The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูลCommunication Media1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Charintip.1342, 2019-12-15 02:27:59

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูลCommunication Media1

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูลCommunication Media1

1

สื่อและอปุ กรณก์ ารรับสง่ ข้อมลู Communication Media
นาเสนอโดย

นางสาวชรนิ ทร์ทพิ ย์ หงษา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ

เสนอ

ครูวริ ยา สขี าว

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสมี า

2

ส่อื ประเภทเหน่ียวนา (Conducted Media)
1. สายโคแอคเชยี ล (Coaxial cable)
2. สายคู่บดิ เกลียว (Twisted pair wire)
3. แบบไมม่ ีฉนวนหุม้ (Unshielded Twisted Pair: UTP)
4. แบบมฉี นวนหมุ้ (Shielded Twisted Pair: STP)
5. สายใยแก้วนาแสง (Fiber-Optic cable)
สายโคแอก็ เชยี ล (Coaxial Cable)
เปน็ สายสัญญาณประเภทแรกท่ใี ช้ และเปน็ ทีน่ ิยมมากในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมยั แรกๆ
ในปัจจุบันถือไดว้ า่ เป็นสายที่ลา้ สมัยสาหรับเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจบุ ัน อยา่ งไรกต็ ามยังมี
ระบบเครอื ข่ายบางประเภททย่ี งั ใชส้ ายประเภทนอี้ ยู่

สว่ นประกอบของสายโคแอ็กเชียล

สายทองแดง
ฉนวน

ใยโลหะถกั เปยี หรือโลหะบางๆ
ฉนวนและวสั ดุป้องกันสายสัญญาณ

สายโคแอ็กซ์ (Coax) จะมีตัวนาไฟฟา้ อยู่สองสว่ น
- สว่ นแกนเปน็ ส่วนทนี่ าสัญญาณขอ้ มลู
- ชั้นใยขา่ ยเปน็ ช้นั ท่ใี ช้ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกและเปน็ สายดนิ ในตวั ดงั นน้ั สองส่วน
น้ีต้องไม่เช่อื มตอ่ กันมิฉะนนั้ อาจเกิดไฟช็อตได้

3

สายโคแอ็กเชยี ลแบบบาง (Thin Coaxial Cable)
เป็นสายทีม่ ขี นาดเลก็ เส้นผา่ นศูนย์กลางประมาณ 0.64 cm
เน่อื งจากสายประเภทน้มี ีขนาดเลก็ และมีความยืดหยุ่นสงู จึงสามารถใชไ้ ด้กับการตดิ ตัง้ เครือข่าย
เกอื บทกุ ประเภท สามารถนาสญั ญาณไดไ้ กลถงึ 185 เมตร ก่อนท่สี ัญญาณจะเรม่ิ ออ่ นกาลังลง

สายโคแอ็กเชียลแบบหนา (Thick Coaxial Cable)
1.เป็นสายโคแอ็กซ์ที่ค่อนข้างแข็ง และขนาดใหญก่ วา่ สายโคแอ็กซแ์ บบบาง โดยมีเสน้ ผา่ น
ศนู ย์กลางประมาณ 1.27 cm
2.สว่ นแกนกลางที่เปน็ สายทองแดงของสายโคแอก็ ซแ์ บบหนาจะมขี นาดใหญ่ ดงั น้นั จงึ สามารถนา
สญั ญาณไดไ้ กลถงึ 500 เมตร
3.นิยมใชใ้ นการเช่ือมตอ่ เส้นทางหลักของข้อมลู หรอื แบ็คโบน (Backbone) ของเครอื ข่ายสมัย
แรกๆ

สายท่ีใหญ่กวา่ ย่อมนาสญั ญาณไดด้ ีกวา่ สายธกิ ค์เน็ต (Thicknet) จะยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่า
เนอื่ งจากเป็นสายทค่ี ่อนขา้ งแขง็ แรง ในขณะท่ีสายแบบธินเน็ต (Thinnet) มคี วามยืดหยุ่นทด่ี ีกวา่
ทาใหง้ ่ายตอ่ การติดต้ังและราคาก็ถกู กวา่ ความยดื หยุ่นของสายมผี ลตอ่ การตดิ ตง้ั เมอ่ื เดนิ สายผ่าน
ท่อขนาดเลก็ ทต่ี ดิ บนฝา้ เพดาน ทาใหเ้ ป็นที่นยิ มมากกว่า

