เครอ่ื งมือวดั และประเมินผล
“ความสามารถในการอา่ นและการเขยี น”
(ฉบบั นกั เรียน)
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4
ปงี บประมาณ ๒๕๖๕
สถาบนั ภาษาไทย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สงวนลขิ สทิ ธ์ิ
-๑-
ฉบบั ที่ 1 การอ่าน
คาชแ้ี จง (ครอู ่านคาช้แี จงให้นกั เรียนฟัง)
ให้นกั เรยี นตอบคาถาม โดยเขียนเคร่ืองหมาย X ทับตัวอักษร ก. ข. ค. หรอื ง.
หนา้ คาตอบทถี่ ูกต้อง ใช้เวลา 6๐ นาที
อ่านขอ้ ความในข้อ 1 - 3 แลว้ เลอื กตวั เลือกทเ่ี ตมิ ในชอ่ งวา่ งเพ่ือใหข้ อ้ ความ
มีความสมบูรณ์
1. คณุ แม่มี ................ ในการทาอาหารให้อร่อย
ก. อุบาย ข. เสนห่ ์
ค. วิธกี าร ง. แนวทาง
2. นักกีฬาใส่เสือ้ เชยี รส์ สี ม้ สด ................ ข. ฉาบฉวย
ก. ฉูดฉาด ง. ฉาบหนา้
ค. ฉาดฉาน
3. หา้ งสรรพสินคา้ มีสนิ ค้าแต่ละชนิดวางจาหน่าย ................
ก. ยบุ ยับ ข. มากมาย
ค. เยอะแยะ ง. เกล่ือนกลาด
อ่านข้อความในข้อ 4 - 6 แล้วเลอื กตวั เลือกทใ่ี ชค้ าหรือสานวนไมถ่ กู ต้อง
4. ก. สดุ าไม่สบายเธอจึงไม่มาโรงเรียน
ข. เจา้ ด่างดุมากมันเลยถกู แกล้งบอ่ ย
ค. สมชายรกั การอา่ นเขาจึงเขา้ หอ้ งสมดุ
ง. หลวงตาขาเคลด็ แกก็เลยไม่มาบิณฑบาต
5. ก. แก้วทางานเสร็จลงอย่างราบรนื่
ข. นลิ ปรงุ ลาบเป็นอาหารกลางวนั
ค. เพชรได้กนิ อาหารอร่อยเป็นลาภปาก
ง. ทองชมทวิ ทศั น์ของท้องนา้ ที่ลาบเรียบ
-๒-
6. ก. ถา้ ไม่ใชส้ ติกจ็ ะเปน็ กระตา่ ยตน่ื ตมู
ข. ถงึ จะโกรธกต็ ้องน้าข่นุ ไว้ใน น้าใสไว้นอก
ค. ถา้ อยู่ในอันตรายอย่าตกใจให้ทาใจดีสูเ้ สอื
ง. ถ้ามีความขยัน แม้จะยากจนกส็ ามารถเงยตาอ้าปากได้
7. ข้อใดเรยี งคาในประโยคไม่ถูกตอ้ ง
ก. นกั รอ้ งไพเราะมากเสยี งเธอ
ข. นักท่องเท่ียวชมตลาดอย่างสนใจ
ค. นกั ข่าวคนนน้ั ถ่ายภาพการแข่งเรือ
ง. นกั เรียนเข้าแถวกันอย่างมีระเบียบ
8. ข้อใดมคี าตายนอ้ ยที่สุด
ก. แมวมองมาเม่ือมันมีมด
ข. งงู มงายหงายเงิบเนบิ นาบช้า
ค. ลงิ เริม่ หลงไหลรันทดหมดศรทั ธา
ง. ไก่ กา กบ กงุ้ สะดงุ้ กายหมายกรรมนาชีวิต
9. ขอ้ ใดเปน็ ประโยค
ก. ตน้ ไผ่สูง
ข. แผ่นดนิ กวา้ งใหญไ่ พศาล
ค. ผนื น้านี้มีราคามากมหาศาล
ง. ความสามารถในการเรยี นรู้ของคนเรานัน้
10. ขอ้ ใดเรยี งคาในพจนานกุ รมไม่ถูกต้อง
ก. สกล สงสยั สด
ข. วณิช วนาลี วลยั
ค. รกชัฏ รถทัวร์ ราชนิ ี
ง. องครักษ์ อธิการ อดุลย์
-๓-
อ่านบทอ่านตอ่ ไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ 11 - 12
