ก
คำนำ
จากการท่ศี นู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกดุ บาก จดั โครงการ“ล้านเมล็ด
พันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand) ณ กศน.ตำบลกุดบาก กศน.ตำบลนาม่อง และ
กศน.ตำบลกุดไห โดยมีกลุ่มเป้าหมายประชาชนทัว่ ไปในพน้ื ที่ อำเภอกุดบาก จำนวน 24 คน โครงการดังกล่าว
เสร็จสิ้นไปด้วยดี ซึ่งรายละเอียดผลการดำเนินงานต่างๆ ตลอดจนปัญหาอุปสรรค ได้สรุปไว้ในรายงานเล่มน้ี
แลว้
รายงานผลการดำเนินงานเลม่ นี้ จัดทำขน้ึ เพือ่ การศกึ ษาหาข้อมูล เพื่อให้ความรู้ เรอ่ื งพืชสมุนไพรต้าน
ภยั โควิด-19 และการปลูกพืชสมุนไพร หากมีสง่ิ ใดขาดตกบกพรอ่ ง คณะผู้จัดทำขอนอ้ มรับไว้ เพือ่ ปรบั ปรุงและ
พฒั นาในโอกาสตอ่ ไป
กศน.อำเภอกุดบาก
กนั ยายน 2564
สารบัญ ข
หัวข้อท่ี หนา้
1-2
บทที่ 1 บทนำ 3-4
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 5-6
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ การ 7-10
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 11-13
บทที่ 5 สรุปผล และรายงานผลการดำเนนิ โครงการ
ภาคผนวก
- ภาพกจิ กรรม
- โครงการ
- คณะผู้จดั ทำ
๑
บทท่ี 1
บทนำ
1. หลักการและเหตผุ ล
ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ประเทศไทยและประเทศอื่นๆทั่วโลกกำลังเผชิญกับการแพร่ระบาดของไวรสั
โควิด-19 (COVID-19) อยู่ในขณะนี้ หนึ่งในความวิตกกังวลของผู้คนคือ ประเด็นของสขุ อนามัยและความอยู่
รอด ซึ่งส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสขุ ด้านการคมนาคมและอื่น ๆ ส่งผลให้
เกดิ วกิ ฤตทางสังคมขนาดหนกั ไปทวั่ โลก ดงั น้ันเราจงึ ต้องการดูแลสขุ ภาพของตนเองให้ปลอดภยั และเหมาะสม
โดยการใชส้ มนุ ไพร ทเ่ี รามอี ยู่ในประเทศและตามท้องถ่ินต่างๆท่ัวประเทศไทย
สมนุ ไพรเปน็ ส่งิ ทอ่ี ยคู่ ู่คนไทยมาอยา่ งยาวนาน โดยนิยมใช้ในการปรงุ อาหาร เพอ่ื บำรงุ สขุ ภาพ รวมทั้ง
สามารถนำมาใช้เป็นยารกั ษาโรคมาตัง้ แต่สมัยโบราณ ในการนำสมนุ ไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพและใช้เป็นยา
เพื่อบรรเทาอาการต่าง ๆ นั้น จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ สรรพคุณต่าง ๆ รวมทั้งประโยชน์และโทษของการ
นำสมนุ ไพรมาใช้ จึงจะทำใหส้ ามารถใช้สมนุ ไพรไดอ้ ยา่ งเกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ การใช้สมนุ ไพรไทยในการดูแล
สุขภาพและบรรเทาอาการจากโรคโควิด-19 เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับพืชสมุนไพรที่ใช้ในการดูแลสุขภาพ
พร้อมสูตรการใช้หรือการนำมารับประทานในครัวเรือน ในช่วงการเกิดโรคโควิด-19 นี้ ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร
กระชายขาว ขมิ้นชัน มะขามป้อม กระเทียมขิง และชะเอมเทศ โดยมีรายละเอียดและสรรพคุณของสมุนไพร
แต่ละชนิดขนาดรับประทานทีเ่ หมาะสม ข้อควรระวังในการใช้สมนุ ไพรแต่ละชนดิ รวมถึงสูตรการนำสมนุ ไพร
แต่ละชนดิ มาใช้ในครัวเรือนอยา่ งง่าย นอกจากน้ยี ังมตี ำรับยาจากสมนุ ไพร ทีใ่ ช้ดูแลสขุ ภาพและบรรเทาอาการ
ต่าง ๆ ได้แก่ ยาสุม (รมไอน้ำ) ตำรับยาบำรุงปอด ยาตรีผลา ยาปราบชมพูทวีป และยาอภัยสาลี ซึ่งสมุนไพร
ต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น สามารถใช้ดูแลสุขภาพในองค์รวมในช่วงที่เกิดการระบาดของโรคโควิด-19 ได้
และหากผู้ใช้มีโรคประจำตัวหรือมีการใช้ยาที่ได้รับจากการวินิจฉัยจากแพทย์แล้ว ก่อนใช้สมุนไพรต่าง ๆ ใน
คู่มือนี้ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้สมุนไพรทกุ ชนดิ เพือ่ ความปลอดภยั และเพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกุดบาก ได้ตระหนักถึงความสำคัญการ
พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของผเู้ รยี น จงึ มีการจดั โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน การเรียนร้แู ละมอบต้นกล้าสมุนไพร
“กศน.กุดบาก ห่วงใย ต้านภยั โควดิ -19” (รูปแบบ On-hand) เพอ่ื ให้ประชาชนท่วั ไปในพ้ืนที่ อำเอกดุ บาก มี
ความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพและบรรเทาอาการจากโรคโควิด-19 และเห็น