4

- BNC Cable Connector เปน็ หัวที่เช่อื มเข้ากับปลายสาย
- BNC T-Connector เป็นหวั ที่ใช้เช่อื มตอ่ ระหวา่ งสายสญั ญาณกับเน็ตเวิร์คการ์ด
- BNC Barrel Connector เปน็ หวั ที่ใชใ้ นการเช่อื มต่อสายสญั ญาณเพอื่ ให้สายมขี นาดยาวขึ้น
- BNC Terminator เป็นหัวทใ่ี ช้ในการสิ้นสุดสญั ญาณทีป่ ลายสายเพ่ือเปน็ การส้ินสุดสญั ญาณไมใ่ ห้
สะท้อนกลับ ถา้ ไม่อย่างน้ันสัญญาณสะทอ้ นกลบั ทาให้รบกวนสญั ญาณที่ใชน้ าข้อมูลจริง ซงึ่ จะทา
ให้เครอื ข่ายล้มเหลวในท่ีสุด
สายคู่บดิ เกลยี ว (Twisted Pairs Cable)
1.เมือ่ กอ่ นเปน็ สายสัญญาณท่ีใช้ในระบบโทรศัพท์ แตป่ จั จบุ ันไดก้ ลายเป็นมาตรฐานสายสัญญาณที่
เชื่อมตอ่ ในเครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN)
2.สายคู่บดิ เกลียวหน่ึงคู่ประกอบดว้ ยสายทองแดงขนาดเล็ก เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 0.016-
0.035 นิว้ หมุ้ ด้วยฉนวนแลว้ บดิ เป็นเกลียวเป็นคู่
3.การบดิ เปน็ เกลียวของสายแตล่ ะคมู่ จี ดุ ประสงค์เพอื่ ชว่ ยลดคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าทรี่ บกวนซง่ึ กนั
และกนั
4.สายคู่บิดเกลยี วที่มขี ายในทอ้ งตลาดอาจประกอบด้วยสายคบู่ ดิ เกลยี วตง้ั แตห่ นง่ึ คไู่ ปจนถงึ 600
คู่ในสายขนาดใหญ่ สายคู่บดิ เกลยี วท่ีใช้กบั เครือขา่ ย LAN จะประกอบดว้ ย 4 คู่
สายคบู่ ดิ เกลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pairs : STP)
1.มีสว่ นทีป่ อ้ งกนั สัญญาณรบกวนจากภายนอก
2.ชั้นปอ้ งกนั นอี้ าจเป็นแผ่นโลหะบางๆ หรอื ใยโลหะที่ถักเปียเปน็ ตาขา่ ย ซง่ึ ช้ันป้องกนั นจี้ ะหอ่ หุม้
สายคู่บิดเกลยี วทั้งหมด

จุดประสงค์ของการเพิ่มข้ันห่อหุ้มน้ีเพือ่ ปอ้ งกนั การรบกวนจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เชน่ คล่นื วิทยุ
จากแหล่งต่างๆ

5

สายคู่บดิ เกลยี วไมห่ มุ้ ฉนวน (Unshielded Twisted Pairs : UTP)
1. สายสัญญาณท่ีนิยมใช้กันมากท่ีสุดในระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ปัจจบุ ัน
2. การใช้สายนีค้ วามยาวต้องไมเกิน 100 เมตร

คณุ สมบตั ิพเิ ศษของสายคู่บิดเกลียว

1.การใชส้ ายคูบ่ ดิ เกลียวในการรบั สง่ สญั ญาณนั้นจาเป็นต้องใชส้ ายหน่ึงคู่ในการสง่ สัญญาณ และ
อีกหนึ่งค่ใู นการรบั สญั ญาณ ซ่ึงในแตล่ ะค่สู ายจะมีท้ังข้ัวบวกและข้ัวลบ

2.ในการทาเช่นน้ีเปน็ เทคนคิ อยา่ งหนงึ่ ในการรับสง่ ข้อมลู ทเ่ี รียกว่า "Differential Signaling" ซ่งึ
เทคนคิ นี้คิดคน้ ขึน้ มาเพอื่ จะกาจัดคลน่ื รบกวน (Electromagnetic Noise) ท่เี กิดกบั สญั ญาณ
ข้อมลู

