The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การดูแลเสนาสนะให้คงทนถาวร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by drmcuschool, 2020-07-03 03:00:37

วัฒนธรรมชาวพุทธ

การดูแลเสนาสนะให้คงทนถาวร

Keywords: เสนาสนะ,ชาวพุทธ

www.kalyanamitra.org

เปีดโลกทัศน์

วัฒนธรรมชาวพทธ

www.kalyanamitra.org

เ!เด่โลกทัศน์ วัผนธรรมชาวพุทธ

ทีปรึกษา พระภาวนาวิรึยคุณ (หลวงฟอทัตตชีโว)

พระมหาสุวิทย์ วิชฺเซสโก ปธ. ๙

พระวุฑฒ์ สุวุฑฺฒิโก พระจรินทร์ รดนวณฺโณ

พระประพัฒน์ จํรวไส พระธานินทรี ปุฌฺญนา(โท

เรียบ1รึยง พระมหาวีระขัย วีรชโย
ค้นครึๆรวบรวม
พระประพิศ พุรา!มสุโภ

คณะพระอาจารย์และพี่เลี้ยงอบรมบุคลากรใหม่

สถาบันพัฒนาบุคลากร พระส์โญขัย สณฺญชโย
กัลฯ สุนิสา กนกๅฒิรักษ์พร
พระประพิค พุรหฺมสุโภ

กัลฯ ธีระพล จันทองพูน

กัลฯ กัลยาณี โพธีสาร กัลฯ กรวีภา นารักษ์

กัลฯ สุเพียงพิคดุ้ แซ่ตัน

บุคลากรรุ่น 0© บุคลากรรุ่น ©๒

บุคลากรรุ่น ©๓ บุคลากรรุ่น ©๔

ตรวจทาน/สนับสนุน นพ.พรขัย พิญญพงษ์ นพ. ฉัตรขัย ครึบัณฑิต

ผศ.ดร.สมสุดา ผู้พัฒน์ กัลฯ กะเหรียญ เกตุชาติ
กัลฯ พิชามญช์ นิ่งน้อย
กัลฯ วีภารัตน์ วาจาพัฒนา

กัลฯ สุทธธีดา ธรรมจักรี

จัดรูปเล่ม กัลฯ ชโลม ครึจรัส

ภาพประกอบ กัลฯ ชลธีชา เชวงตักดิ้โสภาคย์

กัลฯ ปัทมวดี เชวงสักดิ้โสภาคย์

ออกแบบปก กัลฯ เขตสิริ วรรณทอง

กัลา ทีวารัตน์ บุญเรือง
กองพุทธติลฟ้

เจัาของ มูลนิธิธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานิ 0๒0๒0

พิมพ์ครั้งที © จำ นวน ๓.000 เล่ม

พิมพ์ที บริษัทอิมพาวเวอรี จำ กัด โทร. ๗©๙๔๘๖©

www.kalyanamitra.org

คำ นำ

วัฒนธรรมของซาวพุทธ เป็นแบบแผนการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม ^งแฝง
วิธีการลกฝนคุณธรรมจากกิจวัตรและกิจกรรมด่าง*? ในชีวิตประจำวัน ก่อให้เกิด

เป็นอุปนิส์โยตลอดถึงวิธีการดำเนินชีวิตของพุทธศาสนิกซนมานานแสนนาน

หนังสิอเล่ม'นไติรวบรวมวัฒนธรรมซาวพุทธทื่ดำคัญวิ เอาไว้ โดยจัดออก

เป็น ๘ หมวด คีอ วัฒนธรรมการใชีแสะดูแลรักษาปัจจัย ๔, วัฒนธรรมการดูแล

รักษาสุขภาพ, มารยาทซาวพุทธ. และศวสนพิธี จึงสะดวกด่อการนำไปเป็นแบบ-
แผนในการปฏิบัติตัวและใ'ซ้เ)กอบรมปลูกฝงคุณธรรมแก่เยาวชนแสะพุคคสทั่าไปั
เพราะเ'นื้อหาสาระของแด่ละหมวดจะมีหลักปฏิบัติ'ที่'ชัดเจน เข้าใจง่าย เมื่อใครลง
มีอปฏิบัติตามแลัว คุณธรรม'พื้นฐานทีจะเกิดขึ้นทัน'ที คือ

0. ความรู้จักรับผิดซอบด่อหน้าที่การงานของตนเองและส่วนรวม มีความ

สมื่าเสมอในการทำความดี

๒. ความกระตีอรีอร้นในการผิกฝน'พัฒนาตนเองให้มีทั้งความรู้ความสามารถ

และคุณธรรม

๓. ความอดทนและอดกลั้น

๔. ความมีนํ้าใจด่อหมู่คณะและรู้จักสละอารมณํเที่ขุ่นมัวออกจากใจ
คุณธรรมตังกล่าวนี้ตรงกับหลักธรรมของพระลัมมาลัมพุทรเจัาที่ตรัสสอน
ไว้ คือ ฆราวาสธรรม ๔ อันเป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะเจริญไปเป็นคุณธรรมเบื้อง