ความสำคญั ของสมนุ ไพรไทยสามารถนำสมุนไพรไปปรับใช้ในชวี ติ ได้อย่างปลอดภัยและเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ
2. วัตถุประสงค์
๑. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนท่วั ไปในพนื้ ท่ี อำเอกุดบาก มีความรคู้ วามเขา้ ใจในการใช้สมุนไพรไทยในการดูแล
สขุ ภาพและบรรเทาอาการจากเช้ือไวรสั โควดิ -19
๒. เพื่อใหป้ ระชาชนทัว่ ไปในพ้นื ท่ี อำเอกดุ บาก มีความตระหนักถงึ และเห็นความสำคัญของสมุนไพร
ไทย
๓. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนท่ัวไปในพน้ื ที่ อำเอกดุ บาก สามารถนำสมนุ ไพรไปปรบั ใช้ใน
ชีวิตไดอ้ ย่างปลอดภยั และเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด
๒
๓. เปา้ หมาย
๑.เชงิ ปรมิ าณ
ประชาชนท่วั ไปในพน้ื ท่ี อำเภอกดุ บาก
- ตำบลกุดบาก จำนวน 8 คน
- ตำบลนามอ่ ง จำนวน 8 คน
- ตำบลกุดไห จำนวน 8 คน
รวมทัง้ หมด จำนวน 24 คน
๒.เชิงคุณภาพ
ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ อำเภอกุดบาก ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพร
ไทยในการดูแลสุขภาพและบรรเทาอาการจากโรคโควิด-19 และเห็นความสำคัญของสมุนไพรไทย
สามารถนำสมนุ ไพรไปปรบั ใช้ในชีวติ ได้อยา่ งปลอดภยั และเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ
4. ดัชนีตวั ชีว้ ัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชีว้ ดั ผลผลิต
1.มผี เู้ ข้ารว่ มโครงการ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 100 ประชาชนทว่ั ไปในพ้นื ที่ อำเภอกุดบาก
ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์
1.ผเู้ ข้ารว่ มโครงการร้อยละ ๘๐ มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการใชส้ มนุ ไพรไทยในการดแู ลสขุ ภาพ
และบรรเทาอาการจากโรคโควิด-19 และเหน็ ความสำคัญของสมนุ ไพรไทยสามารถนำสมุนไพรไปปรบั
ใช้ในชีวติ ได้อยา่ งปลอดภัยและเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด
๓
บทที่ 2
เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง
เนอื่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโควดิ -19 ในปี 2563- 2564 ซึ่ง ณ ปัจจบุ ัน
นบั เปน็ โรคระบาดทส่ี ่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนทั่วทงั้ โลก รวมทงั้ กอ่ ใหเ้ กดิ ค่าใช้จ่ายและปัญหาใน
การจัดการด้านสาธารณสุขเปน็ อยา่ งมาก สงิ่ ทปี่ ระชาชนตอ้ งการมากทสี่ ดุ ในขณะนกี้ ค็ ือ “วคั ซนี ปอ้ งกนั โรค”
หรอื “ยารักษาโรค” หากแตโ่ รคระบาดดังกล่าว ยังไมม่ ยี าสมัยใหม่ทีส่ ามารถรกั ษาได้ผลในเชงิ ประจักษ์
จึงมปี ระชาชนจำนวนมาก พยายามเสาะแสวงหาพืชสมุนไพรทค่ี าดว่าจะมสี ว่ นชว่ ยปอ้ งกันหรือ
สามารถรักษาโรคได้ สง่ ผลให้พชื สมุนไพร เช่น ฟ้าทะลายโจร ยาห้าราก (ประกอบด้วย รากยา่ นาง รากคนทา
รากมะเด่อื ชุมพร รากชงิ ชี่ รากไม้เท้ายายม่อม) และพืชสมุนไพรไทยอ่ืนๆ ทม่ี สี รรพคณุ เกย่ี วกับการรกั ษาโรค
ตา่ งๆ เกิดภาวะขาดแคลนในท้องตลาดในการรกั ษาตามหลักการแพทยแ์ ผนไทย โดยเฉพาะพชื สมุนไพรที่ใชใ้ น
การรักษาหรอื บรรเทาอาการโรคไขห้ วัดต่างๆ หรือพืชสมนุ ไพรไทยทช่ี ว่ ยเสริมสร้างภมู คิ ุ้มกนั
ตามคมั ภรี ์ตกั ศิลา ซึง่ เปน็ คัมภรี ท์ ่ีใช้รกั ษาโรคไข้มาช้านานหลายร้อยปี ได้มกี ารบนั ทกึ เกย่ี วกบั การ
รักษาโรคไขห้ วัดใหญ่ ไดร้ ะบุวิธีการรักษาตามลำดับขัน้ ตอน 3 ตำรบั ดังนี้ ลำดับแรกต้องรักษาด้วยตำรับยา
กระทุ้งพิษเพ่อื ขับพษิ ออกจากร่างกายโดยใชย้ าห้าราก ซึ่งยาชนิดน้ีได้รบั การบรรจุไวใ้ นบญั ชยี าหลักแห่งชาติ
จากนนั้ รกั ษาตอ่ ด้วยตำรบั ยาแปรไข้ ไดแ้ ก่ จนั ทลีลา หรือยาประสะจันทนแ์ ดง ซ่ึงชว่ ยลดอาการไข้ ความรอ้ น
ข้นึ ลำดับสุดทา้ ยรักษาต่อด้วยตำรบั ยาครอบไข้ ได้แก่ ยาครอบไขต้ กั ศลิ า ช่วยบำรงุ อวยั วะภายใน และบำรงุ
ร่างกายให้แข็งแรงไม่กลบั มาเปน็ ซ้ำ ซง่ึ ตามบันทกึ โบราณดังกล่าวล้วนใช้พืชสมุนไพรไทยเปน็ องคป์ ระกอบของ
การปรุงยาทงั้ ส้ิน
สำหรบั เชอ้ื ไวรัสโควิด – 19 ลกั ษณะของโรคส่งผลให้รา่ งกายสร้างภูมเิ ยอะเกินไป แพทยแ์ ผนปจั จุบนั
