6411410 จำนวน 20,0๐๐ บาท (สองหมืน่ บาทถ้วน) โดยมี

รายละเอยี ดดังต่อไปนี้

๑. ค่าสอื่ คู่มอื เสริม จำนวน 150 เลม่ × ราคาเล่มละ 100 บาท เป็นเงนิ 15,0๐๐ บาท

๑. คา่ วสั ดจุ ดั ทำใบงาน เปน็ เงิน 5,0๐๐ บาท

รวมเป็นเงนิ ท้งั สิน้ 20,0๐๐ บาท (สองหมน่ื บาทถว้ น)
หมายเหตุ ขอถวั จา่ ยทุกรายการตามที่จ่ายจรงิ

3. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ

กจิ กรรมหลกั ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔

(ต.ค. - ธ.ค. ๖๓) (ม.ค.- มี.ค.๖๔) (เม.ย - มิ.ย.๖๔) (ก.ค. - ก.ย. ๖๔)

โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพด้านการจดั การ

เรยี นการสอนและยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ - - - 20,0๐๐
ทางการเรียนรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (รูปแบบ

On-hand)

4. ระยะเวลาการดำเนินงาน
- วันที่ 23-24 สิงหาคม 2564

5. สถานทด่ี ำเนนิ งาน
- กศน.อำเภอกุดบาก

6. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
- ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอกดุ บาก



บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอกุดบาก จดั โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน
การจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่
1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ณ กศน.อำเภอกุดบาก โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักศึกษา กศน.อำเภอกุดบาก
จำนวน 150 คน มีวิธดี ำเนนิ การดังตอ่ ไปนี้

เกณฑ์ท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล

การวเิ คราะห์ข้อมลู มรี ะดับคะแนน ดงั น้ี

มคี วามพึงพอใจมากที่สุด ระดับคะแนน เทา่ กับ 5

มีความพึงพอใจมาก ระดับคะแนน เท่ากบั 4

มคี วามพึงพอใจปานกลาง ระดับคะแนน เทา่ กับ 3

มคี วามพึงพอใจน้อย ระดบั คะแนน เท่ากับ 2

มคี วามพึงพอใจน้อยท่ีสดุ ระดบั คะแนน เท่ากบั 1

การหาค่าเฉลย่ี

เปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี กับเกณฑ์การประเมินคา่ เฉล่ีย ของ บุญชม ศรีสะอาด 2532 : 111

ค่าเฉลย่ี ระดับ 4.51 – 5.00 มคี วามพึงพอใจมากที่สุด

ค่าเฉลี่ยระดับ 3.51 – 4.50 มีความพึงพอใจมาก

ค่าเฉลย่ี ระดับ 2.51 – 3.50 มีความพึงพอใจปานกลาง

คา่ เฉลย่ี ระดบั 1.51 – 2.50 มีความพึงพอใจน้อย

คา่ เฉล่ียระดบั 1.00 – 1.50 มีความพึงพอใจน้อยท่ีสุด

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบประเมินความพงึ พอใจ

ตารางที่ 1 แสดงจำนวน ร้อยละ ของเพศผู้ตอบแบบประเมิน

เพศ จำนวน(คน) รอ้ ยละ

ชาย 38 25.3

หญงิ 112 74.7

รวม 150 100

จากตารางที่ 1 พบวา่ ผูต้ อบแบบประเมนิ เป็นเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย

ตารางท่ี 2 แสดงจำนวน ร้อยละ ของอายุผตู้ อบแบบประเมิน

อายุ จำนวน(คน) ร้อยละ

อายุต่ำกวา่ 15 ปี 0 0

อายุ 15-39 ปี 123 73.3

อายุ 40-59 ปี 27 26.7

60 ปีขนึ้ ไป 0 0

รวม 150 100

จากตารางท่ี 2 พบว่าผตู้ อบแบบประเมนิ ส่วนใหญ่อายุ 15-39 ปี คิดเป็นร้อยละ 73.3 รองลงมาอายุ