สงอีกมากมาย

www.kalyanamitra.org

เป้าหมายที่สำคัญในการลกปฏิบตตามวัฒนธรรมซาวทุทร คีอ ลกเพี่อละ
จากความซั๋ว แล้วตั้งอยู่ในคุณธรรมความดี ยังจิตของตนให้ผ่องใสเสมอ

เนื้อหาสาระส่วนใหญ่รวบรวมมาจากคำสํงสอนและปฏิปทาการประพฤติ
ปฏิฟ้ตที่ดีงามของครูบาอาจารย์คีอ พระเดชพระคุณพระราชกาวนาวิสุทธิ้(หลวงพ่อ
ธัมมขโย) เจิาอาวาสวัดพระธรรมกาย พระเดชพระคุณพระภาวนาวิริยคุณ(หลวง
พ่อหัตตซีโว)รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย คุณยายอุบาสิกาจันทร์ขนนกยูง ผู้ให้

กำ เนิดวัดพระธรรมกาย โดยมีคำสิงสอนของพระสํมมาสํมพุทธเจ้าที่ปรากฏใน

พระวินัยปีฎกเป็นแม่บท

นอกจากนื้ยังได้ค้นคว้าเพี่มเติมจากหนังสิอต่าง ที่เขียนขึ้นในยุคป้จจุบัน
เพี่อเสริมให้เนื้อหาสาระเป็นแบบสากลมากขึ้น สามารถให้ปฏิบัติได้อย่างสอด-

คล้องกับภาวะปัจจุบัน หลักการและวิธีปฏิบัติต่างจุ ได้ผ่านการทดลองให้ลกอบรม

บุคลากรภายในวัดพระธรรมกายและบุคคลภายนอทที่เห้ามาภบรมในวัด ตั้งแต่ปี

พ.ศ.๒๕ฅ๘ จนถึงปัจจุบัน ขณะเดียวกันก็ได้ปรับปรุงแกัไขเนื้อหาให้สมบูรณ์ขึ้น
ตลอดการทดลองให้ จนเป็นที่น่าพอใจ จึงได้จัดทำเป็นรูปเล่มขึ้นมา

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสิอเล่มนื้ จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลต่อผู้

ดูแลการลกอบรม และผู้ใฝ่ใจในการลกฝนคุณธรรมทุกท่าน ความดีใดก็ตามอัน

เก็ดขึ้นจากหนังสิอเล่มนื้ ขอถวายเป็นพุทธบูชา เป็นเครื่องบูชาลักการะคุณครู

อุปัชฌาย์อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกจุ ท่าน

คณะผู้จัดท่า

มีถฺนายน ๒๕๔๒

www.kalyanamitra.org

สารบิญ o

บทนำ ทีมๆ!{ฬาผนรรรบทๆวyms ๕
บทที 0 วัผนรรรมการโผ]9จัย ๔ ในฅ!Jระทํวัน
g
การใช้อาคารสทานที
Ota
กา
oe
การใช้ไฟฟ้า 0๗

การใช้เสัอผ้าIค^องนุ่งห่ม on-
บทที lo วัผนธรรมการฐนครักบาปืฬัย <ร
^p,
การจัดทับ๓บสิงของเครี่องใช้ P,Q
การปัดกวาดเข็ดคู
การซัก-ตาก p,^

การล้างฟ้องนํ้า PIPJ

การล้างจาน gQ

การดูแลศาสนสมบ้ตและคาสนลถาน g„
^
บทที ท วัฌนธรรมการดูแลรักบาสุข/เาร*
gg
การปัองกันดูแลตนเองเบื้องต้น ๖๘
การบำบัดรักษาเบื้องต้น
บทที ๔ มารยาทชาวพุทธ ๗๕
๗๖
มารยาทการยีน เดิน บัง นอน
มารยาทการกราบและการไห^ ๗๔

การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุสงฆ์ ๘๖
ระเบียบฏิบัติในการสนทนากับพระภิกษุ <=^

มารยาทการรับประทานอาหารตามหลักเสฃิยวัตร

ดิลปะการอยู่ร่วมกัน
ประโยชน์ของมารยาท

www.kalyanamitra.org

บททึ๋ e ศาสน<52

ศาสนฟ้ธีต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา 0๐0

การประเคนของ 000

การกรวดนํ้า ^
โต๊ะหมู่บูชา

ระเบียบปฏิบัติการมอบเทียนซนวนผู้ใหญ่

พิธีกรรมในวันต่าคัญทางพระพุทอศาสนา

ระเบียบปฏิบัติการไปร่วมงานศพ

การไปงานเผาศพ

www.kalyanamitra.org

รฒนซรรมซาวพุทซ

บทนำ

ที่มาซองวัฒนธรรมซาวพทธ

งานของ5วิพ V

มนุษย์รงานส์าสัญทึ๋ต้องทำใท้ครบถ้วน เา งาน คอ

0. งานอาซพ ทำ เพี่อใทํไถ้ปัจจัย ๔ เคร็่องอปโภคบริโภคมาเลี้ยงปึพในเส์นทาง

การสร้างบารมี งานอาชีพจะอยู่ในรูชของงานรักษาองคกร เพี่อใท้องค์กรพุทธศาสนา
(วัดหรีอมูลนธิ} ดำรงอยู่ไถ้อย่างมั่นคง เข่น การจัดหาทรัพยากร ดูแลรักษาศาลนสมบัติ

