The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by c.kaewtatip, 2022-05-05 22:47:29

คู่มือE book

คู่มือE book

คำนำ

โครงการบริหารยาเคมีบาบัดทางหลอดเลือดดาส่วนกลางทีบ่ ้าน จัดทาร่วมกันโดยทีมสหสาขา
เพื่อให้ผู้ป่วยมะเร็งได้รับยาเคมีบาบดั ตรงตามรอบการรักษา เพิ่มความสะดวกสบายแก่ผู้ป่วย ลดเวลา
และค่าใช้จ่ายในการนอนโรงพยาบาล หวังให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยคานึงถึงความปลอดภัยใน
การบริหารยาและคงประสิทธิภาพของการรักษา ผู้จัดทาโครงการจึงจัดทาคู่มือการดูแลตนเองและ
เคร่ืองมือ Elastomeric pump สาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลไว้ศึกษาหาความรู้ในการดูแลตนเองและอุปกรณ์
บริหารยา ข้ันตอนการเข้ารับบริการ รวมถึงคาแนะนาในการดูแลตนเองและการบริหารจัดการเม่ือเกิด
ปัญหาที่บ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดแู ลมีความม่ันใจ เกิดความปลอดภัยสูงสุด ภายใต้การดแู ลของทีมสห
สาขาวิชาชีพ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือเล่มนี้จะช่วยให้ท่านมีความมั่นใจในการดูแลตนเองและสามารถ
ปรบั ตัวได้ดีในการเข้ารบั บริการและเข้าร่วมโครงการน้ี

คณะผู้จดั ทา

สำรบัญ หน้ำ
1
เกณฑก์ ารเข้าโครงการบริหารยาเคมีบาบดั ทางหลอดเลือดดาสว่ นกลางที่บ้าน 2
ข้ันตอนการรับบริการ 5
อุปกรณ์การบริหารยาเคมีบาบัดที่บ้าน 7
การดูแลตนเองในการบริหารยาเคมีบาบดั ทางหลอดเลือดดาสว่ นกลางทีบ่ ้าน 12
การประเมนิ อาการข้างเคียงจากการรกั ษา 13
การปฏิบัติตัวเมือ่ ยาเคมีบาบดั หมด 14
ข้อควรปฏิบตั ิเมื่อสายใหย้ าหลุดหรอื ยาเคมีบาบัดรว่ั ไหล 15
ความผิดปกติและอาการแสดงทีส่ าคญั 16
ประโยชน์ของการบริหารยาเคมีบาบัดทางหลอดเลือดดาส่วนกลางที่บ้าน



เกณฑ์กำรเข้ำโครงกำร

1. ผู้ปว่ ยได้รับยาฟลูออโรยรู าซิล หรือ 5-FU แบบต่อเนื่องทางหลอดเลือด
ดา ประมาณ 2-5 วัน ซึ่งเปน็ ยาร่วมรักษาผู้ปว่ ยมะเร็งลาไส้ใหญ่
2. ผู้ปว่ ยต้องใสส่ ายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลาง ได้แก่ พอร์ต
3. ผู้ปว่ ยและญาติยนิ ดีและมีความพร้อมในการดแู ลตนเองและอปุ กรณ์
การใหย้ าเคมีบาบัดที่บา้ นได้

1



ขั้นตอนกำรรับบรกิ ำร

ขั้นตอนกำรรบั บริกำรครั้งที่ 1
นอนรับยาเคมีบาบดั บนหอผู้ปว่ ยในโดยใช้อปุ กรณบ์ ริหารยาเคมีบาบดั

ผู้ป่วยเข้าพบแพทย์ เพือ่ รับการอธิบายเกี่ยวกับการรกั ษา

พยาบาลประจาหน่วยมะเร็ง/พยาบาลผู้ประสานแนะนาการ
ปฏิบัตติ ัวขณะบริหารยาเคมีบาบัดที่บา้ น การดแู ลอปุ กรณ์

และผลข้างเคียง

พยาบาลประจาหอผู้ป่วยบริหารยาเคมีบาบดั

พยาบาลผู้ประสานประเมินความพรอ้ มและความสามารถ
ในการดแู ลของผปู้ ่วยและญาติ

พยาบาลผู้ประสานประเมินความต้องการเรือ่ งการเย่ยี ม
ดแู ลทบ่ี ้าน

2

ขั้นตอนกำรรบั บริกำรยำเคมีบำบัดครั้งที่ 2

ผู้ป่วยเข้าพบแพทย์ เพือ่ รับการอธิบายเกี่ยวกบั การรักษา

พยาบาลประจาหน่วยมะเร็ง/พยาบาลผู้ประสานแนะนาการ
ปฏิบตั ติ ัวขณะบริหารยาเคมีบาบัดทีบ่ า้ น การดแู ลอุปกรณ์และ