รกั ษาดว้ ยการให้ยากดภมู ิ ในทางวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ณ ปจั จุบนั ยงั ไมพ่ บยารักษาหรอื กำจัดไวรสั ชนิดน้ไี ด้
โดยตรง จงึ มคี วามจำเป็นตอ้ งรกั ษาและประคบั ประคองตามลักษณะอาการของผู้ปว่ ย ซ่งึ มคี วามแตกต่างจาก
การรักษาในรูปแบบของแพทยแ์ ผนไทย โดยจะทำการรักษาด้วยการปรับสมดลุ ของรา่ งกาย มกี ารใช้พืช
สมนุ ไพรและอาหารเปน็ หลัก เชน่ การเลอื กรับประทาน “อาหารเปน็ ยา” ซง่ึ นับเปน็ หลกั การในการป้องกนั
ตนเองในขั้นต้น ชว่ ยกระตนุ้ ภูมคิ มุ้ กนั เพม่ิ การไหลเวยี นของโลหิต ยกตัวอยา่ งเมนูอาหารที่ปรุงจากพชื สมนุ ไพร
ไทย เช่น แกงส้มดอกแค, แกงเลียง, ต้มยำ เปน็ ต้น หรอื การรับประทานพืชสมุนไพรที่มวี ติ ามนิ ซสี งู เชน่
มะขามปอ้ ม มะนาว ใบมะขาม ใบส้มป่อย ในส่วนของผทู้ ตี่ ้องการรบั ประทานสมุนไพรฟา้ ทะลายโจรสามารถ
รับประทานได้ แต่ตอ้ งลดปริมาณลงเหลอื เพยี งวนั ละ 1 มอื้ อาหารก็เพียงพอ เน่ืองจากหากรับประทานมาก
เกนิ ไป ในระยะยาวอาจสง่ ผลตอ่ ระบบไตและทำให้เกดิ ผลขา้ งเคยี งต่อสุขภาพได้
สำหรบั ในดา้ นการเกษตรการปลูกพชื สมนุ ไพรไทย อาทิ ฟา้ ทะลายโจร หากตอ้ งการปลกู เปน็ พืชใน
ครัวเรอื น และใช้เป็นยาสมนุ ไพรในบา้ น ข้ันตอนและกระบวนการปลูก มิได้ปลกู ยากแตอ่ ยา่ งใด อีกทงั้ ไม่ต้องใช้
เวลาดแู ลรักษามาก เพราะเปน็ พชื ล้มลุกฤดูเดยี ว การเกบ็ เกีย่ วใชเ้ ฉพาะสว่ นใบ หรือใช้ตน้ เหนอื ดนิ กอ่ นมีผล
ขอ้ แนะนำในการเก็บเกีย่ วใบ ควรจะเกบ็ ชว่ งกำลงั ออกดอก แตด่ อกยงั ไมบ่ าน ไม่ควรเก็บเกย่ี วเกนิ ระยะ
ดังกลา่ ว เพราะสารสำคัญและสรรพคณุ ทางยาจะลดลง ปัจจุบันมลู คา่ ทางการตลาดของพชื สมนุ ไพรฟา้ ทะลาย
โจรสงู ข้ึนกว่าเดมิ หลายเทา่ ตัว อนั เป็นผลจากความตื่นตัวของผู้บรโิ ภคในภาวะโรคไวรสั ระบาดดงั กลา่ วที่ส่งผล
ให้สนิ ค้าขาดตลาด เนือ่ งจากวัตถุดบิ ทจี่ ะนำเขา้ สู่กระบวนการสกดั เปน็ ยาซึง่ ก็คอื ตน้ ฟา้ ทะลายโจร มีปริมาณไม่
เพียงพอ โดยข้อมลู ด้านราคาเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ ราคาซอื้ - ขายปกติ 30 - 40 บาท/กิโลกรมั ปัจจบุ นั
ราคาปรบั ขึน้ ไปถึงกโิ ลกรัมละ 120 - 150 บาท/กิโลกรัม
๔
ในด้านเกษตรกรทมี่ คี วามเชย่ี วชาญในการปลกู พชื สมุนไพรไทย มขี อ้ แนะนำจากประสบการณ์จริงวา่
หากจะทำการปลกู พชื สมนุ ไพรไทยในเชงิ พาณชิ ย์ หรอื สง่ ออกไปยงั ตา่ งประเทศ ควรจะทำการศึกษาใหร้ อบ
ด้านเกย่ี วกับพชื สมุนไพรชนิดน้ันๆ และอาศัยความรอบคอบในการวางแผนการผลิต โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในการ
วางแผนตารางระยะเวลาของการปลูกและการเก็บเกีย่ วท่เี ปน็ องคป์ ระกอบสำคัญที่ต้องคำนึงเน่อื งด้วยพืช
สมนุ ไพรจะมชี ว่ งเวลาที่ใหค้ ุณคา่ และสารหรอื สรรพคณุ ทางยามากทีส่ ุดในการออกฤทธิ์ โดยพชื สมนุ ไพรไทย
บางชนดิ ต้องใชร้ ะยะเวลาในการปลกู ไปจนถึงระยะเวลาการเก็บเกีย่ วค่อนข้างนาน สมนุ ไพรบางชนดิ ตอ้ งใช้
ระยะเวลาในการเก็บเก่ียวนานถึง 4 – 5 ปี กว่าจะนำมาสกัดเปน็ ยาได้ ซง่ึ บางชนดิ อาจใชร้ ะยะเวลานานถึง
10 ปี
กระบวนการรกั ษาและการใชย้ าตามหลักการแพทยแ์ ผนไทยดงั กลา่ วยงั มอี ีกมากมายหลายขนาน ท่ี
กล่าวมาเปน็ เพยี งการยกตัวอย่างใหเ้ หน็ ภาพและเข้าใจพอสังเขป ซ่ึงนับเป็นภูมปิ ัญญาเชิงการแพทย์ของบรรพ
บุรุษไทยที่ไดศ้ กึ ษาเรียนร้พู ฒั นาและถ่ายทอดสืบต่อกันมา ภมู ิปญั ญาทางการแพทยแ์ ผนไทยดังกล่าวมีความ
พรอ้ มทงั้ ในเชิงปอ้ งกันและในเชิงรักษาผู้ทตี่ ดิ เช้อื หรือผ้ทู ีก่ งั วลว่าจะตดิ เชือ้ หรอื ไม่ โดยสามารถบรู ณการ
กระบวนการรกั ษารว่ มกนั กบั การแพทย์แผนปัจจุบันได้ เพอ่ื ใชเ้ ป็นทางเลือกให้กบั ประชาชนในภาวะที่ประสบ
วิกฤตการณ์โรคระบาดในคร้ังนี้หรือในอนาคตได้ โดยหากแต่ละครวั เรือนมีองคค์ วามรู้เก่ียวกับการเพาะปลูก
กระบวนการดูแล สรรพคุณของพชื สมนุ ไพรไทย และสามารถปลูกไวป้ ระจำครวั เรอื นได้ จะยังประโยชน์ท้งั แก่
ตนเอง ครอบครัว และชุมชน ซงึ่ ในอนาคตอาจสามารถใชเ้ ปน็ อาหารเสรมิ หรอื ยาสามญั ประจำบา้ น (ท่อี ย่บู น