๒. งานพัฒนานํศัย เป็นการค์กษาธรรมะจากพระไตรปัฎก นำคำส์งสอนของ
พระสัมมาส์'มพุทธเจ้ามาประพฤติปฏิบัติ ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของดนเองเพี่อให้อยู่

ร่วมกันไถ้อย่างมีความอุข ลดการกระทบกระทั่ง มีหลักในการดำเนนชีวิตทึ๋ถูกถ้อง
๓. งานพัฒนาจิตใจ หรีองานภาวนา เพี่อรักษาใจให้สงบ ละเอียดสุขุมใสสว่าง

ไถ้ร้เห็นชีวิดตามความเป็นจริง เมึ๋อใจไถ้รับการพัฒนาจะมีค์'กยภาพในการนำความร้ความ

สามารททึ๋มีอยู่ ออกมาใข้ไถ้อย่างเต็มพี่
งานทั่งลามนี้จะถ้องทำไปพร้อมรุ กันในชีวิตประจำวัน หากขาดอย่างใดอย่างหนี้ง

ความสมมูรณ์ของชีวิตก็จะขาดหายไป ความมั่นคงในชีวิตกีจะไม่เกิดขึ้น ความหวังพี่จะ
เป็นนักสร้างบารมีพี่สมบูรณ์แบบก็คงจะเป็นไปไถ้โดยยาก

คนในลังคมส่วนใหญ่มุ่งพัฒนาส่งเสริมงานอาชีพ ส่วนงานพัฒนานิลัยนั้นให้ความ
สนใจน้อย ยงงานพัฒนาจิตใจถ้วยแถ้วจะถูกมองข้ามไปเลย จิงเป็นเหตุให้คนส่วนใหญ่

www.kalyanamitra.org

๒ วัฒนธรรมซาวทุทซ

ในสังคมมนต่ฅาามรูความสามารทนด่ซาฅๆผธรรมพนาความรู้ความสามารถนั้นมาใ^

ในทางทึ๋สิดทำนองคสองธรรม เมื่อเกิดปัญหาขั้นมาในชีวิตหรีอการทำงานกิจะหาทางออก
ในทางผดหลักสืลธรรมขาดความยั้งคิด เพราะใจขาดสมาธิ ไม่รู้จักความสงบ ไม่มีหลัก

แห่งสืลธรรมมาเป็นเครื่องข่วยในการตัดสินใจ

แต่หลักการพัฒนาตนเองของพระบรมศาสดาลัมมาลัมพุทธเวัาจะมีทั้ง ต งานตัง

กล่าวข้างฟ้นอย่างครบกิวน โดยมีงานอาชีพหรือกิจวัตรกิจกรรมในชีวิตประจำวันเป็น

เครื่องหล่อหลอมจิตใจ อาตัยร่างกายของมนุษย์และปัจจัย ๔ รวมถึงสิงแวดล้อมทุกอย่าง

ตั้งแต่ผู้คนรอบข้างและสรรพสิงต่างๆ เป็นอุปกรณ์ในการแก

ล่าตับขั้นในการแกพัฒนาคุณธรรมจะเริ่มจากสิงใกล้ตัวออกไปล่สิงไกลตัว หรือ
จากเรื่องง่ายๆ ไปล่เรื่องยาก ตังจะแสดงให้เห่นอย่างชัดเจนด้วยขั้นตอนการแกพัฒนา

คณธรรม ๘ ขั้นตอน ตังต่อไปนี้

เป้าหมายมั๋นศงชัดเจน เมึ๋อฝานการ!)กขั้ง (ท) ขั้นแรว
ขั้นที่ ๘

กำ ลังใจแระเป้าหมายในการสรางดวามสิจะขัดเจนมํ่นคง

คิกนาธรรมร ทังภาคปริย้ดแสะปฏิบัด นำ ธรรมะมาใข้ใน

ขั้นที่ ๗

ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

แกรักนานสะปฏิป้ดดามวินชของ{เวนรวม เช่น ทัางานเป็นทีม

ขั้นที่ ๖
อ^ในกฎระเบียบแสะกฏหมาย รู้จักปรับตัวเข้าหา{เวนรวม เป็นพน

ขั้นที่ & แกมารยาหนสะดาสนพํชี เช่น มารนาทและการปฏิบีดดัวทีเหมาะสม
ต่อโอกาส สทานที่ แสะลังคมต่างๆ เป็นต้น

แกดูนสสมบด(เวนรวม เช่น ความสะอาดของสาธารณฝิมบ้ติ สาสนสมบ้ติ

ขั้นที่ ๔

รับผดชอบงานของหย่คณะอย่างเต็มที่ เป็นด้น

แกฐ_นสส_ มบัติฝIวนตัว เช่น ^จัดพับเก็บ,*ส5ิงชองของตนให้เรียบริอย แยกแยะ

ขั้นที่ ฬ
ส่วนเกินแสะชองจำเป็นได้ เป็นด้น

ขั้นที่ ๒ แกสุเนสดนเอง เช่น ความสะอาดของร่างกาย อุขภาฬอนามัย อริยาบททีเหมาะสม

ในการทำงาน เป็นด้น

ขั้นที่ e แกวินัยในดนเอง เช่น การตรงต่อเวสา มีกิจวัตรประจำวันที่สมรเสมอ ไม่บกพร่อง เป็นด้น

บันได ๘ ขั้นในการแกพัฒนาคุณธรรม

www.kalyanamitra.org

วัฒน!)รรมซาวพุทธ ฅ

บันไดทั้ง ๘ ขั้นนี้เป็นขั้นตอนการสิกพัฒนาคุณธรรมให้เกิดขึ้นในจิตใจ แสดง

ให้เห็นกึงความเห้มข้นในการลกจากเรี่องหยาบไปฝูเรื่องละเอียด จากเรื่องใกห้ตัวไปส่

เรื่องไกลตัว ส่งผลให้คุณธรรมค่อยๆ ซึมขาบเข้าไปในจิตใจอย่างแน่นแฟ้น จนผู้ลกนั้น
สมบูรณ์พร้อมทั้งกาย วาจา ใจ (วิชชาและจรณะ)

อย่างไรกิตาม การลกพัฒนาคุณธรรมในซึวิตจริงแต่ละขั้น ย่อมมีแทรกปะปน

กันอยู่มากบ้างน้อยบ้างตามโอกาล แด่ที่ไม่ควรจะให้ขาดเลยในทุกขั้นตอนคอ การสืกษๆ
ธรรมะทั้งภาคปริยัต(ทฤนฏ)และภาคปฏิบัตั(ห้ล ลมาร)ภาคปริยัดํ(ทฤนฏ)ใช้เป็นหลัก

มาตรฐานในการแก ส่วนภาคปฏํบ้ตใช้ในการปร้บใจ ปร้บความเห็นให้ตรง และประคับ-

ประคองใจให้บริชุทธิ้อยู่เสมอ จนเกิดปัญญาแจ่มแจังเช้าใจซึวิตตามความเป็นจริง

การพัฒนาคุณธรรมตามบันได ๘ขั้นนั้นหากตังเกตให้ดีจะพบว่า เป็นการปฎิบ้ต
กิจกรรมต่างๆ ในซีวตประจำวันซี่งต้องทำเป็นประจำอยู่แห้ว จึงเป็นเครื่องหล่อหลอม
นิตัยใจคอของคนเราให้มีแบบแผนการปฏิบัติตัว จนกลายมาเป็นอุปน้ตัยประจำอย่าง
ถาวรไปโดยปริยาย พุทธคาสนิกซนไห้นำคำตังสอนของพระตัมมาตัมพุทธเจ้ามาหล่อ-

หลอมชีวิตจิตใจของตนเองมายาวนาน จนกลายเป็นวัฒนธรรม และกึอปฏิบัติสิบเนื่อง

กันมาจนกึงอนุชนรุ่นหลัง จึงเรียกวัฒนธรรมนี้ว่า "วัฒนธรรมซาวพุทธ"

วัฒนธรรมขาวพุทธ จึงเป็นแบบแผนการดำเนินชีวิตของพุทธศาลนิกซน ท'ีเป็น
ระบบระเบียบ จนสามารถพัฒนานิตัยใจคอของตนเองให้เจริญขึ้นอย่างต่อเนื่อง

บทป็กพัฒนานิตัยของพุทธศาสนิกซน ใข้คำตังสอนของพระบรมศาสดา จากพระ

วินัยปีฎกมาเป็นแม่บทโดยที่ยู่ ย่า ตาทวดของชาวพุทธไห้ยินไห้ฟ้งมาจากหลวงปู หลวงตา
ที่เทศน์สอนไร้ แห้วนำมาปฏิบัติให้สอดคห้องกลมกลีนกับวิกึชีวิตของตนเอง เล่าขาน

สิบทอดต่อมาส่ลูกหลานรุ่นแห้วรุ่นเล่าจวบจนกึงยุคปัจจุบัน จึงกึอไห้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่

เก่าแก่ยาวนานหลายพันปี สมควรอย่างยึ๋งที่จะห้องรักษาไร้ให้แก่อนุชนรุ่นหลังสิบไป

พระวินัยที่พุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นมานั้นเป็นบทปัองกัน และขัดเกลากิเลสจาก