ผลข้างเคียง
พยาบาลประจาหอผู้ป่วยเคมีบาบัดฯบริหารยาเคมีบาบดั และ
ต่อยา 5-FU ในอุปกรณบ์ ริหารยาเคมีบาบัดให้ผู้ปว่ ยนากลบั

บ้าน และใหค้ าแนะนาขณะบริหารยาเคมีบาบดั ที่บา้ น

พยาบาลผู้ประสานโทรติดตามเพือ่ ประเมนิ อาการและปญั หา
การบริหารยาที่บา้ นทกุ วนั พร้อมทั้งนดั วันถอดอปุ กรณบ์ ริหาร

ยาเคมีบาบัดเมื่อยาหมด

3

ขนั้ ตอนการรับบริการเม่อื มีปัญหาขณะบริหารยาเคมีบาบดั ท่บี ้าน

โทรเบอร์ 06-4735-7144 สายด่วนเพือ่
ขอคาแนะนาเมื่อมปี ัญหาการบริหารยาที่บ้าน
พยาบาลผู้ประสานประเมินความรนุ แรงของปญั หา

ปญั หาไมร่ ุนแรง/ไมเ่ รง่ ด่วน ปญั หาเร่งดว่ น

ให้คาแนะนาแนะนดั มาพบที่หอ ให้คาแนะนาและประสานงาน
ผู้ป่วยเคมีบาบัดฯ ชน้ั 5 ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล
อาคารกติ ติวฒั นา ระยะ 3

4



อุปกรณบ์ ริหำรยำเคมีบำบัดที่บ้ำน

อุปกรณ์การบริหารยาเคมีบาบัดที่บา้ น หรือ elastomeric infusion pump
หรือบอลลนู ปั๊ม ถูกออกแบบข้ึนมาเพื่อใหแ้ พทย์ และพยาบาลสามารถ
บริหารยาใหแ้ กผ่ ู้ป่วยได้อยา่ งต่อเนื่องและ ถกู ต้อง สามารถใช้ได้ทั้งที่
โรงพยาบาล และที่บ้าน ซึง่ อปุ กรณ์นีส้ ามารถใช้ได้โดยไม่ต้องต่อกับ ไฟฟ้า
หรือแบตเตอรี่ ส่งผลให้ผู้ปว่ ยและญาติสะดวกสบาย และดูแลงา่ ย อตั รา
การไหลของยาจะถูกกาหนดจากการใช้แรงดันของเยื่อบซุ ิลิโคนดา้ นในของ
อุปกรณ์ และมตี วั กาหนดการไหล โดยความดนั ที่ใช้ในการไหลของยาจะ
สามารถต้านแรงดันกลับของเลือดภายในสายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลาง
ของผู้ปว่ ยได้ อปุ กรณถ์ กู ออกแบบให้ทางานทีอ่ ณุ หภมู ิหอ้ ง 23 +/- 2oC
ซึง่ ตวั กาหนดอตั ราการไหลจะถูกสอบเทียบท่อี ณุ หภูมิ 31oC เวลาใช้งาน
ควรให้ตัวจากดั การไหลสมั ผสั กบั ผิวหนงั ตลอดเวลา เพื่อให้อตั ราการไหล
คงที่ อุปกรณก์ ารบริหารยาเคมีบาบัดที่บ้านมีหลากหลายชนิดขึน้ กบั บริษัท
ทีผ่ ลติ แต่มีกลไกการทางานที่ไม่แตกต่างกัน อุปกรณ์ที่ใช้ในการบริหารยา
ในโครงการนี้ มชี ื่อว่า อีซ่ปี มั พ์