พายหุ วนปว่ นคลนื่ เสยี งคร้ืนครึก ลนั่ พลิ ึกโกลามาข้างหลงั
ยังดึกดน่ื คล่ืนล่นั สน่ันดัง เพียงจะพงั แผน่ ผาสุธาธาร
สาเภาโผนโยนโยกโบกสะบดั หางเสอื พลดั เพลงพลาดเสียงฉาดฉาน
เหล่าลา้ ต้าต้นหนพวกคนงาน ตา่ งเซซานซวนทรงไมต่ รงกาย
1๑. ขอ้ ใดเปน็ สมั ผัสบงั คับ ข. ดื่น - คลื่น
ก. ผา - ธา ง. งาน - ซาน
ค. เพยี ง - พงั
1๒. จากบทประพันธ์นใ้ี หค้ วามรสู้ กึ ใดแกผ่ ้อู า่ น
ก. โกรธ ข. สะเทอื นใจ
ค. มอี ารมณข์ ัน ง. ต่นื เตน้ ระทึกใจ
อา่ นบทอา่ นตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม ข้อ 13 - 14
สดุ สาครอ่อนจติ คิดสงสาร จงึ ทดั ทานทลู ท้าวเจา้ กรุงศรี
วา่ ขอโทษโปรดอยา่ ใหฆ้ ่าตี เหตทุ ั้งน้เี พราะวา่ กรรมกระทาไว้
ไมห่ ุนหันฉันทาพยาบาท นึกว่าชาตกิ ่อนกรรมทาไฉน
จะฆ่าฟนั มันก็ซ้าเปน็ กรรมไป ต้องเวยี นวา่ ยเวทนาอยูช่ า้ นาน
1๓. จากบทประพันธใ์ ห้ความสาคญั กบั เรอื่ งใดมากท่ีสุด
ก. กรรม ข. การขอโทษ
ค. ความสงสาร ง. ความพยาบาท
1๔. จากบทประพันธ์แสดงให้เหน็ ลักษณะนิสัยของผ้พู ูดอย่างไร
ก. งมงาย ข. เมตตา
ค. อ่อนแอ ง. เฉลยี วฉลาด
-๔-
อา่ นบทอ่านต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม ข้อ 1๕ - 1๖
ฤดูเกบ็ เกย่ี วต้องการแรงงานมาก คนทั้งหมู่บ้านจะช่วยกันเกี่ยวข้าวเป็นเจ้า ๆ
จนกว่าจะแล้วเสร็จ จากนั้นการตีนวดโดยแรงงานในครอบครัวจะเร่ิมต้นข้ึน
คืนเดือนหงาย จันทร์กระจ่างฟ้าลมหนาวพัดหวีดหวิว แต่การได้ออกแรงและกองไฟ
ลุกโพลงอยู่ไม่ไกล ช่วยให้ไม่หนาวเท่าใดนัก พ่อ แม่ พี่ชาย พี่สะใภ้ และยาซิ*
รวมเป็นห้าแรงยืนล้อมเสื่อนวดข้าวผืนใหญ่ รางไม้ต้ังเอน ๆ เป็นท่ีรองรับฟ่อนข้าว
ที่ถูกฟาดเสียงฉับ ๆ ดังข้ึน และเมล็ดข้าวก็ไหลลงกองรวมกัน กลางวันเก่ียวข้าว
เพอ่ื นบา้ น กลางคืนนวดขา้ วตวั เอง แรงงานในหมบู่ ้านใชเ้ วลาขนข้าว และนวดข้าว
อยูส่ ่ีคืนจนแล้วเสรจ็
*ยาซิ คือ ชอ่ื ตัวละคร
1๕. จากบทอ่านแสดงให้เห็นคณุ ลกั ษณะใดของคนในสังคม
ก. ซอ่ื สัตย์ ข. ความสามคั คี
ค. ความเอือ้ เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ ง. ความขยันหมนั่ เพียร
1๖. หากทุกคนในสังคมมคี ณุ ลกั ษณะเชน่ เดียวกันจะส่งผลอยา่ งไร
ก. ชาวบ้านไดข้ า้ วมากขึน้
ข. ชาวบา้ นมีสขุ ภาพแข็งแรง
ค. งานทกุ งานสาเร็จลลุ ่วงด้วยดี
ง. หมู่บา้ นได้รบั การคดั เลอื กเป็นหม่บู า้ นตัวอยา่ ง
อา่ นบทอา่ นตอ่ ไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ 1๗ - 1๘