ขันธตันดาน เป็นเสมีอนเห้นห้ายที่ใข้ร้อยดอกไม้ให้เป็นมาลัน โดยรวมดอกไม้หลากสิ

หลากพันลุ้เข้าเป็นหนื่งเดียวเหนียวแน่นมั่นคง แม้จะมีกระแสลมมาพัดกิมีอาจทำให้

ดอกไม้ที่ร้อยเรียงไร้ดีแห้วนั้นกระจัดกระจายไร้ระเบียบจนหมดคุณค่าไปไห้ เปรียบ
เหมีอนผู้คนที่มาจากทั้วทุกสารทีศ เมือมาอยู่รวมกันจะมีความพร้อมเพรียงเป็นระเบียบ
งดงามไห้นั้น ห้องอาตัยวินัยหรีอแบบแผนการปฏิบัติที่เหมือนๆ กัน

www.kalyanamitra.org

๔ วัฒนDรรมชาวพุทธ

www.kalyanamitra.org

วัฒนธรรมใทวพุทธ £

บทที่ 0

วัฒนธรรมการใซ้ป้จจัย ๔ ในชีวิตประจำวัน

พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเวัาทรงสอนให้รู้จักประมาณในการโข้สอยป้พัย๔
ให้รู้จักใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ มีมาตรฐานและความพอดีในการรับมาใช้ พระอานนท์
พุทธอนซาใช้จีวรที่ได้รับกาวถวายมาจากผู้มี?ตศรัทธาได้อย่างคุ้มด่า โดยนำมานุ่งท่ม

ก่อนเป็นเบื้องด้น เมอจีวรเก่าไผ่เทมาะที่จะนุ่งห่มต่อไปก็นาไปขึงเป็นเพดาน จากนั้นนำ
ไปทำเป็นฟ้าขี้ริ้ว ทำเป็นฟ้าเซตเท้า สุดท้ายนำไปบดผสมกับดินเทน็ยวใช้ฉาบทาฝากฏิ

ด้งนั้นการใช้สอยปัจจัย ๕ และของที่เนึ๋องด้วยปัจจัย ๘ จ็งด้องมีแบบแผนใน

การใช้ให้เหมาะสม

การใช้ฟ้องนอน
มีระเบียบวรการใช้อย่างเหมาะลม ด้งบื้

ห้องนอน ด้องสะอาด อากาศถ่ายเทได้ดี ไม่มีเสิยงทรีอสืงรบกวนเข่น มด แมลง

ที่นอน ควรรับนํ้าหนักด้วได้ดีไผ่หนาหรีฮนุ่มมากเก็นไป มีฟ้าคลุมเพึ๋อง่ายต่อการชัก

เสิอ ควรทออย่างละเอียดแน่น เย็บขอบเรียบร้อย

www.kalyanamitra.org

๖ วัฒนBรรมซาวทุทธ

ผ้าห่ม ควรเลีอกให้เหมาะสมต่อฤดูกาล ผ้าเป็นฤดูทึ่อากาศ^อนควรใช้ผ้าเนื้อบาง
ผ้าเป็นฤดูหนาวใช้ผ้าเนื้อหนากว่าฤดูร้อน ควรมีปลอกเพื่อง่ายต่อการซัก

ทำ ความสะอาด

หมอน ต้องเลือกตามความเหมาะสมของเพศและวัย คำนึงทีงสรีระของผู้ใช้ เมื่อ
หนุนแล้วสามารถรับคอและสืรษะไต้พอดี

การแต่งกาย ต้องให้ความสำคัญเข่นกัน เนื้อผ้าที่ใช้นุ่งห่มขณะนอนนั้นควรซับเหงี่อ

ไต้ดี โปร่ง สามารถให้ความอบอุ่นไต้ไม่บีบรัดร่างกายแน่นจนเกินไป ผ้า

เป็นหน้าหนาวควรเป็นผ้าเนื้อหนา สามารถที่จะให้ความอบอุ่นไต้ดี

ในกรณีที่อากาศเย็นหรีอเกิดอาการป่วย ควรสวมถุงมีออุงเท้าหมวกหรีอผ้าพันคอ

ตามความเหมาะสม

ทำ อะไรบ้างก่อนใช้ห้องนอน
0. ตรวจดูความเรียบร้อยของห้องนอน เข่น ป็ตประดู ปรับความกว้างของหน้าต่าง

ในห้องนอนให้เหมาะสมโดยคำนึงท็งการระบายอากาศ และทิศทางลมตอนกลางคืน
๒. ทำ ภาระกิจส่วนตัวให้เรียบร้อย เข่น ชำ ระร่างกายให้สะอาดโดยเฉพาะเท้า ฯลฯ