5

สว่ นประกอบของอุปกรณ์บรหิ ำรยำ

อีซี่ปัมพ์ ประกอบด้วย กระเปาะและสายให้ยาเคมีบาบัด กระเปาะให้
ยาเคมีบาบัด มี 2 ช้ันคือ เปลือกหุ้มด้านนอกแบบอ่อนนุ่ม และ เยื่อบุ
ซิลิโคนเเบบยืดหยุ่นได้ด้านใน โดยเภสัชกรจะบรรจุยาเคมีบาบัดในเยื่อบุ
ซิลิโคนช้ันใน ผู้ป่วยจะสังเกตได้ว่ายาหมดหรือไม่จากการสังเกต และการ
คลาที่กระเปาะยา หากยาหมดกระเปาะยาด้านนอกจะแฟบและเยื้อบุ
ซิลิโคนด้านในต้องแฟบแนบกับแกน คลาได้แกนแข็ง กรณียาใกล้หมดจะ
คลากระเปาะได้หยุ่นๆนุ่มๆ

1. Comfort cap ฝาครอบ

2. Closing cone (offilling port) ฝาปิดบรเิ วณสาหรบั บรรจุ
สารละลาย

3. Filling port พอร์ตสาหรบั บรรจสุ ารละลาย

4. Outer shell เปลือกหมุ้ ดา้ นนอกแบบออ่ นนุ่ม

5. Elastomeric membrane เยื่อบุซิลโิ คนเเบบยืดหยุ่นได้

6. Flow restrictor ตวั กาหนดอัตราการไหล

7. Closing cone (of patient connector) ฝาปิดสว่ นทีต่ ่อ เข้า
กับผู้ป่วย

8. Clamp คลิปหนีบสาหรบั ลอ็ คสายสารละลาย

9. Tubing สายใหส้ ารละลาย

10. Air eliminating and particle filter ตวั กรองอากาศ และ
อนุภาคขนาด 0.2 ไมครอน

6



กำรดูแลอปุ กรณ์

1.ระวงั ขอ้ ตอ่ ต่างๆของสายให้ยาเคมีบาบดั หลดุ ซึง่ หากเกิดเหตุการณ์เหลา่ นี้ ตอ้ ง
หยุดให้ยาทันที โดยการปดิ แคลมป์ และให้ตดิ ต่อพยาบาลผู้ประสาน

2.ไม่ประคบร้อน หรือประคบเยน็ บริเวณกระเปาะและสายให้ยาเคมีบาบัด
3.ไม่นอนทบั หรอื นาอปุ กรณ์ใดมาทับกระเปาะและสายให้ยาเคมีบาบัด
4.ควรเก็บรกั ษากระเปาะยาภายใตเ้ สือ้ ผ้าหรอื ในกระเปา๋ และควรวางกระเปาะยาใน
ระดบั เดยี วกับร่างกายขณะนอนหลบั และไม่ต่ากว่าระดับเอว ขณะนัง่ หรอื ยืน
5.ระวงั ของมีคมทิม่ แทงกระเปาะให้ยาเคมีบาบดั
6.อตั ราการไหลข้นึ อยู่กับอุณหภูมิ : อปุ กรณ์ถกู ออกแบบให้ทางานที่อุณหภูมิห้อง
23oC ± 2oC ซึ่งตัวกาหนดอตั ราการไหลจะถกู สอบเทยี บที่ อณุ หภูมิ 31oC เวลาใช้งานควร
ให้ตัวจากดั การไหลสมั ผสั ผิวหนังของผู้ป่วยตลอดเวลา เพ่ือให้มีอัตราการไหลคงที่ หาก
อณุ หภูมิเพิม่ ข้นึ หรือลดลงทุกๆ1oC จะส่งผลให้อัตราการไหลเปลย่ี นแปลง ไม่คงที่ เพิ่มข้นึ
หรือลดลง ประมาณ 25% ถ้าอณุ หภมู ิสูงขนึ้ จะส่งผลให้อัตราการไหลเพิ่มข้ึน
7. สังเกตขนาดของกระเปาะให้ยา โดยสงั เกตความตงึ ของกระเปาะให้ยา ขนาดของ
กระเปาะให้ยาจะคอ่ ยๆลดลงตามระยะเวลา หากยาหมดกระเปาะยาจะแฟบแนบกับแกน
ดา้ นใน คลาได้แกนแขง็ กรณีทีค่ รบระยะเวลาให้ยาแลว้ ยายังไมห่ มด ให้โทรสายด่วนเพ่ือ
ตดิ ต่อพยาบาลผู้ประสาน
8. โทรขอคาปรึกษาที่เบอร์โทรสายด่วนได้ตลอด 24 ชว่ั โมง เมื่อพบปัญหา เช่น
สายให้ยาหลุด, ยาเคมีบาบดั ร่ัวไหลออกนอกสาย, มีอาการปวดแสบปวดร้อนที่ผิวหนงั ,
ผิวหนังมีผืน่ แดง อาการไข้ หรืออาการผิดปกตอิ ่นื ๆ

