ชุชุ ชุ ด ชุ ดกิกิ กิ จ กิ จกรรมการเรีรีรี ย รี ยนรู้รู้ รู้รู้ หน่น่ น่ ว น่ วยการเรีรีรี ย รี ยนรู้รู้ รู้ ที่ รู้ ที่ ที่ที่ ๑ หน่น่ น่ ว น่ วยของสิ่สิ่ สิ่ ง สิ่ งมีมี มีชีมีชีชี วิ ชี วิ วิ ต วิ ต เล่ล่ ล่ ม ล่ มที่ที่ ที่ที่1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การศึกษาเซลล์ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ การศึกษาเซลล์ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ นางสาวสุดารัตน์ คงรักษ์ ตำ แหน่งครู ยังไม่มีวิทยฐานะ นางสาวสุดารัตน์ คงรักษ์ ตำ แหน่งครู ยังไม่มีวิทยฐานะ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนคุรุราษฎร์รังสฤษฏ์ สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ราชบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนคุรุราษฎร์รังสฤษฏ์ สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ราชบุรี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต วิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ได้จัดทำ ขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนควบคู่กับ แผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจากเนื้อหาแต่ละเรื่อง มีมาก เวลาในการสอนมีน้อยทำ ให้นักเรียนได้ เรียนรู้ไม่ครบทุกเนื้อหาดังนั้นเพื่อสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครบตามหลักสูตรกำ หนดจึงได้ จัดให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาที่นำ เสนอเป็นบทเรียนสำ เร็จรูปและใช้เป็นคู่มือสำ หรับค้นคว้าด้วย ตนเองเป็นการสรุปเนื้อหาจากง่ายไปยากนักเรียนสามารถค้นพบความรู้ด้วยตนเองโดยนักเรียนศึกษา ทีละกรอบจากกรอบแรกไปถึงกรอบสุดท้ายเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาในกรอบการเรียนรู้ที่เรียบ เรียงไว้ตามลำ ดับขั้นตอนซึ่งจะมีเนื้อหาที่กระชับเข้าใจง่ายมีภาพประกอบที่สวยงามอีกทั้งยังได้ฝึก กระบวนการคิดวิเคราะห์และทำ ความเข้าใจเนื้อหาจากกรอบเนื้อหาโดยสอดคล้องกับประสบการณ์ของ ผู้เรียน และบูรณาการความรู้ของตนเองและแบบทดสอบเพื่อใช้ในการประเมินความรู้ของตนเองได้ โดยได้จัดทำ ขึ้นจำ นวน 2 เล่ม เล่มที่ 1 เรื่อง การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ เล่มที่ 2 เรื่อง โครงสร้างของเซลล์พืช เซลล์สัตว์ ผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้จะสามารถทำ ให้นักเรียนมีความเข้าใจ ในเนื้อหาบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและสามารถ นำ ไปใช้เป็นความรู้พื้นฐานเพื่อศึกษาในระดับชั้นที่สูงขึ้นไป สุดารัตน์ คงรักษ์ คำคำ คำคำ นำนำ นำนำ
สารบับั บัญบั หน้า คำ นำ ก สารบัญ ข คำ ชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรม ค คำ แนะนำ สำ หรับครูผู้สอน ง คําแนะนําสําหรับนักเรียน จ ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรม ฉ สาระสำ คัญ ช มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ฌ จุดประสงค์การเรียนรู้ ญ แบบทดสอบก่อนเรียน 1 ใบความรู้ที่ 1 4 กิจกรรมที่ 1 7 กิจกรรมที่ 2 8 ใบความรู้ที่ 2 10 กิจกรรมที่ 3 13 แบบทดสอบหลังเรียน 14 ภาคผนวก 15
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ได้จัดทำ ขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 1 ว21101 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ใช้เวลา 2 ชั่วโมง ซึ่งภายในบทเรียนสำ เร็จรูปประกอบด้วย 1. คำ แนะนำ สำ หรับครูผู้สอน 2. คำ แนะนำ สำ หรับนักเรียน 3. สาระสำ คัญ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 6. ใบความรู้ 7. ใบกิจกรรม 7. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 8. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน คำคำ คำคำชี้ชี้ชี้ แ ชี้ แจง
1. ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต วิชาวิทยาศาสตร์ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้เสริมนักเรียนที่เรียนดีและช่วยนักเรียนที่เรียนช้าได้ทันเพื่อนหรือใช้ ทบทวนบทเรียน 3. ครูแจกบทเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนอ่านวิธีการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จนเข้าใจดีแล้วให้ นักเรียนเริ่มศึกษาบทเรียนด้วยตนเอง 4. ให้นักเรียนทำ แบบทดสอบก่อนเรียน 5. ให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตั้งแต่กรอบที่ 1 จนถึงกรอบสุดท้าย ทั้งเนื้อหา คำ ถามประจำ กรอบ และแบบทดสอบหลังเรียน 6. เมื่อนักเรียนศึกษาบทเรียนแต่ละเล่มแล้ว ให้นักเรียนทำ แบบทดสอบหลังเรียนด้วยตนเอง 7. ใช้เวลา 2 ชั่วโมง คำคำ คำคำ แนะนำนำ นำนำ สำสำ สำสำ หรัรัรั บ รั บครูรู รูรู
ให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทเรียนนี้จะได้ผลเมื่อนักเรียนทำ ตามขั้นตอนต่อไป นี้ตั้งแต่ต้นไปจนจบ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาสาระสำ คัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทำ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ตามความเข้าใจด้วยความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการตอบคำ ถาม โดยไม่ต้องเปิดดูคำ ตอบล่วงหน้า ตรวจสอบพร้อมแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) 3. ศึกษาบทเรียนทีละกรอบตามลำ ดับซึ่งแต่ละกรอบจะมีคำ ถามให้นักเรียนตอบด้วยตนเองไม่ควรทำ ข้าม กรอบ โดยให้ตรวจคำ ตอบที่ทำ ไปแล้วในกรอบถัดไป 4. ถ้าคำ ตอบของผู้เรียนตรงกับคำ ตอบที่เฉลยไว้ให้ผู้เรียนหาคำ ตอบในกรอบต่อไป 5. ถ้าคำ ตอบไม่ตรงเฉลย ให้กลับไปศึกษากรอบนั้นใหม่และหาคำ ตอบให้ถูกต้อง คำคำ คำคำ แนะนำนำ นำนำ สำสำ สำสำ หรัรัรั บ รั บนันั นักนั เรีรีรี ย รี ยน
ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ประเมินผล คำ แนะนำ การใช้ชุดกิจกรรม ขั้ขั้ขั้ น ขั้ นตอนการใช้ช้ช้ชุช้ชุ ชุ ด ชุ ดกิกิ กิ จ กิ จกรรม ทำ แบบทดสอบก่อนเรียน ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ทำ แบบทดสอบย่อยหลังเรียน ศึกษาชุดกิจกรรมชุดต่อไป
การค้นพบหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยเล็ก ๆหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาว อังกฤษ ชื่อ โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทำ ให้ทราบว่าเซลล์มีขนาด รูปร่าง และลักษณะ หลายแบบแตกต่างกันไป เพื่อประโยชน์ในการดำ รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ เซลล์บางชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า ได้ เช่น เซลล์ไข่ไก่ เซลล์ไข่เป็ด เซลล์ไข่เต่า บางชนิดมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น เซลล์ไข่ของสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยน้ำ นมบางชนิด เซลล์สเปิร์มของมนุษย์ เซลล์ยูกลีนา เซลล์พารามีเซียม สาระสำสำ สำสำ คัคัคัญคั
ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ (ว1.2 ม.1/2) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง กับการทำ หน้าที่ของเซลล์ (ว1.2 ม.1/3) มาตรฐาน/ตัตั ตั ว ตั วชี้ชี้ชี้ วั ชี้ วั วั ด วั ด ตัตั ตั ว ตั วชี้ชี้ชี้ วั ชี้ วั วั ด วั ด มาตรฐาน มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำ เลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำ งาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำ งานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์
