The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sala, 2022-01-14 05:48:45

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

Keywords: รายงานประจำปี 2564

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

สารจากสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

สำนกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช มีหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ 4 สวน คือ
1. การแนะนำสงเสริม ชวยเหลือ สนับสนุนใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร ดำเนินการเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงคในการจัดตั้ง สามารถเอื้ออำนวยประโยชนใหกับสมาชิก มีคุณภาพชวี ติ ดีขึ้นทั้งทางดานเศรษฐกิจ
และสังคม
2. กำกับ คุมครองสหกรณและกลุมเกษตรกรใหดำเนินการเปนไปตามพระราชบัญญัติ
สหกรณ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2553 กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ขอบังคับ ระเบียบ และมติของท่ี
ประชุมเพือ่ ปองกันไมใหเกิดปญหา และหากเกดิ ปญ หากแ็ กไ ข เยยี วยา เพอ่ื ผลประโยชนข องสมาชกิ โดยรวม
3. ปฏิบัติงานตามนโยบายของจังหวัดนครศรีธรรมราช นโยบายรัฐบาล นโยบาย
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพือ่ ประโยชนส ขุ ของประชาชนในพ้นื ที่รับผิดชอบ
4. ปฏิบัติงานภายในสำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อใหเกิดผลสำเร็จ
บรรลุวัตถุประสงคตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม และงบประมาณที่ไดรับจัดสรรใหเปนไปตาม
พระราชบัญญัตกิ ารจัดซือ้ จัดจาง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบทเี่ ก่ียวของ
การปฏิบัติงานทั้ง 4 สวน สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราชไดปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล
และดวยความรวมมือ รวมใจของบุคลากรภายในหนวยงาน ทำใหผลการปฏิบัติงานในรอบปที่ผานมา
เกิดผลสำเร็จไดรับรางวัลผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณของสำนักงานสหกรณจังหวัด
นครศรธี รรมราช ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ระดบั คุณภาพดีเลิศ อนั ดับที่ 3 จากกรมสง เสริมสหกรณ
จึงขอขอบคุณขาราชการ ลูกจางประจำ พนักงานราชการ หนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ ตลอดถึงสหกรณและกลุม
เกษตรกรท่ไี ดใหความรว มมอื ในการปฏบิ ตั งิ านกับสำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราชดวยดเี สมอมา

(นายไพฑรู ย ชนะชู)
ตำแหนง สหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

มกราคม 2565
สำนกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

ทำเนยี บบคุ ลากร สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

นายไพฑูรย ชนะชู
สหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช
(ระยะเวลาดำรงตำแหนง 14 ธ.ค. 2563 – ปจจุบัน)

1. ฝา ยบริหารทั่วไป จำนวน 15 ราย

ขา ราชการ 4 ราย

1. นางจันทมิ า ชะตาญาณ นกั จัดการงานท่ัวไปชำนาญการ
2. นางจฑุ ามาศ สวุ รรณบรู ณ นกั วิชาการสหกรณช ำนาญการ
3. นางรุจิรา ขำพล นกั วชิ าการสหกรณช ำนาญการ
4. นางสาวสมุ นา นาคแกว นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ

นางจนั ทมิ า ชะตาญาณ ลูกจางประจำ 7 ราย
นักจัดการงานทว่ั ไปชำนาญการ
1. นางสจุ ารี ธาตมุ าศ พนักงานพิมพ ส 4
หวั หนา ฝา ยบรหิ ารทว่ั ไป 2. นายประค่นิ โททอง พนกั งานพมิ พ ส 4
3. นายสมมารถ แสนเสนา พนักงานธรุ การ ส 4
4. นายพยุงศักดิ์ มณีวงศ พนักงานขับรถยนต ส 2
5. นายวมิ ล ศรรี กั ษา พนักงานขับรถยนต ส 2
6. นายประมุกข ทองนอก พนกั งานขบั รถยนต ส 2
7. นายไพบรู ณ สินภมู ิ พนกั งานขบั รถยนต ส 2

พนักงานราชการ 4 ราย
1. นางจฑุ ารตั น บวั ศรี นักวิเคราะหน โยบายและแผน
2. นางนริ ัตน เกาะแกว เจา พนกั งานธุรการ
3. นางสาวสภุ าพร พรมแกว เจา พนกั งานการเงนิ และบญั ชี
4. นางกฤษณา แดงขาว เจา พนกั งานสง เสรมิ สหกรณ

สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

2. กลมุ จดั ตัง้ และสง เสรมิ สหกรณ จำนวน 6 ราย

ขา ราชการ 3 ราย
1. นายชวรัตน มณโี ลกย นักวิชาการสหกรณชำนาญการพเิ ศษ
2. นายมนัย ขาวมานิตย นักวิชาการสหกรณชำนาญการ
3. นางปญ ญณ ฎั ฐ ศรีสัจจัง นกั วชิ าการสหกรณชำนาญการ

นายชวรัตน มณโี ลกย พนักงานราชการ 3 ราย
นกั วชิ าการสหกรณชำนาญการพเิ ศษ
1. นางสาวสภุ าภรณ แซจ ู นักวชิ าการสหกรณ
ผอู ำนวยการกลุม ฯ 2. นางสาวอไุ รวรรณ รามทัศน นักวชิ าการสหกรณ
3. นางสาวธญั ญาภรณ พรมมินทร นิตกิ ร

3. กลมุ สงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ จำนวน 5 ราย

ขาราชการ 3 ราย
1. นายโกเมต หอ ทอง นักวิชาการสหกรณชำนาญการพิเศษ
2. นางอำภรณ ลิ่มพาณชิ ย นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ
3. นางสาวนันทนภสั แทนโป นกั วิชาการสหกรณปฏิบัติการ

นายโกเมต หอ ทอง พนักงานราชการ 2 ราย
นกั วิชาการสหกรณชำนาญการพเิ ศษ 1. นางกฤตพร คงดำ เจา พนกั งานสงเสริมสหกรณ
2. นางรตั นะ ศรสี ุวรรณ เจาพนกั งานสง เสรมิ สหกรณ
ผอู ำนวยการกลุม ฯ

4. กลุม สงเสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ จำนวน 5 ราย

นางยพุ นิ ยาจาติ ขาราชการ 4 ราย
นักวิชาการสหกรณชำนาญการพเิ ศษ 1. นางยพุ นิ ยาจาติ นกั วิชาการสหกรณชำนาญการพเิ ศษ
2. นางอาภรณ รตั นสมบรู ณ นักวิชาการสหกรณชำนาญการ
ผอู ำนวยการกลมุ ฯ 3. นางสาวเกษราภรณ มลวิ ลั ย นกั วชิ าการสหกรณช ำนาญการ
4. นางสาวรุงนภา ทองสงฆ นักวชิ าการสหกรณชำนาญการ

พนกั งานราชการ 1 ราย
- นางสาวอาภรณ คงศรีพุฒ นักวชิ าการมาตรฐานสนิ คา

สำนกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

5. กลุมตรวจการสหกรณ จำนวน 4 ราย

นายมานะชยั สงั ขแ กว ขาราชการ 4 ราย
นักวิชาการสหกรณช ำนาญการพิเศษ 1. นายมานะชยั สงั ขแ กว นักวชิ าการสหกรณช ำนาญการพเิ ศษ
2. นางสาวอุมาพร จนั ทรมาศ นกั วชิ าการสหกรณชำนาญการ
ผูอำนวยการกลมุ ฯ 3. นางสาวนนั ทนิตย มานพ นกั วชิ าการสหกรณชำนาญการ
4. นางสาววสุรกั ษ ขทุ รานนท นิติกรปฏิบตั ิการ

6. กลมุ สงเสริมสหกรณ จำนวน 41 ราย แยกเปน
 กลุมสงเสรมิ สหกรณ 1 จำนวน 7 ราย

ขา ราชการ 4 ราย

1. นายสวงค สีเผือก นักวิชาการสหกรณช ำนาญการพเิ ศษ
2. นางสาวภทั รารวยี  สุวรรณรัตน นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ
3. นางธัญญวดี ชุมคง นักวชิ าการสหกรณชำนาญการ
4. นายสาธติ ฤทธขิ าบ เจาพนักงานสงเสรมิ สหกรณชำนาญงาน

นายสวงค สีเผอื ก พนักงานราชการ 3 ราย
นักวชิ าการสหกรณชำนาญการพเิ ศษ
ผูอ ำนวยการกลมุ ฯ
1. นางศรีรตั น เรอื งดำ นักวชิ าการสหกรณ
2. นางสาวเสาวณยี  วิทยาเวช เจาพนักงานสง เสรมิ สหกรณ
3. นางอรอมุ า ลกั ษณะปย ะ เจา พนักงานสงเสรมิ สหกรณ

 กลมุ สงเสริมสหกรณ 2 จำนวน 7 ราย

ขา ราชการ 5 ราย

นางสาวปติภรณ สัจจมาศ 1. นางสาวปต ภิ รณ สจั จมาศ นกั วิชาการสหกรณช ำนาญการ
นกั วิชาการสหกรณช ำนาญการ 2. นางสาวชุติมา ดานสถาปนาพงศ นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ
3. นายชมบญุ กณุ ฑลรัตน นักวิชาการสหกรณช ำนาญการ
ผอู ำนวยการกลุม ฯ 4. นางสาวคมสนั มสู สี ทุ ธิ์ เจา พนักงานสงเสรมิ สหกรณชำนาญงาน
5. นางประภัสสร กับปา เจาพนกั งานสง เสริมสหกรณช ำนาญงาน

พนกั งานราชการ 2 ราย
1. นางอรณุ ี เมอื งกาญจน นกั วชิ าการสหกรณ
2. นางสาวจันจริ า เพง็ สง เจา พนกั งานสงเสริมสหกรณ

สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

 กลุมสง เสรมิ สหกรณ 3 จำนวน 6 ราย

ขาราชการ 4 ราย

1. นายพิเชฏฐ เพชรฤทธ์ิ นักวชิ าการสหกรณช ำนาญการ
2. นางพมิ พประไพ เพชรฤทธ์ิ นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ
3. นางสาวดารณี พงศยี่หลา นักวิชาการสหกรณช ำนาญการ
4. นายสนุ ทร หนูคลาย เจาพนักงานสงเสริมสหกรณชำนาญงาน

นายพเิ ชฏฐ เพชรฤทธิ์ พนกั งานราชการ 2 ราย
นักวชิ าการสหกรณช ำนาญการ
ผอู ำนวยการกลมุ ฯ
1. นางสาวจรุ ีรัตน สวุ รรณ นกั วิชาการสหกรณ
2. นางสาววนั เพ็ญ ชวู าลา เจาพนักงานสง เสรมิ สหกรณ
 กลุมสง เสรมิ สหกรณ 4 จำนวน 6 ราย

ขา ราชการ 3 ราย

1. นางอรุณรัตน หวงั ดี นกั วิชาการสหกรณช ำนาญการ
2. นางสาวจารนุ ีย สงอุปการ นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ
3. นางสาวศศธิ ร ยุชยทตั นักวิชาการสหกรณช ำนาญการ

นางอรุณรตั น หวงั ดี พนกั งานราชการ 3 ราย
นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ
ผอู ำนวยการกลุม ฯ 1. นางสงวนศรี สุขอนันต นกั วิชาการสหกรณ
2. นางสาวสภุ าภรณ จุลรตั น นักวชิ าการสหกรณ
3. นางสาวปนัดดา ชะรอยนุช เจา พนกั งานสงเสรมิ สหกรณ
 กลุมสง เสริมสหกรณ 5 จำนวน 7 ราย

ขา ราชการ 3 ราย

1. นายอดลุ วรรณาการ นกั วิชาการสหกรณช ำนาญการ
2. นางสุธิรา เชษฐวรรณสทิ ธิ์ นักวิชาการสหกรณช ำนาญการ
3. นางสาวรชั ดาภรณ บุญวงศ นักวิชาการสหกรณช ำนาญการ

นายอดลุ วรรณาการ ลูกจา งประจำ 1 ราย
นกั วชิ าการสหกรณช ำนาญการ - นายนพพันธ อินทนพ พนักงานขับรถยนต ส 2

ผอู ำนวยการกลมุ ฯ

พนักงานราชการ 3 ราย

1. นายอำนวย ลักษณะปย ะ นักวชิ าการสหกรณ
2. นางมลฤดี ยอดระบำ นักวิชาการสหกรณ
3. นางสาวพัสนน นั ท แกวพินจิ นักวชิ าการสหกรณ

สำนกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

 กลมุ สงเสริมสหกรณ 6 จำนวน 6 ราย

ขา ราชการ 4 ราย

นายสุจนิ วงคทาเรอื 1. นายสจุ นิ วงคท า เรือ นกั วชิ าการสหกรณช ำนาญการ
นกั วิชาการสหกรณชำนาญการ 2. นางสาวรงุ อรณุ เหลืองอมุ พล นักวชิ าการสหกรณชำนาญการ
3. นางสาววรนิ ทร โยธารกั ษ นักวชิ าการสหกรณชำนาญการ
ผอู ำนวยการกลมุ ฯ 4. นางสาวออมใจ สมพชื นักวชิ าการสหกรณป ฏิบัติการ

พนกั งานราชการ 2 ราย
1. นางสาววมิ ลวรรณ ดวงจนั ทร เจาพนกั งานสง เสรมิ สหกรณ
2. นางสาวศริ มิ า วฒั นสังข เจาพนกั งานสง เสรมิ สหกรณ

7. นคิ มสหกรณ จำนวน 7 ราย แยกเปน
 นคิ มสหกรณทงุ สง จำนวน 4 ราย

ขาราชการ 2 ราย

1. นายปารเมศ สังขนกุ จิ เจาพนกั งานสงเสรมิ สหกรณอาวโุ ส
2. นายไพศาล ไมเ รียง เจา พนักงานสงเสริมสหกรณชำนาญงาน

นายปารเมศ สงั ขนุกจิ ลกู จางประจำ 1 ราย
เจา พนกั งานสงเสรมิ สหกรณอาวโุ ส - นางสาวดารตั น สมรกั ษ พนกั งานพิมพ ส 4

ผูอำนวยการนิคมฯ พนักงานราชการ 1 ราย

- นางสาวนุชนารถ เกิดสมจิตต นกั วชิ าการสหกรณ

 นคิ มสหกรณป ากพญา จำนวน 3 ราย

นางสาวสภุ าวดี ภูมา ขา ราชการ 2 ราย
นกั วชิ าการสหกรณชำนาญการ 1. นางสาวสภุ าวดี ภมู า นกั วชิ าการสหกรณชำนาญการ
2. นางจฑุ าพร เปรมวิชิต นักวิชาการสหกรณปฏบิ ัตกิ าร
ผอู ำนวยการนคิ มฯ
พนกั งานราชการ 1 ราย
- นางสาวกาญจนา บญุ ศรี นักวิชาการสหกรณ

สำนกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | ก

บทสรุปผบู รหิ าร (Executive Summary)

สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช เปนหนวยงานหลักในการสงเสริมสหกรณ/
กลุมเกษตรกรใหเขมแข็งสูสังคมอยูเย็นเปนสุข มีภารกิจในการกำกับ แนะนำ สงเสริม เผยแพร ใหความรู
เกี่ยวกับอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณใหแกบุคลากรสหกรณ กลุมเกษตรกร กลุมอาชีพ
และประชาชนทั่วไป และพัฒนาศักยภาพของสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็ง ทำใหระบบสหกรณ
สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับชุมชน และสังคมใหทันตอการเปลี่ยนแปลงในยุคปจจุบัน นอกจากนี้
ไดม กี ารดำเนนิ การตามนโยบายรัฐบาล นโยบายของกรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ และทำงาน
ในเชิงบูรณาการกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ สำนักงานสหกรณจังหวัดกำหนดแนวทางในการขับเคลื่อน
การดำเนินงาน โดยการจัดประชุมจัดทำแผนการปฏิบัติงานไดใหความสำคัญกับการกำหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด
ผลสำเร็จของงาน ความสอดคลองกับกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน และผลการเบิกจายงบประมาณ
ที่กรมสงเสริมสหกรณกำหนดโดยมีวัตถุประสงคที่สำคัญ คือ พัฒนาทีมงาน กระบวนการทำงานแบบมีสวนรวม
สรางการรบั รู สรา งองคค วามรู ชวยกันคดิ รว มกันทำ ตลอดจนดำเนนิ การตามแนวทางการขับเคลื่อนการประยุกตใช
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเปนแนวทางใหสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกร นำไปปรับใชในการประกอบ
อาชีพใหเ กิดความกนิ ดี อยูด ี มคี วามมัน่ คง มัง่ คงั่ และยั่งยนื

โครงสรางสำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบดวย ฝายบริหารทั่วไป
กลุมงานวิชาการ 4 กลุม กลุมสงเสริมสหกรณ 6 กลุม นิคมสหกรณ 2 นิคม มีอัตรากำลัง ประกอบดวย
ขาราชการ 45 คน ลูกจางประจำ 10 คน พนักงานราชการ 27 คน รวมทั้งสิ้น 82 คน มีสถาบันในการกำกับ
ดแู ล จำนวน 243 สถาบนั ดังน้ี

1. สหกรณ จำนวน 151 แหง สมาชกิ รวม 205,088 คน ปริมาณธุรกิจรวม 26,095.27
ลานบาท รายไดรวม 5,206.51 ลานบาท คาใชจายรวม 3,562.92 ลานบาท กำไรสุทธิรวม จำนวน
1,643.59 ลานบาท ผลการจัดชนั้ สหกรณช น้ั 1 จำนวน 51 แหง ชัน้ 2 จำนวน 92 แหง ชนั้ 3 จำนวน 8 แหง

2. กลุมเกษตรกร จำนวน 86 แหง สมาชิกรวม 7,632 คน ปริมาณธุรกิจรวม 398
ลานบาท รายไดรวม 220.14 ลานบาท คาใชจายรวม 207.71 ลานบาท กำไรสุทธิรวม จำนวน 12.43
ลานบาท ผลการจดั ชั้นกลมุ เกษตรกรช้ัน 1 จำนวน 3 แหง ช้นั 2 จำนวน 75 แหง ชั้น 3 จำนวน 8 แหง

3. กลุมอาชีพในสังกัดสหกรณดำเนินการ จำนวน 6 กลุม สมาชิกรวม 214 คน ปริมาณธุรกิจ
รวม 3.52 ลา นบาท รายไดร วม 1.735 ลานบาท คาใชจา ยรวม 0.86 ลานบาท กำไรสุทธริ วม 0.13 ลา นบาท

งบประมาณที่ไดรับจดั สรรจากกรมสง เสริมสหกรณ รวมท้งั สน้ิ จำนวน 145.07 ลา นบาท ดงั นี้
1. เงินงบประมาณ จำนวน 21.88 ลานบาท ประกอบดว ย