7

กำรดแู ลอปุ กรณ์ (ต่อ)

ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในกำรดูแลอปุ กรณ์
สงั เกตขนาดของกระเปาะให้ยาทกุ วัน

ระวังไม่ใหก้ ระเปาะให้ยา/ตาแหน่งเขม็ เปียกน้า

เก็บรกั ษากระเปาะใหย้ าใต้เสื้อผ้าหรือในกระเป๋า
วางไวใ้ นเหนือระดบั เอวขณะนั่งหรือยืน

8

กำรดแู ลอปุ กรณ์ (ต่อ)

ข้อควรระวังในกำรดูแลอปุ กรณ์

หลีกเลี่ยงการสมั ผสั ความร้อน

วางกระเปาะยาระดบั เดยี วกบั ร่างกาย
ขณะนอนหลับ ไมต่ ่ากวา่ ระดับเอว

ระวังของมีคมทิม่ ตา หรือ
การกระชากจากสัตว์เล้ยี ง

9

กำรดแู ลตนเอง

1.พกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ
2.ลา้ งมือใหส้ ะอาด ดแู ลความสะอาดร่างกาย
3.รบั ประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดจัด เค็มจัด มันจัด
อาหารทีม่ กี ล่นิ ฉนุ
4.ควรรบั ประทานอาหารที่ไม่ร้อนหรือเย็นจดั จนเกินไป โดยเฉพาะผู้ท่ใี ช้ยา
ทีช่ ื่อ อ๊อกซาลิพลาติน (Oxaliplatin) ร่วมดว้ ย ควรหลกี เล่ยี งความเยน็ ช่วงท่ี
รบั ยาและหลังรบั ยาไปอยา่ งน้อย 3-5 วัน
5.ควรรับประทานอาหารทีป่ รงุ สกุ เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากอาหาร
6.ดื่มน้าสะอาดอย่างน้อยวนั ละ 2 ลติ ร (2,000 ซซี ี) ขึ้นไป
7.ดูแลสขุ ภาพช่องปากด้วยการทาความสะอาดปาก และบ้วนปากด้วย
น้าเกลือบ่อยๆ
8.หลกี เล่ียงการคลุกคลีกับคนเจบ็ ปว่ ย
9.รบั ประทานยาตามแพทย์สั่งใหค้ รบตามแผนการรักษา
10.หลีกเลี่ยงการสัมผสั หรืออยู่ใกล้สัตว์เลีย้ ง
11.ชาระลา้ งอวยั วะสืบพันธุ์ภายนอกภายหลังการขับถ่ายทุกคร้ัง เพื่อลด
จานวนเชื้อแบคทีเรีย

10

กำรดูแลเพือ่ ป้องกนั กำรฟุ้งกระจำยของยำเคมบี ำบดั

เนื่องจากยาเคมีบาบัดเป็นยาที่มีความเส่ียงสูง ท่านและครอบครัวต้อง
ระมัดระวังการสัมผัสสารที่ขบั ออกจากร่างกาย เนื่องจากจะมียาเคมีบาบดั
บางส่วนปนเปื้อนออกมากับสารคัดหลั่งด้วยเช่นกัน ดังน้ันจึงควรปฏิบัติ
ดงั นี้
1.ก่อนและหลงั ขับถ่ายในห้องน้าควรปิดฝาชักโครกและกดชักโครก 2 คร้ัง
2.ควรลา้ งมือดว้ ยน้าสะอาดและสบทู่ กุ คร้ังเมื่อสัมผัสสารคัดหลั่งจาก
ร่างกายผู้ปว่ ย
3.ทาความสะอาดบริเวณท่สี ัมผัสกบั ของเสยี จากร่างกายดว้ ยน้าสะอาด
และสบทู่ ุกครั้ง ควรสวมถุงมือขณะทาความสะอาดทกุ คร้ัง
4.หากมีเคมีบาบัดร่ัวออกมาสัมผสั กบั ผิวหนงั ให้ล้างบรเิ วณนั้นทันทีด้วยน้า
สะอาดและสบู่ หากผิวหนังมผี ื่นแดงและมีอาการระคายเคืองบริเวณที่
สมั ผสั ใหร้ ีบติดต่อทีเ่ บอร์โทรสายดว่ น
5.ควรใช้ถุงยางอนามยั ทกุ ครั้งเมือ่ มีเพศสมั พันธ์ุ
6.หากมียาเคมีบาบัดสัมผัสตาใหร้ ีบลา้ งด้วยน้าสะอาดเปน็ เวลานาน 10-
15 นาที และติดต่อเบอร์โทรสายดว่ น เพื่อพบแพทย์ทนั ที