3.เมอื่ เกิดคลืน่ รบกวนขึน้ กับสายสญั ญาณแล้วจะทาให้สญั ญาณข้อมลู ยากตอ่ การอ่านหรือแปล
ความหมาย

6

สายใยแกว้ นาแสง (Fiber-Optic Cable)
1.ใช้สัญญาณแสงในการส่งสญั ญาณไฟฟ้า ทาใหก้ ารส่งสัญญาณไมถ่ กู รบกวนจากสนามแม่เหล็ก
ไฟฟา้ ตา่ ง ๆ ทั้งยงั คงทนต่อสภาพแวดลอ้ ม อกี ด้วย
2.ตวั กลางทใ่ี ชส้ าหรับการสง่ สัญญาณแสงก็คอื ใยแก้วซ่งึ มีขนาดเลก็ และบาง ทาใหป้ ระหยดั พน้ื ที่ไป
ไดม้ าก
3.สามารถส่งสญั ญาณไปไดไ้ กลโดยมีการสูญเสยี ของสัญญาณนอ้ ย ทัง้ ยงั ให้อตั ราข้อมูล
(Bandwidth) ที่สงู ยง่ิ กวา่ สายแบบโลหะหลายเท่าตัว
ปัญหาของสายทมี่ ีตัวนาเป็นโลหะน้นั กค็ อื สัญญาณท่ีวง่ิ อยภู่ ายในสายนัน้ อาจจะถกู รบกวนได้โดย
คลแมเ่ หล็กไฟฟ้าแหล่งต่าง ๆ เชน่ มอเตอรไ์ ฟฟา้ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าต่าง ๆ ท่ผี ลติ สนามแมเ่ หล็ก หรอื
แม้กระทง่ั ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เชน่ ฟา้ ผ่า เปน็ ตน้ และการเดินสายเป็นระยะทางไกลมาก ๆ
เชน่ ระหวา่ งประเทศจะมกี ารสญู เสยี ของสญั ญาณเกดิ ขน้ึ จึงตอ้ งใชอ้ ุปกรณส์ าหรบั ทวนสญั ญาณ
ตดิ เป็นจานวนมาก เพราะฉะนนั้ จึงมกี ารคิดค้นและพฒั นาสายสญั ญาณแบบใหม่ ซง่ึ ใชต้ ัวนาซ่ึง
ไม่ได้เป็นโลหะขน้ึ มา

โครงสร้างของใยแก้วนาแสง

สว่ นประกอบของสายใยแกว้ นาแสง

7

สรปุ สื่อประเภทกระจายคล่นื หรือส่ือประเภทไรส้ าย ( Wireless Media)
1. คลืน่ วทิ ยุ (Broadcast Radio)
2. สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave)
3. แบบภาคพน้ื ดนิ (Terrestrial Microwave)
4. แบบดาวเทียม (Satellite Microwave)
5. วทิ ยเุ ซลลูลาร์ (Cellular Radio)
6. วทิ ยุสเปรดสเปกตรมั (Spread Spectrum Radio)
7. สญั ญาณอนิ ฟราเรด (Infrared

คลนื่ วิทยุ (Broadcast Radio)

• มกี ารแพรก่ ระจายออกอากาศโดยท่วั ไปทง้ั ในระบบ AM และ FM

• มีความถ่ีอย่ใู นชว่ ง 30 – 300 MHz

• การแพร่กระจายคลืน่ หรือการสง่ ออกอากาศจะเกิดข้นึ ในทกุ ทิศทาง (Omni directional)

• แมว้ ่ารูปแบบของการแพร่คลืน่ สญั ญาณท่ัวไปจะเปน็ แบบวงกลม แตก่ ารใช้เทคโนโลยขี ้นั
สงู เข้าช่วยจะสามารถสร้างรูปทรงแบบวงรขี นึ้ มาได้ เพอ่ื หลกี เล่ียงพน้ื ที่ทับซ้อนของสัญญาณจาก
สถานขี า้ งเคยี ง

ขอ้ ดีของคล่ืนวทิ ยุ

• ตดิ ตั้งงา่ ย อุปกรณร์ าคาไม่แพงมากนัก

• สามารถทะลุสง่ิ กีดขวางได้

• แพร่กระจายสญั ญาณแบบวงกลมหรือวงรี ทาให้เคร่อื งรบั สญั ญาณท่อี ยู่ในระยะสามารถรับ
สญั ญาณได้ โดยไมต่ อ้ งหันหนา้ อปุ กรณ์ใหต้ รงกนั (ยกเว้นเสาอากาศโทรทัศน์)