ดิน) และลดการพง่ึ พาระบบสาธารณสุขหรือการแพทยใ์ นกรณีทีเ่ กิดสภาวะฉุกเฉินนอ้ ยลง
ดังนัน้ คณะเกษตรศาสตร์ โดย อาจารย์ดร.ธนะชัย พันธเ์ กษมสุข มีหน่วยห้องปฏบิ ตั ิการทางการ
วเิ คราะห์ท่ีจะบรกิ ารให้คำปรึกษา สำหรับเกษตรกรทสี่ นใจ ในการหาความรู้เรือ่ งสารสกดั จากสมนุ ไพรไทยใน
การปอ้ งกนั โรคสำหรบั คนท่สี นใจ นอกจากวตั ถุดิบท่เี ป็นองคป์ ระกอบหลักในการผลิตยาสมนุ ไพรแลว้ ยังต้องมี
เทคโนโลยใี นการผลติ ทีต่ ้องสร้างความมัน่ ใจในความปลอดภยั ตอ่ ผู้บรโิ ภค
ข้อมูลและแหลง่ ทีม่ า : https://www.agri.cmu.ac.th/2017/webs/mainmenu_detail/4/3618/3
๕
บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกดุ บาก จัดโครงการ“ลา้ นเมลด็ พันธุ์” ต้าน
ภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand) ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ณ
กศน.ตำบลกุดบาก กศน.ตำบลนาม่อง และ กศน.ตำบลกุดไห โดยมีกลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปในพื้นท่ี
อำเภอกดุ บาก จำนวน 24 คน มีวิธีดำเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี
1. วธิ ีการดำเนินงาน
กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้า พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
หมาย ดำเนนิ การ
-
๑. สำรวจ/ ๑. ทราบขอ้ มูลเพอื่ วางแผน ประชาชนท่ัวไปใน จำนวน 24 1. กศน.ตำบล 19 ส.ค. ๖4
-
รวบรวม/วิเคราะห์ จัดกิจกรรม พน้ื ท่ี คน กดุ บาก -
-
อำเภอกดุ บาก 2. กศน.ตำบล งบกจิ กรรมค่า
การศกึ ษาเพื่อ
นาม่อง พัฒนาสงั คม
และชมุ ชน
3. กศน.ตำบล 9,600 บาท
กุดไห -
๒.ประชมุ วางแผน ๒. เพ่อื วางแผนออกแบบ ผูบ้ ริหาร/คณะครู 11 คน กศน.อำเภอ 25 ส.ค. ๖4
คำสั่ง/มอบหมาย กิจกรรมและมผี รู้ ับผดิ ชอบ กศน. อำเภอ ๑ คน
งาน กุดบาก กดุ บาก
๓. เพื่อการดำเนินงานบรรลุ
๓.เขียน/ขออนมุ ัติ ตามวัตถุประสงค์ ครูผรู้ ับผดิ ชอบ กศน.อำเภอ 3 ก.ย. ๖4
โครงการ ๔. เพอื่ เขา้ ร่วมโครงการจดั กุดบาก
กระบวนการเรยี นรู้ ประชาชนทั่วไปใน จำนวน 24
๔. ประสานกลุม่ พืน้ ที่ คน 3 ตำบล 26 ส.ค. – 6
เป้าหมาย อำเภอกุดบาก อำเภอ ก.ย. ๖4
กดุ บาก
๕. ดำเนินการตาม ๕. เพือ่ จัดกระบวนการ ประชาชนทั่วไปใน จำนวน 24
พื้นที่ คน 1. กศน.ตำบล 7 ก.ย. ๖4
โครงการที่ เรียนรู้ใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมาย อำเภอกดุ บาก กุดบาก
2. กศน.ตำบล
วางแผนไว้ - แจกสื่อการเรียน และใบ นาม่อง
3. กศน.ตำบล
งานเรื่องการใชส้ มนุ ไพรไทย กุดไห
ในการดแู ลสขุ ภาพและ
บรรเทาอาการจากโรคโค
วิด-19
- แจกส่ือการเรยี น และใบ
งานเรือ่ งตำรับยาสมนุ ไพรท่ี
ใชด้ แู ลสุขภาพและบรรเทา
อาการ
- สรุปผลการเรียนรู้
๖.ประเมินผล ๕.เพอื่ ประเมนิ /วดั ผลสำเรจ็ ครู กศน. ๒ คน กศน.อำเภอ 14 ก.ย. 64
กุดบาก
สรุป/รายงานผล
๖
2. งบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 ไตรมาส 4 แผนงาน พื้นฐานด้านการ
พฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ กิจกรรมจัดการ
ศึกษานอกระบบ ค่าการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน (ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน 2564)
รหัสงบประมาณ 2000236004000000 แหล่งของเงิน 6411200 ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอ กุดบาก ประมาณการค่าใชจ้ ่าย ดังน้ี
1. ค่าคมู่ อื การใชส้ มุนไพรไทย เปน็ เงิน 1,920 บาท
2. คา่ ตน้ กล้า กระชายขาวและฟ้าทะลายโจร เป็นเงนิ 2,880 บาท
3. คา่ วสั ดุจัดใบความรแู้ ละใบงาน เป็นเงิน 4,800 บาท
รวมเป็นเงนิ ท้งั สิ้น 9,600 บาท (เก้าพนั หกร้อยบาทถว้ น)
หมายเหตุ : ทุกรายการถัวจ่ายตามท่ีจา่ ยจริง
3. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสท่ี ๒ ไตรมาสท่ี ๓ ไตรมาสที่ ๔
กิจกรรมหลัก (ต.ค.-ธ.ค.๖3) (ม.ค.-ม.ี ค.๖4) (เม.ย.-ม.ิ ย.๖4) (ก.ค.-ก.ย.๖4)
กิจกรรมจดั โครงการ“ลา้ นเมล็ด ..........-.......... ..........-.......... ..........-.......... 9,600 บาท
พนั ธุ์” ตา้ นภยั Covid-19 (รปู แบบ
On line และ On hand)
4. ระยะเวลาการดำเนินงาน