“ยิ้มของพี่ทองเหมือนโรคติดต่อ ยิ้มที่ส่งมาจากหัวใจระร่ืนต่อสายตรง
ถึงปากและแววตา แผ่รัศมีเป็นคล่ืนรอบ ๆ เหมือนเวลาโยนก้อนหินลงน้า
จนคนรอบข้างร้สู ึกได้”
1๗. ขอ้ ใดเป็นนา้ เสยี งของผู้เล่าในบทอา่ น ข. ชน่ื ชม
ก. ตัดพอ้ ง. ยกย่อง
ค. เสยี ดสี
-๕-
1๘. จากบทอา่ นนี้ พที่ องมีคณุ ลักษณะอย่างไร
ก. มีความเสยี สละ ข. มองโลกในแงด่ ี
ค. มคี วามเป็นมิตร ง. มีความรบั ผดิ ชอบ
อ่านบทอา่ นตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถาม ขอ้ 1๙
วังกุ้ง คือ การเล้ียงกุ้งแบบบ่อธรรมชาติ ใช้เพียงการถ่ายเทน้าเข้าออกบ่อ
ทุกวันโดยอาศัยปรากฏการณ์น้าข้ึนน้าลงเป็นตัวช่วย พอน้าทะเลขึ้นก็เปิด
ประตูน้า ถา่ ยนา้ เขา้ บ่อ พอน้าทะเลลดระดับลงก็ถ่ายน้าออก น้าท่ีเข้ามาก็จะมี
อาหารธรรมชาติใหก้ ุ้งในวังของเรา รวมทั้งพวกสัตว์น้าต่าง ๆ ก็จะเข้ามาเติบโต
ภายในวงั ของเราด้วย
1๙. บทอ่านนใี้ ห้ความร้เู รอื่ งใด ข. การประกอบอาชพี
ก. สถานที่ทอ่ งเที่ยว ง. การเจริญเตบิ โตของกุ้ง
ค. ระบบนิเวศในทะเล
อ่านบทอ่านตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม ขอ้ 2๐
อันผใู้ ดใฝธ่ รรมเปน็ เนืองนิตย์ และรจู้ ักข่มจติ ไมย่ ่อหย่อน
ปฏิบัตพิ ร้อมพร่ังดังครูสอน คงไม่ต้องอนาทรและรอ้ นใจ
2๐. ข้อใดท่ีไมป่ รากฏในบทประพันธ์ขา้ งตน้
ก. การแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน
ข. การรู้จกั อดทนอดกลน้ั
ค. การเชือ่ ฟังคาสงั่ สอนของครู
ง. การใชห้ ลกั คาสอนทีค่ วรปฏิบตั ิ
-๖- ทม่ี า:
อ่านบทอา่ นต่อไปนี้ แลว้ ตอบคาถาม ขอ้ 21 - ๒๒
สิบไปหาร้อย นอ้ ยไปหามาก ชวี ิตไม่ลาบาก หากรู้จกั ออม
21. บทอ่านนม้ี คี วามหมายสอดคลอ้ งกบั ข้อใด
ก. รจู้ ักกนิ รจู้ ักใช้ ข. ความสขุ สบาย
ค. การขยนั ทามาหากนิ ง. การประหยัด มัธยัสถ์
2๒. บทอา่ นนเ้ี กี่ยวข้องกับสานวนใดมากทสี่ ดุ ข. เก็บหอมรอมริบ
ก. รู้จกั เก็บรู้จักงา ง. ช้าเปน็ การนานเปน็ คณุ
ค. ตนเปน็ ทพ่ี ่งึ แห่งตน
อา่ นบทอ่านตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม ข้อ ๒3 - 24
ในช่วงทฝี่ นตกชุกนี้ นา้ ข่นุ แดง กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทั้งล่องแก่ง กางเต็นท์พักแรม
กง็ ดไปด้วย แตเ่ จา้ หน้าที่อุทยานกอ็ นญุ าตให้เทยี่ วชมได้ ตน้ ไม้ใบหญ้าก็จะเขียวชอุ่ม
ดอกไม้และมอสเฟิร์นที่งอกงามขึ้นตามผนังหิน ดูสดช่ืนชุ่มฉ่าเพลินตาดี