๓. เตรียมนํ้าสำหรับใช้ดื่มในตอนเช้าหลังจากตี่นนอน หากเป็นนํ้าอุ่นยิ่งดี

๔. นุ่ที่นอนให้เรียบร้อยก่อนนอน

อยู่กลดหมดทุกข์

พบสุชแmริง

www.kalyanamitra.org

วัฒนซรรjjinวทุทร ๗

0.ไม่ควรนำอาหารเข้าไป^ระทานในฟ้องนอน เพราะอาจเป็นทีมาของพด
แมลงสาบและสัต5ม่ฟ้ษต่างๆ

to.ไม่ควร'?บประทานอาหารหรอทีมโเาปานะอมจนเกินไปก่อนนอน

cn. ในฟ้องนอนไม่ควรม่ส์งของวางเกะกะ เพราะอาจเดินสะดุดในเวลากลางสืน

๙. หมั่นปิดกวาดเช็ดถูทำความสะอาดฟ้องนอนอยู่เสมอ ช่วยใฟ้อากาศบ?สุทอื้
๕. ดูแลความเรียบ?อบก่อนออกจากฟ้องบอนทุกครั้ง เช่น ปิดไฟ ปิดพัดลม

ปิดประดูหน้าต่าง ของมีค่าต่างๆ ควรเก๊บโฟ้มีดขด

๖. หลังจากตบนอนแสืว ควรพับเกินผ้าห่มหรีอทีนอนใฟ้เรียบร้อย

การใช้ห้องนํ้า (ห้องสุขา)

มีระเบียบวิธีการใช้อย่างเหมาะสม ดังนื้

0. ตรวจดูว่ามีใครอยู่ใบฟ้องหรีอเปล่าก่อนเช้าใช้

to. กอดรองเท้าก่อนเช้าฟ้อง เพอปิองกันเศษด็บทีรองเท้าเป็อนพื้นฟ้องบํ้า

๓. ตรวจดูอุปกรเนภายในฟ้องนํ้า เช่น ขันนํ้า ปริมาณนํ้าทีจะใช้ชำระล้างมีบ้างไหม

๔. ควรราดนํ้าลงไปในโถล้วมก่อนการถ่ายอุจจาระและปิสสาวะ เมั่อถ่ายอุจจาระไม่

ควรเบ่งแรงเกินไป เพราะอาจทำใฟ้เกิดโรคร็ดสิดวงทวารได้
๕. เปิดบํ้าใส่กังและเทนํ้าดามทันทีขณะขับถ่าย เพื้อกลบเสืยงและขจัดกลน

๖. ใช้บํ้าสะอาดในการขำระล้าง หลังการขับถ่าย พร้อมกับราดไ!าทีโถและคอห่าบใฟ้

สะอาดทุกครั้ง(หากพื้นไม่สะอาด ควรราดใ!าล้างใฟ้สะอาดด้วย)
๗. เดิมไ!าใส่กังไวิประมาณ cn ส่วน ๔ ของกัง แล้วควำขันไว้ทุกครั้ง
๘. ก่อนออกจากฟ้อง(สขา) ควรส์ารวจดูความเรียบร้อยของฟ้องและเครึ๋องแต่งกาย

อกครั้ง ควรล้างมีอใฟ้สะอาดด้วยสบู่ทุกครั้ง ก่อนไปทำภารกิจอย่างอี่น

www.kalyanamitra.org

o. ใช้นํ้าให้ประทยัด (โถแบบดักราด9ะสินฟสิองนํ้าน้อยกว่าแบบชักโดรกV(รายเท่า
เพราะโถแบบชักโครกนั้นใช้ป้า ประมาณ ๙-ร>๓,« ลิดร/ครั้ง)

Id. เฟ้อยับประทานอาทารควรเคื้ยวให้ละเอยด เพึ๋อช่วยให้กระเพาะย่อยไดัง่าย

ชับถ่ายได้สิ

๓. ควรยับประทานผักผลไม้เป็นประจา เพี่อช่วยให้การขับถ่ายเป็นไปได้สะดวกจ็้น

๔. 'ฝึกเช้าห้องป้าให้เป็นเวลา อย่ากลั้นอุจจาระปีสสาวะไว่นาน*) อย่าปล่อยให้

ท้องผูก เพราะร่างกายจะคูดช้มสารพษจากกากอาทารกดับเช้าส่กระแสโลห้ต

เป็นเหตุให้เกิดโรคยัอนใน. ปวดหัวเรื้อยัง.โรคระบบโลหิตเป็นฟ้บ ฯลฯ

การใช้ห้องปฎบัติBรรม

ม้ระเบยบวรการใช้อย่างเทมาะสม ดังนี้

0. จัดเตร่ยมอาสนะและอุปกรเน์ต่างๆ ทต้องใช้ของพระอาจารย์ให้เรียบร้อย

In. ทำ ภาระกิจส่วนดัวให้เรียบร้อยก่อนเช้าห้อง

๓. เตร่ยมอุปกรเนทึ๋จำเป็นต้องใช้ให้พร้อม เช่น สมุดจดธรรมะ ยาประจำตัว เป็นต้น
๔. ไม่ควรเต้นลากเท้าทร่อพูดคุยเสิยงดัง ขณะเต้นมาสู่ห้องปฏิบ้ตรรรม
ร. วางรองเท้าทชั้นวางหรีอในทีทึ๋จัดไว้ให้เรียบร้อย (จับวางด้วยรอ ชิดต้านในก่อน)
๖. เปิดและปิดประตูเบาๆ ควรระวังอย่าให้รเสิยงดังขณะเต้นในห้อง และไม่เทยยบ