จุจุ จุ ด จุ ดประสงค์ค์ ค์ค์ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 3.1.1 อธิบายความหมายของเซลล์ได้ (K) 3.1.2 ระบุลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ (K) 3.1.3 อธิบายการจัดระบบของเซลล์เพื่อทำ หน้าที่เฉพาะได้ (K) 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process) 3.2.1 สื่อสารและนำ ความรู้เรื่องลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตไปใช้ในชีวิตประจำ วันได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) 3.3.1 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำ งานกลุ่มได้อย่างเหมาะสม
คำ ชี้แจง ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย x ลงในช่องว่าง ที่เป็นคำ ตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำ ตอบเดียวลงใน กระดาษคำ ตอบ (ใช้เวลา 10 นาที ) 1. หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อว่าอะไร ก. Antonie Von Leeuwenhoek ข. Sir Isaac Newton ค. Robert Hooke ง. John Donton 2. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่าอะไร ก. เซลล์ ข. แวคิวโอ ค. กอลจิบอดี ง. ไมโทคอนเดรีย 3. เซลล์ใดที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ก. เซลล์อสุจิของมนุษย์ ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ ค. เซลล์ไข่ไก่ ง. เซลล์พารามีเซียม 4. เซลล์ชนิดใดต่อไปนี้ ไม่พบนิวเคลียส ก. เซลล์อสุจิของมนุษย์ ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ ค. เซลล์ไข่ไก่ ง. เซลล์พารามีเซียม 5. การที่เซลล์มีรูปร่างลักษณะของเซลล์แตกต่างกันเพื่ออะไร ก. การดำ รงชีวิต ข. การป้องกันอันตราย ค. การทำ หน้าที่แตกต่างกัน ง. การจำ แนกประเภทของเซลล์ 6. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไปในโรงเรียนเป็นกล้องชนิดใด ก. แบบใช้แสง ข. แบบโปรตรอน ค. แบบอิเล็คตรอน ง. แบบกล้องธรรมดา แบบทดสอบก่ก่ ก่ก่ อนเรีรีรีรี ยน
7. ถ้าต้องการปรับภาพเซลล์เยื่อหอมแดงให้ชัดเจนขึ้นขณะกำ ลังใช้กล้องจุลทรรศน์ จะต้องเลือกส่วน ประกอบในข้อใด ก. ฐานกล้อง ข. แท่นวางวัตถุ ค. แหล่งกำ เนิดแสง ง. ปุ่มปรับภาพละเอียด 8. เมื่อนำ พารามีเซียมไปศึกษาดูด้วยกำ ลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 10x และเลนส์ใกล้วัตถุ 40x นักเรียนจะเห็นภาพพารามีเซียมด้วยกำ ลังยายของกล้องจุลทรรศน์เท่าไร ก. 400 เท่า ข. 300 เท่า ค. 200 เท่า ง. 100 เท่า 9.ถ้าเราต้องการดูสิ่งที่เล็กมาก ๆ เราจะเลือกใช้อุปกรณ์ใดจึงเหมาะสม ก. แว่นขยาย ข. กล้องจุลทรรศน์ ค. กล้องโทรทรรศน์ ง. กล้องส่องทางไกล 10. เลนส์ใกล้วัตถุกล้องจุลทรรศน์มีกำ ลังขยายต่ำ สุดกี่เท่า ก. 2X ข. 4X ค. 5X ง. 10X แบบทดสอบก่อนเรียน ต่อ แบบทดสอบก่อนเรียน ต่อ
ข้อ 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนน ก่อนเรียน เต็ม 10 ได้ กระดาษคำ ตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน กระดาษคำ ตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน คำ ชี้แจง ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย x ลงในช่องว่างใต้ตัวเลข 1 2 3 และ 4 ที่เป็นคำ ตอบที่ถูก ที่สุดเพียงข้อเดียว หรือกดทำ ข้อสอบใน คิวร์อาร์โค้ดที่แนบมา เกณฑ์การประเมิน คะแนนระหว่าง 9-10 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก คะแนนระหว่าง 7-8 อยู่ในเกณฑ์ ดี คะแนนระหว่าง 5-6 อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ คะแนนระหว่าง 0-4 อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง/แก้ไข
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หมายถึง สิ่งที่ประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มีลักษณะสำ คัญ คือ เป็นเซลล์ เดี่ยวที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส สารในนิวเคลียสจะกระจายทั่วเซลล์ โครงสร้างภายในเป็น แบบง่าย ๆ พบได้ ทั่วไปทั้งในน้ำ และบนบก ดำ รงชีวิตอย่างอิสระ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีสมบัติในการดำ รงชีวิตเหมือนสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ โดยสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสามารถ ทำ กิจกรรมต่าง ๆ เช่น กินอาหาร ย่อยอาหาร หายใจ เคลื่อนที่ สืบพันธุ์ เป็นต้น ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น พารามีเซียม คลอเรลลา ยูกลีนา เป็นต้น พารามีเซียม ยูกลีนา คลอเรลลา ภาพที่ 1 ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ใบความรู้รู้ รู้รู้ ที่ที่ ที่ที่1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ ได้แก่ สัตว์ และพืชทั่วไป ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน เป็นต้น ใบความรู้รู้ รู้รู้ ที่ที่ ที่ที่1 ต่ต่ ต่ต่ อ เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ภาพที่ 2 ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การค้นพบหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นส่องดูเนื้อเยื่อ ของไม้คอร์ก และเห็นเป็นช่องเล็ก ๆ เหล่านี้ว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งหมายความถึงห้องว่าง ๆ เซลล์ที่ฮุคเห็น เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว เหลือแต่ผนังเซลล์ของพืชซึ่งแข็งแรงกว่าเยื่อหุ้มเซลล์ของสัตว์ จึงทาให้คงรูปร่างอยู่ได้ ฮุคจึงได้ชื่อว่าเป็นผู้ตั้งชื่อเซลล์ ภาพที่ 3 ไม้คอร์กที่ตายแล้ว
ชไลเดน (Schleiden) และชวาน (Schwann) รวมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ขึ้น ทฤษฎีของเซลล์ กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์ที่ประกอบกันเป็นสิ่งมีชีวิตนี้อาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต สามารถเพิ่มจานวน เจริญเติบโต และ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เซลล์มีในทุกส่วนของสิ่งมีชีวิต มีขนาด รูปร่าง หน้าที่ และส่วนประกอบแตกต่างกันบ้าง 1. ขนาดของเซลล์ เซลล์แต่ละชนิดมีขนาดแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุดที่ไม่สามารถมอง เห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น แบคทีเรียจนกระทั่งเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ เช่น เซลล์ไข่ไก่ เป็นต้น 2. รูปร่างของเซลล์ เซลล์แต่ละชนิดมีรูปร่างแตกต่างกัน ไม่ว่าในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือสิ่งมี ชีวิตหลายเซลล์ เช่น เซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ที่มีคลอโรฟิลล์ ได้แก่ ยูกลีนา เซลล์คุมของพืช และเซลล์พืช เซลล์ที่มีรูปร่างค่อนข้างกลม ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ไข่ไก่ และเซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้ ได้แก่ เซลล์สเปิร์ม เซลล์ยูกลีนา และเซลล์พารามีเซียม เซลล์คุมของพืช เซลล์สเปิร์ม เซลล์พารามีเซียม เซลล์ไข่ไก่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์คุมของพืช
จากภาพที่ที่ ที่ กำ ที่ กำกำกำหนดให้ห้ ห้ นั ห้ นั นักนั เรีรีรี ย รี ยนนำนำนำนำข้ข้ ข้ อ ข้ อความในช่ช่ช่อช่งไปเติติติมติให้ห้ ห้ ถู ห้ ถู ถู ก ถู กต้ต้ ต้ อ ต้ อง การค้ค้ ค้ น ค้ นพบหน่น่น่วน่ยพื้พื้ พื้ น พื้ นฐานของสิ่สิ่สิ่งสิ่มีมี มีชีมีชีชี วิ ชี วิวิตวิ กิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่1 เซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส เซลล์ที่มีคลอโรฟิลล์ เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้ เซลล์ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส เซลล์ที่มีคลอโรฟิลล์ เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้ เซลล์ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 5................................................ 1. ................................................ 2................................................. 3................................................ 4................................................
คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลง ในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลง ในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ เกมส์ส์ ส์ บั ส์ บั บั ต บั ตรคำคำคำคำเรื่รื่รื่ อ รื่ องเซลล์ล์ ล์ล์ กิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่2 บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่1 พลานาเรีรีรี ย รี ย บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่2 พารามีมี มี เ มี เซีซีซี ย ซี ยม บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่3 ไฮดรา บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่4 อะมีมี มี บ มี บา บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่5 สัสั สั ต สั ตว์ว์ ว์ว์ บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่6 พืพื พืชพื
A สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว >>>มีเซลล์เดียวสามารถดำ รงชีวิตได้อย่างอิสระ >>>ไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส >>>โครงสร้างภายในเป็นแบบง่ายๆ >>>พบได้ทั้งในน้ำ และบนบก A สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว >>>มีเซลล์เดียวสามารถดำ รงชีวิตได้อย่างอิสระ >>>ไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส >>>โครงสร้างภายในเป็นแบบง่ายๆ >>>พบได้ทั้งในน้ำ และบนบก กิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่2(ต่ต่ ต่ต่ อ) B สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>สามารถสร้างอาหารเองได้ B สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>สามารถสร้างอาหารเองได้ ชุชุ ชุ ด ชุ ดบับั บั ต บั ตรข้ข้ ข้ อ ข้ อความ C สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ C สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลงในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลงในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ บัตรภาพ บัตรภาพที่ 1 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 2 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 3 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 4 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 5 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 6 คู่กับ (...............) บัตรภาพ บัตรภาพที่ 1 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 2 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 3 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 4 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 5 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 6 คู่กับ (...............)
ใบความรู้รู้ รู้รู้ ที่ที่ ที่ที่2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ ( Microscope ) คือ เครื่องมือขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตาให้เห็นสิ่งที่ไม่สามารถ เห็นด้วยตาเปล่า เช่น จุลินทรีย์ เซลล์เม็ดเลือด เป็นต้น กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงแบบธรรมดา ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนิดคือ เลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา โดยใช้แสงผ่านวัตถุแล้วขึ้นมาที่เลนส์จนเห็นภาพที่บนวัตถุอย่างชัดเจน ภาพที่ได้จากกล้องจุลทรรศน์เป็นภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ ส่วนประกอบแต่ละส่วนมีหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้ 1. เลนส์ใกล้วัตถุ ทาหน้าที่ ขยายภาพที่ได้จากเลนส์ใกล้วัตถุ 2. เลนส์ใกล้ตา ทาหน้าที่ ขยายภาพของวัตถุ 3. แท่นวางวัตถุ ทาหน้าที่ ใช้วางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา 4. ที่หนีบสไลด์ ทาหน้าที่ ป้องกันไม่ให้แผ่นสไลด์เลื่อนหลุดจากแท่นวางวัตถุ 5. ฐานกล้อง ทาหน้าที่ รองรับน้าหนักของตัวกล้อง 6. แขนกล้อง ทาหน้าที่ ใช้เป็นที่จับเพื่อเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ 7. ปุ่มปรับภาพหยาบ ทาหน้าที่ ปรับภาพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุซึ่งใช้ปรับหาภาพของวัตถุ 8. ปุ่มปรับภาพละเอียด ทาหน้าที่ ปรับความคมชัดของภาพ ภาพที่ 5 กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอ จะช่วยขยายภาพวัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เมื่อแสงส่องผ่านไป ยังวัตถุ ก็จะ สามารถมองเห็นวัตถุนั้นได้ แต่วัตถุที่นามาส่องจะต้องไม่มีชีวิต และภาพที่เห็นจะเป็น ภาพ 3 มิติ ภาพที่ 6 กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ ภาพที่ 6 กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์โดยลำ แสงอิเล็กตรอน จะส่องผ่านเซลล์ ตัวอย่างที่จะนำ มาศึกษาต้องมีการเตรียมกันพิเศษ และบางมากและมีขนาดเล็ก เช่น ไวรัส และไวรอยด์
วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 1. ตั้งตัวกล้องให้ตรง และหมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่ำ สุดให้ตรงกับลากล้อง 2. ปิดหลอดไฟให้แสงผ่านลากล้อง 3. นำ สไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ ให้วัตถุอยู่กลางบริเวณที่แสงผ่าน แล้วค่อย ๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ให้ลำ กล้องเลื่อนมา 4. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลำ กล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพอย่างหยาบช้า ๆ จนเห็นภาพ 5. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงขึ้น วิธีการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 1. ใช้ผ้าที่สะอาดและแห้งเช็ดทำ ความสะอาดส่วนที่เป็นโลหะ 2. สำ หรับส่วนที่เป็นเลนส์และกระจก ทำ ความสะอาดโดยใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น 3. เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ตั้งฉากกับตัวกล้อง 4. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำ ลังขยายต่ำ สุดให้อยู่ในแนวลำ กล้องแล้วเลื่อนให้อยู่ในระดับที่ต่ำ สุด 5. ปรับกระจกเงาให้อยู่ในแนวตั้งฉากกับพื้น 6. ใช้ผ้าคลุมไว้เมื่อเลิกใช้งาน 7. อย่าเก็บกล้องไว้ในที่ชื้นเพราะจะทำ ให้เลนส์ขึ้นรา การหากำ ลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ ตัวอย่าง เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูวัตถุ A โดยใช้เลนส์ใกล้ตากาลังขยาย 10 เท่า (10X) และเลนส์ใกล้วัตถุกำ ลังขยาย 100 เท่า (100X) ภาพของวัตถุ A จะมีกาลังขยายกี่เท่า วิธีทำ กำ ลังขยายกล้องจุลทรรศน์ = กำ ลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กำ ลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ = 10 x 100 = 1000 เท่า ตอบ ภาพของวัตถุ A มีกาลังขยาย 1,000 เท่า
กิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่3 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้ตา แท่นวางวัตถุ ที่หนีบสไลด์ ฐานกล้อง แขนกล้อง ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด คำคำคำคำชี้ชี้ชี้ แ ชี้ แจง จากภาพที่ที่ ที่ กำ ที่ กำกำกำหนดให้ห้ ห้ นั ห้ นั นักนั เรีรีรี ย รี ยนนำนำนำนำข้ข้ ข้ อ ข้ อความในช่ช่ช่อช่งไปเติติติมติให้ห้ ห้ ถู ห้ ถู ถู ก ถู กต้ต้ ต้ อ ต้ อง
คำ ชี้แจง ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย x ลงในช่องว่าง ที่เป็นคำ ตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำ ตอบเดียวลงใน กระดาษคำ ตอบ (ใช้เวลา 10 นาที ) 1. การที่เซลล์มีรูปร่างลักษณะของเซลล์แตกต่างกันเพื่ออะไร ก. การดำ รงชีวิต ข. การป้องกันอันตราย ค. การทำ หน้าที่แตกต่างกัน ง. การจำ แนกประเภทของเซลล์ 2. เซลล์ชนิดใดต่อไปนี้ ไม่พบนิวเคลียส ก. เซลล์อสุจิของมนุษย์ ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ ค. เซลล์ไข่ไก่ ง. เซลล์พารามีเซียม 3. หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อว่าอะไร ก. Antonie Von Leeuwenhoek ข. Sir Isaac Newton ค. Robert Hooke ง. John Donton 4. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไปในโรงเรียนเป็นกล้องชนิดใด ก. แบบใช้แสง ข. แบบโปรตรอน ค. แบบอิเล็คตรอน ง. แบบกล้องธรรมดา 5. เซลล์ใดที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ก. เซลล์อสุจิของมนุษย์ ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ ค. เซลล์ไข่ไก่ ง. เซลล์พารามีเซียม 6. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่าอะไร ก. เซลล์ ข. แวคิวโอ ค. กอลจิบอดี ง. ไมโทคอนเดรีย แบบทดสอบหลัลั ลัลั งเรีรีรีรี ยน