ในท่ีเดียวกันนี้มีท่ีราบสูงและบริเวณหน้าผา ยังมีภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์
ซง่ึ เป็นลายเสน้ สีขาวยงั ดชู ดั ไมเ่ ลือนราง
23. บทอ่านนี้เกี่ยวขอ้ งกับเร่ืองใดมากทส่ี ดุ ข. สภาพภมู ปิ ระเทศ
ก. กจิ กรรมผจญภัย ง. ภาพเขยี นในประวัติศาสตร์
ค. พรรณไมข้ องไทย
24. จากบทอ่านน้ีเจ้าหนา้ ที่ของอทุ ยานน้แี นะนาเกย่ี วกับเรื่องใด
ก. การชมสถานที่ ข. การงดการทอ่ งเท่ยี ว
ค. การเตรยี มตัวกอ่ นเดินทาง ง. การระมัดระวังในการอยใู่ นอทุ ยาน
-๗-
อ่านบทอ่านตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม ขอ้ 25 - 26
หญิงชรายากจนคนหน่งึ อาศัยอย่รู มิ ป่าเพยี งลาพัง ขณะที่กาลงั หาหน่อไม้
ในป่า ได้พบหญิงสาวผู้หนึ่งนอนป่วยหนักอยู่ใต้ต้นไม้ หญิงชราจึงช่วยเหลือ
และพากลับไปดแู ลรกั ษาจนหายปว่ ย หญิงสาวผู้นั้นมีความคิดที่จะตอบแทนหญิงชรา
ด้วยคิดว่านางสู้ทนลาบากดูแลยามเจ็บไข้ได้ป่วย ทั้ง ๆ ที่นางก็ชรามากและมี
ฐานะยากจน หญงิ สาวผู้น้นั จงึ ไดร้ บั จา้ งทางานทกุ อย่างแมจ้ ะเหน็ดเหนื่อยเพียงใด
กไ็ ม่เคยยอ่ ท้อ เพ่ือนาเงนิ มาเล้ียงดหู ญิงชราใหส้ ุขสบายพ้นจากความยากจน
25. การกระทาของหญิงสาวแสดงให้เห็นถึงเรือ่ งอะไร
ก. การรบู้ ญุ คุณ ข. ความเพียรพยายาม
ค. การรกั ษาน้าใจผู้อ่ืน ง. การชว่ ยเหลือหญงิ ชรา
26. พฤติกรรมของหญิงชราแสดงให้เห็นแบบอยา่ งท่ีดีในเร่ืองใด
ก. ความอดทน ข. การเสียสละ
ค. ความเมตตา ง. ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
อ่านบทอา่ นต่อไปนี้ แลว้ ตอบคาถาม ข้อ 27 - 29
- องค์กรที่ให้ความช่วยเหลือเพ่ือนมนุษย์มีมาก ท่ีทาคุณประโยชน์ให้กับ
สังคมไทยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ คนกลุ่มน้ีได้ก่อตั้งขึ้นมาจากจิตอาสา
และจิตสานึกท่ีดี คอยช่วยเหลือผู้อื่นไม่ว่าจะเป็นงานที่เส่ียงอันตราย กลุ่มจิตอาสา
ไม่ย่อท้อ พร้อมท่ีจะช่วยเหลือเสมอ ถ้าคนในสังคมมีจิตอาสา สังคมไทยของเรา
จะน่าอยมู่ ากขึน้
27. บทอา่ นนส้ี รปุ ไดอ้ ยา่ งไร
ก. สังคมไทยของเรานา่ อยู่
ข. องคก์ รท่ที าประโยชน์ใหส้ ังคมไทย
ค. กลุ่มจิตอาสาทางานทเ่ี ส่ียงอนั ตราย
ง. จติ อาสาเป็นการช่วยเหลอื โดยไม่หวังผลตอบแทน
-๘-
28. การกระทาใดสอดคลอ้ งกับบทอ่านน้ีมากท่สี ุด
ก. การรวมกลมุ่ กันทางาน ข. การชว่ ยเก็บขยะในโรงเรยี น
ค. การทาชอ่ื เสียงให้กบั โรงเรียน ง. การรักษาสาธารณสมบัติของโรงเรียน
29. ข้อความทวี่ า่ “สังคมไทยของเราจะนา่ อยู่มากขน้ึ ” เป็นเพราะสาเหตใุ ด