อาสนะทึ๋ปูไว้แล้ว

๗. นั่งในทของตน วางสิงของที่นามาให้ตรงกันอย่างเป็นระเปียบ

อาลนะพระราจาพ

www.kalyanamitra.org

วัฒนBรรมซาวทุทธ ๙

๘. กราบพระรัตนตรัยพร้อมf กัน หรือรอกราบพร้อมกับพระอาจารย์ เมอพระอาจารย์

เข้ามาในห้อง กราบพระอาจารย์พร้อมเพรียงกันตามคำบอกของพิอีกร

๙. ไม่ควรลุกเข้าออกบ่อยๆ(โดยเฉพาะในช่วงสวดมนต์หรือขณะพระอาจารย์เทศน์สอน)

เฟ้อแสดงถึงความเคารพในธรรม

.00 เมื่อเบ่ลี่ยนท่านง ควรกลับเห้าทางต์านหลัง ระวังอย่าให้มีเสิยงดังไม่ควรนั่งเหยียด

เท้าไปทางสิงลักการะบูขา เช่น พระพุทธรูปหรือพระอาจารย์

O0. หลังเลิกจากการบ่ฏิบ้ติธรรมทุกครั้ง เก็บอาสนะให้เป็นระเบียบในที่ฟ้จัดไวั

รูปแบบการนั่งบ่ปีบ้ติธรร

Ota. เมื่อจะออกจากห้อง ควรเก็บอุปกรณ์ส่วนดัวออกไปด้วย ไม่ควรวางทิ้งไร้ในห้อง

ปฎิบ้ติธรรม

on. เปิด-ป็ดประตูเบาๆ เมื่อจะออกจากห้อง

0๔. หยีบรองเท้าจากขั้นวางมาใส่เห้าด้วยมีอ ไม่ใข้นิ้วเห้าคีบออกจากขั้นวาง

วางอาสนะโหัเป็นระเบียบ หยิบรองเท้าจากชั้นวางติวยรอ

www.kalyanamitra.org

oo ไโฒนซรามขาวพทร

0. เข้าห้องให้ตรงเวลา จะลดการใบกวนกันและiTน อันเก๊ดจากเฝ็ยงพูดคุยและ

เสิยงเดิน

!□. หากไม่สบาย เช่นไอหรีอจาม ควรเครียมผ้าขนหนูไ-ฅดปาก
ท, ไม่ควรนาสิงของที่ม่เฝ็ยงดังเข้ามาในห้อง เช่น ถุงหิ้ว (พลาสดิกที่มีเสิยงดัง,

ปีดอุปกรณ์ส์อสารทุกซนํด)

๔. ปล่อยวางภาระกจที่กังวลออกจากใจ ทำอารมณ์ให้สบาย เบกบาน แจ่มใส

๔. หมั่นป้ดกวาดเข็ดถูห้องปฎบ้ดิDรรมให้สะอาดอยู่เสมอ

การใช้ห้องเรยนและห้องTlกอบรม

มีระเบียบวํธีการใช้อย่างเหมาะสม ดังนี้

0. จัดเดรียมอาสนะหรึอโต๊ะเกัาอี้ รวมทงอุปกรณ์ที่ต๊องใช้ของพระอาจารย์หรีอวิทยากร

ให้เรียบร้อย

๒. ทำ ภาระกิจส่วนตัวให้เรียบร้อย เช่น การเข้าห้องนํ้าอุจจาระ/ปีสสาวะ

ท. เดรียมอุปกรณ์การเรียนที่จ่าเป็นต้องใช้ให้พร้อม
๔. ไม่ควรเดินลากเท้าเสิยงดัง หรีอพูดคุยเสิยงดังขเนะเดินมาส่ห้องเรียน

๔. วางรองเท้าที่ชั้นวางหรีอในที่ที่จัดไ-ร้ให้เรียบร้อย (จับวางต้วยมีอ ข็ดต้านในก่อน)

๖. เปิดและปิดประตูเบา*!

๗.ไม่ลากโต๊ะ เก้าอี้ ควรยกเบาๆ เมีอจะนำมาใช้

๘. นั่งในที่ของตนวางสิงของที่นำมาให้เป็นระเบียบไม่ควรพูดคุยกับเสิยงดังในห้องเร้บน

การปังเรียนธรรมะนละการวางของบนโต๊ะ

www.kalyanamitra.org

■^ฒนรรรมขาวพุทซ

๙. กราบพระรัตนตรัยพ?อมๆ กัน (ถัา>3) กราบพระอาจารย์พร้อมเพรียงกัน เมี่อพระ
อาจารย์มาถง(ม็พิธีกรนำกราบ)หากเป็นวิทยากรก็แสตงความเคารพโดยวธีโตรีธีหนึ๋ง