7. เลนส์ใกล้วัตถุกล้องจุลทรรศน์มีกำ ลังขยายต่ำ สุดกี่เท่า ก. 2X ข. 4X ค. 5X ง. 10X 8. เมื่อนำ พารามีเซียมไปศึกษาดูด้วยกำ ลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 10x และเลนส์ใกล้วัตถุ 40x นักเรียนจะเห็นภาพพารามีเซียมด้วยกำ ลังยายของกล้องจุลทรรศน์เท่าไร ก. 400 เท่า ข. 300 เท่า ค. 200 เท่า ง. 100 เท่า 9. เถ้าต้องการปรับภาพเซลล์เยื่อหอมแดงให้ชัดเจนขึ้นขณะกำ ลังใช้กล้องจุลทรรศน์ จะต้องเลือกส่วน ประกอบในข้อใด ก. ฐานกล้อง ข. แท่นวางวัตถุ ค. แหล่งกำ เนิดแสง ง. ปุ่มปรับภาพละเอียด 10.ถ้าเราต้องการดูสิ่งที่เล็กมาก ๆ เราจะเลือกใช้อุปกรณ์ใดจึงเหมาะสม ก. แว่นขยาย ข. กล้องจุลทรรศน์ ค. กล้องโทรทรรศน์ ง. กล้องส่องทางไกล แบบทดสอบหลังเรียน ต่อ แบบทดสอบหลังเรียน ต่อ
ข้อ 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนน ก่อนเรียน เต็ม 10 ได้ กระดาษคำ ตอบ แบบทดสอบหลังเรียน กระดาษคำ ตอบ แบบทดสอบหลังเรียน คำ ชี้แจง ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย x ลงในช่องว่างใต้ตัวเลข 1 2 3 และ 4 ที่เป็นคำ ตอบที่ถูก ที่สุดเพียงข้อเดียว หรือกดทำ ข้อสอบใน คิวร์อาร์โค้ดที่แนบมา เกณฑ์การประเมิน คะแนนระหว่าง 9-10 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก คะแนนระหว่าง 7-8 อยู่ในเกณฑ์ ดี คะแนนระหว่าง 5-6 อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ คะแนนระหว่าง 0-4 อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง/แก้ไข
ภาคผนวก
จากภาพที่ที่ ที่ กำ ที่ กำกำกำหนดให้ห้ ห้ นั ห้ นั นักนั เรีรีรี ย รี ยนนำนำนำนำข้ข้ ข้ อ ข้ อความในช่ช่ช่อช่งไปเติติติมติให้ห้ ห้ ถู ห้ ถู ถู ก ถู กต้ต้ ต้ อ ต้ อง การค้ค้ ค้ น ค้ นพบหน่น่น่วน่ยพื้พื้ พื้ น พื้ นฐานของสิ่สิ่สิ่งสิ่มีมี มีชีมีชีชี วิ ชี วิวิตวิ เฉลยกิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่1 5................................................ เซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส เซลล์ที่มีคลอโรฟิลล์ เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้ เซลล์ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส เซลล์ที่มีคลอโรฟิลล์ เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้ เซลล์ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 1. ................................................ 2................................................. 3................................................ 4................................................ เซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส เซลล์ที่มีคลอโรฟิลล์ เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้ เซลล์ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เซลล์ที่เคลื่อนที่ได้
ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนน ก่อนเรียน เต็ม 10 ได้ 10 เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน คำ ชี้แจง ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย x ลงในช่องว่างใต้ตัวเลข 1 2 3 และ 4 ที่เป็นคำ ตอบที่ถูก ที่สุดเพียงข้อเดียว หรือกดทำ ข้อสอบใน คิวร์อาร์โค้ดที่แนบมา เกณฑ์การประเมิน คะแนนระหว่าง 9-10 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก คะแนนระหว่าง 7-8 อยู่ในเกณฑ์ ดี คะแนนระหว่าง 5-6 อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ คะแนนระหว่าง 0-4 อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง/แก้ไข
คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลง ในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลง ในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ เกมส์ส์ ส์ บั ส์ บั บั ต บั ตรคำคำคำคำเรื่รื่รื่ อ รื่ องเซลล์ล์ ล์ล์ เฉลยกิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่2 บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่1 พลานาเรีรีรี ย รี ย บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่2 พารามีมี มี เ มี เซีซีซี ย ซี ยม บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่3 ไฮดรา บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่4 อะมีมี มี บ มี บา บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่5 สัสั สั ต สั ตว์ว์ ว์ว์ บับั บั ต บั ตรภาพที่ที่ ที่ที่6 พืพื พืชพื
A สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว >>>มีเซลล์เดียวสามารถดำ รงชีวิตได้อย่างอิสระ >>>ไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส >>>โครงสร้างภายในเป็นแบบง่ายๆ >>>พบได้ทั้งในน้ำ และบนบก A สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว >>>มีเซลล์เดียวสามารถดำ รงชีวิตได้อย่างอิสระ >>>ไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส >>>โครงสร้างภายในเป็นแบบง่ายๆ >>>พบได้ทั้งในน้ำ และบนบก เฉลยกิจกรรมที่ 2 (ต่อ) เฉลยกิจกรรมที่ 2 (ต่อ) B สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>สามารถสร้างอาหารเองได้ B สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>สามารถสร้างอาหารเองได้ ชุชุ ชุ ด ชุ ดบับั บั ต บั ตรข้ข้ ข้ อ ข้ อความ C สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ C สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ >>>เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ >>>เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ จะมารวมตัวกัน เพื่อทำ หน้าที่ อย่างเดียวกันเรียกว่า“เนื้อเยื่อ” >>>ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลงในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนำ ตัวอักษร A B C และ D จากชุดบัตรข้อความเติมลงในเครื่องหมายวงเล็บ(.......) คู่กับบัตรคำ บัตรภาพ บัตรภาพที่ 1 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 2 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 3 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 4 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 5 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 6 คู่กับ (...............) บัตรภาพ บัตรภาพที่ 1 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 2 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 3 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 4 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 5 คู่กับ (...............) บัตรภาพที่ 6 คู่กับ (...............) C B C C A A
เฉลยกิกิ กิกิ จกรรมที่ที่ ที่ที่3 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้ตา แท่นวางวัตถุ แหล่งกำ เนิดแสง ที่หนีบสไลด์ ฐานกล้อง แขนกล้อง ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด คำคำคำคำชี้ชี้ชี้ แ ชี้ แจง จากภาพที่ที่ ที่ กำ ที่ กำกำกำหนดให้ห้ ห้ นั ห้ นั นักนั เรีรีรี ย รี ยนนำนำนำนำข้ข้ ข้ อ ข้ อความในช่ช่ช่อช่งไปเติติติมติให้ห้ ห้ ถู ห้ ถู ถู ก ถู กต้ต้ ต้ อ ต้ อง เลนส์ใกล้วัตถุ แท่นวางวัตถุ เลนส์ใกล้ตา ที่หนีบสไลด์ แขนกล้อง ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด แหล่งกำ เนิดแสง ฐานกล้อง
ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนน ก่อนเรียน เต็ม 10 ได้ 10 เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน คำ ชี้แจง ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย x ลงในช่องว่างใต้ตัวเลข 1 2 3 และ 4 ที่เป็นคำ ตอบที่ถูก ที่สุดเพียงข้อเดียว หรือกดทำ ข้อสอบใน คิวร์อาร์โค้ดที่แนบมา เกณฑ์การประเมิน คะแนนระหว่าง 9-10 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก คะแนนระหว่าง 7-8 อยู่ในเกณฑ์ ดี คะแนนระหว่าง 5-6 อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ คะแนนระหว่าง 0-4 อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง/แก้ไข