- งบบุคลากร จำนวน 9.25 ลานบาท - งบดำเนินงาน จำนวน 5.62 ลา นบาท
- งบลงทนุ จำนวน 0.20 ลา นบาท - งบอุดหนนุ จำนวน 6.80 ลานบาท
- งบรายจายอ่นื จำนวน 0.01 ลา นบาท
2. เงนิ นอกงบประมาณ จำนวน 110.80 ลานบาท ประกอบดว ย
- เงนิ กองทุนพัฒนาสหกรณ จำนวน 87.05 ลานบาท
- เงินกองทนุ สงเคราะหเกษตรกร จำนวน 23.75 ลานบาท
3. เงินกูเพื่อแกไขปญหา เยียวยา และฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ไดรับผลกระทบ
จากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 จำนวน 12.39 ลานบาท
ผลสำเร็จเชิงประจักษ จากการเขาแนะนำ สงเสริม และพัฒนาสหกรณ และกลุมเกษตรกร
ใหมีความเขม แขง็ ตามศักยภาพ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 แบงออกเปน 4 ดาน ดงั น้ี

สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | ข

1. ดานการสงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกร ไดแ ก รา นสหกรณกองทัพภาคที่ 4 จำกัด,
สหกรณออมทรัพยกองพลทหารราบท่ี 5 จำกดั

2. ดานการพัฒนาธุรกิจ ไดแก กลุมเกษตรกรทำสวนยางพารานางหลง, สหกรณกองทุนสวนยาง
เกษตรสมั พันธ จำกัด และสหกรณน คิ มประมงนครศรีธรรมราช จำกัด

3. ดานการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุมครองระบบสหกรณ ไดแก สหกรณเคหสถาน
บานมง่ั คงสชิ ลรงุ เรอื ง จำกัด

4. ดานการแกไขปญหาการดำเนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร ไดแก สหกรณการเกษตร
ปากพนัง จำกัด, สหกรณการเกษตรเชียรใหญ จำกัด, สหกรณกองทุนสวนยางควนยูง จำกัด ,สหกรณเคหสถาน
บานม่ันคงขนอมเมอื งทอง จำกัด

สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราชไดคัดเลือกบุคลากร สหกรณ/กลุมเกษตรกร
บุคลากรในสถานศึกษา และประชาชนทั่วไป เขารับการศึกษาและฝกอบรม เชน การดำเนินงานและการ
กำกับดูแลสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเนี่ย พ.ศ. 2564 ตาม พรบ.สหกรณฯ กฎกระทรวงและ
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ, โครงการฝกอบรมหลักสูตรผูชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกรขั้นพื้นฐาน ฯลฯ
เพือ่ ใหกลมุ เปา หมายมคี วามรู เพ่ิมเตมิ ทักษะทีห่ ลากหลายมากย่ิงข้นึ

การดำเนินงานตามโครงการนโยบายสำคัญของภาครัฐ ในดานงานสงเสริม และพัฒนา งานกำกับ
ติดตาม รวมถึงงานแกไขปญหา เพื่อชวยเหลือสมาชิกสหกรณที่ไดรับความเดือดรอนในชวงสถานการณ
การแพรระบาดของโรคโควิด - 19 เชน การกระจายผลไมผานเครือขายสหกรณ, สนับสนุนวงเงินกูจากกองทุน
พฒั นาสหกรณ, แกไ ขปญหาหนี้สนิ ของเกษตรกร เปน ตน

จากการดำเนินงานท่กี ลา วมาแลว ขา งตน สง ผลใหส ำนกั งานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช
ไดรบั รางวัลและโลป ระกาศเกียรตคิ ณุ จากกรมสง เสรมิ สหกรณ ใน 3 ประเภทรางวัล ประกอบดวย

1. รางวัลผลการประเมินผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณของสำนักงาน
สหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ อันดับที่ 3

2. โลป ระกาศเกยี รติคุณ รางวัลการประเมินผลการบรหิ ารจดั การเงินกองทนุ พัฒนาสหกรณ
ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 กลุมจังหวัดที่มีการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ ขนาดกลาง
ประเภทดเี ยย่ี ม

3. รางวัลผลการคัดเลือกกลุมเกษตรกรตนแบบที่สามารถประยุกตใชหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับเขต ภายใตโครงการขับเคลื่อนการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ซ่งึ ไดแกก ลุมเกษตรกรบานแสงวมิ านตำบลคลองนอย

นอกจากนี้ สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช มีการจัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม
และชุมชน เชน กิจกรรมชวยเหลือผูประสบอุทกภัย กิจกรรมจิตอาสาบำเพ็ญสาธารณประโยชน กิจกรรมมีแลวแบงปน
เพื่อบรรเทาความเดือนรอนของประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ในสวนการประชาสัมพันธขาวสาร ภารกิจหลักของหนวยงาน มีการสื่อสารใหสหกรณ/
กลุม เกษตรกร ประชาชนทวั่ ไป ทราบผานทางสื่อตา งๆ ไดแ ก Group Line ภายใตชือ่ PR COOPNAKHONSI,
สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช คลื่น FM 93.50 MHz., Website
สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช, หนังสือพิมพสยามรัฐ/ทองถิ่น, สถานีโทรทัศนมีดีทีวี
นครศรีธรรมราช, Youtube, Facebook สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช, ภาพขาวกิจกรรม
และประชาสัมพันธโดยจัดนทิ รรศการในพ้นื ท่ี

สำนกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) |

สารบัญ

ทำเนยี บบคุ ลากรสำนกั งานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช ก
บทสรุปผบู รหิ าร 1
สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวมของสำนกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช 2
3
1.1 วสิ ยั ทศั น พันธกิจ และอำนาจหนา ท่ีของสำนักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช 7
1.2 แนวทางการขบั เคลือ่ นงาน/โครงการที่สอดคลองกับแผนระดบั 3 ของกรมสง เสรมิ 9
10
สหกรณ 18
1.3 โครงสรา งและอัตรากำลังของสำนกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช 19
1.4 งบประมาณรายจา ยประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564 22
1.5 สรุปขอมลู สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 57
สวนที่ 2 ผลสมั ฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏบิ ตั งิ าน/โครงการภายใตแผนปฏิบัตงิ าน 61
และงบประมาณรายจา ยประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 70
2.1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั งิ านและงบประมาณรายจา ยประจำป 71
76
งบประมาณ พ.ศ.2564 และงบประมาณอื่นทห่ี นว ยงานไดรับ 85
- แผนงานพื้นฐานดา นการสรางความสามารถในการแขงขนั 88
- แผนงานยุทธศาสตรการเกษตรสรา งมูลคา 99
- แผนงานยุทธศาสตรเ สรมิ สรางพลังทางสังคม
- แผนงานยทุ ธศาสตรเ พ่ือสนับสนุนดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
- แผนงานบูรณาการพัฒนาและสง เสริมเศรษฐกิจฐานราก
2.2 ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคญั ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
2.3 รางวลั ทหี่ นวยงานไดรับจากหนวยงานภาคสวนตา งๆ ภายนอก
สวนท่ี 3 กิจกรรมประชาสมั พนั ธง านสหกรณฯ โดดเดนในรอบปง บประมาณ พ.ศ.2564
สวนที่ 4 รายงานขอมูลงบการเงนิ (ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564)
สวนที่ 5 บรรณานุกรม

สำนกั งานสหกรณจ ังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 1

สว นท่ี 1
ขอมูลภาพรวมของสำนกั งานสหกรณ

จงั หวัดนครศรีธรรมราช

สำนักงานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 2

วสิ ัยทัศน พันธกิจ และอำนาจหนาท่ีของสำนักงานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

วิสัยทัศน

“เปน หนวยงานหลกั ในการสงเสรมิ สหกรณและกลุม เกษตรกรใหเ ขม แขง็ สสู ังคมอยูเย็นเปนสขุ ”

พันธกจิ

๑. สหกรณ กลุมเกษตรกรไดร บั การพฒั นาอยางทวั่ ถงึ สนองตอบตอความคาดหวงั ของสมาชกิ
และประชาชนท่วั ไป

๒. พฒั นาเครือขา ยความรวมมอื ทัง้ ดานองคความรูและธุรกิจของสหกรณ กลุมเกษตรกร
และบรู ณาการกับภาคสี นบั สนนุ

๓. ขบั เคลอ่ื นระบบสหกรณเ พือ่ สรางเศรษฐกิจชุมชนและสังคมอยเู ยน็ เปนสขุ
๔. เสริมสรา งสมรรถนะบคุ ลากรสนองตอบตอความตองการของสหกรณ กลุมเกษตรกร

และปรบั ตัวทันตอการเปลย่ี นแปลง

อำนาจหนา ท่ี

1. ดำเนนิ การตามกฎหมายวาดวยสหกรณ กฎหมายวาดว ยการจัดทีด่ ินเพื่อการครองชีพ
และกฎหมายอืน่ ทีเ่ ก่ยี วของ

2. สง เสริมและพัฒนางานสหกรณท ุกประเภทและกลุมเกษตรกร
3. สงเสรมิ เผยแพร และใหความรูเก่ียวกับอุดมการณ หลกั การ และวธิ กี ารสหกรณ

ใหแ กบ คุ ลากรสหกรณ/กลุมเกษตรกรและประชาชนทวั่ ไป
4. สงเสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ ของกลุม เกษตรกรและสหกรณ
5. ปฏบิ ัตงิ านรว มกบั หรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนวยงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วของ

หรอื ไดรบั มอบหมาย

สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 3

แนวทางการขบั เคลือ่ นงาน/โครงการทีส่ อดคลองกบั แผนระดบั 3
ของกรมสงเสรมิ สหกรณ รวมถึงนโยบายและทิศทางการพฒั นาจงั หวัด
ในระดบั พ้นื ท่ี

แผนปฏบิ ัติงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

 แผนปฏิบตั งิ าน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการสรางความสามารถในการแขง ขัน
แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ (พ.ศ.2564) ประเดน็ การเกษตร
แผนแมบทยอย : การพัฒนาระบบนิเวศการเกษตร
ตวั ชว้ี ดั 1. สหกรณม ีความเขมแข็ง ระดับ 1 และ 2 อยา งนอยรอยละ 88

2. กลมุ เกษตรกรมคี วามเขมแขง็ ระดับ 1 อยา งนอยรอยละ 24

แผนงานพนื้ ฐานดา นการสรา งความสามารถในการแขงขัน
ผลผลติ สหกรณแ ละกลุม เกษตรกรไดรบั การสงเสริมและพัฒนาตามศกั ยภาพ
กิจกรรมหลกั สง เสรมิ และพัฒนาสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร

กจิ กรรมรองท่ี 1 สงเสริมและพัฒนาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรใหมคี วามเขมแขง็ ตามศกั ยภาพ
ตวั ชี้วัดระดับความเขมแข็งของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร หนว ยนับ เปา หมาย ผลสำเรจ็
1. ตวั ชี้วดั ดา นการบริหาร งบประมาณและยทุ ธศาสตร 100 100
1.1) บรหิ ารและกำกบั การใชจายงบประมาณตามประเภทงบรายจา ยและกจิ กรรมหลกั รอ ยละ 80 100
รวมทัง้ บรหิ ารการเบิกจา ยใหเปน ไปตามเปา หมายและเงื่อนเวลาท่ีกรมกำหนด
1.2) บรหิ ารงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามเง่อื นไขหรอื แนวทางทก่ี รมกำหนดใหบ รรลุ ไมนอ ยกวารอ ยละ 100 79
เปา หมาย/ตัวชว้ี ดั ตามทีก่ ำหนดไวใ นแผนปฏบิ ตั งิ าน ของแผนปฏบิ ัตงิ าน 39 27
2. ตวั ชีว้ ัดดานการสง เสริมและพัฒนาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร 21 4
2.1) สหกรณและกลมุ เกษตรกรมปี ระสิทธภิ าพในการบรหิ ารจดั การองคก ร
(การบรหิ ารจดั การทีม่ ธี รรมาภิบาล/การควบคุมภายในของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร) สหกรณ 88 73
2.1.1) สหกรณภ าคการการเกษตร (ผา นการประเมินการจดั ชั้นคณุ ภาพการควบคมุ ภายใน 36 31
ระดบั พอใชขึ้นไป ไมน อ ยกวา รอยละ 88) 68 66
2.1.2) สหกรณน อกภาคการเกษตร (ผานการประเมนิ การจดั ชนั้ คณุ ภาพการควบคมุ ภายใน สหกรณ
ระดบั พอใชขึ้นไป ไมนอ ยกวารอยละ 88)
2.1.3) กลมุ เกษตรกร (ผานการประเมินการจดั ช้ันคุณภาพการควบคุมภายในระดบั ดขี นึ้ ไป กลุมเกษตรกร
ไมนอ ยกวารอยละ 24)
2.2)สหกรณท นี่ ำมาจัดเกณฑม าตรฐานผา นเกณฑม าตรฐานกรมสง เสริมสหกรณ

2.2.1) สหกรณภ าคการเกษตร (ผา นเกณฑม าตรฐาน ไมนอ ยกวา รอ ยละ 80) สหกรณ

2.2.2) สหกรณนอกภาคการเกษตร (ผา นเกณฑม าตรฐาน ไมนอ ยกวารอ ยละ 82) สหกรณ

2.2.3)กลมุ เกษตรกรทน่ี ำมาจดั เกณฑมาตรานกรมสงเสริมสหกรณ กลุมเกษตรกร
(ไมนอ ยกวา รอ ยละ 81)

สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

3. ตวั ชว้ี ัดดา นการพัฒนาธรุ กจิ รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 4

3.1) การมีสวนรว มของสหกรณ/ ความสามารถในการบริการสมาชกิ กลมุ เกษตรกร สหกรณ 68 77
(ไมนอยกวารอยละ 60)
3.1.1) สหกรณภ าคการเกษตร มสี ว นรว มใชบ รกิ ารไมนอ ยกวา รอ ยละ 60

3.1.2) สหกรณนอกภาคการเกษตร มสี วนรว มใชบรกิ ารไมนอยกวา รอ ยละ 60 สหกรณ 27 38

3.1.3) กลมุ เกษตรกร (สมาชิกมสี ว นรวมในการใชบ ริการ/ดำเนนิ กิจกรรมรวมกบั กลุมเกษตรกร 61 32
กลุมเกษตรกร ไมน อยกวารอ ยละ 70

3. ตวั ชีว้ ัดดา นการพัฒนาธรุ กิจ (ตอ )
3.2 สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรทมี่ ีสถานะการดำเนนิ กจิ การ มีอตั ราการขยายตัวของ ไมนอยกวารอ ยละ 3 5.74
ปรมิ าณธุรกจิ เพมิ่ ขนึ้ จากปกอ น (ป 2563)
3.3 สหกรณและกลมุ เกษตรกรมปี ระสทิ ธภิ าพในการดำเนินธุรกิจอยใู นระดบั มาตรฐานข้ึน
ไป (พัฒนาประสทิ ธิภาพในการดำเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร)

3.3.1) สหกรณภ าคการเกษตร (มีประสทิ ธภิ าพในการดำเนนิ ธุรกิจอยใู นระดบั มาตรฐาน สหกรณ 100 70
ข้นึ ไป ไมนอ ยกวา รอยละ 88) สหกรณ 39 27
3.3.2) สหกรณนอกภาคการเกษตร (มปี ระสทิ ธภิ าพในการดำเนินธรุ กจิ อยูในระดับ กลุมเกษตรกร 21 66
มาตรฐานขน้ึ ไป สหกรณ/กลุม 148 144
3.3.3) กลมุ เกษตรกร (มีประสิทธภิ าพในการดำเนินธุรกจิ อยูในระดบั มาตรฐานข้นึ ไป เกษตรกร
ไมนอ ยกวา รอ ยละ 24)
3.4 จำนวนสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรที่มีอตั ราสว นเงนิ ออมของสมาชกิ ตอหน้ีสิน 100 71.87
ของสมาชิกเพมิ่ ขน้ึ จากปก อ น (ป 2563) ไมนอยกวารอ ยละ 61 25 31.20
(คิดเปนจำนวนสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร)
10 10
4. ตวั ชีว้ ัดดานการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุมครองระบบสหกรณ
4.1 รอยละของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรที่อยรู ะหวา งชำระบญั ชีขนั้ ตอนท่ี 3-4 ยกระดบั รอ ยละ
ข้ึนสขู ้ันตอนที่ 5 รอ ยละ
4.2 รอยละของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรทัง้ หมดที่อยรู ะหวา งชำระบญั ชี ไมรวมสหกรณและ
กลมุ เกษตรกรทอ่ี ยใู นขั้นตอนท่ี 6 (คด)ี สามารถถอนชอ่ื ได สหกรณ
4.3 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารงาน (การแกไ ขปญ หาในการดำเนนิ การ/การบริหารงานของ
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร)
4.3.1 สหกรณภ าคการเกษตร (ทมี่ ีขอ บกพรองไดรับการแกไ ขแลว ไมน อ ยกวารอ ยละ 88)

4.3.2 สหกรณน อกภาคการเกษตร (ทม่ี ขี อบกพรองไดร บั การแกไ ขแลว ไมน อ ยกวารอ ยละ 88) สหกรณ 1 1
4.3.3 กลมุ เกษตรกร (ท่ีมีขอ บกพรอ งไดร ับการแกไขแลว ไมนอ ยกวารอ ยละ 24) กลมุ เกษตรกร 1 1

5. ตัวช้ีวดั ดา นการติดตามที่สำคญั ใชป ระโยชน รอยละ 100 100
รอ ยละ 100 เม่อื 100 100
5.1 ตดิ ตามการใชป ระโยชน/สิง่ กอ สรางท่สี หกรณ/กลมุ เกษตรกรไดร บั การสนับสนนุ สิน้ สุดโครงการแลว
งบประมาณจากรมฯ ตองไมม ีเงนิ คางบญั ชี 57 56
5.2 ตดิ ตามงบประมาณเงนิ อดุ หนนุ ท่สี หกรณ/กลุม เกษตรกรไดร บั จากกรม
ใหเปน ไปตามวัตถปุ ระสงค กรณีเมอื่ ส้นิ สุดโครงการแลวยงั มีงบประมาณคงเหลือ ราย
ใหดำเนนิ การตามระเบียบทางราชการ
5.3 ตดิ ตามการดำเนนิ โครงการลกู หลานเกษตรกรกลบั บานสานตอ อาชพี เกษตร