- วันท่ี 7 กนั ยายน 2564
5. สถานทีด่ ำเนินงาน
- ตำบลกุดบาก
- ตำบลนาม่อง
- ตำบลกุดไห
6. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
- ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอกดุ บาก
๗
บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกดุ บาก จัดโครงการ“ล้านเมลด็ พันธ”ุ์ ต้าน
ภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand) ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ณ
ตำบลกุดบาก ตำบลนาม่อง และตำบลกุดไหโดยมีกลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปในพื้นที่ อำเภอกุดบาก
จำนวน 24 คน มวี ธิ ดี ำเนินการดงั ตอ่ ไปนี้
เกณฑ์ท่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
การวเิ คราะห์ข้อมูลมีระดับคะแนน ดงั น้ี
มคี วามพึงพอใจมากท่สี ุด ระดับคะแนน เท่ากับ 5
มคี วามพึงพอใจมาก ระดบั คะแนน เท่ากับ 4
มคี วามพงึ พอใจปานกลาง ระดับคะแนน เท่ากบั 3
มคี วามพงึ พอใจน้อย ระดับคะแนน เท่ากับ 2
มีความพงึ พอใจนอ้ ยท่ีสุด ระดบั คะแนน เท่ากบั 1
การหาค่าเฉลยี่
เปรียบเทยี บค่าเฉล่ยี กับเกณฑก์ ารประเมนิ คา่ เฉลี่ย ของ บุญชม ศรีสะอาด 2532 : 111
ค่าเฉล่ยี ระดบั 4.51 – 5.00 มีความพึงพอใจมากท่ีสุด
ค่าเฉลี่ยระดบั 3.51 – 4.50 มีความพงึ พอใจมาก
ค่าเฉลี่ยระดับ 2.51 – 3.50 มีความพึงพอใจปานกลาง
คา่ เฉลี่ยระดบั 1.51 – 2.50 มีความพึงพอใจน้อย
คา่ เฉล่ยี ระดับ 1.00 – 1.50 มคี วามพึงพอใจน้อยทสี่ ดุ
ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
ตารางท่ี 1 แสดงจำนวน ร้อยละ ของเพศผ้ตู อบแบบประเมนิ
เพศ จำนวน(คน) ร้อยละ
ชาย 11 45.8
หญิง 13 54.2
รวม 24 100
จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบประเมินเปน็ เพศหญิงมากกว่าเพศชาย
ตารางท่ี 2 แสดงจำนวน ร้อยละ ของอายุผตู้ อบแบบประเมิน
อายุ จำนวน(คน) ร้อยละ
อายุตำ่ กวา่ 15 ปี 0 0
อายุ 15-39 ปี 14 58.3
อายุ 40-59 ปี 10 41.7
60 ปีขนึ้ ไป 0 0
รวม 24 100
จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมนิ สว่ นใหญ่อายุ 15-39 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 58.3 รองลงมาอายุ
40-59 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 41.7
๘
ตารางที่ 3 แสดงจำนวน ร้อยละ ของระดบั การศกึ ษาผตู้ อบแบบประเมนิ
ระดับการศึกษา จำนวน(คน) ร้อยละ
ประถมศกึ ษา 0 0
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 14 58.3
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 10 41.7
รวม 24 100
จากตารางที่ 3 พบวา่ ผ้ตู อบแบบประเมินสว่ นใหญ่ มรี ะดับการศกึ ษาอยใู่ นระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น
คดิ เป็นร้อยละ 58.3 รองลงมาอยใู่ นระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 41.7
ตารางที่ 4 แสดงจำนวน รอ้ ยละ ของอาชพี ผู้ตอบแบบประเมิน
อาชีพ จำนวน(คน) รอ้ ยละ
ว่างงาน 4 16.7
รับจ้าง 8 33.3
เกษตรกรรม 11 45.8
อื่นๆ 1 4.2
รวม 24 100
จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 45.8 รองลงมา
รบั จา้ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3 วา่ งงาน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.7 และอืน่ ๆคิดเป็นรอ้ ยละ 4.2
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหร์ ะดับความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผรู้ ับบริการ
ตารางท่ี 5 แสดงความพงึ พอใจของผเู้ รียน/ผ้รู ับบรกิ าร ด้านสภาพแวดล้อม
ระดบั ความคิดเหน็
ประเด็นการประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย คา่ เฉล่ี (S.D) ผลลพั ธ์
ทีส่ ดุ กลาง ท่ีสดุ ย(X ) มากทีส่ ดุ
0.576 มากที่สดุ
1. ความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานท่ใี น 16 7 1 4.63 มากทสี่ ดุ
การจัดกจิ กรรม 0.464
0.520
2. มกี ารใหบ้ รกิ ารอ่นื ๆ ทเ่ี อ้ืออำนวยตอ่ การ
เข้าใช้บรกิ าร (เชน่ ห้องน้ำ, พัดลม, อาหาร 17 7 4.71
ว่าง ฯลฯ)
ค่าเฉลี่ยรวม 4.67
จากตารางท่ี 5 พบว่าผตู้ อบแบบประเมนิ มีความพงึ พอใจความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานที่ในการ