8

ข้อเสยี ของคลนื่ วทิ ยุ
• อัตราการสง่ ขอ้ มูลตา่
• สามารถถูกคลื่นสญั ญาณอ่ืน รวมท้ังสภาพอากาศ และอุณหภมู ริ บกวนได้
• ต้องขออนุญาตใชค้ วามถ่ีจากหนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบกอ่ น

ไมโครเวฟ (Microwave)
• คล่ืนไมโครเวฟที่ใชถ้ ่ายทอดสัญญาณมคี วามถส่ี ูงมาก (3-30 GHz)ทาให้สามารถส่งข้อมลู
ออกไปดว้ ยอตั ราความเรว็ ทส่ี ูงมาก
• สญั ญาณเดนิ ทางเป็นแนวเส้นตรง (Line-of-Sight Transmission) จึงเรยี กว่าเป็นสัญญาณ
ทิศทางเดยี ว (Unidirectional)
• ไมโครเวฟแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
• ไมโครเวฟชนดิ ต้งั บนพ้ืนดนิ (Terrestrial Microwave)
• ไมโครเวฟชนดิ ดาวเทียม (Satellite Microwave
ไมโครเวฟชนดิ ต้ังบนพนื้ ดนิ
• ส่งสัญญาณแลกเปลี่ยนกนั ระหวา่ งสถานบี นพืน้ ดนิ (Earth Station) สองสถานี
• โดยปกติขนาดของจานรบั -ส่งสัญญาณ (Dish) จะมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 10 ฟตุ
• โดยปกตสิ ถานีบนพ้นื ดินตงั้ อยหู่ า่ งกันไมเ่ กิน 40-48 กโิ ลเมตร และอาจไกลถงึ 88
กิโลเมตร ถา้ สถานที ง้ั สองตั้งอยู่หา่ งจากพ้ืนดนิ มากๆ
• ระหว่างสองสถานจี ะตอ้ งไม่มีวตั ถุใดๆ ขวางกัน้ ระหวา่ งสองสถานี
ข้อดขี องไมโครเวฟชนิดตงั้ บนพนื้ ดิน
• กาลังส่งสงู ครอบคลุมพืน้ ทีส่ ่ือสารไดก้ ว้าง โดยจะส่งเป็นทอดๆ
• อตั ราในการส่งข้อมลู สงู
• ใชย้ ่านความถี่สูงทาใหถ้ ูกรบกวนจากสญั ญาณอ่ืนไดย้ าก
• ช่วยขจดั ปญั หาในเรื่องสถานทต่ี ้ัง หรอื ภูมปิ ระเทศที่ยากตอ่ การเชื่อมต่อสายสื่อสาร

9

ข้อเสียของไมโครเวฟชนดิ ตง้ั บนพ้นื ดนิ
• ถกู รบกวนได้งา่ ยจากคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ อุณหภมู ิ และภมู ิอากาศ
• อปุ กรณ์ และค่าใช้จ่ายในการตดิ ต้ังมีราคาแพง
• ต้องขออนุญาตใช้ความถ่ีจากหนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ
• ตอ้ งอาศยั ผมู้ ีความเช่ียวชาญในการตดิ ตงั้ และบารุงรักษา
ไมโครเวฟชนิดดาวเทียม
1. ประกอบด้วยดาวเทยี มหน่ึงดวง ซงึ่ จะต้องทางานร่วมกบั สถานพี ้นื ดนิ ต้งั แตส่ องสถานขี ้ึนไป
2. สถานพี ืน้ ดินถกู นามาใชเ้ พื่อการรับและสง่ สัญญาณไปยงั ดาวเทียม
3. ดาวเทียมทาหน้าที่เปน็ อปุ กรณ์ทวนสญั ญาณ ซึง่ จะถกู สง่ กลบั ลงมาบนพื้นโลก
4. ดาวเทียมส่วนใหญล่ อยอยู่เหนือพนื้ โลกประมาณ 35,680 กิโลเมตร ตามแนวเส้นศนู ยส์ ูตร
5. เรยี กว่าดาวเทยี มวงโคจรสถติ ย์ (Geosynchronous Orbiting Satellites: GEOS)
ข้อดีของไมโครเวฟแบบดาวเทียม
• มีอตั ราการสง่ ข้อมลู สูง
• สามารถครอบคลมุ พ้นื ท่ีการสื่อสารได้ทัว่ โลก
ข้อเสียของไมโครเวฟแบบดาวเทียม
• ตอ้ งลงทนุ มากนบั หม่ืนล้านบาท
• การตดิ ตั้งระบบ และดแู ลรักษาตอ้ งใช้ผู้มคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะ
• มกี ารหนว่ งเวลา ทาใหไ้ ม่เหมาะกบั งานแบบทตี่ ้องการผลลัพธ์ทันที
• ถูกรบกวนจากสภาพภูมอิ ากาศได้