กิจกรรมรองที่ 2 ออกหนงั สือรบั รองการทำประโยชนในทดี่ ินพ้นื ทน่ี ิคมสหกรณ เปา หมาย ผลสำเร็จ
ตัวช้ีวัดระดับผลสัมฤทธิ์ หนวยนบั
สมาชกิ สหกรณนคิ มไดร บั กรรมสทิ ธิท์ ด่ี ินในพนื้ ทน่ี ิคมสหกรณเ พ่ือทำการเกษตร ไร 155 143.30

สำนกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 5
แผนแมบ ทยอย : เกษตรปลอดภัย
ตวั ช้วี ดั อตั ราการขยายตวั ของมูลคา ของสนิ คา เกษตรปลอดภยั ขยายตวั รอยละ 3
แผนงานยุทธศาสตรการเกษตรสรางมลู คา
โครงการสง เสริมและสนับสนุนสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรทำการเกษตรเพ่อื เพม่ิ มูลคา
กจิ กรรมหลกั สนบั สนนุ ใหสหกรณแ ละกลุม เกษตรกรสง เสรมิ สมาชกิ ทำการเกษตรปลอดภัย
กิจกรรมรองที่ 1 สงเสริมการทำเกษตรผสมผสานลกั ษณะเกษตรปลอดภัยในสหกรณและกลุมเกษตรกร ป พ.ศ. 2564
ตัวชี้วัดระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ หนวยนบั เปา หมาย ผลสำเร็จ
สมาชิกสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรนำความรูท ีไ่ ดร บั มาปรับใชในการทำเกษตรผสมผสาน ชนดิ สนิ คา 1 1
ในพนื้ ท่ขี องตนเองตามเหมาะสมโดยปลกู พชื /เลีย้ งสัตวในลักษณะการทำเกษตร
ปลอดภัยอยางนอย 1 ชนดิ สนิ คา
กจิ กรรมรองท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพการผลติ สินคา เกษตรของสมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรสมู าตรฐาน GAP
ตัวชวี้ ัดระดบั ผลสัมฤทธิ์ หนว ยนบั เปา หมาย ผลสำเร็จ
1.สมาชกิ สหกรณและกลุมเกษตรกรทเ่ี ขา รว มโครงการฯ ไดร บั ใบรบั รองมาตรฐาน GAP ราย 105 105

2. สมาชิกสหกรณและกลมุ เกษตรกรผลติ สนิ คามคี ณุ ภาพไดม าตรฐานความปลอดภยั ราย 205 205
ตรงตามความตองการของตลาด
3.สมาชกิ สหกรณแ ละกลุม เกษตรกรมีรายไดเ พมิ่ ข้นึ จากการจำหนายผลผลติ ท่ีมคี ณุ ภาพ รอ ยละ 33

กจิ กรรมรองที่ 3 พัฒนาเกษตรปลอดภัยในพืน้ ทีน่ คิ มสหกรณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณรว มกับสมาชิกสหกรณท ำการเกษตรปลอดภยั อยา งย่ังยืน แหง 1 1

ยุทธศาสตรชาตดิ า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ (พ.ศ.2564) ประเดน็ พลังทางสงั คม
แผนแมบ ทยอย : การเสริมสรางทนุ ทางสังคม
ตัวช้วี ดั ดัชนีวดั ทนุ ทางสงั คม เพมิ่ ขึน้ รอยละ 10
แผนงานยุทธศาสตรเพอื่ สนบั สนนุ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
โครงการชว ยเหลือดา นหนส้ี ินสมาชิกสหกรณและกลมุ เกษตรกร
กิจกรรมหลกั ชว ยเหลือดา นหนส้ี ินสมาชกิ สหกรณแ ละกลุม เกษตรกร
กจิ กรรมรอง ลดดอกเบยี้ เงินกใู หเ กษตรสมาชิกสหกรณ/กลุม เกษตรกร
ตวั ชวี้ ัดระดบั ผลสัมฤทธ์ิ หนว ยนับ เปา หมาย ผลสำเรจ็
สมาชิกสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรไดร บั การแกไ ขปญ หาหนสี้ นิ ตามนโยบายรฐั บาล ราย 5,011 4,977

แผนงานยทุ ธศาสตรเสรมิ สรา งพลงั ทางสังคม
โครงการสง เสรมิ การดำเนินงานอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมหลักพฒั นาสหกรณ/ กลุมเกษตรกรในพ้นื ท่ีโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมรอง สงเสริมและพัฒนาสหกรณอ นั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
ตวั ช้วี ดั ระดับผลสมั ฤทธิ์ หนว ยนับ เปา หมาย ผลสำเร็จ
1. สหกรณและกลมุ เกษตรกรมีความเขมแขง็ ในการดำเนินธุรกิจ พฒั นาอาชีพ และ แหง 11
คณุ ภาพชีวติ ของสมาชกิ ไดอ ยางยง่ั ยนื 77
2. เด็ก เยาวชน และชุมชนในพ้นื ท่โี ครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถิ่นทุรกนั ดารตาม แหง
พระราชดำรฯิ สามารถนำความรูเรือ่ งการสหกรณไ ปประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจำวนั ได

สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 6
แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ (พ.ศ.2564) ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก
แผนแมบทยอย : การสรา งสภาพแวดลอ มและกลไกทีส่ งเสริมการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก
ตัวชวี้ ัด ผปู ระกอบการเศรษฐกิจฐานรากมรี ายไดเพมิ่ ข้ึนอยางตอ เนื่องไมนอยกวา รอ ยละ 3
แผนงานบูรณาการพัฒนาและสง เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก
โครงการสง เสรมิ และพัฒนาอาชีพเพอ่ื แกไ ขปญ หาทีด่ นิ ทำกินของเกษตรกร
กจิ กรรมหลักสง เสรมิ และพฒั นาอาชพี ภายใตโครงการจดั ที่ดินทำกนิ ตามนโยบายรัฐบาล
ตัวชีว้ ัดแผนงานบรู ณาการ ผูเขา รว มโครงการมรี ายไดเ พิ่มขนึ้ รอ ยละ 3
ตัวชี้วดั ระดับผลสัมฤทธ์ิ หนวยนบั เปา หมาย ผลสำเรจ็
รายไดของสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่เขารว มโครงการเพม่ิ ข้นึ รอ ยละ 3 3

โครงการสง เสริมและสรา งทักษะในการประกอบอาชพี ทั้งในและนอกภาคเกษตร
กจิ กรรมหลกั นำลูกหลานเกษตรกรกลับบา น สานตออาชีพการเกษตร
ตวั ชว้ี ดั แผนงานบูรณาการ ผูเขา รวมโครงการมีรายไดเ พ่ิมขึ้นรอ ยละ 3
ตัวช้ีวัดระดบั ผลสัมฤทธิ์ หนว ยนบั เปา หมาย ผลสำเร็จ
1. ลกู หลานสมาชิกและบคุ คลทว่ั ไปทีเ่ ขารว มโครงการมีอาชีพการเกษตรทีม่ น่ั คงและมี ราย 12 12
รายไดจ ากการประกอบอาชีพการเกษตรทีส่ ามารถดำรงชีพไดอยา งยง่ั ยืนภายใน 3 ป 99
2. สหกรณก ารเกษตรเปน ศนู ยก ลางในการนำลูกหลานสมาชิกและบคุ คลทั่วไปเขา มา แหง
ประกอบอาชีพการเกษตรทบ่ี า นเกิดของตนเอง และเปน ท่พี ึง่ ของสมาชิกอยางแทจรงิ

โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธรุ กจิ ของสหกรณ กลุมเกษตรกร และธรุ กจิ ชุมชน
กจิ กรรมหลกั ท่ี 1 เพ่มิ ศกั ยภาพการดำเนินธรุ กจิ รวบรวม จดั เกบ็ และแปรรูปผลผลติ การเกษตร
ในสหกรณและกลุม เกษตรกร
กิจกรรมหลักที่ 2 เพิ่มขดี ความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกรใหเปน องคกรหลักใน
การพัฒนาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ
ตวั ชี้วดั แผนงานบรู ณาการ ปริมาณธรุ กจิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรทีเ่ ขา รว มโครงการขยายตัวรอ ยละ 3
ตวั ชีว้ ดั ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ หนว ยนบั เปา หมาย ผลสำเร็จ
1. สหกรณและกลุม เกษตรกรไดร บั การพัฒนาศักยภาพการดำเนินกจิ การและธรุ กจิ ให แหง 11 11
เปน ศูนยก ลางเศรษฐกิจชมุ ชนในระดับอำเภอ
2. สหกรณและกลมุ เกษตรกรมรี ายไดจากการดำเนนิ ธุรกจิ รวบรวม แปรรูป จำหนาย รอยละ 33
ผลผลติ สนิ คา เกษตรและใหบ ริการทางดานสนิ คา เกษตรไดเพมิ่ ขึ้น
3. สหกรณและกลุมเกษตรกรมีขดี ความสามารถในการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรช าติ และ แหง 11 11
สรา งสรรค/ ขบั เคลอื่ นกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ชมุ ชนไดต ลอดหวงโซอปุ ทาน

โครงการสงเสริมการพฒั นาระบบตลาดภายในสำหรับสินคาเกษตร
กจิ กรรมหลกั พฒั นากลไกการตลาดเพ่อื เพมิ่ ชองทางการจำหนายสนิ คา ของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร
ตวั ชี้วดั แผนงานบูรณาการ ปริมาณธรุ กจิ ของสหกรณและกลุม เกษตรกรทเ่ี ขารวมโครงการขยายตัวรอยละ 3
ตวั ชวี้ ัดระดบั ผลสัมฤทธ์ิ หนว ยนับ เปาหมาย ผลสำเร็จ
1.สหกรณและกลมุ เกษตรกรมรี ายไดเพมิ่ ขึน้ จากการมีชอ งทางการจำหนายสินคาเกษตร รอยละ 3 7.90

สำนกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 7

โครงสรางและอัตรากำลังของสำนกั งานสหกรณจ ังหวดั นครศรีธรรมราช

 โครงสรางของสำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

สหกรณจังหวดั

นายไพฑูรย ชนะชู

(14 ธ.ค. 2563 – ปจ จบุ นั )

ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป กลุม จดั ตั้งและ กลมุ สงเสรมิ และพัฒนาการ กลุมสงเสริมและพัฒนา
สงเสรมิ สหกรณ บรหิ ารการจัดการสหกรณ ธรุ กิจสหกรณ
(นางจนั ทิมา ชะตาญาณ)
(นายชวรัตน มณโี ลกย) (นายโกเมต หอ ทอง) (นางยุพนิ ยาจาต)ิ

กลุมตรวจการสหกรณ นิคมสหกรณท ุงสง นิคมสหกรณป ากพญา

(นายมานะชยั สงั ขแ กว ) (นายปารเมศ สงั ขนกุ จิ ) (นางสาวสภุ าวดี ภมู า)

กลมุ สงเสริมสหกรณ ๑ กลุมสงเสริมสหกรณ ๒ กลมุ สงเสรมิ สหกรณ ๓

(นายสวงค สเี ผือก) (นางสาวปติภรณ สจั จมาศ) (นายพเิ ชฎฐ เพชรฤทธ)ิ์

กลุมสงเสรมิ สหกรณ 4 กลุมสงเสรมิ สหกรณ 5 กลมุ สงเสรมิ สหกรณ ๖

(นางอรุณรัตน หวังด)ี (นายอดลุ วรรณาการ) (นายสจุ ิน วงคท าเรอื )

สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 8

 อตั รากำลงั ของสำนักงานสหกรณจ งั หวัดนครศรีธรรมราช

32% รวม 56% ขาราชการ
82 ลกู จา งประจํา
คน พนกั งานราชการ

12%

ประเภทอตั รากำลงั หญิง หนวย : คน
ชาย รวม
ขา ราชการ 12 33 47
ลกู จา งประจำ 7 3 10
พนักงานราชการ 1 26 27
รวม 20 62 82

*** ขอมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564

สำนกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 9

งบประมาณรายจา ยประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564

แผนภมู ิแสดงงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62- ๒๕๖4
จำแนกตามประเภทงบรายจาย

ลานบาท
12
10
8
6
4
2
0

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

ประเภทงบรายจาย ป 2562 ป 2563 หนว ย : ลานบาท
29.8023 21.4117 ป 2564
รวมท้ังสิ้น 21.8796
งบบคุ ลากร 9.06 9.47 9.25
งบดำเนนิ งาน 11.62 5.64 5.62
งบลงทนุ 1.89 0.79 0.20
เงนิ อดุ หนุน 7.23 5.51 6.80
งบรายจา ยอืน่ 0.0023 0.0017 0.0096

สำนักงานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 10

สรปุ ขอ มลู สหกรณ กลมุ เกษตรกร และกลมุ อาชพี ในสังกดั สหกรณ
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

 ขอ มลู สถิตขิ องสหกรณ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ขอมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564

จำนวนสหกรณและจำนวนสมาชิกสหกรณ จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ทม่ี ี
จำนวน สว นรวมในการ
สหกรณ ดำเนนิ ธรุ กิจ
ประเภทสหกรณ (แหง) รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ รอ ยละ
ท้ังหมด สามญั สมทบ (คน) 58.64
(คน) (คน) (คน) 86,401 50.35
1. สหกรณการเกษตร 103 147,331 142,216 5,115 69.60
2. สหกรณประมง 4 854 772 82 430 87.52
3. สหกรณน ิคม 2 1,829 1,829 1,273 90.41
4. สหกรณออมทรพั ย 19 44,695 43,476 0 39,117 74.85
5. สหกรณร านคา 2 2,419 2,419 1,219 2,187 70.66
6. สหกรณบ รกิ าร 15 1,686 1,686 1,262 65.87
7. สหกรณเ ครดิตยเู นย่ี น 6 6,274 6,251 0 4,433
รวม 151 205,088 198,649 0 135,103
23
6,439

ทมี่ า : ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป และกลุมสง เสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

สถานะสหกรณ

จำนวนสหกรณ (แหง ) จำนวนสหกรณ
ทั้งหมด
ประเภทสหกรณ ดำเนินงาน/ หยดุ ดำเนินงาน/ เลกิ จัดตั้งใหม
1. สหกรณก ารเกษตร ธรุ กิจ ธุรกจิ /ชำระบญั ชี (1) + (2) + (3)
2. สหกรณประมง (1) (2) (4) + (4)
3. สหกรณน คิ ม 102 1 (3) - 142
4. สหกรณออมทรพั ย 4 - 39 - 5
5. สหกรณร านคา 2 - 1 - 2
6. สหกรณบรกิ าร 19 - 0 - 20
7. สหกรณเ ครดติ ยเู นยี่ น 2 - 1 - 8
15 - 6 - 18
รวม 6 - 3 - 7
150 1 1 - 202
51

ท่ีมา : ฝายบรหิ ารท่ัวไป สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

สำนกั งานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 11

ปริมาณธรุ กจิ ของสหกรณในปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ปริมาณ ปรมิ าณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ ริการ (ลานบาท)
ธรุ กิจ
ประเภทสหกรณ ของ รับฝากเงนิ ใหเ งินกู จัดหา รวบรวม แปรรปู บรกิ าร รวมท้ังสนิ้
สหกรณ สนิ คามา ผลผลิต ผลผลิต และ
1. สหกรณก ารเกษตร (แหง ) 968.82 1,407.51 จำหนา ย อน่ื ๆ 5,638.59
2. สหกรณประมง 2.32 7.28 1,620.50 1,017.26 170.41
3. สหกรณน คิ ม 103 56.80 31.69 607.10 135.13 0.99 17.40 233.08
4. สหกรณออมทรัพย 4 24.14 75.34 62.55 0.55
5. สหกรณรา นคา 5,835.95 13,937.01 6.68 0 0 0.02 19,772.96
6. สหกรณบ ริการ 2 0 0 0 0 73.25
7. สหกรณเครดิตยูเนยี น 19 0 0 0 0 12.98
1.33 9.65 73.25 0 0 0 194.00
รวมท้ังส้ิน 2 90.59 98.54 0.49 1.51
15 6,955.81 15,491.68 4.87 1,830.97 1,080.80 0 26,095.27
716.53 19.48
6
151

ทม่ี า : กลมุ สง เสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ สำนกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ

ผลการดำเนินงานปลา สุดทมี่ ีการปด บญั ชีในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปด บญั ชี กำไร
ไมไ ด (ขาดทนุ )
ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนนิ งานมีผลกำไร - ขาดทนุ (แหง)
สุทธิ
ประเภทสหกรณ (1) (2) (3) สหกรณที่มีผลกำไร สหกรณท ข่ี าดทนุ ในภาพรวม
จำนวน รายได คา ใชจาย (4) (5) (6) (7) (ลานบาท)
สหกรณ (ลานบาท) (ลานบาท) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทนุ (5) – (7)
(แหง) สหกรณ (ลา นบาท) สหกรณ (ลา น
(แหง ) (แหง) บาท)

1. สหกรณการเกษตร 103 2,508.24 2,376.46 87 134.65 13 2.87 3 131.78
2. สหกรณประมง 4 167.23 167.05 3 0.31 1 0.13 0 0.18
3. สหกรณนิคม 2 212.64 209.07 2 3.57 0 3.57
4. สหกรณออมทรพั ย 19 723.27 18 1 00
5. สหกรณรานคา 2 2,212.34 60.67 2 1,489.25 0 0.18 0 1,489.07
6. สหกรณบ รกิ าร 15 66.29 5.07 11 5.62 2 5.62
7. สหกรณเครดิตยเู นยี่ น 6 5.35 21.33 5 1.32 1 00 0.28
34.42 13.11 1.04 2 13.09
รวมทง้ั สิ้น 151 3,562.92 128 18 0.02 0
5,206.51 1,647.83 1,643.59
4.24 5

ทม่ี า : กลมุ สง เสรมิ และพฒั นาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ สำนักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช
หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณในชอง (1) จะตองเทากบั ผลรวมของชอง (4) + (6)+ (ปดบญั ชีไมไ ด)

สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 12

 ผลการจดั ระดับชนั้ สหกรณจ ำแนกตามประเภท ขอ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564

ประเภทสหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ รวม
สหกรณภาคการเกษตร ชัน้ 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชัน้ 4
149
1. สหกรณการเกษตร 34 62 7 46 2
2. สหกรณนคิ ม 1 10 0 4
3. สหกรณประมง 0 40 0
20
สหกรณน อกภาคการเกษตร 10 9 0 1 7
4. สหกรณออมทรพั ย 1 18
3 8
5. สหกรณเ ครดติ ยเู นี่ยน 3 30 6 208
57
6. สหกรณบริการ 2 12 1
7. สหกรณร านคา 1 10
51 92 8
รวม

ทม่ี า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ช้นั สหกรณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน

 ผลการจัดระดบั ช้ันสหกรณ เปรียบเทยี บ 3 ป (ป พ.ศ. 2562 – 2564)
ระดับช้นั ระดับชัน้ ระดบั ชนั้
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม ณ วนั ที่ 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564
ระดบั ชัน้ 2562 2563

แหง รอยละ แหง รอ ยละ แหง รอยละ
54 24.54 52 23.85 51 24.52
ชน้ั 1

ชนั้ 2 102 46.36 95 43.58 92 44.23

ชนั้ 3 7 3.18 10 4.59 8 3.85

ชั้น 4 57 25.91 61 27.98 57 27.40

รวม 220 100 218 100 208 100

ที่มา : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชนั้ สหกรณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน

ชน้ั 4 ชน้ั 3 ชนั้ 2 ชน้ั 1

24.54 23.85 26.64
46.36 43.58 44.23
3.18 4.59 3.85
25.91 27.98 27.4

ป 2562 ป 2563 ป 2564

สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 13

 ขอมลู สถติ ขิ องกลมุ เกษตรกร ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ขอมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564

จำนวนกลมุ เกษตรกรและจำนวนสมาชิกกลุมเกษตรกร จำนวนสมาชกิ ท่ีมี
จำนวนกลมุ จำนวนสมาชกิ สว นรว มในการ
เกษตรกร ดำเนินธรุ กิจ
ประเภทกลมุ เกษตรกร (แหง) รวมสมาชิก สมาชกิ สมาชกิ รอยละ
ทั้งหมด สามัญ สมทบ (คน) 25.96
(คน) (คน) (คน) 594 39.49
1. กลมุ เกษตรกรทำนา 32 2,288 2,288 1,423 48.39
2. กลุมเกษตรกรทำสวน 30 3,603 3,603 0 391 15.95
3. กลมุ เกษตรกรเลีย้ งสัตว 11 808 808 0 48 49.90
4. กลมุ เกษตรกรทำไร 5 301 301 0 246 68.35
5. กลุม เกษตรกรทำประมง 6 493 493 0 95 36.64
6. กลมุ เกษตรกรอนื่ ๆ (ระบ)ุ 2 139 139 0 2,797
รวม 86 7,632 7,632 0
0

ทมี่ า : ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป และกลมุ สง เสรมิ และพัฒนาธรุ กิจสหกรณ สำนกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

สถานะกลุมเกษตรกร จำนวนกลมุ เกษตรกร (แหง) จำนวนกลมุ
เกษตรกรทงั้ หมด
ประเภทกลุมเกษตรกร ดำเนนิ งาน/ หยดุ เลกิ จัดตั้งใหม
ธรุ กจิ ดำเนินงาน/ /ชำระบญั ชี (1) + (2) +
1. กลมุ เกษตรกรทำนา (4) (3) + (4)
2. กลุมเกษตรกรทำสวน (1) ธุรกจิ (3) -
3. กลมุ เกษตรกรเล้ยี งสัตว 31 (2) 1 52
4. กลุมเกษตรกรทำไร 29 - 43
5. กลมุ เกษตรกรทำประมง 11 1 20 - 27
6. กลมุ เกษตรกรอ่ืน ๆ (ระบุ) 5 - 13 - 6
6 - 16 - 8
รวม 2 -1 1 2
84 -2 138
--
1 52

ท่ีมา : ฝา ยบรหิ ารทวั่ ไป สำนักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช
หมายเหตุ : กลมุ เกษตรกรทำสวนแปลงใหญย างพาราบา นทา งาม จดทะเบยี นจดั ตง้ั ใหม เมอ่ื วันท่ี 29 มกราคม 2564

สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 14

ปริมาณธุรกจิ ของกลุมเกษตรกรในปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ปรมิ าณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ ริการ (ลานบาท)
ธรุ กิจ
ประเภทกลมุ เกษตรกร ของกลุม รับฝาก ใหเงนิ กู จดั หา รวบรวม แปรรปู บรกิ าร รวมทั้งส้นิ
1. กลมุ เกษตรกรทำนา เกษตรกร เงนิ สินคา มา ผลผลติ ผลผลิต และอนื่ ๆ
2. กลุมเกษตรกรทำสวน (แหง) จำหนาย
3. กลุมเกษตรกรเลยี้ งสัตว
4. กลมุ เกษตรกรทำไร 32 0.17 5.81 4.28 0 0 0 10.26
5. กลุมเกษตรกรทำประมง 30 0.50 8.12 8.64 173.61 182.47 0.17 373.51
6. กลมุ เกษตรกรอืน่ ๆ 11 0.08 3.01 0.68 0 0
(ระบุ)……… 5 0.06 0.07 0.57 0 3.77
6 0 0.01 0.05 0 0 0 0.71
รวมท้ังสิน้ 2 0.04 8.07 0.59 0 0.40 0.80 8.96
0.06 0.64 0 1.69
86
0.85 25.66 14.30 173.68 183.44 0.97 398.90

ทมี่ า : กลมุ สง เสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

ผลการดำเนินงานของกลุมเกษตรกร

ผลการดำเนนิ งานปล า สุดทมี่ ีการปดบญั ชีในปง บประมาณ พ.ศ 2564 ปด กำไร
บญั ชี (ขาดทุน)
ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนนิ งานมีผลกำไร - ขาดทนุ ไมไ ด สุทธิ

ประเภท (1) (2) (3) กลุมเกษตรกร กลมุ เกษตรกร (แหง) ใน
กลุมเกษตรกร จำนวน รายได คา ใชจ าย ที่มผี ลกำไร ทข่ี าดทุน
1. กลุมเกษตรกรทำนา กลุม (ลานบาท) (ลานบาท) (4) (5) (6) (7) ภาพรวม
2. กลุม เกษตรกรทำสวน เกษตรกร จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน (ลาน
3. กลมุ เกษตรกรเล้ียงสตั ว (แหง ) กลมุ (ลานบาท) กลุม (ลา น บาท)
4. กลมุ เกษตรกรทำไร เกษตรกร เกษตรกร บาท) (5) – (7)
5. กลุมเกษตรกรทำประมง
6. กลมุ เกษตรกรอน่ื ๆ (แหง ) (แหง )
(ระบุ)
32 5.50 5.46 27 0.41 4 0.37 1 0.04
รวมท้งั สนิ้
30 211.12 199.44 26 12.60 4 0.92 0 11.68

11 0.70 0.48 11 0.22 0 0.00 0 0.22

5 0.51 0.56 3 0.00 2 0.05 0 -0.05

6 1.50 1.06 6 0.44 0 0.00 0 0.44

2 0.81 0.71 2 0.10 0 0.00 0 0.10

86 220.14 207.71 75 13.77 10 1.34 1 12.43

ท่ีมา : กลมุ สง เสรมิ และพฒั นาการบรหิ ารการจัดการสหกรณ สำนักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช
หมายเหตุ ผลรวมของกลุม เกษตรกรในชอ ง (1) จะตองเทา กบั ผลรวมของชอ ง (4) + (6)+(ปดบญั ชไี มได)

สำนักงานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 15

 ผลการจดั ระดบั ชั้นกลมุ เกษตรกรจำแนกตามประเภท ขอ มูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564

ประเภทกลมุ เกษตรกร กลุม เกษตรกร กลมุ เกษตรกร กลุมเกษตรกร กลมุ เกษตรกร รวม
1. กลมุ เกษตรกรทำนา ชนั้ 1 ช้ัน 2 ชัน้ 3 ชั้น 4
0 28 4 23 55
49
2. กลุมเกษตรกรทำสวน 3 24 3 19 32
6
3. กลมุ เกษตรกรเลยี้ งสัตว 0 11 0 21 8
2
4. กลุม เกษตรกรทำไร 04 1 1 152

5. กลุมเกษตรกรทำประมง 06 02

6. กลุม เกษตรกรอ่นื ๆ (ระบ)ุ 0 2 0 0
รวม 3 75 8 66
ทมี่ า : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ชั้นกลุมเกษตรกร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
กองพัฒนาสหกรณภาคการเกษตรและกลมุ เกษตรกร

กราฟแสดงผลการจดั ระดบั ช้ันกลุมเกษตรกร ขอมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564

ช้นั 4
ชั้น 3
ชน้ั 2
ชน้ั 1

สำนกั งานสหกรณจ ังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 16

ขอมลู สถติ ขิ องกลมุ อาชพี ในสังกัดสหกรณ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ขอมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564

จำนวนกลมุ อาชีพและจำนวนสมาชกิ กลุมอาชีพ

จำนวนกลุม จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ทีม่ ี
อาชีพ สวนรว มในการ
ประเภทกลมุ อาชพี (แหง) รวมสมาชิก สมาชกิ สมาชกิ ดำเนนิ ธรุ กิจ รอ ยละ
1. อาหารแปรรปู 2 ท้ังหมด สามัญ สมทบ
2. ผาและเคร่ืองแตง กาย 0 (คน) (คน) (คน) (คน) 100
3. ของใช/ของตกแตง / 4 66 66 66 0
ของทีร่ ะลึก/เคร่อื งประดบั 0 0 0 100
4. เลย้ี งสตั ว 148 0 0 148 0
5. บริการ 148 0 0
6. สมุนไพรทไี่ มใชอาหาร/ยา 0
7. เพาะปลูก 0 000 0 0
8. ปจ จยั การผลิต 0 000 0 0
0 000 0 100
รวม 0 000 0
0 000 0
6 214 214 0 214

ทม่ี า : กลุมสงเสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ สำนักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

สถานะกลุม อาชีพ

จำนวนกลุมอาชีพ (แหง) จำนวนกลมุ
อาชพี ทัง้ หมด
ประเภทกลุมอาชีพ ดำเนนิ งาน/ หยุดดำเนินงาน/ เลกิ จัดตัง้ ใหม (1) + (2) +
ธุรกจิ ธุรกจิ /ชำระบญั ชี (4) (3) + (4)
(1) (2) 0
(3) 0 2
0
1. อาหารแปรรปู 200 0 4
2. ผา และเคร่ืองแตงกาย 0 0 0 0
3. ของใช/ ของตกแตง / 400 0 0
ของทีร่ ะลกึ /เครื่องประดบั 0 0
4. เลย้ี งสตั ว 000 0 0
5. บรกิ าร 000 0 0
6. สมนุ ไพรทไ่ี มใ ชอาหาร/ยา 0 0 0 0
7. เพาะปลกู 000 6
8. ปจจัยการผลติ 000

รวม 6 0 0

ท่ีมา : กลมุ สงเสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ สำนกั งานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

สำนกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 17

ปรมิ าณธุรกจิ ของกลุมอาชพี ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ปริมาณธุรกิจ ปรมิ าณธุรกิจ แยกตามประเภทการใหบ ริการ (บาท)
ของกลมุ อาชพี
ประเภทกลมุ อาชพี รวบรวมผลผลิต แปรรูปผลผลติ บรกิ าร รวมทัง้ สิน้
(แหง ) และอ่ืน ๆ

1. อาหารแปรรปู 2 135,000.00 50,000.00 0.00 185,000.00
2. ผา และเครือ่ งแตง กาย 0 0.00 0.00 0.00 0.00
3. ของใช/ ของตกแตง / 4 1,600,000.00 0.00 0.00 1,600,000.00
ของทร่ี ะลึก/เคร่ืองประดับ
4. เลยี้ งสัตว 0 0.00 0.00 0.00 0.00
5. บรกิ าร 0 0.00 0.00 0.00 0.00
6. สมนุ ไพรทไี่ มใชอ าหาร/ยา 0 0.00 0.00 0.00 0.00
7. เพาะปลกู
8. ปจ จัยการผลิต 0 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมทง้ั สนิ้ 0 0.00 0.00 0.00 0.00

6 1,735,000.00 50,000.00 0.00 1,735,000.00

ทม่ี า : กลุมสงเสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ สำนักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

ผลการดำเนินงานของกลุมอาชีพ

ผลการดำเนินงานปล า สุดท่ีมกี ารปด บญั ชใี นปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กำไร (ขาดทนุ )
สทุ ธิ
ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนนิ งานมผี ลกำไร - ขาดทนุ ในภาพรวม
(2) (3)
ประเภท (1) รายได คาใชจ า ย กลุมอาชีพท่มี ผี ลกำไร กลุมอาชีพท่ี (บาท)
กลุมอาชีพ จำนวน (บาท) (บาท) (4) (5) ขาดทนุ (5) – (7)
1. อาหารแปรรปู กลุม
อาชพี (6) (7)
จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน
(แหง ) กลุม (บาท) กลมุ (บาท)
อาชพี อาชพี
(แหง ) (แหง )
2 135,000.00 60,000.00 2 40,000.00 0 0.00 40,000.00
2. ผาและเครอ่ื งแตงกาย
3. ของใช/ ของตกแตง/ของที่ 4 1,600,000.00 800,000.00 4 90,000.00 0 0.00 90,000.00
ระลกึ /เคร่ืองประดบั
4. เลย้ี งสตั ว 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0.00

5. บริการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0.00

6. สมนุ ไพรทไ่ี มใชอาหาร/ยา 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0.00

7.เพาะปลกู 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0.00

8.ปจจยั การผลติ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0.00

รวมทงั้ สิ้น 6 1,735,000.00 1,400,000.00 6 130,000.00 - - 130,000.00

ทีม่ า : กลมุ สง เสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ สำนักงานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช
หมายเหตุ ผลรวมของกลมุ อาชีพ ในชอง (1) จะตอ งเทา กับผลรวมของชอ ง (4) + (6)

สำนักงานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 18

สวนที่ 2
ผลสัมฤทธข์ิ องการปฏบิ ตั งิ าน
และผลการปฏบิ ตั งิ าน/โครงการ

ภายใตแผนปฏบิ ตั ิงาน
และงบประมาณรายจายประจำป

งบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 19

1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั งิ านและงบประมาณรายจาย
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการปฏบิ ัติงานและผลเบกิ จายงบประมาณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

แผนงาน/ผลผลติ / หนวยนบั เปา หมาย ผลการ งบประมาณที่ไดรับ ผลการเบิกจา ย
กิจกรรม ดำเนนิ งาน จัดสรร+โอนเพ่มิ
บาท รอ ยละ
หนว ยนบั รอ ยละ บาท

1. แผนงานบุคลากรภาครฐั
ผลผลติ 1 : คา ใชจ า ยบคุ ลากรภาครฐั
กจิ กรรมหลัก : คาใชจ า ย อตั รา 30 29 96.66 9,247,485.30 9,247,485.30 100.00
บุคลากรภาครัฐกรมสงเสรมิ
สหกรณ 4,830,348.68 100.00
2. แผนงาน : พน้ื ฐานดา นการสรา งความสามารถในการแขงขัน 9,600.50 100.00
ผลผลิต 1 : สหกรณและกลุมเกษตรกรไดรับการสง เสรมิ และพฒั นาตามศักยภาพ 79,100.00 100.00
กจิ กรรมหลัก 1 : สง เสรมิ และพฒั นาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร 80,000.00 100.00
กิจกรรมรอง 1 : สงเสริม แหง 232 232 100.00 4,830,348.68 45,000.00 100.00
และพัฒนาสหกรณและกลุม 31,600.00 100.00
เกษตรกร
2.1 งบรายจายอื่น ไร 155 155 100.00 9,600.50 282,525.00 100.00
(กสน.5)
2.2. งบลงทุน 4,873,173.87 100.00
2.3 ครุภัณฑสำนักงาน เครอื่ ง 23 23 100.00 79,100.00
กจิ กรรมหลัก 2 : สงเสริมความรดู านการสหกรณ
2.4 ครุภณั ฑอืน่ ๆ ชดุ 2 2 100.00 80,000.00
ครุภณั ฑโฆษณาและเผยแพร
และครุภัณฑไฟฟา และวทิ ยุ
กิจกรรมหลัก 3 : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
2.5 ครภุ ัณฑค อมพวิ เตอร เครอ่ื ง 2 2 100.00 45,000.00
2.6 งบดำเนินงาน:ชดุ ชดุ 4 4 100.00 31,600.00
โปรแกรมฯ
3. แผนงาน : ยุทธศาสตรเ สริมสรา งพลงั ทางสังคม
โครงการ 1 : สง เสริมการดำเนินงานอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมหลัก 1 : พัฒนาสหกรณ/ กลมุ เกษตรกรในพ้ืนทีโ่ ครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ
กจิ กรรมรอง 1 : สงเสริม กจิ กรรม 6 6 100.00 282,525.00
และพฒั นาสหกรณอนั
เน่ืองมาจากพระราชดำริ
4. แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเพอ่ื สนับสนนุ ดานการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
โครงการ 1 : ชว ยเหลอื ดานหนส้ี นิ สมาชิกสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
กจิ กรรมหลัก 1 : ชว ยเหลือดานหนส้ี นิ สมาชกิ สหกรณ/กลุมเกษตรกร
กิจกรรมรอง 1 : ลด แหง 29 29 100.00 4,873,173.87
ดอกเบ้ยี เงินกูใหเ กษตรกร
สมาชกิ สหกรณ/ กลุม
เกษตรกร

สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 20
ผลการ งบประมาณท่ไี ดรับ
แผนงาน/ผลผลิต/ หนวยนบั เปาหมาย ดำเนินงาน จดั สรร+โอนเพ่มิ ผลการเบิกจาย
กจิ กรรม
หนวยนบั รอ ยละ บาท บาท รอ ยละ

5. แผนงาน : ยุทธศาสตรการเกษตรสรางมูลคา
โครงการ 1 : สง เสริมและสนบั สนนุ สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรทำการเกษตรเพอ่ื เพม่ิ มลู คา
กจิ กรรมหลัก 1 : สนับสนนุ ใหส หกรณและกลมุ เกษตรกรสงเสริมสมาชกิ ทำการเกษตรปลอดภัย
กิจกรรมรอง 1 : สงเสริม แหง 1 1 100.00 219,910.00 219,910.00 100.00
การทำเกษตรผสมผสาน 81,600.00 100.00
ลักษณะเกษตรปลอดภยั ใน 80,140.00 100.00
สหกรณและกลมุ เกษตรกร ป
พ.ศ.2564
กิจกรรมรอง 2 : พัฒนา แหง 5 5 100.00 81,600.00
คณุ ภาพการผลิตสินคาเกษตร
ของสมาชกิ สหกรณแ ละกลมุ
เกษตรกรสมู าตรฐาน GAP
กิจกรรมรอง 4 : พัฒนา แหง 6 6 100.00 80,140.00
เกษตรปลอดภยั ในพื้นที่นคิ ม
สหกรณ ประจำปง บประมาณ
พ.ศ. 2564
6. แผนงาน : บูรณาการพัฒนาและสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก

โครงการ 1 : สงเสริมและสรางทักษะในการประกอบอาชพี ทั้งในและนอกภาคเกษตร
กิจกรรมหลัก 1 : นำ ราย 12 12 100.00 48,280.00 48,280.00 100.00
ลูกหลานเกษตรกรกลับบา น 50,775.00 100.00
สานตออาชีพการเกษตร 11,180.00 100.00
โครงการ 2 : สงเสริมและพฒั นาอาชีพเพื่อแกไ ขปญ หาท่ดี ินทำกนิ ของเกษตรกร
กิจกรรมหลัก 2 : สง เสริม พื้นท่ี 3 3 100.00 50,775.00
และพฒั นาอาชีพภายใต
โครงการจดั ทด่ี ินตามนโยบาย
รฐั บาล
โครงการ 3 : สงเสรมิ และพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรบั สินคาเกษตร
กจิ กรรมหลัก 3 : พฒั นา แหง 11 11 100.00 11,180.00
กลไกการตลาดเพื่อเพมิ่ ชอ ง
ทางการจำหนายสินคา ของ
สหกรณและกลุม เกษตรกร
โครงการ 4 : พัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ กลมุ เกษตรกร และธรุ กิจชมุ ชน
กิจกรรมหลัก 4 : เพ่ิมขีด แหง 11 11 100.00 79,065.00 79,065.00 100.00
ความสามารถในการดำเนนิ
ธรุ กจิ ของสหกรณ/ กลมุ
เกษตรกรใหเปน องคกรหลกั
ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดบั
อำเภอ
กิจกรรมหลกั 5 : เพม่ิ แหง 11 11 100.00 1,834,358.00 1,834,358.00 100.00
ศักยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ
รวบรวม จัดเก็บ และแปรรปู
ผลผลติ การเกษตรในสหกรณ
และกลมุ เกษตรกร

สำนกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 21

เงินกูเพ่อื แกไ ขปญ หา เยยี วยา และฟน ฟเู ศรษฐกจิ และสังคมที่ไดร ับผลกระทบจากการระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

แผนงาน/ผลผลิต/ หนว ยนบั เปาหมาย ผลการ งบประมาณที่ไดรบั ผลการเบกิ จา ย
กจิ กรรม ดำเนนิ งาน จัดสรร+โอนเพ่ิม บาท รอ ยละ
หนว ยนบั รอยละ บาท

1. แผนงาน : ฟนฟูเศรษฐกจิ และสงั คมทไ่ี ดรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
โครงการ : ปรับโครงสรา งการผลติ การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรรองรบั ผลผลิตทางการเกษตร
1) งบเงนิ อุดหนนุ เงนิ แหง 8 8 100.00 12,391,250.00 12,391,250.00 100.00
อุดหนนุ ทัว่ ไป ครภุ ัณฑ
การเกษตร 56
เงนิ นอกงบประมาณ 12
1. เงนิ กองทนุ พฒั นาสหกรณ 12
1) เงนิ กองทนุ พัฒนา
สหกรณ แหง 56 100.00 130,918,000.00 86,780,000.00 66.29

คาบริหารจดั การ เดือน 12 100.00 227,500.00 175,380.00 77.09
คา เบ้ยี ประชมุ เดือน 12 100.00 105,600.00 95,540.00 90.47
2. เงินกองทุนสงเคราะหเ กษตรกร
โครงการสรา งความเขมแขง็ ใหก ับกลมุ เกษตรกรเพ่ือเขาถงึ แหลงเงินทุนในการผลิตและการตลาด
โครงการสรา งความ แหง 27 27 100.00 23,750,000.00 23,750,000.00 100.00
เขม แขง็ ใหกบั กลมุ
เกษตรกรเพอื่ เขา ถงึ แหลง
เงินทนุ ในการผลิตและ
การตลาด

ขอมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564
ทมี่ า : สำนกั งานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 22

แผนงานพ้นื ฐานดา นการสรางความสามารถในการแขง ขัน

ผลสำเร็จของการสง เสรมิ และพฒั นาสหกรณแ ละกลุม เกษตรกรใหม คี วามเขม แขง็ ตามศักยภาพ

สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช มอี ำเภอในความรบั ผิดชอบ 23 อำเภอ แบงเปน
6 กลุมสงเสริมสหกรณ 2 นิคมสหกรณ กำกับ แนะนำ สงเสริมใหสหกรณ/กลุมเกษตรกรมีความเขมแข็ง
ตามศักยภาพ 4 ดาน ดังนี้
 ดา นการสงเสริมและพฒั นาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

1. รา นสหกรณกองทัพภาคท่ี 4 จำกัด
สาเหตขุ องปญหาหรือเปาหมาย/วัตถุประสงคข องการพัฒนาสหกรณ
สหกรณมีสมาชิกจำนวนมาก แตมีสวนรวมทางธุรกิจกับสหกรณนอย เพียงรอยละ 30.75

ของสมาชิกทั้งหมด ผลการดำเนินงานสหกรณขาดทุนอยางตอเนื่อง ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
ของสหกรณอยูใ นระดบั ตำ่ กวา มาตรฐาน ทำใหส หกรณไมผานเกณฑมาตรฐาน

วัตถุประสงคของการพฒั นาสหกรณ
เพื่อใหสมาชิกรวมทำธุรกิจกับสหกรณมากขึ้น สหกรณมีกำไรสุทธิประจำป และมีประสิทธิภาพ
ในการดำเนินธุรกิจ
วิธีการในการเขาไปแกไ ขปญหาของกลมุ สงเสรมิ สหกรณ
1. วิเคราะหปญหา สาเหตขุ องปญ หาและสรปุ แนวทางแกไ ขปญหาเบื้องตน เพื่อเตรยี มไปเสนอตอคณะกรรมการ
ดำเนินการสหกรณ
2. ประสานงานเพื่อนัดประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชี้แจงปญหา สาเหตุ และแนวทางแกไขปญหา
เบอ้ื งตน และใหท างคณะกรรมการดำเนินการพจิ ารณาปญหาเพ่ิมเติม และหาแนวทางแกไขปญ หาดงั กลาวรว มกัน
3. จดั ทำแผนการดำเนินงานและดำเนินการตามแผนงานที่กำหนดไว และนำผลการดำเนนิ การเสนอ
ตอทป่ี ระชุมคณะกรรมการเพ่ือวเิ คราะหป ญหา และจดั ทำแผนงานแกไขปญ หาดา นอื่นๆ รวมกนั ตอ ไป
ผลสำเร็จทเี่ กิดจากการเขาแนะนำสง เสรมิ สหกรณ
- เชิงปริมาณ
1. สมาชิกมสี ว นรวมทางธุรกิจกับสหกรณเพม่ิ ข้ึน เปนรอ ยละ 68.82 ของสมาชิกท้ังหมด
2. ผลการดำเนินงานสหกรณ สำหรับปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2563 มีกำไรสุทธิประจำป
จำนวน 634,329.32 บาท ซึง่ เมือ่ เปรียบเทยี บกับปบัญชีสิ้นสดุ วันที่ 30 กันยายน 2562 จำนวน สหกรณ
มีกำไรสุทธปิ ระจำป จำนวน 186,965.48 บ. เพมิ่ ขึน้ จำนวน 447,363.84 บาท
- เชิงคุณภาพ
1. สหกรณมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจดีขึ้นอยูในระดับ มั่นคงดีมาก จากเดิมอยูในระดับต่ำกวา
มาตรฐาน
2. สหกรณผ า นเกณฑมาตรฐานในระดบั ดีเลศิ จากเดิมอยูในระดบั ไมผา นเกณฑมาตรฐาน

สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 23

ประโยชนท ่ีสหกรณ/ สมาชกิ ไดร บั จากการเขาแนะนำสงเสรมิ
- สหกรณ
1. สหกรณสามารถปรับปรุงแกไขปญหาท่สี ะสมมาเปนเวลานานไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ
2. สหกรณจัดหาสินคามาจำหนายไดต รงกับความตองการของสมาชิก ทำใหจำหนา ยสินคาไดเ พม่ิ ขนึ้
3. สหกรณมีกำไรสุทธิสามารถจัดสรรเขาทุนสำรองและทุนอื่นๆ ตามขอบังคับ สรางความมั่นคง
ในการดำเนนิ งานของสหกรณม ากย่งิ ข้ึน
- สมาชิก
1. สมาชกิ ไดซ อ้ื สนิ คาตรงตามความตองการและไดรบั บริการท่ีดีจากสหกรณ
2. สมาชิกไดรับเงินปนผลและเฉลี่ยคืน จากการเปนเจาของสหกรณ และการมีสวนรวมในการทำธุรกิจ
กบั สหกรณ
3. สมาชิกไดรับการแกไขปญหาเรื่องคาใชจายในการครองชีพ และการจัดซื้อสินคาอุปโภคบริโภค
มาใชใ นชวี ิตประจำวนั ทำใหส มาชิกมีคุณภาพชีวติ ท่ีดีขนึ้
ปญ หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน
- ของเจา หนา ที่สงเสรมิ สหกรณ
นัดประชุมคณะกรรมการดำเนินการไมได เนื่องจากกรรมการแตละคนมีงานประจำ และบางสวน
ไปปฏิบัติหนา ทตี่ า งจงั หวดั
- ของสหกรณ
1. กรรมการดำเนนิ การไมเ ขาใจ บทบาท หนาท่ีของตนเอง จึงไมไดรวมกันแกไ ขปญหาของสหกรณ
2. สมาชิกไมเ ขา ใจ บทบาท หนา ทข่ี องตนเอง ทำใหม สี มาชิกจำนวนมากไมร ว มทำธุรกจิ กับสหกรณ
ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
1. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณประสานงานอยางเปนทางการและไมเปนทางการกับกรรมการดำเนินการ
และผจู ัดการอยา งสม่ำเสมอ เพ่ือใหส ามารถแกไ ขปญ หาของสหกรณไดอยา งไมมีขอจำกัด
2. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณชี้แจงบทบาท หนาที่ของกรรมการดำเนินการอยางสม่ำเสมอ
ใหกรรมการเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเองตามขอบังคับ และสรางความมั่นใจในการปฏิบัติหนาท่ี
ของกรรมการ
3. เจา หนาท่สี ง เสริมสหกรณเขารว มประชุมใหญส ามญั ประจำป ใหค วามรูด า นหลักการ อุดมการณ
วิธีการสหกรณ บทบาท หนาที่ของสมาชิกที่มีตอสหกรณ เพื่อใหสมาชิกเขาใจบทบาท หนาที่ของตนเอง
รบั รถู งึ คุณคาของสหกรณและการเปนเจาของสหกรณร ว มกัน

สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 24

2. สหกรณอ อมทรัพยก องพลทหารราบท่ี 5 จำกดั
สาเหตขุ องปญ หาหรอื เปา หมาย/วตั ถุประสงคของการพัฒนาสหกรณ
สหกรณอ อมทรัพยกองพลทหารราบที่ 5 จำกดั ชว ยเหลอื สมาชิกสหกรณท ่ีประสบปญหาจากการแพรระบาด

โรคไวรัสโคโรนา 2019 ยังไมคลี่คลายลงภายในระยะเวลาอันสั้น จึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการฯ
ชวยเหลือสมาชิกทไี่ ดร ับผลกระทบจากสถานการณโรคระบาดไวรัสโคโรนา 2019

วตั ถุประสงคข องการพัฒนาสหกรณ
1. เพ่ือใหส มาชกิ ท่มี หี นค้ี า งและดอกเบีย้ คา งสามารถชำระได
2. เพอ่ื ใหเ ปน ไปตามคำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ
3. เพื่อใหมีการชวยเหลือดานหนี้สินที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณโรคระบาดโควิด-19
ตามโครงการพักชำระหนี้
4. เพ่อื เสริมสรางกำลังใจใหส มาชิกสหกรณในสถานการณโรคระบาดทีร่ นุ แรง
วิธีการในการเขาไปแกไขปญหาของกลุม สง เสรมิ สหกรณ
1. รวมกนั จดั ทำแผนพฒั นาดำเนนิ การแกไขปญหา โดยจัดทำโครงการมาตรการใหค วามชวยเหลือ
ผอนปรน และบรรเทาความเดอื ดรอ นดานหนีส้ ินทีไ่ ดร บั ผลกระทบจากสถานการณโ รคระบาด COVID-19
2. จัดทำโครงการฯ พักชำระหนี้ชวยเหลือสมาชิกที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณโรคระบาด
โควิด-19 ยกเวนการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญใหกับสมาชิก สมาชิกสมทบ ผูกูเงินจากสหกรณทุกประเภท
โดยชำระเฉพาะดอกเบ้ีย เปนเวลาไมเ กิน 3 เดือน
3. จดั ทำโครงการฯ ปรบั ลดอตั ราดอกเบ้ียเงนิ กจู ากเดิมกำหนดอัตรารอยละ 6.25 บาทตอ ป เปนอัตรา
รอ ยละ 6.00 บาท
4. จัดทำโครงการฯ ปรบั ขยายงวดการผอนชำระโครงการพฒั นาคุณภาพชีวิต เปน 150 งวด
5. ตดิ ตามผลท่ีประชมุ คณะกรรมการดำเนินการเปน ประจำทุกเดอื น
ผลสำเร็จท่ีเกดิ จากการเขาแนะนำสงเสรมิ สหกรณ
- เชงิ ปริมาณ
สำหรบั ปสิน้ สุดวนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 สหกรณไ มม ีหนี้สงสัยจะสูญ สมาชิกพักชำระหน้ี จำนวน
286 ราย ปรับขยายงวดการผอนชำระโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปน 150 งวด 273 ราย และสมาชิกที่กู
ไดรับประโยชนจากการลดดอกเบี้ยเงินกู 1,544 ราย 2,889 สัญญา และสหกรณสามารถรับชำระดอกเบย้ี
คา งไดเ พิม่ ข้ึนจากปกอน รอยละ 32.10 ของดอกเบย้ี คางทง้ั หมด
- เชงิ คณุ ภาพ
1. ลดภาระคาใชจายของสมาชิกที่ไดรับความเดือดรอนจากสถานการณจากโรคระบาดโควิด-19
2. สหกรณสามารถชวยลดความเดือดรอนชองสมาชิกที่ไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากสถานการณ
ระบาดของโรคโควิด-19
3. สหกรณรักษาระดับการควบคุมภายในของสหกรณไดระดับดีมาก สหกรณรักษามาตรฐานของสหกรณ
อยูในระดบั ดีเลศิ
4. สหกรณสามารถลดผลกระทบอันเกิดจากความจำเปนที่ตองยกเวนขอกำหนดตางๆ ดำเนินการ
ไดเปนไปตามระเบยี บ ขอ บังคบั คำสง่ั ตา งๆ ได

สำนกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 25

ประโยชนท ่ีสหกรณ/สมาชิกไดร บั จากการเขาแนะนำสง เสริม
- สหกรณ
1. สหกรณส ามารถลดผลกระทบอันเกดิ จากการผดิ นดั ชำระหนีข้ องสมาชิกได
2. สหกรณไมไดรับผลกระทบจากการออกมาตรการชวยเหลือดังกลา วเนื่องจากไดดำเนินการตาม
แนวทางประกาศนายทะเบียนสหกรณ เรือ่ งมาตรการใหความชวยเหลือดา นหน้สี นิ และการปรับโครงสรางหน้ี
ของสมาชกิ สหกรณ
- สมาชิก สามารถบรรเทาความเดือดรอนดานหน้สี นิ ของสมาชกิ ไดอยางเปนรูปธรรม

 ดานการพฒั นาธรุ กจิ

1. กลมุ เกษตรกรทำสวนยางพารานางหลง
สาเหตุของปญ หาหรือเปาหมาย/วตั ถุประสงคข องการพฒั นากลุมเกษตรกร
กลุมฯ ไดมีการรวมตัวกันเปนกลุมธรรมชาติเพื่อที่จะรวบรวมยางกอนถวยแตยังประสบปญหา

ในการดำเนินธุรกิจเนื่องจากผลผลิตที่ไดไมมีคุณภาพ ไมไดรับความเปนธรรมในการขาย เนื่องจากมีพอคา
ใหราคาต่ำมาก ทำใหไดรับความเดือดรอนในการดำรงชีพ ในขณะที่ตนทุนการผลิต เชน ปุยมีราคาสูงข้ึน
และคาครองชพี สูงข้ึน

วตั ถุประสงคของการพฒั นากลมุ เกษตรกร
เพื่อใหสมาชิกมีเงินออมมากยิ่งขึ้น และสมาชิกไดพัฒนายางกอนถวยใหมีคุณภาพ ขายผลผลิต
ไดร าคาสงู ขน้ึ มอี ำนาจการตอรองมากย่ิงข้ึน
วธิ กี ารในการเขาไปแกไ ขปญ หาของกลมุ สง เสรมิ สหกรณ
1. จัดประชุมช้ีแจงทำความเขา ใจกบั สมาชกิ ถงึ สาเหตุทข่ี ายผลผลิตราคาตำ่ กวา ทองตลาด
2. จัดทำเวทีระดมความคิดเหน็ จากสมาชกิ เพ่อื ใหทุกคนไดแ สดงความคิดเหน็
3. ประชุมกำหนดระเบียบ กติกา การขายผลิตผลยางกอนถวย เชน ยางกอนถวยที่จะขาย
-ตอ งมเี ปอรเ ซ็นตก ารผลิตตามที่ตกลง ไมม กี ารใสส่งิ ปลอมปนลงในยางกอ นถว ย เปนตน
4. ตดิ ตามผลการดำเนินงานและนำมาปรบั ปรุงอยางตอ เนื่อง
ผลสำเรจ็ ท่ีเกิดจากการเขาแนะนำสงเสรมิ กลุมเกษตรกร
- เชิงปริมาณ
1. สำหรบั ปสิ้นสุดวนั ที่ 31 ตลุ าคม 2563 กลุมฯ รวบรวมยางกอ นถว ยจากสมาชิก ปรมิ าณ 439.59 ตัน
เปนเงิน 4,601,711 บาท ขายปุยผสม 388,080 บาท และขายแมปยุ 65,470 บาท
2. สมาชิกมเี งินออมจากทุนเรือนหุน กลุมฯมีทนุ เรอื นหนุ 13,400 บาท

สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 26

- เชิงคุณภาพ
1. สมาชิกกลุมเกษตรกรมีรายไดเพิ่มมากขึ้นจากเดิมที่ตางคนตางขาย เมื่อรวมกันขายในปริมาณ
ทมี่ ากข้นึ ครั้งละ 20 ตนั สมาชกิ มีรายไดม ากข้ึน 2 บาท/กโิ ลกรัม
2. สมาชิกไดซอื้ ปยุ ราคาถกู กวาทองตลาด ประมาณ 100-150 บาท/กระสอบ
3. กลุมเกษตรกรทำสวนยางพารานางหลง ไดรับความไววางใจและนาเชื่อถือมีเกษตรกรมาสมัคร
เปน สมาชกิ มากขึ้น
ประโยชนที่กลุมเกษตรกร/สมาชกิ ไดร ับจากการเขาแนะนำสง เสรมิ สมาชกิ
1. กลมุ เกษตรกรมีเงนิ ทุนหมุนเวยี นมากขนึ้ จากการระดมทนุ และจากการดำเนินธุรกจิ
2. กลมุ เกษตรกรมีสภาพคลองในการดำเนนิ งานเพิม่ ข้ึน
3. กลมุ เกษตรกรเปน ท่ียอมรับของหนวยงาน องคกรตา งๆทำใหไดรับการสนับสนุนอุปกรณการตลาด
4. สมาชกิ สามารถผลติ ยางกอ นถวยทม่ี ีคณุ ภาพเปน ทต่ี องการของตลาด
5. สมาชิกมีรายไดมากขึ้นประมาณ 2 บาท/กิโลกรัม เชน สมาชิกมียางมาขาย 100 กิโลกรัม
หากราคาตลาดอยูที่ 20 บาท/กิโลกรัม มารวมกันขายของในนามของกลุมเกษตรกร สามารถขายไดถึง 22
บาท/กโิ ลกรมั มีรายไดม ากข้นึ 200 บาทตอการรวม 1 คร้งั ซึ่งปกตกิ ลมุ เกษตรกรจะรวบรวมเดอื นละ 2 ครงั้
ปญ หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน
1. สมาชิกบางคนยังไมเคารพกติกาที่กลุม ไดกำหนด
2. กลุมเกษตรกรยังไมมีสถานที่เปนของตนเองในการรวบรวม (ปจจุบันใชบริเวณถนนชลประทาน
หมูท ่ี 2 ตำบลนางหลง)
ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
1. มีการประชุมชี้แจงใหสมาชิกเขาใจในบทบาทหนาที่อยางตอเนื่องและจะใชมาตรการตามแนวทาง
อยา งเครง ครัด
2.กลุมเกษตรกรไดทำหนังสือขอใชสถานที่จากหนวยงานชลประทาน และไดรับอนุญาตใหใชชั่วคราว
สำหรบั อนาคตจะขอใชพ ้นื ที่สาธารณะของหมบู า นเพื่อดำเนินการตอไป

2. สหกรณกองทนุ สวนยางเกษตรสมั พันธ จำกัด
สาเหตุของปญหาหรอื เปา หมาย/วัตถุประสงคข องการพัฒนาสหกรณ
สหกรณกองทุนสวนยางเกษตรสัมพันธ จำกัด ไดดำเนินธุรกิจรวบรวมน้ำยางสดเพื่อนำมาแปรรูป

แตในชวงหลายปที่ผานมาสมาชิกขาดความเชื่อมั่นในการดำเนินงานระบบสหกรณ ทำใหสมาชิกนำน้ำยาง
มาสงกับสหกรณไมต อเนื่องทำใหส หกรณออนแอในเชงิ ธุรกิจ สหกรณไ มสามารถเปน สถาบันที่แทจ ริงของสมาชิกได

วัตถุประสงคของการพัฒนาสหกรณ เพื่อสหกรณสามารถพัฒนาธุรกิจใหมีความเขมแข็ง
และสามารถเพ่มิ ธุรกจิ ตามความตองการของสมาชิกได

สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 27

วิธกี ารในการเขา ไปแกไขปญ หาของนคิ มสหกรณ
1. เสวนากรรมการ, เจาหนาท่ขี องสหกรณถึงแนวทางการพัฒนาธรุ กิจของสหกรณ
2. นำประเด็นการพัฒนาธุรกิจของสหกรณเขาสูรูปแบบของคณะกรรมการเพื่อกำหนดแผนงาน
ในการดำเนนิ งาน
3. นัดประชุมสมาชิกเพื่อใหการศึกษาอบรมถึงอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ ตลอดจน
ใหสมาชกิ ไดรูถ งึ คณุ คาในการชวยเหลือตนเองและชว ยเหลือซ่งึ กันในรูปแบบสหกรณ ตลอดจนใหร ูจักบทบาท
หนา ท่ีในฐานะเปน สมาชิกของสหกรณ
ผลสำเรจ็ ท่ีเกดิ จากการเขาแนะนำสงเสริมสหกรณ
- เชิงปริมาณ
1. สหกรณสามารถเพม่ิ ธุรกจิ จากปก อน บญั ชี 2563 จำนวน 13,912,504.15 บาท บัญชี 2564
จำนวน 20,754,284.67 บาท มีปรมิ าณธุรกจิ เพิ่มขึ้น 6,841,780.52 บาท คดิ เปนรอ ยละ 22.97
2. สหกรณสามารถรบั เงินฝากจากาสมาชกิ จำนวน 324,732.46
- เชงิ คุณภาพ
1. สหกรณสามารถขยายธุรกิจเพิ่ม คือธรุ กจิ รับฝากเงินจากสมาชกิ
2. สมาชิกใชบรกิ ารกบั สหกรณเพิ่มมากขึ้น
ประโยชนท ี่สหกรณ/ กลุมเกษตรกร/สมาชิกไดรบั จากการเขา แนะนำสง เสรมิ
- สหกรณส ามารถพัฒนาธรุ กิจและดำเนนิ ธุรกจิ ไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ
- สมาชิกสามารถจำหนา ยผลผลิตทางการเกษตรไดม ากข้ึนและราคาก็เพิ่มมากขนึ้ ดวย
- สมาชิกเขามารว มดำเนนิ ธุรกิจกบั สหกรณเพิ่มมากย่ิงขึ้น
ปญ หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน
- ของเจาหนาทสี่ ง เสรมิ สหกรณ สมาชิกสหกรณคณะกรรมการยงั ไมเขาใจบทบาทหนา ที่ในฐานะสมาชิก
- ของสหกรณ : สมาชกิ เขามามสี วนรว มกับสหกรณนอยมาก
ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญหา
- จะตองจัดใหมีการศึกษาอบรมใหสมาชิกทราบในฐานะสมาชิกและเจาของสหกรณบอยครั้ง
และดำเนินงานอยา งโปรง ใส ตรวจสอบได
- เพ่ิมธรุ กจิ ของสหกรณใ หมากยง่ิ ข้นึ เพื่อสนองความตอ งการของสมาชิก

3. สหกรณนิคมประมงนครศรีธรรมราช จำกดั
สาเหตุของปญ หาหรอื เปาหมาย/วัตถุประสงคข องการพัฒนาสหกรณ
ปญหาจากภัยธรรมชาติ น้ำทวม ทำใหเกิดความเสยี หายตอการเพาะเลีย้ งสัตวนำ้ ปญหาการตลาด

ภาวะวิกฤตจากโรคระบาดโควิด 19 ตอเนื่องทำใหเกิดผลกระทบตอการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิต
ของสหกรณ เนื่องจากการหยุดกิจการของคูคา การตลาดอื่นๆ และผูประกอบการรานอาหาร ทำใหธุรกิจ
ของสหกรณลดลงอยา งตอ เนอ่ื ง สมาชิกขาดรายได

สำนักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 28

วตั ถุประสงคของการพฒั นาสหกรณ
ลดตนทุนการผลิตใหกับสมาชิกและพัฒนาการผลิตใหไดมาตรฐาน สรางรายไดใหกับสมาชิก
อยางตอ เนอื่ งและยงั่ ยนื ดวยกลไกสหกรณ พัฒนาธรุ กจิ สหกรณใ หสอดรับกับอาชพี สมาชกิ และแขง ขนั ได
วธิ กี ารในการเขาไปแกไ ขปญหาของนิคมสหกรณ
1. แนะนำสงเสรมิ ใหส หกรณขยายธรุ กิจการจดั หาพนั ธสุ ัตวน ้ำเพ่ือบริการสมาชิก ลดตนทุนในการซ้ือพันธุ กงุ ปู
2. บูรณาการกับศูนยพัฒนาประมงพื้นที่ลุมน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตรวจรับรอง
พนั ธุสัตวน ้ำ และผลิตพันธปุ ู เพื่อจำหนา ยใหก ับสหกรณแทนการนำเขาจากภายนอก
3. แนะนำ กำกับระบบการผลติ ใหส มาชกิ รกั ษามาตรฐานการผลติ ในระบบมาตรฐานเกษตร
อนิ ทรยี แบบมีสวนรว ม (PGS) และมาตรฐาน GAP
4. แนะนำใหส หกรณประสานคูคา จดั ทำขอตกลงปรมิ าณการรับซื้อตอรอบเพ่ือการวางแผนการรวบรวม
ของสหกรณแ ทนการหยุดการรบั ซ้ือหรอื เขา ประมูล
5. วางแผนการจบั สตั วน้ำกบั สมาชิกเพื่อนำสงสหกรณ เชน รายใหญบ วก รายเล็ก แบง ชว งหยุดจับ
ตามความตองการของคูคา หยุดจับสัตวน้ำขนาดเล็ก หรือปลอยเพื่อชะลอ ลดปริมาณผลผลิตที่จะนำเขาตลาดรวบรวม
ของสหกรณใ หเหมาะสมกบั ความตอ งการของคูคา
6. สรางตลาดใหมใหกับสมาชิกชวงไมไดสงมอบผลผลิตใหกับสหกรณ เชน การขายตรงแบบสด
การขายตรงแบบปรงุ สุก และตลาดออนไลน เพอื่ ใหสมาชกิ มีรายไดประจำวนั
ผลสำเร็จจากการเขาแนะนำสง เสริมสหกรณ
- เชิงปรมิ าณ สหกรณส ามารถขยายธุรกจิ จัดหาพนั ธุสัตวน้ำจากป 2563 จำนวน 714,161.40 บาท
เพิ่มขึ้นเปน 1,056,115.00 บาท เพิ่มขึ้นรอยละ 47.88 จากปกอน สมาชิกไดลดตนทุน 135 ราย รอยละ 100
ธุรกิจรวบรวมผลผลิต จากที่สหกรณตองหยุดดำเนินการเนื่องจากการหยุดรับซือ้ ของคูคา สามารถรวบรวม
ผลผลติ ได 6,934, 577 บาท สมาชกิ ใชบ ริการ รอยละ 100
- เชงิ คณุ ภาพ
1. สมาชิกไดล ดตน ทุนการผลติ ทกุ ราย รักษามาตรฐาน และมรี ายไดป ระจำวนั
2. สหกรณสามารถขยายธุรกิจเพื่อแกไขปญหาดานตนการผลิตและการตลาดใหกับสมาชิก
และรวบรวมผลผลติ ในภาวะวกิ ฤตของสหกรณใ หส ามารถดำเนินการไดต อเนือ่ ง
ประโยชนท ่สี หกรณ/กลมุ เกษตร/สมาชกิ ไดรับจากการเขาแนะนำสงเสริม
1. สมาชกิ มีความมน่ั ใจในการประกอบอาชีพ มีรายไดต อเน่ืองในภาวะเสี่ยงท้ังภยั ธรรมชาตแิ ละ
โรคระบาด และรักษาระดับมาตรฐานการผลิตแมจะไมไดร ับการตรวจรับรองตอเน่ือง
2. สหกรณส ามารถดำเนนิ ธุรกิจไดต อเนอ่ื งและสนองตอความตองการของสมาชิก

สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 29

 ดานการกำกบั ดูแล ตรวจสอบ และคุม ครองระบบสหกรณ

- สหกรณเคหสถานบานม่นั คงสิชลรงุ เรือง จำกัด
สาเหตุของปญ หาหรือเปาหมาย
สหกรณดำเนินธุรกิจในเรื่องการจัดหาที่อยูอาศัยใหกับสมาชิก โดยรับเงินอุดหนุน และเงินสินเชื่อ

เพื่อจัดซื้อที่ดินและสรางที่อยูอาศัยใหกับสมาชิกจากสถาบันพัฒนาองคชุมชน (พอช.) สหกรณจัดทำบัญชี
ไมเปนปจ จบุ นั และไมสามารถปดบัญชไี ด (5 ปบ ญั ชี) เอกสารทางดานบัญชีไมครบถวน เชน หลกั ฐานการรับเงิน
จากสมาชิก หลกั ฐานการจายเงนิ จากการตรวจสอบเบื้องตนสหกรณมีเงนิ สดขาดบัญชี

วธิ กี ารในการเขาไปแกไขปญหาของกลุมสง เสริมสหกรณ
1. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณนำประเด็นปญหาหารือตอที่ประชุมประจำเดือน และที่ประชุม
ขับเคลือ่ นการปฏิบัติงานตามระบบสงเสรมิ สหกรณ
2. สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยนายทะเบียนสหกรณไดออกคำสั่งแตงตั้งผูตรวจการ
สหกรณ เขา ไปตรวจสอบกจิ การและฐานะการเงินของสหกรณ
3. ผตู รวจการสหกรณเขาตรวจสอบโดยรวบรวมเอกสารหลักฐานทางบัญชีที่มี ไดแ กเอกสารการรับเงิน-จายเงิน
จากสมาชิกและ พอช.
4. ตรวจสอบการรบั -จา ยเงินท่ีสหกรณไมมีหลักฐาน โดยใชว ธิ ีการยนื ยนั ยอดการรับ-จา ยเงินสมทบ
เพอ่ื สรา งบา นจากสมาชิก ยืนยนั ยอดการจายเงินกับผรู ับเหมากอสรา ง
5. ถอดราคาและรายการกอสรางบานของสมาชิกแตละหลัง โดยประสานวิศวกร พอช. ชางเครือขาย
ชา งชมุ ชน เจา ของบา น เขา ดำเนินการ
6. สรุปรายการรับเงิน-จายเงินตางๆ โดยรายงานผลการตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ
ตอ นายทะเบียนสหกรณเพื่อพจิ ารณาสง่ั การ
7. นายทะเบียนสหกรณไ ดเ รยี กผูท ่เี ก่ยี วขอ งมาชแ้ี จงขอ เท็จจริง
8. นายทะเบยี นสหกรณออกคำสงั่ ใหสหกรณแ กไ ขขอบกพรอง
9. คณะกรรมการสหกรณประชุมรับทราบคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ และสหกรณรายงานผลการแกไข
ขอบกพรอ ง โดยมีมตใิ หรองนายทะเบยี นรองทุกขกลาวโทษแทนสหกรณ
10. นายทะเบยี นสหกรณไดด ำเนินการรอ งทุกขแ ลว เมอื่ วันที่ 2 ธันวาคม 2564
11. เจาหนาที่สงเสรมิ สหกรณตดิ ตามผลและแกไขปญ หาอยา งใกลช ดิ เปน ประจำทุกเดือน
ผลสำเรจ็ ทเี่ กดิ จากการเขาแนะนำสง เสริมสหกรณ
- เชิงปรมิ าณ
1. สหกรณท ราบยอดเงนิ สดขาดบญั ชี เปนเงนิ จำนวน 3,495,342 บาท
2. ดำเนินคดีกับผทู ่ีเก่ียวของ จำนวน 3 ราย
- เชิงคุณภาพ กรรมการ เจาหนาที่สหกรณมีความรูความเขาใจในการดำเนินงานของสหกรณ
มากยิ่งขึ้น สมาชิกเกิดความศรัทธาตอสหกรณมากขึ้น สหกรณไดดำเนินการแกไขขอบกพรอง โดยไดดำเนินการ
รอ งทุกขผูทท่ี ำใหสหกรณเ สยี หาย
ประโยชนทสี่ หกรณ/สมาชิกไดร บั จากการเขาแนะนำสงเสริม
สมาชกิ บางสว นมคี วามรูความเขา ใจในระบบสหกรณมากยง่ิ ขนึ้ ลดการเกิดขอบกพรอ งท่จี ะเกดิ ขน้ึ
ในอนาคต และสมาชิกสหกรณเ ขา ใจภารกิจของหนวยงานทีเ่ ขาไปแนะนำสง เสรมิ

สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 30

ปญ หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน
- ดานเจา หนาท่ีสงเสรมิ สหกรณ ปญหาทพ่ี บเปนปญ หาที่คางนาน เจา หนาท่สี ง เสริมสหกรณขาดทักษะ
และประสบการณในการเขาตรวจการสหกรณประเภทบริการ (สหกรณเคหสถานบานมั่นคง) รายละเอียด
ในการตรวจสอบมีจำนวนมาก ตองใชเวลาในการตรวจสอบคอนขางนานและตอเนื่อง ชวงเวลาของผูตรวจการทีม
แตละคนไมตรงกนั
- ดานสหกรณ สมาชิกบางสวนไมเขาใจระบบสหกรณ สมาชิกขาดความรวมมือ ความเสียสละ สามัคคี
สหกรณมีหนวยงานที่เกี่ยวของเขาไปสงเสริมหลายหนวยงาน การแนะนำสงเสริมในบางครั้งไมเปนไป
ในทศิ ทางเดียวกัน สหกรณไ มม ีเจา หนาที่ประจำ
ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
1. ผลักดันใหสหกรณเขารวมโครงการสรางความเขมแข็งการจัดทำบัญชีและงบการเงินของสหกรณ
เคหสถานบานม่นั คงของกรมสง เสริมสหกรณ
2. สรางเวทีแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ อบรมใหความรู จากหนวยงานที่เกี่ยวของ คือ
สำนกั งานสหกรณจงั หวัด สถาบันพฒั นาองคกรชมุ ชน (พอช.) เครอื ขา ย สว นทองถ่ิน (อบต.)
3. เสนอแผนในการของบประมาณสนับสนุนในการจัดจางเจาหนาที่บัญชี สำหรับสหกรณจัดตั้งใหม
ซ่ึงยังไมม ีรายไดเ พยี งพอสำหรับการจัดจางเจาหนา ทบ่ี ัญชี

 ดา นการแกไ ขปญ หาการดำเนินงานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

1. สหกรณการเกษตรปากพนัง จำกัด
สาเหตุของปญหาหรือเปา หมาย/วัตถุประสงคข องการพัฒนาสหกรณ
สาเหตุของปญหา คือ สหกรณการเกษตรปากพนัง จำกัด ดำเนินธุรกิจสินเชื่อเปนธุรกิจหลัก