40-59 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 26.7



ตารางที่ 3 แสดงจำนวน ร้อยละ ของระดับการศึกษาผตู้ อบแบบประเมิน

ระดบั การศกึ ษา จำนวน(คน) ร้อยละ

ประถมศกึ ษา 0 0

มัธยมศึกษาตอนตน้ 51 34.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย 99 66.0

รวม 150 100

จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาตอน

ปลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 66.0 รองลงมาอยใู่ นระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.0

ตารางท่ี 4 แสดงจำนวน รอ้ ยละ ของอาชพี ผตู้ อบแบบประเมิน

อาชีพ จำนวน(คน) ร้อยละ

ว่างงาน 18 12.0

รบั จา้ ง 45 30.0

เกษตรกรรม 85 56.7

อนื่ ๆ 2 1.3

รวม 150 100

จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 56.7 รองลงมา

รบั จา้ ง คดิ เป็นร้อยละ 30.0 ว่างงาน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.0 และอ่นื ๆคิดเปน็ รอ้ ยละ 1.53

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของผ้เู รียน/ผู้รับบริการ

ตารางที่ 5 แสดงความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ ด้านสภาพแวดลอ้ ม

ระดับความคิดเหน็

ประเด็นการประเมนิ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย คา่ เฉลี่ (S.D) ผลลัพธ์
ที่สุด กลาง ทีส่ ดุ ย(X ) มากทส่ี ดุ
0.479 มากที่สุด
1. ความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานทใ่ี น 110 38 2 4.72 มากทส่ี ดุ
การจดั กิจกรรม 0.599
0.539
2. มีการให้บรกิ ารอนื่ ๆ ท่ีเอื้ออำนวยต่อการ

เขา้ ใชบ้ ริการ (เชน่ หอ้ งนำ้ , พัดลม, อาหาร 85 57 8 4.51

ว่าง ฯลฯ)

ค่าเฉลี่ยรวม 4.62

จากตารางที่ 5 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานที่ในการ
จัดกิจกรรม และการให้บริการอื่นๆ ที่เอื้ออำนวยต่อการเข้าใช้บริการ (เช่น ห้องน้ำ, พัดลม, อาหารว่าง ฯลฯ)
ในระดับ มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 4.72 และ 4.51



ตารางที่ 6 แสดงความพึงพอใจของผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ ด้านปจั จัยนำเขา้

ระดับความคดิ เห็น

ประเด็นการประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย คา่ เฉลย่ี (S.D) ผลลพั ธ์
ท่ีสดุ กลาง ทสี่ ดุ (X )
0.496 มากทส่ี ดุ
1. เนื้อหาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตรง 104 44 2 4.68 0.503 มากท่ีสดุ
กับความต้องการ 0.499 มากที่สุด

2. ผูเ้ รียน/ผรู้ ับบรกิ ารมีความรคู้ วามเข้าใจใน 101 47 2 4.66
เนือ้ หาการจัดกิจกรรม

ค่าเฉลยี่ รวม 4.67

จากตารางที่ 6 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจเนื้อหาการบรรยายมีความเหมาะสมตรงกับ
ความต้องการ และผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาการจัดกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับ
มากทส่ี ดุ คดิ เป็นร้อยละ 4.68 และ 4.66

ตารางท่ี 7 แสดงความพึงพอใจของผเู้ รียน/ผรู้ ับบริการ ด้านกระบวนการ

ระดบั ความคดิ เห็น

ประเดน็ การประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย คา่ เฉลี่ย (S.D) ผลลัพธ์
ท่สี ุด กลาง ที่สดุ (X )
0.501 มากท่สี ดุ
1. สอ่ื /วัสดุอปุ กรณป์ ระกอบกจิ กรรมการ 77 73 4.51 0.489 มากที่สุด
เรยี นรมู้ ีความเหมาะสม 0.480 มากทส่ี ดุ
0.380 มากทส่ี ดุ
2. ความสามารถและทักษะในการถา่ ยทอด 92 58 4.61 0.462 มากทส่ี ุด
ความรูข้ องวทิ ยากร