จัดกิจกรรม และการให้บริการอื่นๆ ที่เอื้ออำนวยต่อการเข้าใช้บริการ (เช่น ห้องนำ้ , พัดลม, อาหารว่าง ฯลฯ)
ในระดบั มากทีส่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 4.63 และ 4.71
๙
ตารางที่ 6 แสดงความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผรู้ ับบริการ ดา้ นปจั จัยนำเข้า
ระดบั ความคิดเห็น
ประเดน็ การประเมิน มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย คา่ เฉลีย่ (S.D) ผลลพั ธ์
ทสี่ ดุ กลาง ทีส่ ุด (X )
0.590 มาก
1. เนื้อหาการบรรยายมีความเหมาะสมตรง 13 10 1 4.50 0.588 มาก
กับความตอ้ งการ 0.589 มาก
2. ผเู้ รยี น/ผรู้ ับบริการมคี วามรู้ความเขา้ ใจใน 12 11 1 4.46
เนอื้ หาการจดั กิจกรรม
คา่ เฉล่ียรวม 4.48
จากตารางที่ 6 พบว่าผูต้ อบแบบประเมินมีความพงึ พอใจเนือ้ หาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตรงกบั
ความต้องการ และผู้เรียน/ผู้รับบรกิ ารมีความรูค้ วามเขา้ ใจในเนื้อหาการจัดกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดบั
มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 4.50 และ 4.46
ตารางที่ 7 แสดงความพึงพอใจของผูเ้ รียน/ผู้รบั บรกิ าร ด้านกระบวนการ
ระดับความคิดเห็น
ประเดน็ การประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ค่าเฉล่ีย (S.D) ผลลพั ธ์
13 กลาง ทสี่ ุด (X )
ทีส่ ดุ 7 0.509 มาก
6 0.576 มากทีส่ ดุ
1. สื่อ/วัสดุอปุ กรณป์ ระกอบกจิ กรรมการ 11 5 4.46 0.442 มากที่สุด
เรยี นรู้มีความเหมาะสม 0.415 มากที่สดุ
0.656 มากทส่ี ุด
2. ความสามารถและทักษะในการถา่ ยทอด 16 1 4.63
ความรูข้ องวิทยากร
3. ผรู้ ับบริการมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรม/ 18 4.75
ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4. ความหลากหลายของกิจกรรมท่ีจัด 19 4.79
กิจกรรม 4.66
ค่าเฉลี่ยรวม
จากตารางที่ 7 พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจ ความสามารถและทักษะในการถ่ายทอด
ความรู้ของวิทยากร ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม/ฝึกปฏิบัติ ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัด
กิจกรรม ในระดับ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 4.63 4.75 และ 4.75 รองลงมา สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบ
กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความเหมาะสม ในระดบั มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.46
๑๐
ตารางท่ี 8 แสดงความพึงพอใจของผ้เู รียน/ผูร้ บั บรกิ าร ด้านผลผลิต
ระดับความคิดเห็น
ประเดน็ การประเมนิ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ค่าเฉลย่ี (S.D) ผลลพั ธ์
ทสี่ ุด กลาง ทสี่ ุด (X )
0.532 มากทส่ี ุด
1. สามารถถ่ายทอดและเผยแพรค่ วามรแู้ ก่ 19 4 1 4.75 0.588 มากท่สี ดุ
ผู้อนื่ ได้ 0.560 มากที่สดุ
2. สามารถนำความรูแ้ ละทกั ษะไปใชใ้ นการ 14 9 1 4.54
พัฒนาการศึกษาและทกั ษะชีวิตได้
คา่ เฉลี่ยรวม 4.65
จากตารางท่ี 8 พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมินมีความพึงพอใจ ในการสามารถถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้
แก่ผู้อื่นได้ สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในการพัฒนาการศึกษาและทักษะชีวิต ในระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 4.75 และ 4.54
๑๑
บทที่ 5
สรปุ ผล และรายงานผลการดำเนินโครงการ
ในการจดั กิจกรรม โครงการ“ลา้ นเมลด็ พันธ”ุ์ ต้านภยั Covid-19 (รปู แบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564ปีงบประมาณ 2564 ณ กศน.อำเภอกดุ บาก โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนท่ัวไปในพ้ืนที่ อำเภอกดุ บาก จำนวน 24 คน ผลการดำเนินโครงการเป็นดังนี้
1. วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ให้ประชาชนท่ัวไปในพ้นื ท่ี อำเอกุดบาก มีความรูค้ วามเขา้ ใจในการใช้สมนุ ไพรไทยในการดูแล