สำหรับปบัญชีสิ้นสุด 30 มิถุนายน ๒๕๖๓ มีลูกหนี้เงินกูทั้งสิ้น ๑๘๓,๙๑๓,๔๑๘ บาท ไดกูเงิน ธกส.ระหวางป
๗๔,๗๕๖,๓๐๐ บาท ดอกเบ้ียเงินกูอ ัตรารอยละ ๕.๒๕ ระหวา งปจ า ยดอกเบี้ยเงินกู ธกส. ๑,๐๕๖,๙๖๖ บาท
และมีหนี้เงินกูธสก.คงเหลือ ๖,๑๕๒,๕๒๓ บาท สหกรณฯ พึ่งพาแหลงเงินทุนจากภายนอกตองรับภาระ
ตนทุนสูง และมีผลตอสภาพคลองของสหกรณฯ สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช รวมกับสหกรณ
การเกษตรปากพนัง จำกัด ไดเห็นถึงความสำคัญในการเพิ่มทุนภายในเพื่อลดตนทุนเปนการลดคาใชจาย
ใหกับสมาชิก ไดจัดทำแผนกลยุทธิ์เพื่อกำหนดแนวทางในการแกไ ขปญหาจากการพึ่งพาเงินทุนจากภายนอก
โดยจัดทำโครงการระดมเงินฝากดอกเบ้ียรอ ยละ ๓

สำนักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 31

วัตถุประสงคของการพฒั นาสหกรณ
1. เพอ่ื แกไขปญ หาการพงี่ พาเงนิ ทุนจากแหลงเงินทุนภายนอก
2. เพือ่ สงเสริมการออมใหกับสมาชกิ
3. เพ่อื ลดตน ทุนการดำเนนิ งานของสหกรณ
4. เพ่ือลดคาใชจายใหกับสมาชิก
วิธีการในการเขา ไปแกไ ขปญหาของกลุมสงเสรมิ สหกรณ
1. เจาหนาที่สงเสริมวิเคราะหผลการดำเนินงานของสหกรณ ๓ ปยอนหลัง เพ่ือหาสาเหตุ และปญหา
จากนั้นนำเสนอคณะกรรมการเพื่อวางแผนในการแกไขปญหา และไดจัดทำแผนกลยุทธเพื่อเปนกรอบแนวทาง
การดำเนนิ งานของสหกรณ
2. นำแผนกลยุทธสูการปฏิบัติ โดยเฉพาะโครงการเงินออม โดยลงประชุมกลุมสมาชิก ไตรมาสละครั้ง
จากปละ ๒ ครั้ง เพื่อทำความเขาใจกับสมาชิกในการเปนเจาของเพื่อใหสมาชิกลดคาใชจายหากเงินทุน
ในการจา ยเงนิ กูใหก ับสมาชิกเปนทุนของสหกรณเ องสามารถลดดอกเบี้ยเงนิ กูใหก บั สมาชิกได
๓. ติดตาม กำกับและประเมนิ ผล ในท่ปี ระชมุ คณะกรรมการดำเนินการเปน ประจำทุกเดือน
๔. จดั ชน้ั สมาชกิ
ผลสำเร็จท่ีเกิดจากการเขาแนะนำสงเสริมสหกรณ
- เชิงปริมาณ
1. สำหรับปสินสุดวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ จายดอกเบี้ยเงินกู ธกส.๖,๑๕๒,๕๒๓ จายดอกเบ้ีย
๑,๐๕๖,๙๙๖.๕๔ บาท จากการปฏิบัติตามแผนกลยุทธิ์โครงการระดมทุนภายในเพื่อลดการพึ่งพาจากแหลง
เงินทนุ ภายนอก สงผลใหส ำหรับปบัญชีส้ินสุดวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๔ สหกรณไ มม ีหนี้เงินกู ธกส. หรือหนี้
ธกส. เปน ๐ และระหวางปจายดอกเบี้ยเงินกู ธกส. จำนวน ๗๒,๗๖๗.๐๔ บาท ซึ่งลดลงจากปกอนจำนวน
๙๘๔,๒๒๙.๕๐ บาท
๒. สหกรณมที นุ ภายในเพ่ิมข้นึ (เงนิ รบั ฝากจากสมาชกิ ตามโครงการ จำนวน ๑๓,๔๓๐,๕๑๐ บาท)
๓. สหกรณม ตี นทนุ ธุรกิจสินเชอ่ื ลดลง จำนวน ๓๓๕,๗๖๒.๗๕ บาท
- เชิงคุณภาพ
๑. สหกรณม ีสภาพคลองในการดำเนินงานเพมิ่ ข้นึ มที ุนหมนุ เวยี นในการดำเนินงานเพ่มิ ขึน้
๒. สมาชกิ มคี วามเช่อื มน่ั และศรทั ธาตอสหกรณเพิม่ ข้ึน
๓. สมาชกิ มามสี วนรวมในการดำเนนิ ธรุ กิจกับสหกรณมากข้นึ
ประโยชนท ส่ี หกรณ/สมาชิกไดร ับจากการเขา แนะนำสงเสริม
- สหกรณ
1. จากการจัดชนั้ สมาชกิ สง ผลใหสหกรณมีปริมาณธุรกจิ เพิ่มขึน้ และสมาชิกมสี วนรว มเพ่ิมข้นึ
2. สหกรณมีสภาพคลอ งในการดำเนนิ งานเพ่ิมข้นึ มีทนุ หมนุ เวยี นในการดำเนินงานเพ่มิ ขึน้
ปญ หา/อปุ สรรคในการดำเนินงาน สมาชกิ ไมมีความรู ความเขาใจ ในบทบาทหนา ที่ ตอ งใชความพยายาม
และเวลามากในการทำความเขาใจกับสมาชิกเปนอยางมากเพื่อใหเห็นถึงความสำคัญ และความจำเปน
ในการระดมทนุ ภายในเพ่อื ลดตน ทนุ ใหกับสมาชกิ

สำนักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 32

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
ตองประจำกลุมสมาชกิ บอ ยครัง้ ขึ้น และใหก ลมุ สมาชิกมีการบริหารจัดการสมาชกิ ในกลุมของ
ตวั เองโดยการจัดชั้นสมาชิก และมีการประกวดกลมุ สมาชิก

2. สหกรณก ารเกษตรเชยี รใหญ จำกดั
สาเหตขุ องปญ หาหรอื เปาหมาย/วัตถุประสงคของการพัฒนาสหกรณ
สมาชิกสหกรณไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019

สงผลใหสมาชิกสหกรณไดรับผลกระทบจากการประกอบอาชีพ รายไดลดลง ไมเพียงพอตอการชำระหนี้
จึงทำใหสหกรณมลี กู หนีผ้ ิดนัดชำระหนี้และดอกเบี้ยคางรบั คาปรับคางรบั เปน จำนวนมาก โดยไมมีการแกไ ข
ทำใหเกิดปญหาหนี้คาง ตั้งเปนสำรองหนี้สงสัยจะสูญ สงผลโดยตรงตอสภาพคลองในการดำเนินงานของสหกรณ
ขาดเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงาน ความสามารถในการกอหนี้เพื่อนำเงินมาใหสินเชื่อลดลง จากปญหาตางๆ
ขางตนสงผลตอการบริหารจัดการธุรกิจสินเชื่อ และอาจสงผลใหสหกรณมีผลการดำเนินงานขาดทุนได
และที่สำคัญ คอื สมาชิกไดรบั ความเดือดรอ นดานหนส้ี ิน

วัตถปุ ระสงคข องการพฒั นาสหกรณ
1. เพ่ือแกไ ขปญ หาหนีค้ างและดอกเบี้ยคาง
2. เพื่อใหสหกรณสามารถรับชำระหนี้คางและดอกเบี้ยคางไดเพิ่มขึ้นไมนอยกวารอยละ 20
ของหน้ีคางทง้ั หมด
วิธีการในการเขา ไปแกไ ขปญ หาของกลุมสง เสรมิ สหกรณ
1. เจาหนาที่สงเสริมนำเสนอประเด็นปญหาหนี้คาง เพื่อหาแนวทางในการแกไขตอที่ประชุม
คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ
2. รวมประชุมจัดทำแผนการแกไขปญหาหนี้แบบมีสวนรวม ประกอบดวย คณะกรรมการ
ดำเนนิ การ ฝายจดั การ และเจา หนา ท่สี งเสริมสหกรณ
3. กำหนดแนวทาง มาตรการในการแกไ ขปญหา วิเคราะหแ ละคัดแยกลูกหน้เี ขาสมู าตรการแกไข
4. จัดทำโครงการภายใตมาตรการชวยเหลือสมาชิกที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามความสมัครใจ ซึ่งสหกรณไดกำหนดพักชำระตนเงิน
ใหกับสมาชิกเปนระยะเวลา 2 ป นับจากงวดที่ถึงกำหนดชำระเดิม โดยใหสมาชิกชำระเพียงดอกเบี้ยเทานน้ั
เพื่อลดภาระทางดานหนี้สินเปนการชั่วคราวใหแกสมาชิก ซึ่งสมาชิกสามารถนำตนเงินที่จะตองชำระหนี้
ไปเปน สภาพคลองในการดำเนินชวี ติ ประจำวัน และการประกอบอาชพี
5. จัดประชุมประธานกลุมที่สมาชิกมีหนี้คาง และดอกเบี้ยคาง เพื่อชี้แจงแนวทาง มาตรการ
และหลกั เกณฑใ นการ เขารวมโครงการ
6. ติดตาม กำกับและประเมนิ ผล ในที่ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการเปน ประจำทกุ เดือน

สำนักงานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 33

ผลสำเร็จทเ่ี กิดจากการเขา แนะนำสงเสรมิ สหกรณ
- เชิงปรมิ าณ
1. สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2563 ดอกเบี้ยคางยกมา จำนวน 7,492,817.18 บาท
ดอกเบี้ยเพิ่มระหวางป จำนวน 13,428,658.71 บาท สหกรณไดรับชำระสำหรับปสิ้นสุดวันท่ี
30 มิถุนายน 2564 ไดรับชำระดอกเบี้ยคาง จำนวน 4,767,878.06 บาท ไดรับชำระดอกเบี้ยระหวางป
จำนวน 11,063,818.19 บาท ทำใหดอกเบี้ยคางยกไปคงเหลือ จำนวน 5,089,779.64 บาท
ดอกเบ้ยี คางลดลงจากปก อนรอยละ 32.10
2. สมาชกิ ท่ีมีหนีค้ างและดอกเบีย้ คางสามารถชำระได 554 คน 558 สญั ญา
3. สหกรณรบั ชำระดอกเบ้ยี คา งไดเ พม่ิ ขึ้นจากปก อน รอ ยละ 32.10 ของดอกเบีย้ คางทั้งหมด
- เชิงคุณภาพ สหกรณมีสภาพคลองในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น มีทุนหมุนเวียนในการดำเนินงาน
เพม่ิ ขึน้ สามารถนำเงนิ มาชำระหนีเ้ พม่ิ ขึ้น สมาชิกมคี วามเช่อื มั่น และสรางความศรทั ราตอ สหกรณเ พมิ่ สงู ขนึ้
ประโยชนท่สี หกรณ/สมาชกิ ไดร ับจากการเขา แนะนำสงเสรมิ
- สหกรณ
1. สหกรณไ ดรบั ชำระดอกเบ้ียคางจากสมาชกิ เพ่ิมขน้ึ จากปกอนรอยละ 32.10
2. สหกรณม ีสภาพคลองในการดำเนนิ งานเพ่ิมขน้ึ มที นุ หมนุ เวยี นในการดำเนนิ งานเพิ่มข้ึน
- สมาชิก สามารถบรรเทาความเดือดรอนดานหนี้สินของสมาชิกไดอยางเปนรูปธรรม และสมาชิก
สามารถนำเงินไปเสริมสภาพคลอ งในการดำรงชวี ิตประจำวนั
ปญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน สมาชิกที่มีหนี้คาง และดอกเบี้ยคางไมใหความสำคัญ
ในการเขา รว มโครงการ และสมัครเขารว มโครงการนอ ย
ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา นัดประชุมประธานกลุมที่สมาชิกมีหนี้คาง และดอกเบี้ยคาง
เพอื่ ช้ีแจงทำความเขาใจเร่ืองแนวทาง มาตรการ และหลักเกณฑใ นการเขารวมโครงการ และใหประธานกลุม
ชแี้ จงและทำความเขา ใจกบั สมาชิกทีม่ หี น้ีคาง และดอกเบย้ี คา ง เพือ่ ใหสมัครเขา รวมโครงการ

3. สหกรณก องทุนสวนยางควนยูง จำกัด
สาเหตุของปญ หาหรอื เปาหมาย/วัตถุประสงคข องการพัฒนาสหกรณ
สหกรณป ระสบปญหาขาดทุนต้ังแตในป 2561 การดำเนินงานของสหกรณไมเปนไปตามแผนงาน

ทก่ี ำหนดไว ผลผลติ จากสมาชิกไมเพียงพอในการผลติ ทำใหต นทุนการผลิตสูง สง ผลใหม ีคา ใชจายในการดำเนินงานสูง
ประกอบกับปญหาราคายางในตลาดผันผวน มีภาวการณขาดทุนตอเนื่องจนถึงป 2563 จำนวน 1,308,146.91
บาท และเกินทุนสำรองที่มีอยู สหกรณขาดสภาพคลอง สมาชิกเริ่มไมมั่นใจในระบบสหกรณ ไมรวมทำธุรกจิ
ปญ หาการบริหารจดั การภายในองคก ร และความศรัทธาของสมาชกิ เร่ิมลดนอยลง

สำนกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 34

วตั ถุประสงคของการพัฒนาสหกรณ
เพื่อสรา งความเชือ่ ม่นั ศรัทธาของสมาชิกท่ีมีตอสหกรณใหด ีขน้ึ และแกไขปญหาผลการดำเนนิ งาน
ขาดทนุ สะสม
วธิ ีการในการเขาไปแกไ ขปญ หาของกลุมสง เสรมิ สหกรณ
1. วิเคราะหธ ุรกิจของสหกรณ และจดั ทำแผนธรุ กจิ เพ่ือเพ่มิ ปรมิ าณธรุ กิจ (แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร)
2. ขออนุมตั ิแผนฟน ฟูการดำเนินงานจากที่ประชุมใหญส ามญั ประจำปของสหกรณ
3. แนะนำใหสหกรณด ำเนินงานตามแผนฟนฟูการดำเนนิ งาน และเปรยี บเทยี บผลเปน ประจำทุกเดือน
4. แนะนำใหสหกรณคำนวณตนทุนการผลิตเพื่อพิจารณาลดคาใชจาย และนำมาเปรียบเทียบแผน - ผล
การดำเนนิ งานประจำปของสหกรณ
5. สงเสริมใหส มาชกิ มีสวนรว มในการดำเนนิ ธรุ กจิ กบั สหกรณ ไมน อยกวา รอ ยละ 70
ผลสำเร็จทเี่ กดิ จากการเขา แนะนำสง เสรมิ สหกรณ/กลุมเกษตรกร
- เชงิ ปริมาณ
1. สหกรณด ำเนนิ งานตามแผนฟน ฟูการดำเนินงานที่ไดขออนุมัตจิ ากทีป่ ระชุมใหญส งผลใหสหกรณ
มีผลการดำเนินงานมีกำไรและสามารถชดเชยขาดทนุ สะสมไดทัง้ จำนวน โดยในป 2564 มีกำไรสุทธิ จำนวน
874,100.85 บาท ชดเชยขาดทุนสะสม จำนวน 733,139.81 บาท และมีกำไรสุทธิประจำป 2564
จำนวน 140,961.04 บาท ซึ่งสามารถนำไปจัดสรรตามกฎหมายและขอ บังคบั ของสหกรณ
2. สหกรณมีปริมาณธรุ กิจเพ่ิมขึ้นจากปกอน (แปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร) จำนวน 2,260,831.00 บาท
คิดเปนรอยละ 31.36 ซึง่ สูงกวา แผนงานประจำปท่กี ำหนด
- เชงิ คณุ ภาพ
1. สหกรณมกี ารคำนวณตน ทุนการผลติ เพื่อพิจารณาลดคา ใชจ ายและนำมาเปรยี บเทยี บแผน - ผล
ทำใหท ราบถึงตน ทุนการผลิตแตล ะเดือน และสามารถลดตนทนุ การผลติ ของสหกรณสง ผลใหส หกรณม กี ำไรมากข้ึน
2. สมาชิกมีความเชอ่ื ม่นั ศรัทธาตอ สหกรณม ากข้ึน โดยเปรียบเทียบจากการมสี วนรวมในการดำเนนิ ธุรกิจ
ของสหกรณ สมาชิกรว มประชมุ ใหญม ากขึ้น ปริมาณนำ้ ยางเพม่ิ ขนึ้
ประโยชนท ีส่ หกรณ/กลมุ เกษตรกร/สมาชิกไดร บั จากการเขา แนะนำสงเสริม
1. สหกรณสามารถดำเนินงานมีกำไร และสามารถชดเชยขาดทุนสะสมไดทัง้ หมด และมีกำไรสุทธิ
ประจำป 2564 ซึ่งสามารถนำไปจัดสรรตามกฎหมายและขอบังคับของสหกรณ ซึ่งสหกรณเสนอแผน
ตอ ที่ประชุมคณะกรรมการเพ่ือเสนอขออนุมัติจากท่ปี ระชุมใหญขอจดั สรรเปนทุนสำรอง คา บำรุงสันนิบาตสหกรณ
เงินปน ผลตามหุน เงนิ เฉลีย่ คืนตามสวนธุรกิจ และจดั สรรเปน ทุนสวสั ดิการตา งๆ
2. สมาชกิ มีความเชือ่ มั่นและศรทั ธาตอ สหกรณม ากข้นึ
ปญหา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน
สมาชกิ ขาดการมีสว นรว มในการดำเนินธรุ กิจ เนือ่ งจากขาดความเช่ือม่ันศรัทธาตอสหกรณ

สำนกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 35

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
สหกรณควบคุมคาใชจายในการผลิต และคาใชจายในการดำเนินงาน ดำเนินงานเปนไปตามระเบียบ
ขอบงั คบั ของสหกรณ ดำเนินงานตามเกณฑมาตรฐานของสหกรณ การปด บญั ชี สงงบแสดงฐานะทางการเงิน
ของสหกรณไดตามกำหนด ไมมีการกระทำที่ทำใหเกิดขอสังเกต และขอบกพรอง ปฏิบัติงานตามแผนฟนฟู
ของสหกรณ

4. สหกรณเ คหสถานบานม่นั คงขนอมเมอื งทอง จำกัด
สาเหตขุ องปญ หาหรือเปา หมาย สหกรณไมสามารถปด บัญชีได 2 ปบ ัญชี (ป 2562 ป 2563 )
วธิ ีการในการเขา ไปแกไ ขปญหาของกลุมสงเสรมิ สหกรณ
1. ผลักดันสหกรณเขาโครงการสรางความเขมแข็งการจัดทำบัญชีและงบการเงินของสหกรณ