3. ผ้รู ับบรกิ ารมีส่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม/ 97 53 4.65
ฝึกปฏบิ ตั ิ

4. ความหลากหลายของกจิ กรรมทีจ่ ัด 124 26 4.83
กิจกรรม

คา่ เฉลี่ยรวม 4.65

จากตารางที่ 7 พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมนิ มีความพงึ พอใจ สอื่ /วสั ดอุ ุปกรณ์ประกอบกจิ กรรมการเรียนรู้
มีความเหมาะสม ความสามารถและทักษะในการถา่ ยทอดความรูข้ องวิทยากร ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัด
กิจกรรม/ฝกึ ปฏิบตั ิ ความหลากหลายของกจิ กรรมทจ่ี ดั กิจกรรม ในระดบั มากท่ีสดุ คิดเป็นร้อยละ 4.51 4.61
4.65 และ 4.83

๑๐

ตารางที่ 8 แสดงความพงึ พอใจของผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ ดา้ นผลผลติ

ระดับความคิดเหน็

ประเด็นการประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ค่าเฉลย่ี (S.D) ผลลพั ธ์
ท่ีสุด กลาง ทีส่ ดุ (X )
0.406 มากที่สุด
1. สามารถถ่ายทอดและเผยแพร่ความรแู้ ก่ 119 31 4.79 0.473 มากทีส่ ดุ
ผอู้ ื่นได้ 0.791 มากที่สดุ

2. สามารถนำความรูแ้ ละทกั ษะไปใชใ้ นการ 112 36 2 4.73
พัฒนาการศึกษาและทกั ษะชีวติ ได้

ค่าเฉล่ียรวม 4.44

จากตารางที่ 8 พบว่าผตู้ อบแบบประเมินมีความพึงพอใจ สามารถถ่ายทอดและเผยแพรค่ วามรู้แก่ผู้อ่ืน
ได้ สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในการพัฒนาการศึกษาและทักษะชีวิต ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.79 และ 4.73

๑๑

บทที่ 5
สรปุ ผล และรายงานผลการดำเนินโครงการ

ในการจัดกิจกรรม โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 ณ กศน.อำเภอกุดบาก
โดยมีกล่มุ เป้าหมายนกั ศกึ ษา กศน.อำเภอกุดบาก จำนวน 150 คน ผลการดำเนนิ โครงการเป็นดงั น้ี

1. วัตถุประสงค์
๑. เพ่อื เปน็ การเตรียมความพรอ้ มดา้ นวิชาการแกผ่ ู้เรยี น
๒. เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
๓. เพือ่ ส่งเสริมพัฒนากระบวนการวดั ผลและประเมนิ ผลใหเ้ ปน็ กลไกในการยกระดับผลสัมฤทธ์ขิ อง
ผูเ้ รียน

2. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั
๑. เตรียมความพร้อมด้านวชิ าการแกผ่ เู้ รียน
๒. ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ได้สงู ข้ึน
๓. ส่งเสริมพัฒนากระบวนการวดั ผลและประเมนิ ผลใหเ้ ปน็ กลไกในการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผู้เรยี น
ไดส้ ูงข้ึน