11



12



กำรปฏิบตั ิตัวเม่อื ยำเคมีบำบดั หมด

ท่านจะได้รับการวางแผนในการถอดอุปกรณ์ โดยจะได้รับคาแนะนา
พร้อมทั้งระบุวัน - เวลาท่ยี าควรหมด และนดั ถอดอปุ กรณ์ โดยมีขั้นตอนใน
การปฏิบตั ิดงั นี้

1.ท่านจะไดร้ ับการนดั หมาย วัน เวลา ที่จะถอดอุปกรณ์จาก
พยาบาลทกุ ครั้ง พร้อมบัตรนดั

2.ตรวจสอบสิทธิและยืน่ บตั รนดั เพื่อรับบริการทีง่ านการพยาบาล
ผู้ป่วยเคมีบาบัดและศนู ย์ปลกู ถ่ายเซลล์ต้นกาเนิดเมด็ เลือด ชน้ั 5 อาคาร
กิตติวัฒนา ระยะ 3 ต้ังแต่เวลา 08.00 – 24.00 น.

3.กรณยี าหมดกอ่ นนัดสามารถถอดก่อนเวลานดั ได้
4.หากมขี ้อขัดข้อใด กรุณาติดต่อ พยาบาลผู้ประสาน
ทีเ่ บอร์ 06-4735-7144 / 02-9269652

13



ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิเม่อื สำยให้ยำหลุดหรอื ยำเคมบี ำบัดร่ัวไหล

กรณสี ายให้ยาหลุดหรือยาเคมีบาบัดรวั่ ไหล
แคลมปส์ ายใหย้ า

ผู้ทาความสะอาดใสห่ น้ากาก,ถุงมือ

ใช้กระดาษทิชชูซับหรือใชน้ ้าล้าง

ใช้ผงซักฟอกหรือสบู่ล้างทาความสะอาด
บริเวณท่ปี นเปื้อน

เกบ็ ขยะทป่ี นเปือ้ นท้ังหมดใสถ่ ุงซบิ ล็อกสีมว่ ง
ปิดปากถงุ ให้สนิท และสง่ คืนทีโ่ รงพยาบาล

14



ควำมผิดปกติและอำกำรแสดงทีส่ ำคญั

หากพบความผิดปกติและอาการแสดงดังต่อไปนี้ ใหท้ ่านรีบติดต่อ
พยาบาลผู้ประสานทันที เพือ่ ประสานกับทีมดแู ลพร้อมทั้งให้รีบมา
โรงพยาบาล
1. มีน้ารัว่ ซึมออกจากสายหรือกระเปาะยา
2. ข้อต่อสายให้ยาเคมีบาบดั หรือเขม็ แทงพอร์ตเลื่อนหลุด
3. กระเปาะยามีขนาดคงเดิม ไม่ลดลง
4. ผิวหนังบริเวณเข็มพอร์ต บวม แดง รู้สึก ปวด แสบ ร้อน
5. มีผืน่ ขึ้นตามตวั
6. คลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง
7. มีไข้ อุณหภมู ริ ่างกาย > 38oC
8. มีอาการหน้ามืด ใจสน่ั หอบเหนือ่ ย
9. มีอาการปวดท้องรุนแรง
10. ซึมลง ชัก หรืออาการเกรง็
11. เจ็บหน้าอก

15



ประโยชนข์ องกำรบริหำรยำเคมบี ำบดั
ทำงหลอดเลือดดำส่วนกลำงที่บำ้ น

1. ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวติ ประจาวนั ได้ตามปกติ
2. ผู้ป่วยได้รับยาตรงตามรอบการรักษา
3. ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการนอนโรงพยาบาล
4. สามารถนอนหลับได้ตามปกติ ไม่มอี ุปกรณ์รบกวน
5. ผู้ป่วยสามารถออกกาลงั กายหรือทากิจกรรมต่างๆได้โดยเก็บอุปกรณ์
ยาอยู่ในเสื้อผ้าหรือกระเป๋าคาด
6. ผู้ป่วยสามารถอาบน้าได้ แต่หลีกเลี่ยงผิวหนังบริเวณท่ีแทงเขม็ พอร์ต

16

สำยด่วน 06-4735-7144


Click to View FlipBook Version