สขุ ภาพและบรรเทาอาการจากเชือ้ ไวรสั โควดิ -19
๒. เพือ่ ให้ประชาชนทว่ั ไปในพนื้ ที่ อำเอกดุ บาก มีความตระหนกั ถงึ และเหน็ ความสำคญั ของสมุนไพร
ไทย
๓. เพือ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนท่ัวไปในพ้ืนที่ อำเอกดุ บาก สามารถนำสมนุ ไพรไปปรบั ใช้ใน
ชีวติ ได้อย่างปลอดภัยและเกิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด
2. ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั
1. ประชาชนท่วั ไปในพน้ื ที่ อำเอกดุ บาก มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมนุ ไพรไทยในการดูแล
สขุ ภาพและบรรเทาอาการจากโรคโควิด-19
2. ประชาชนทั่วไปในพ้นื ท่ี อำเอกดุ บาก มีความตระหนักถงึ และเห็นความสำคัญของสมนุ ไพร
ไทย
3. ประชาชนท่ัวไปในพื้นที่ อำเอกุดบาก สามารถนำสมุนไพรไปปรับใชใ้ นชีวติ ได้อย่างปลอดภัย
และเกิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด
3. วิธกี ารดำเนนิ โครงการ
กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ พืน้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ
หมาย ดำเนนิ การ
-
๑. สำรวจ/ ๑. ทราบข้อมูลเพอื่ วางแผน ประชาชนทว่ั ไปใน จำนวน 24 1. กศน.ตำบล 19 ส.ค. ๖4
-
รวบรวม/วิเคราะห์ จดั กิจกรรม พ้นื ท่ี คน กุดบาก -
-
อำเภอกดุ บาก 2. กศน.ตำบล
นามอ่ ง
3. กศน.ตำบล
กุดไห
๒.ประชุมวางแผน ๒. เพ่อื วางแผนออกแบบ ผู้บริหาร/คณะครู 11 คน กศน.อำเภอ 25 ส.ค. ๖4
คำสง่ั /มอบหมาย กิจกรรมและมผี รู้ บั ผิดชอบ กศน. อำเภอ ๑ คน
งาน กุดบาก กุดบาก
๓. เพ่อื การดำเนินงานบรรลุ
๓.เขียน/ขออนมุ ัติ ตามวตั ถุประสงค์ ครผู รู้ บั ผิดชอบ กศน.อำเภอ 3 ก.ย. ๖4
โครงการ ๔. เพอื่ เข้าร่วมโครงการจดั กุดบาก
กระบวนการเรียนรู้ ประชาชนทว่ั ไปใน จำนวน 24 26 ส.ค. – 6
๔. ประสานกลุ่ม พื้นท่ี คน 3 ตำบล ก.ย. ๖4
เปา้ หมาย อำเภอกุดบาก อำเภอ
กุดบาก
๑๒
๕. ดำเนนิ การตาม ๕. เพอ่ื จัดกระบวนการ ประชาชนท่ัวไปใน จำนวน 150 1. กศน.ตำบล 7 ก.ย. ๖4 งบกิจกรรมค่า
โครงการท่ี เรยี นร้ใู ห้กับกลุ่มเปา้ หมาย พ้ืนที่ คน กุดบาก 14 ก.ย. 64 การศึกษาเพอ่ื
วางแผนไว้ - แจกส่อื การเรียน และใบ อำเภอกดุ บาก พัฒนาสงั คม
งานเรอื่ งการใชส้ มนุ ไพรไทย 2. กศน.ตำบล และชมุ ชน
๖.ประเมินผล ในการดูแลสุขภาพและ ครู กศน. นามอ่ ง 9,600 บาท
สรุป/รายงานผล บรรเทาอาการจากโรคโค 3. กศน.ตำบล
วดิ -19 กดุ ไห -
- แจกสื่อการเรยี น และใบ ๒ คน กศน.อำเภอ
งานเร่ืองตำรบั ยาสมุนไพรที่ กุดบาก
ใช้ดแู ลสุขภาพและบรรเทา
อาการ
- สรปุ ผลการเรยี นรู้
๕.เพื่อประเมิน/วดั ผลสำเร็จ
4. สรปุ ผล/อภปิ รายผลการดำเนินโครงการ
1. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนท่ี 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 เป็นเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย
2. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรยี นที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่อายุ 15-39 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 58.3 รองลงมา
อายุ 40-59 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.7
3. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษา
ตอนต้น คดิ เปน็ ร้อยละ 58.3 รองลงมาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย คดิ เป็นรอ้ ยละ 41.7
4. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรยี นท่ี 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.8 รองลงมา
รบั จา้ ง คิดเปน็ ร้อยละ 33.3 ว่างงาน คิดเป็นร้อยละ 16.7 และอ่ืนๆคิดเป็นรอ้ ยละ 4.2
5. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจความเหมาะสมในระยะเวลา/สถานที่ใน
การจัดกิจกรรม และการให้บริการอื่นๆ ที่เอื้ออำนวยต่อการเข้าใช้บริการ (เช่น ห้องน้ำ, พัดลม, อาหารว่าง
ฯลฯ) ในระดับ มากทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ 4.63 และ 4.71
6. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจเนือ้ หาการบรรยายมีความเหมาะสมตรง