ก. ความมวี ินยั ข. ความอดทน
ค. ความซอื่ สัตย์ ง. ความเสียสละ
อา่ นบทอ่านตอ่ ไปนี้ แล้วตอบคาถาม ข้อ 30 - 32
-๙-
30. ใครปฏิบัติไมถ่ ูกตอ้ งตามบทอา่ นนี้
ก. ปอ้ มปดิ ปากเมื่อไอ
ข. ปุย๋ ลา้ งมือดว้ ยสบู่ทุกครัง้
ค. ป้ัมหลกี เล่ยี งการอย่ใู กลผ้ เู้ ป็นไข้หวดั
ง. ปายมีไขส้ งู มาก ไอ และเจ็บคอ เลยไปซื้อยามารับประทาน
31. ข้อใดเป็นวตั ถุประสงคข์ องบทอา่ นน้ี ข. แนะนา
ก. ช้แี จง ง. ตักเตือน
ค. สงั่ สอน
32. ขอ้ มลู ใดไมป่ รากฏในบทอา่ นน้ี ข. วิธกี ารดูแลตนเอง
ก. การรกั ษาอาการ ง. การติดตอ่ เมื่อมขี อ้ สงสยั
ค. ท่ีมาของข้อความ
อา่ นบทอา่ นตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถาม ข้อ 33 - 36
-๑๐-
33. ขอ้ ใดไม่สอดคลอ้ งกบั บทอา่ นขา้ งต้น
ก. การกนิ ไข่ เหมาะกับคนทกุ วัย
ข. เดก็ อายุ ๖ เดอื น ควรกนิ ไขต่ ้มสุก
ค. ผู้สูงอายคุ วรรับประทานไขว่ นั ละ 1 ฟอง
ง. คนวัยทางานควรรบั ประทานไข่ทุกมอ้ื ของวนั
34. คุณแม่ปว่ ยเป็นโรคเบาหวาน คุณแม่ควรรับประทานไขอ่ ยา่ งไร
ก. ไม่เกินวันละ 1 ฟอง
ข. ไม่เกนิ วนั ละ 2 ฟอง
ค. ไมเ่ กินสัปดาห์ละ 2 ฟอง
ง. ไมเ่ กินสัปดาหล์ ะ 3 ฟอง
35. บทอา่ นนเ้ี กี่ยวขอ้ งกับเรอื่ งใดมากทส่ี ดุ
ก. การเลือกชนิดของไข่
ข. การทาอาหารจากไข่
ค. ปริมาณไขท่ ่คี วรรับประทาน
ง. ประโยชนจ์ ากการรับปะทานไข่
36. จากบทอ่านน้ี ข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง
ก. นักเรยี นควรกินไขท่ ุกวนั
ข. ไขไ่ กม่ ีประโยชน์มากท่ีสดุ
ค. ไข่ 3 ฟอง ใหพ้ ลงั งาน 240 กโิ ลแคลอรี
ง. คณุ แม่ทีใ่ หน้ มบตุ รควรกินไขว่ ันละ 1 ฟอง
-๑๑-
อ่านบทอ่านตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถาม ขอ้ 37 - 40
-๑๒-
37. สาระสาคัญของบทอ่านนคี้ อื อะไร
ก. คาแนะนาในการปัน่ จกั รยาน
ข. วธิ ีการดแู ลรถจักรยานในการปั่นจักรยาน
ค. การใช้ถนนอย่างปลอดภยั ขณะปั่นจกั รยาน
ง. การปฏบิ ตั ิตามขอ้ บังคับของนกั ป่ันจักรยาน
38. ขอ้ ใดไมค่ วรปฏบิ ตั ิในการปนั่ จกั รยาน
ก. สวมหมวกนริ ภัยและสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ สีสดใส
ข. เส้นทางทีข่ รุขระและเปียกล่ืนควรใช้ความเร็วลดลง
ค. ใชค้ วามเรว็ ในขณะทีใ่ กล้ข้ามทางแยกท่ไี มม่ รี ถยนต์ผา่ น
ง. ระมัดระวงั เมอ่ื ผ่านทางเลย้ี วโดยใชส้ ัญญาณมอื ลว่ งหน้า
39. ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั บทอ่านข้างต้น
ก. สวมหมวกนริ ภยั ทีม่ ีสสี นั สวยงาม