3. วิธกี ารดำเนินโครงการ

กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ เปา้ พืน้ ทด่ี ำเนินการ ระยะ งบประมาณ
หมาย หมาย กศน.ตำบล เวลา (บาท)
๑.ขัน้ วางแผน (Plan) เพื่อเตรยี มความพรอ้ มใน คณะครู กศน. คณะครู จำนวน 3 แหง่ วันท่ี 6 -
๑.๑ ประชมุ วางแผน ชแี้ จงการ การดำเนินโครงการ อำเภอ กศน.อำเภอ สิงหาคม
ปฏิบัติงาน กุดบาก กุดบาก ร่วม กศน.ตำบล ๒๕๖๔ 20,0๐๐.-
๑.๒ ประสานเครอื ข่าย จัดหา ๒.๑ เพื่อเป็นการเตรียม ประชุม จำนวน 3 แห่ง บาท
สถานท่ี ความพร้อมด้านวิชาการ - ผเู้ รียน วางแผน วันที่ 23-
๑.๓ เตรยี มสื่อเอกสารและวสั ดุ แกผ่ เู้ รยี น ระดบั กศน.ตำบล 24สงิ หาคม -
๑.๔ จดั ทำโครงการ/หลักสตู ร ๒.๒ เพื่อยกระดับ ม.ตน้ 150 คน จำนวน 3 แหง่ ๒๕๖๔
และการอนมุ ัตโิ ครงการ ผลสัมฤทธก์ิ ารเรยี น ม.ปลาย
๒. ขน้ั ดำเนินการ (Do) รายวิชาวิทยาศาสตร์ คณะครู วนั ท่ี 25
จัดกิจกรรมโครงการ ๒.๓ เพอ่ื สง่ เสริมพฒั นา ครู กศน. กศน.อำเภอ สงิ หาคม
- แจกสือ่ ความรู้ ใบงาน และQR กระบวนการวดั ผลและ อำเภอ กุดบาก ๒๕๖๔
cord คลปิ การสอน ตาม ประเมนิ ผลใหเ้ ป็นกลไกใน กุดบาก
กำหนดการ การยกระดับผลสมั ฤทธิ์
- ติดตามรวบรวมใบงาน ของผู้เรียน
นักศึกษา ๓.๑ เพอ่ื ศกึ ษาความ
- รายงานผลการดำเนนิ งาน เป็นไปได้

๓.ประเมินโครงการ
(Check)

๑๒

กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้า เป้า พืน้ ท่ดี ำเนนิ การ ระยะ งบประมาณ
หมาย
๓.๑ ประเมินกอ่ นดำเนนิ ๓.๒ เพอื่ ศึกษา หมาย เวลา (บาท)
โครงการ ความกา้ วหนา้ ของ ครู กศน.
๓.๒ ประเมินระหว่างดำเนนิ โครงการ อำเภอ คณะครู กศน.ตำบล วันท่ี 27 -
โครงการ ๓.๓ เพอ่ื ศกึ ษา กดุ บาก
๓.๓ ประเมนิ หลังเสรจ็ โครงการ ความสำเรจ็ ของโครงการ กศน.อำเภอ จำนวน 3 แห่ง สิงหาคม
๔. ข้ันปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action) เพือ่ นำผลการประเมินมา
๔.๑ ประชมุ คณะกรรมการ ใชใ้ นการปรบั ปรุงและ กดุ บาก ๒๕๖๔
โครงการเพ่ือสรุปผลการ พัฒนาโครงการตอ่ ไป
ดำเนินงานโครงการ
๔.๒ นำผลการดำเนินโครงการ
ไปปรบั ปรงุ และ
พฒั นาโครงการ

4. สรุปผล/อภปิ รายผลการดำเนินโครงการ

1. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 เปน็ เพศหญงิ มากกว่าเพศชาย

2. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่อายุ 15-39 ปี คิด
เป็นร้อยละ 73.3 รองลงมาอายุ 40-59 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 26.7

3. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ประจำภาคเรยี นที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 สว่ นใหญ่ มรี ะดับการศึกษาอยู่
ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ 66.0 รองลงมาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อย
ละ 34.0

4. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม คิด
เป็นร้อยละ 56.7 รองลงมา รับจา้ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.0 วา่ งงาน คดิ เป็นร้อยละ 12.0 และอ่ืนๆคิดเป็นร้อย
ละ 1.53

5. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มคี วามพงึ พอใจความเหมาะสม
ในระยะเวลา/สถานทีใ่ นการจัดกจิ กรรม และการใหบ้ ริการอน่ื ๆ ทีเ่ ออื้ อำนวยตอ่ การเข้าใชบ้ รกิ าร (เชน่ หอ้ งนำ้ ,
พัดลม, อาหารว่าง ฯลฯ) ในระดบั มากท่สี ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 4.72 และ 4.51

6. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจเนื้อหาการ
บรรยายมีความเหมาะสมตรงกับความต้องการ และผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาการจัด
กจิ กรรม มคี วามพึงพอใจในระดับ มากท่สี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 4.68 และ 4.66

๑๓

7. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจ สื่อ/วัสดุ
อุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม ความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดความรู้ของ
วิทยากร ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม/ฝึกปฏิบัติ ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัดกิจกรรม ใน
ระดบั มากท่ีสดุ คิดเปน็ ร้อยละ 4.51 4.61 4.65 และ 4.83

8. ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจ สามารถ
ถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้ สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในการพัฒนาการศึกษาและทักษะ
ชวี ติ ในระดบั ความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด คิดเป็นร้อยละ 4.79 และ 4.73

โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพด้านการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน รายวิชา
วิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 150 คน โดยมี
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการ และพบว่า
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึ่งพอใจในการจัดโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการเรียนการสอนและ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 ใน
ระดบั มากท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 4.59 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.572

5. ปญั หาและอุปสรรค
- ไมม่ ี

6. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแก้ไข
- ไม่มี

๑๔

ภาคผนวก

- ภาพกจิ กรรม
- โครงการ
- คณะผู้จัดทำ

๑๕

ภาพกจิ กรรม
โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพดา้ นการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564

ภาพกิจกรรม : กจิ กรรมการใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั โครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพดา้ นการจัดการเรยี น
การสอนและยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รายวิชาวทิ ยาศาสตร์

๑๖

ภาพกจิ กรรม(ต่อ)
โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพด้านการจดั การเรียนการสอนและยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564

ภาพกจิ กรรม : กจิ กรรมการให้ความรเู้ กยี่ วกับโครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพด้านการจัดการเรยี น
การสอนและยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์

๑๗

ภาพกจิ กรรม(ต่อ)
โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพด้านการจดั การเรียนการสอนและยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564

ภาพกจิ กรรม : กจิ กรรมการให้ความรเู้ กยี่ วกับโครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพด้านการจัดการเรยี น
การสอนและยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์

๑๘

ภาพกิจกรรม(ตอ่ )
โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพด้านการจดั การเรยี นการสอนและยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564

ภาพกจิ กรรม : กจิ กรรมการให้ความร้เู กย่ี วกบั โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพด้านการจัดการเรยี น
การสอนและยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น รายวิชาวิทยาศาสตร์

๑๙

ภาพกจิ กรรม(ต่อ)
โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพด้านการจดั การเรียนการสอนและยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564

ภาพกจิ กรรม : กจิ กรรมการให้ความร้เู กีย่ วกับโครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพด้านการจัดการเรยี น
การสอนและยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์

๒๐

คณะผจู้ ดั ทำ

ที่ปรกึ ษา
นางปทั มา เวียงอินทร์ ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอกุดบาก

คณะทำงาน/ขอ้ มูล/ประสานงาน ตำแหนง่ ครู ผูช้ ่วย
1. นางสาวนิตยา โชตบิ รู ณ์ ตำแหนง่ ครู อาสาสมคั รฯ
2. นายวชั ระ สรุ ยิ วงค์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
3. นางสาวศรภี ทั รฌาย์ สิทธิธร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
4. นางสาวพมิ ลรัตน์ ทิพย์คำมี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
5. นายทนิ กร มาตราช ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
6. นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ ตำแหนง่ ครู ศรช.
7. นางจุฑามาศ ดาบพลออ่ น ตำแหน่ง ครู ศรช.
8. นายธนั ยพฒั น์ เถาวัลย์ดี ตำแหน่ง บรรณารกั ษ์
9. นางสาวกนกอร ทพิ ย์สวุ รรณ ตำแหน่ง เจา้ หน้าทีบ่ ันทกึ ข้อมูล
10.นางสาววลิ าวัลย์ ลามคำ

รวบรวม/เรยี บเรียง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ

ออกแบบปก/รปู เลม่ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ


Click to View FlipBook Version