กับความต้องการ และผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาการจัดกิจกรรม มีความพึงพอใจใน
ระดับ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.50 และ 4.46
๑๓
7. จัดโครงการ“ล้านเมล็ดพนั ธ์”ุ ต้านภัย Covid-19 (รปู แบบ On line และ On hand) ประจำภาค
เรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจ ความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดความร้ขู อง
วิทยากร ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม/ฝึกปฏิบัติ ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัดกิจกรรม ใน
ระดับ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 4.63 4.75 และ 4.75 รองลงมา สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการ
เรยี นรมู้ ีความเหมาะสม ในระดับ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 4.46
8. ผู้เข้าร่วมจัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจ ในการสามารถถ่ายทอดและเผยแพร่
ความรู้แก่ผู้อื่นได้ สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในการพฒั นาการศึกษาและทักษะชีวิต ในระดับความพงึ
พอใจ มากที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.75 และ 4.54
จัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand) ประจำภาค
เรียนที่ 1/2564 ปีงบประมาณ 2564 ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 24 คน โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
ทั้งหมด 24 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการ และพบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมคี วามพึ่งพอใจใน
การจดั จัดโครงการ“ล้านเมล็ดพันธ์”ุ ต้านภยั Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand) ประจำภาคเรียน
ที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564 ในระดับ มากท่สี ุด คิดเป็นร้อยละ 4.61 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.581
5. ปัญหาและอปุ สรรค
- ไม่มี
6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไข
- ไม่มี
๑๔
ภาคผนวก
- ภาพกจิ กรรม
- โครงการ
- คณะผู้จัดทำ
๑๕
ภาพกิจกรรม
จดั โครงการ“ล้านเมลด็ พนั ธุ์” ต้านภัย Covid-19 (รูปแบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564
ภาพกิจกรรม : โครงการ“ลา้ นเมลด็ พันธ”์ุ ต้านภยั Covid-19
(รูปแบบ On line และ On hand)
๑๖
ภาพกจิ กรรม(ต่อ)
จดั โครงการ“ล้านเมล็ดพนั ธุ์” ต้านภยั Covid-19 (รปู แบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564
ภาพกจิ กรรม : โครงการ“ล้านเมล็ดพันธ”ุ์ ตา้ นภยั Covid-19
(รูปแบบ On line และ On hand)
๑๗
ภาพกจิ กรรม(ต่อ)
จัดโครงการ“ล้านเมล็ดพนั ธุ์” ต้านภยั Covid-19 (รปู แบบ On line และ On hand)
ประจำภาคเรียนที่ 1/2564 ปงี บประมาณ 2564
ภาพกจิ กรรม : โครงการ“ล้านเมล็ดพันธ”ุ์ ตา้ นภยั Covid-19
(รูปแบบ On line และ On hand)
๑๘
คณะผ้จู ัดทำ
ที่ปรกึ ษา
นางปทั มา เวียงอินทร์ ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอกดุ บาก
คณะทำงาน/ข้อมูล/ประสานงาน ตำแหน่ง ครู ผู้ช่วย
ตำแหน่ง ครู อาสาสมคั รฯ
1. นางสาวนิตยา โชตบิ รู ณ์
2. นายวชั ระ สรุ ยิ วงค์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
3. นางสาวศรภี ทั รฌาย์ สทิ ธิธร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
4. นางสาวพมิ ลรัตน์ ทิพยค์ ำมี
5. นายทินกร มาตราช ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
ตำแหน่ง ครู ศรช.
6. นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ
7. นางจุฑามาศ ดาบพลอ่อน ตำแหน่ง ครู ศรช.
ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์
8. นายธนั ยพฒั น์ เถาวัลยด์ ี ตำแหนง่ เจ้าหน้าทีบ่ ันทกึ ข้อมูล
9. นางสาวกนกอร ทพิ ยส์ วุ รรณ
10.นางสาววลิ าวลั ย์ ลามคำ
รวบรวม/เรยี บเรียง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ
ออกแบบปก/รูปเลม่ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
นางสาวอรอุมา ดาบลาอำ