ข. ตรวจสอบสภาพรถจักรยานก่อนใช้งาน
ค. ให้สัญญาณมอื ล่วงหน้ากอ่ นจะลดความเรว็
ง. พอถงึ ทางแยกควรปัน่ จกั รยานดว้ ยความเรว็
40. ใครนาความรจู้ ากบทอา่ นนีไ้ ปใช้ในชวี ิตประจาวันได้เหมาะสม
ก. ก้อยปน่ั จักรยานเร็วขึ้นเม่ือขา้ งหนา้ ไมม่ ีรถ
ข. แก้วระมัดระวงั เม่ือขร่ี ถรถจักรยานยอ้ นศร
ค. กุง้ รีบปน่ั จักรยานใหเ้ ร็วขน้ึ เมอ่ื จะข้ามทางแยกข้างหนา้
ง. เกดตรวจเสยี งกระดิ่งก่อนข่ีจกั รยานไปโรงเรยี น
-๑๓-
ฉบับที่ 2 การเขยี น
ตอนที่ 1 การเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ
คาชแี้ จง (ครูอ่านคาช้แี จงให้นักเรียนฟงั )
ให้นกั เรียนเขยี นสรุปใจความสาคัญจากเร่ืองทีก่ าหนดให้ ด้วยตวั บรรจงครึ่งบรรทดั
ความยาวไม่เกิน 5 บรรทดั ใช้เวลา 3๐ นาที
เฒ่าจ๊วบกบั หนอนจบ๊ั
ในหมู่บา้ นเล็ก ๆ แหง่ หน่งึ มีตาคนหนึ่งช่ือว่า “เฒ่าจ๊วบ” ชอบหยิบอาหารด้วยมือ
เข้าปากแทนช้อน และเมื่อกินเสร็จแล้วก็จะดูดนิ้วที่เป้ือนคราบอาหารเสียงดัง
“จ๊วบ จว๊ บ จว๊ บ” ทุกคร้ังไป
วันหน่ึง ลุงทุ้ยเอาแตงโมมาฝากเฒ่าจ๊วบ “เฒ่าจ๊วบดีใจมาก เอาแตงโมเข้าเก็บ
บนบ้านท่ีเป็นกระท่อมโกโรโกโสยกพ้ืนสูง เฒ่าจ๊วบไม่เคยรู้เลยว่าท่ีใต้ถุนบ้านนั้น
เป็นที่อยอู่ าศยั ของบรรดาหนอนที่ชอบอยู่ในท่ชี น้ื แฉะ สกปรก และทสี่ าคัญมีหนอนแปลกหน้า
เพิ่งมาอยู่ใหม่ เจ้าหนอนตัวน้ีมีนิสัยคล้ายเฒ่าจ๊วบ คือ เมื่อกินอาหารเสร็จก็จะดูดปาก
เสยี งดัง “จับ๊ จ๊ับ จั๊บ” จนได้ชื่อว่า “หนอนจ๊ับ” คืนน้ันเอง เฒ่าจ๊วบรู้สึกหิวมากจนตื่น
ข้ึนมากลางดึก เลยจัดการอ้มุ แตงโมมาผา่ กนิ ตรงชานบา้ น เนื้อแตงโมชิ้นหนึง่ ไดห้ ล่นผ่าร่อง
พ้นกระดานตกลงไปบนดินแฉะ ๆ ใต้ถุนบ้าน ตรงกับรูหน้าโพรงบ้านของหนอนจ๊ับพอดี
หนอนจั๊บออกมาดู แล้วก็ได้พบเน้ือแตงโมที่หล่นลงมา หนอนจั๊บดีใจมาก กินแตงโม
ชิ้นนั้นทันที บนบ้านเฒ่าจ๊วบกาลังกินแตงโมอย่างเอร็ดอร่อย กินเสร็จก็ดูดน้ิวดัง
“จ๊วบ จ๊วบ จ๊วบ” ใต้ถุนบ้าน หนอนจ๊ับกินแตงโมเสร็จแล้วก็ดูดปากเสียงดัง “จั๊บ จั๊บ
จั๊บ” เฒ่าจ๊วบแปลกใจหยุดฟังแล้วดูดนิ้วต่อ “จ๊วบ จ๊วบ จ๊วบ” หนอนจั๊บแปลกใจหยุดฟัง
แล้วดูดปากต่อ “จั๊บ จ๊ับ จ๊ับ” เฒ่าจ๊วบตกใจเสียงประหลาด ลองดูดนิ้วดัง ๆ “จ๊วบ”
พอดีกับท่ีหนอนจั๊บกาลังตกใจคิดว่าเป็นเสียงสัตว์ประหลาดเหมือนกัน ลองดูดปาก
“จบ๊ั ” คราวนท้ี ง้ั เฒ่าจ๊วบและหนอนจบั๊ สะดุ้งตกใจพรอ้ มกัน
“ต้องเป็นสัตว์ประหลาดแน่ ๆ เลย มันคงโกรธคิดว่าเราดูดนิ้วล้อเลียนมัน