10

วิทยุเซลลูลาร์ (Cellular Radio)
ใชใ้ นการรบั -ส่งสญั ญาณเสียงสนทนาหรือข้อมลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ทอ่ี าศยั สื่อประเภทคลนื่ สัญญาณ
วิทยุ
มีระยะการรับ-ส่งสญั ญาณทีจ่ ากัดอยภู่ ายในพื้นที่หน่ึง เรียกวา่ “เซลล์” (Cell)
เซลล์ (Cell)
เซลลแ์ ตล่ ะเซลล์จะมีเสาอากาศสาหรับรับและสง่ สัญญาณเปน็ ของตนเอง เน่ืองจากเซลลม์ ีอาณา
เขตติดตอ่ กับเซลลอ์ น่ื ทอี่ ยูต่ ดิ กันทกุ ดา้ น จึงจาเป็นต้องใชค้ ล่นื สญั ญาณที่มพี ลงั งานตา่ เมอื่ ผ้ใู ชน้ า
อปุ กรณ์รบั -สง่ สัญญาณขา้ มเขตจากเซลลห์ น่งึ ไปยงั อีกเซลลห์ นง่ึ เรยี กวา่ “การโอนการติดต่อ”
(Roaming)

พ้นื ท่กี ารติดต่อของเซลลูลาร์

Cell Site

11

ข้อดขี องเซลลูลาร์
• สามารถโอนการตดิ ต่อเมือ่ ผใู้ ช้เคลอ่ื นทอ่ี อกจากพ้นื ที่เซลล์หน่ึงไปยงั อกี เซลลห์ นึ่งได้ โดยที่
ยังสามารถรบั -สง่ ขอ้ มลู อย่างต่อเนอ่ื งได้
• คุณภาพของเสยี ง เนือ่ งจากมกี ารรบั -ส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจงึ มคี วามคมชัดกวา่ แบบ
อนาล็อกมาก
• มกี ารเขา้ รหสั สญั ญาณดิจิตอลทีส่ ง่ ออกไป ทาให้ผลู้ ักลอบดักฟังไมส่ ามารถเขา้ ใจได้
ขอ้ เสยี ของเซลลลู าร์
• เวลาใช้งานโทรศพั ท์แต่ละเคร่อื งก็จะต้องใชค้ วามถ่ีที่แตกต่างกัน ทาให้เม่อื มีผู้ใชง้ าน
โทรศัพท์พร้อมกันมากๆ จะทาให้ไมส่ ามารถทาการติดตอ่ สอ่ื สารได้
• เซลล์มขี นาดเล็กครอบคลุมพื้นทไ่ี ม่กวา้ งมากนกั ทาให้ต้องตดิ ตั้งเสาสญั ญาณ (Cell Site)
จานวนมาก
• หากอยใู่ นอาคารหรือในตัวเมอื งใหญๆ่ อาจเกิดจดุ อับของสัญญาณได้
วิทยแุ บบสเปรดสเปกตรัม (Spread Spectrum)
1. ใชว้ ธิ ีการสง่ สัญญาณออกไปหลายคลืน่ ความถี่พรอ้ มๆ กนั ภายใน แถบคล่นื (Spectrum)
ท่ีกาหนด
2. สามารถปอ้ งกนั การดักฟังสัญญาณ และทาใหก้ ารรบกวนการส่ือสารทาได้ยาก
3. ปจั จบุ ันได้นาเทคนิคน้มี าใชส้ าหรบั การสื่อสารไร้สายของระบบเครอื ขา่ ยเฉพาะบรเิ วณ
(Wireless LAN)
เทคนิคในการสง่ มี 2 แบบ
Frequency Hopping Spread Spectrum (FHSS)
Direct Sequence Spread Spectrum (DSSS)
Frequency Hopping Spread Spectrum