เคหสถานบานมั่นคง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่บัญชีของสหกรณเคหสถานบานมั่นคง
ใหจดั ทำบัญชไี ดเปนปจ จบุ นั และใหสหกรณส ามารถจดั ทำงบทดลองและปด บัญชีไดต ามกฎหมายกำหนด

2. จัดประชุมหารือหนวยงานที่เกี่ยวของไดแก สำนักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานตรวจบญั ชีสหกรณนครศรีธรรมราช สถาบนั พฒั นาองคกรชุมชน (พอช.) และสหกรณ

3. จัดตั้งทีมปดบัญชีสหกรณประจำจังหวัด ประกอบกลุมสงเสริมสหกรณในพื้นที่ โดยลงพื้นท่ี
จัดเก็บขอมูล รวบรวมเอกสาร วิเคราะหปญหาการปดบัญชีไมได เขาสอนแนะนำในการแกไขปญหาการปด
บญั ชีไมไ ดและรวมชวยปด บัญชีของสหกรณ

4. จัดตั้งทีมปฏิบัติงานปดบัญชีของสหกรณ ประกอบดวยเจาหนาที่สหกรณ หรือคณะกรรมการ
สหกรณ จัดเตรยี มความพรอมในเรื่องเอกสารสำหรับการปดบัญชี การใหข อมูลตางๆ และรว มชวยจัดทำบัญชี
กบั ทมี ปด บัญชีจากสำนักงานสหกรณจ ังหวดั

ผลสำเรจ็ ที่เกดิ จากการเขาแนะนำสง เสรมิ สหกรณ
- เชงิ ปรมิ าณ สหกรณสามารถปด บัญชีไดและผูร ับรองงบการเงินทั้ง 2 ปบ ัญชี
- เชิงคุณภาพ สหกรณสามารถปดบัญชีไดเปนปจจุบัน สมาชิก กรรมการสหกรณมีความรู ความเขาใจ
ในเรือ่ งการจัดทำบญั ชเี พม่ิ ขึ้น
ประโยชนที่สหกรณไดรับจากการเขาแนะนำสงเสริม สหกรณมีความรูความเขาใจในการจัดทำบัญชี
ตระหนักถึงความสำคัญในการปดบัญชี มีความเขาใจเกี่ยวกับเอกสารที่ใชประการบันทึกบัญชี สหกรณ
สามารถปดบญั ชไี ดตามทกี่ ฎหมายกำหนด

สำนักงานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 36

ปญ หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน
- ดา นเจา หนาที่สง เสรมิ สหกรณ สหกรณไ มม ีทีท่ ำการ จึงทำใหการแนะนำสง เสริมสหกรณในแตละคร้ัง
ไมม จี ุดท่ีแนน อน
- ดานสหกรณ สหกรณไมมีที่ทำการของสหกรณเนื่องจากเปนสหกรณที่จัดตั้งใหม การจัดเก็บเอกสาร
ไมเรียบรอยครบถวน สหกรณไมมีอุปกรณเพื่ออำนวยการสะดวกในการทำงาน เชน เครื่องคอมพิวเตอร
เครื่องพิมพ กรรมการสหกรณไมมีความรูดานบัญชี สหกรณไมมีรายไดเพียงพอสำหรับการจัดจางเจาหนาที่
บัญชี สหกรณมีหนวยงานที่เกี่ยวของเขาไปสงเสริมหลายหนวยงาน การแนะนำสงเสริมในบางครั้งไมเปนไป
ในทิศทางเดียวกนั
ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา
1. ใหสหกรณก ำหนดท่ที ำการชวั่ คราวของสหกรณ กำหนดผรู ับผดิ ชอบในการเกบ็ รกั ษาเอกสาร
2. ขอสนับสนนุ งบประมาณสำหรบั การจดั จา งเจา หนา ทบี่ ัญชใี นกรณีสหกรณจัดต้ังใหม
3. สรางเวทีแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ อบรมใหความรู จากหนวยงานที่เกี่ยวของ คือ
สำนักงานสหกรณจ ังหวัด สถาบันพฒั นาองคกรชุมชน (พอช.) เครือขาย สว นทอ งถ่นิ (อบต.)

สำนกั งานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 37

โครงการออกหนังสือรบั รองการทำประโยชนในที่ดินของนิคมสหกรณ

1. วัตถุประสงค/เปาหมาย/พื้นท่ีดำเนนิ งานโครงการ :
วตั ถปุ ระสงค เพ่ือใหสมาชิกไดม ีเอกสารสิทธ์ิในท่ีดนิ ทำกินเปนของตนเองในเขตพ้ืนที่นิคมสหกรณทุงสง

จงั หวดั นครศรธี รรมราช
2. ผลการดำเนินงาน :

นิคมสหกรณทุงสงสามารถออกหนังสือรับรองการทำประโยชนในที่ดินไดตามแผนงานที่กำหนดไว
ประจำปงบประมาณ 2564
3. ผลลพั ธห รือผลสัมฤทธ์จิ ากการดำเนินงาน

ผลลัพธเชิงปริมาณ สามารถดำเนินการไดตามแผนที่กำหนดไว
กสน.3 จำนวน 17-2-78 ไร 5 ราย 5 แปลง
กสน.5 จำนวน 12-3-37 ไร 4 ราย 5 แปลง
วงรอบรายแปลง 114 ไร

ผลลัพธเ ชิงคุณภาพ
- สมาชกิ มีสทิ ธ์ิในทด่ี ินของรฐั ฯ ถูกตอ งตามกฎหมาย
- สมาชิกรักหวงแหนในที่ดินที่รัฐฯจัดใหเพื่อประกอบอาชีพและพัฒนาตอยอดปรับปรุงใหมีคุณภาพ

อยูใ นสภาพที่ดใี นการทำการเกษตรแบบยงั่ ยืน
- สมาชิกสามารถนำเอกสารสิทธิไปแปลงสภาพเพื่อประกอบอาชีพในการนำเทคโนโลยีมาใช

ในการทำเกษตรยคุ ใหม
4. ประโยชนทีส่ หกรณ/ กลมุ เกษตรกรหรอื สมาชิกสหกรณ/ กลมุ เกษตรกรไดรบั

สมาชิกสามารถมเี อกสารสทิ ธิใ์ นที่ดนิ ถกู ตองตามกฎหมาย

สำนักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 38

โครงการโครงการพฒั นาและสงเสรมิ สหกรณ/กลุมเกษตรกรสดู ีเดน

1. วตั ถปุ ระสงค/เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ :
เปาหมายอยางนอยที่ตองดำเนินการ ไดแก สหกรณในภาคการเกษตร จำนวน 2 สาขา การคัดเลือก
สหกรณน อกภาคการเกษตร จำนวน 2 สาขาการคดั เลือก และกลมุ เกษตรกร จำนวน 2 สาขาการคัดเลือก
ดังนั้น จึงกำหนดแผนดำเนินงานเพื่อสงเสริมตามเกณฑดีเดนแหงชาติเพื่อเขารับการคัดเลือก
ประจำป 2564/2565 เปนสหกรณเปาหมายในภาคการเกษตร จำนวน 4 แหง สหกรณนอกภาคเกษตร
จำนวน 4 แหง และกลุมเกษตรกร จำนวน 3 แหง
2. ผลการดำเนินงาน : เขาสงเสริมแนะนำตามเกณฑดีเดนแหงชาติตามแนวทาง และขั้นตอนที่กรมสงเสริม
สหกรณกำหนด เพื่อใหสหกรณและกลุมเกษตรกรเปาหมายปรับปรุงการดำเนินงานตามผลการประเมิน
ในแตละหมวดของเกณฑดีเดนแหงชาติ และจัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวของประกอบการพิจารณาคัดเลือก
ของคณะกรรมการคัดเลือกระดับจังหวัด แลวรายงานผลการคัดเลือกใหกรมสงเสริมสหกรณทราบ พรองแจงผล
การคดั เลือกและเอกสารท่ีเกี่ยวของใหค ณะกรรมการระดบั ภาคพจิ ารณาตอไป
3. ผลลัพธห รอื ผลสัมฤทธจ์ิ ากการดำเนนิ งาน
ผลลพั ธเชิงปรมิ าณ : เขาสงเสริมแนะนำไดตามแผนปฏบิ ัติงาน จำนวน 11 แหง
ผลลัพธเชิงคณุ ภาพ
- คณะกรรมการคัดเลอื กสหกรณและกลมุ เกษตรกรดเี ดน ระดับจงั หวัด ป 2564/2565 ดังน้ี
1. ประเภทสหกรณการเกษตรทวั่ ไป ไดแก สหกรณการเกษตรเขาขาว จำกดั
2. ประเภทสหกรณนิคม ไดแ ก สหกรณนิคมทุงสง จำกัด
3. ประเภทสหกรณผูผ ลติ ยางพารา ไดแก สหกรณกองทุนสวนยางโคกยาง จำกัด
4. ประเภทสหกรณออมทรัพย ไดแก สหกรณออมทรัพยกองพลทหารราบท่ี 5 จำกัด
- กลุม เกษตรกรดีเดนระดับจงั หวดั ป 2564/2565
1. ประเภทกลมุ เกษตรกรทำสวน ไดแก กลุมเกษตรกรทำสวนยางคอ ม
4. ประโยชนท่สี หกรณ/กลุมเกษตรกรหรอื สมาชกิ สหกรณ/กลุมเกษตรกรไดรบั
สามารถนำผลการประเมินไปปรับปรุงการดำเนินงานไดตามวัตถุประสงค และความตองการของสมาชิก
อยา งแทจรงิ
5. ปญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไข : การรวบรวมและการจัดทำเอกสารประกอบ
การประเมินมีมาก สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรไมค อยใหค วามรวมมือในการจัดสงเอกสารหลกั ฐานประกอบการประเมนิ
6. ขอเสนอแนะเพื่อพัฒนา : แนะนำใหสหกรณ/กลุมเกษตรกรจัดทำเอกสารไวในรูปแบบไฟลอิเล็กทรอนิกส
และจัดเก็บขอมูลใหเปนหมวดหมู เมื่อดำเนินกิจกรรม/โครงการตางๆ และรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการ
เสร็จเรยี บรอยแลว

สำนกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 39

โครงการสงเสริมการดำเนินธุรกจิ รา นคา สหกรณในรูปแบบซเู ปอรม ารเ กต็ สหกรณ

1. วัตถปุ ระสงค/เปา หมาย/พื้นท่ดี ำเนนิ งานโครงการ
วัตถุประสงค
1. เพ่อื สงเสรมิ และพฒั นาการดำเนินธุรกิจรานคา สหกรณใ นรูปแบบซูเปอรม ารเก็ตสหกรณ
2. เพ่อื สง เสริมความรวมมือและเช่ือมโยงธุรกิจระหวางสหกรณ กลมุ เกษตรกรผผู ลติ และรา นสหกรณ
เปา หมาย/พ้ืนทดี่ ำเนนิ งานโครงการ สง เสริมพฒั นาการดำเนนิ ธรุ กิจสหกรณท ี่มีรา นจำหนา ยสนิ คาอุปโภค

บริโภค ในรูปแบบซูเปอรมารเก็ตสหกรณ จำนวน 2 แหง คือ สหกรณการเกษตรพรหมคีรี จำกัด และสหกรณ
การเกษตรพิปูน จำกดั
2. ผลการดำเนนิ งาน :

กจิ กรรมการดำเนินการ
1. ประชมุ ช้ีแจงเพือ่ สรา งความเขา ใจในการดำเนินการซูเปอรมารเก็ตสหกรณแ กส หกรณท่ีเขารว มโครงการ
2. ประชุมหารอื /เชื่อมโยงเครอื ขาย พัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจซเู ปอรม ารเ ก็ตสหกรณ ประสานงานจดั หาสนิ คา
จากสหกรณ กลุมเกษตรกร หรอื เกษตรกรสมาชิก นำมาจำหนา ยในซูเปอรมารเก็ตสหกรณ
3. สำรวจความคิดเห็นผูใชบริการซูเปอรมารเก็ตสหกรณเพื่อเปนขอมูลประกอบการสงเสริม
พฒั นาการดำเนนิ การซเู ปอรมารเ ก็ตสหกรณ
3. ผลลพั ธห รือผลสมั ฤทธิ์จากการดำเนนิ งาน
ผลลัพธเ ชิงปรมิ าณ สหกรณการเกษตรพรหมคีรี จำกดั มกี ารยอดการจำหนา ยสนิ คา รวม 2,595,542 บาท
และสหกรณการเกษตรพิปูน จำกัด มยี อดการจำหนายสินคา 702,135 บาท (เฉพาะสนิ คาท่ีมีการเชื่อมโยง
จากเครือขาย และสมาชกิ ท่ีนำสินคา มาจำหนายกับสหกรณ)
ผลลัพธเชิงคณุ ภาพ รานคาสหกรณท ่เี ขา รว มโครงการทง้ั 2 แหง ไดร บั การพัฒนาและสงเสริมการดำเนินธุรกิจ
4. ประโยชนท ีส่ หกรณ/กลมุ เกษตรกรหรือสมาชกิ สหกรณ/ กลุมเกษตรกรไดร บั
ไดรับรูพฤติกรรมผูบริโภค จัดหาสินคาใหตรงกับความตองการ สหกรณมีการนำสินคาจากสมาชิก
มาจำหนา ยเพิ่มขึน้ สนิ คามีความหลากหลาย และมกี ารเชื่อมโยงเครือขายจากสหกรณ สมาชกิ มาจำหนา ยในรา น
5. ปญหา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแกไ ข
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา – 2019 สงผลตอการจัดประชุม ทำใหการดำเนินการ
ทำไดแ บบจำกัด

ประชมุ ชแี้ จงการดำเนนิ งานโครงการ ประชมุ ชแ้ี จงการดำเนินงานโครงการ
สหกรณการเกษตรพรหมคีรี จำกัด วนั ที่ 17 มถิ ุนายน 64 สหกรณการเกษตรพปิ นู จำกัด วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน 64

สำนกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนนิ งานประจำป พ.ศ. 2564 (Annual Report) | 40

โครงการสหกรณพฒั นาศักยภาพสหกรณน อกภาคการเกษตรสูความเขม แข็ง

1. วตั ถปุ ระสงค/เปา หมาย/พื้นทดี่ ำเนนิ งานโครงการ :
วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่บัญชีของสหกรณนอกภาคการเกษตร ใหจัดทำบัญชีไดเปน

ปจจุบนั ผูเขาประชุมรวมกนั จัดทำแผนปฏบิ ัตงิ านปด บัญชขี องสหกรณร ว มกนั สรปุ ผลและถอดบทเรยี นผลการ
ดำเนินโครงการฯ และเพื่อใหสหกรณสามารถจัดทำบัญชีและงบการเงินไดเปนปจจุบัน และปดบัญชีไดตาม
กฎหมายกำหนด

เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินโครงการ ทีมปดบัญชีสหกรณ ทีมปฏิบัติงานจัดทำบัญชีของสหกรณเคหสถาน
บานมน่ั คงปากนครพัฒนา จำกัด และผูแ ทนหนวยงานทีเ่ ก่ยี วขอ ง จำนวน 10 คน
2. ผลการดำเนินงาน : กลุมสงเสริมสหกรณที่รับผิดชอบสหกรณจัดเก็บขอมูลและสภาพปญหาของสหกรณ
เพื่อกำหนดแนวทางแกไขปญหาการจัดทำบัญชีและงบการเงินของสหกรณ จากนั้นนำขอมูลดังกลาวเขาที่ประชุม
เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เพ่ือจดั ทำแผนปดบัญชขี องสหกรณ โดยทปี่ ระชุมประกอบดวย ทมี ปฏบิ ตั งิ านจัดทำบัญชีของสหกรณ
จำนวน 4 คน ซึ่งเปนกรรมการและเจาหนาท่ีบัญชีของสหกรณ ทีมปดบัญชีสหกรณ จำนวน 4 คน ซึ่งเปนเจาหนา ที่
สงเสริมที่รับผดิ ชอบสหกรณ จำนวน 3 คน และเจาหนาทีก่ ลุม สงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณอ ีก 1 คน
เจาหนาที่จากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณซึ่งเปนผูสอบบัญชีของสหกรณ และเจาหนาที่จาก สถาบันพัฒนาองคกร
ชุมชน (องคกรมหาชน) สำนักงานภาคใต (พอช) รวมกันจัดทำแผนปดบญั ชีของสหกรณโดยมีการกำหนดแผนฯ และ
ดำเนินการตามแผนฯ สหกรณมีแผนในการแกไขปญหาการปดบัญชีของสหกรณ และสหกรณสามารถจัดทำบัญชี
และงบการเงินปบัญชี 2562 – 2564 สงผูสอบบัญชีแลวเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2564 ขณะนี้อยูระหวาง
ผสู อบบญั ชใี หเก็บรายละเอยี ดเพม่ิ เติม
3. ผลลพั ธห รอื ผลสัมฤทธ์ิจากการดำเนินงาน

ผลลพั ธเ ชิงปรมิ าณ สหกรณมีแผนในการปฏบิ ัติงานปด บญั ชีของสหกรณ
ผลลัพธเชิงคุณภาพ สหกรณสามารถจัดทำบัญชีและงบการเงินและปดบัญชีไดเปนปจจุบันหรือสามารถ
เลอื่ นระดบั การจดั ทำบัญชีและงบการเงินไดอยางนอย 1 ระดับ
4. ประโยชนที่สหกรณ/กลุมเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรไดรับ : สหกรณสามารถจัดทำ
บัญชีไดเปนปจจุบัน, สามารถจัดทำงบการเงินและปดบัญชีไดตามกฎหมาย และสำนักงานสหกรณจังหวัด
นครศรีธรรมราชไดชดุ องคค วามรูเพอ่ื แกไ ขปญหาการปด บัญชขี องสหกรณ
5. ปญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไข : สหกรณมีการเปลี่ยนแปลงเจาหนาที่ผูจัดทำบัญชี
ระหวางป สงผลใหขอมูลและการจัดทำรายละเอียดประกอบงบการเงินบางสวน ไมยังถูกตอง และครบถวน สหกรณฯ
ไดมีการจัดจางเจา หนา ท่บี ญั ชีใหม
6.ขอเสนอแนะเพือ่ พฒั นา : แนะนำสงเสริมใหสหกรณ มรี ะบบการควบคุมภายในทีด่ ี มกี ารแบงแยกหนาทีร่ ะหวา งผูจดั บัญชี
และเจาหนา ท่กี ารเงนิ ชัดเจน สงเสรมิ ใหค ณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ มีการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารจดั ทำแผนปดบัญชสี หกรณและประชุมเชิงปฏิบตั ิการสรปุ ผลและถอดบทเรยี นผลการดำเนินโครงการฯ

สำนักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช


Click to View FlipBook Version