มันเลยดูดปากว่าอยากกินเราบ้าง” เฒ่าจ๊วบคิด “เจ้าสัตว์ประหลาดมันคงโกรธคิดว่า
เราดูดปากล้อเลียนมันแน่ ๆ เลย มันจะกินเราหรือเปล่านี่” หนอนจ๊ับคิดเหมือนกัน
หนอนจับ๊ กลัวรีบมุดเข้ารู เฒ่าจว๊ บกลวั รบี เข้าบา้ นมุดใต้ผา้ หม่ นอนคลมุ โปงท้ังคนื
ตัง้ แตว่ นั นั้น ท้ังเฒ่าจ๊วบและหนอนจ๊ับก็ไม่กล้าดูดนิ้วดดู ปากเสยี งดังอีกเลย
-๑๔-
ชื่อ ............................................................................................ ชนั้ ............. เลขที่ ............
………..………….………………………………………………
…………………..………….……………………………………………………………………………………………………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…
……..………….…………………………………………………………………………………………………….…………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………
……..…………..………….………………………………………………………………………………………………………........................
…….………………………………………………………………………………………………………………………..………………..............
-๑๕-
ฉบับที่ 2 การเขยี น
ตอนที่ 2 การเขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ
คาช้ีแจง (ครูอ่านคาชแี้ จงใหน้ กั เรียนฟัง)
ใหน้ ักเรียนเขยี นเร่ืองตามจินตนาการจากภาพทกี่ าหนดให้ได้ใจความสมบรู ณ์ ดว้ ยตัวบรรจง
ครึ่งบรรทัด ความยาว ๑๐ บรรทัด และตงั้ ชื่อเรือ่ งให้เหมาะสม ใชเ้ วลา ๓๐ นาที
-๑๖-
ช่ือ ............................................................................................ ช้นั ............. เลขท่ี ............
…………………..………….……...........…………………………………………..……
…………………..………….……………………………………………………………………………………………………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…
……..………….…………………………………………………………………………………………………….…………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………
……..…………..………….………………………………………………………………………………………………………........................
…….………………………………………………………………………………………………………………………..………………..............
……..………….…………………………………………………………………………………………………….…………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………
……..…………..………….………………………………………………………………………………………………………........................
…….………………………………………………………………………………………………………………………..………………..............
…….………………………………………………………………………………………………………………………..………………..............
-๑๗-