12

สญั ญาณจะถกู สง่ ออกไปท่ีคลื่นความถ่ีแรก ซง่ึ เลอื กมาจากการสุ่มจากแถบคลื่นที่กาหนดเป็น
ระยะเวลาท่ีสั้นมาก จากน้ันก็เปลีย่ น (กระโดด หรอื Hopping) ไปใช้คลื่นความถี่ทีส่ อง ซ่งึ เลือก
โดยการสมุ่ ข้นึ มาเหมอื นกันแล้วจึง Hopping ไปใชค้ ล่นื ความถ่ีอนื่ สลบั กนั ไปเรื่อยๆ ในระบบน้ีทง้ั
เครือ่ งสง่ และเคร่ืองรับสญั ญาณจาเปน็ จาตอ้ งทราบวิธกี ารเลือกหรือทราบลาดับการเลอื กใช้
คลื่นสญั ญาณ รวมท้ังระยะเวลาการสง่ ในชว่ งคลน่ื นั้นๆ ที่ถกู ต้อง จึงจะสามารถรบั -ส่งสัญญาณได้

ขอ้ ดีของ FHSS

• เคร่ืองสง่ ใช้พลงั งานน้อยกวา่ แบบ DSSS

• อปุ กรณ์มีขนาดเล็ก

• มรี าคาถกู กว่าแบบ DSSS

Direct Sequence Spread Spectrum

ส่งสญั ญาณออกไปทกุ ความถใี่ นแถบคลนื่ ท่ีกาหนดพร้อมๆ กัน ข้อมลู จะถกู แบ่งออกเป็นรหสั ยอ่ ย
เรยี กว่า “Chip” ซึง่ จะถูกกระจายและสง่ ออกไปในคลนื่ ความถตี่ า่ งๆ กันทางด้านเครือ่ งผู้รับก็
จะตอ้ งทราบวธิ กี ารคน้ หา และนา Chip มาประกอบกนั เปน็ ขอ้ มูลตามเดมิ

ขอ้ ดีของ DSSS

• ส่งขอ้ มูลในอัตราที่สูง

• ถูกรบกวนไดน้ ้อยกว่าแบบ FHSS

• มีระยะการรบั -ส่งข้อมูลถงึ 1,000 ฟุต หรือประมาณ 330 เมตร

แสงอินฟราเรด (Infrared)

แสงอินฟราเรดเป็นคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า (Electromagnetic) ทม่ี คี วามถ่รี ะหวา่ งแสงที่ตามองเหน็
และคลืน่ วทิ ยเุ ม่อื ก่อนนามาใชค้ วบคุมอุปกรณไ์ ฟฟา้ ทวั่ ไปปัจจุบันนามาใช้ในการสื่อสารไร้สาย
สาหรบั เครอื ข่าย LAN เรยี กวา่ การส่งสัญญาณดว้ ยแสงอินฟราเรด (Infrared Transmission)

13

คณุ สมบัตขิ องแสงอินฟราเรด
1. ลาแสงอนิ ฟราเรดเดนิ ทางในแนวเส้นตรง
2. สามารถสะท้อนบนวตั ถุผวิ เรยี บได้เหมอื นแสงท่ัวไป
3. เมื่อนามาใชส้ าหรับการสอ่ื สารในเครอื ข่าย LAN สามารถส่งสัญญาณไดใ้ นระยะทาง
ประมาณ 30-80 ฟุต หรือประมาณ 10-30 เมตร
4. จดั เป็นส่อื ที่มีช่องส่ือสารกวา้ งพอประมาณ และอยใู่ นระดับสงู เมื่อเทียบกับสือ่ ประเภทสาย
ลวดทองแดง

ขอ้ ดีของอนิ ฟราเรด
• ไม่ตอ้ งตดิ ตง้ั สายสอื่ สาร
• ง่ายตอ่ การโยกยา้ ยตาแหน่งของอปุ กรณ์
• มชี อ่ งสื่อสารกว้างสูงกว่าสื่อประเภทสายสวดทองแดง
ขอ้ เสียของอินฟราเรด
• สญั ญาณจะลดทอนไปตามระยะทาง
• ไมส่ ามารถทะลุส่งิ กีดขวางได้
• อัตราเรว็ ในการส่งขอ้ มูลต่าเมอื่ เทยี บกับส่ือประเภทไรส้ ายชนิดอ่ืนๆ

14


Click to View FlipBook Version