ทิเหมาะสม

Q0. เคารพในการสืกษาไมํลุกเข้าออกบ่อยๆ(ในขณะพระอาจารย์เทศน์รอนหรีอวิทยากร
กำ ลังบรรยาย)เมอจะลุกควรแสตงความเคารพ(พระอาจารย์หรีอวิทยากร)แลัวเลอน

เก้าอี้เบาๆ ลุกออกไบ่ลัวยอาการสงบ

00. กราบพระอาจารย์ กราบพระรัตนตรัย เมี่อเสรีจสันการสอนหรีอการบรรยาย (ถ้า
เป็นวิทยากรก็แสดงความเคารพหรีอขอบคุณ)

0๒, เก็บเก้าอี้ให้เป็นระเบียบในทื่ทึ๋จัดไว้

otn. เดินออกจากห้องเป็ดป็ดบ่ระดู ควรระวังอย่าให้มีเสืยงดัง

©๔. หรบรองเท้าจากชั้นวางมาใส่ดิวยมีอ ไม่ใช้นิ้วเท้าคีบออกจากชั้นวาง

0. เข้าห้องให้ตรงเวลา จะลดการรบกวนกันและกัน กันเก็คจากเสิยงพูดคุยและ

เลัยงเดิน

๒. หากไม่สบาย เช่น ไอหรีอจาม ควรเตรียมผาขนหนูไว้ป็ดปาก

ฅ. ไม่ควรนำสิงของทึ๋มเสิยงดังเข้ามาในห้อง เช่น ถุงนิ้ว (พลาสติกนิ้มเสิยงดัง)

๔. ปลดปล่อยวางภารก็จที่กังวลออกจากใจ ทำอารมณ์ให้สบาย เบีกบาน แจ่มใส

๕. ตั้งใจเรียน จด จำ นำไปพิจารณาแลัวปฎบีดิตาม หากสงลัยให้ไต่ถามอาจารย์

หรีอวิทยากรผู้สอน

www.kalyanamitra.org

ola นรรรฬ)าวVเท0 โชัผ้าเช็ด
หน้าเบาๅ
r

การอาบนำ

ซั้นตอนการอาบนๆ

0. เตรียมเส์อผ้า(ฝส์ยน)และอุปกรณ์การอาบ

นาใฟ้พร้อม

๒. เปิดนํ้าใส่ทังประมาณคร็่งถัง

๓.ใขผ้าถูตัวชุบนํ้าใถัโขก พับพอดีมีฮ เช็ดหน้า

๔. ชุบนํ้าอีกครั้งแล้วเช็ดทั้งตัว แล้วถูลยู่กับผ้าถูตัว
(ร. ใช้ผ้าถูทั่วร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณใตัคาง ชอกหู

ลำ คอ รักแร้ ง่ามมีอ ง่ามเท้า ชอกขา ช้อพับ

๖. ซักผ้าในถังอาบนํ้าใท้สะอาด แล้วใช้ถูสบ่ออกจากตัว

'

ใช้ผ้าถูทั้งดัว ถูสบู่กับผ้าถูตัว

๗. ราดนํ้าตัวยฝึกบัว ล้างคราบสบ่ออกอีกครั้ง (หรีอตักราดเบาๆ ใท้นํ้ารคทั่วตัว)

๘. ซักผ้าใท้สะอาด รดพอหมาดซับหยดนํ้าที่เกาะดามตัว
๙. ล้างทังให้สะอาด ซับหยดนํ้าทีเกาะบนทังตัวยผ้า แล้วซักผ้าให้สะอาดอีกครั้ง

00.เก็บอุปกรณ์ใส่ทัง สวมเสัอผ้าชุดใหม์

ผ้างคราบสม่ผ้วยนาสะอาด นต่งกายด้วยชุดใหม่

www.kalyanamitra.org

1 วไWf^

o. การอาบนํ้าเป็นการรักษาควาพสะอาดผวท15งเบื้องด้น ขำระส์งสกปรกทีเกาะ

พวหนังใท้หรุดออกไป

Id. ควรอาบนาเยนธรรมคาหรึอนํ้าอุ่นเสิกน้อย?งจะดี เพราะนาเย็นมากๆ หัวใจจะ

ทำงานหนัก กัานํ้ารัอนมากย็ไม่เป็นผลดีต่อร่างกายเซ่นน้น

tn. ควรใช้สบู่เฉพาะการอาบนํ้าในตอนเย็น ซึ๋งมีเหงึ๋อไคลมาก หากไม่จำเป็นไม่ควร

ใช้สบู่โดยเฉพาะในตอนเช้า เพราะสบู่มีฤทธเป็นด่าง ทำใฟ้ผวแห้งและจะทำลาย

เกราะป้องหันเบื้อโรคและฝุนละอองตามธรรมซาดของผิวไป

๔. กฺารใช้ผ้าถูดัวช่วยให้กระแสเลือดไหลเวียนได้ดี และทำให้ผิวหนังสะอาดหมดจด

๔. อาบไ!าด้วยฝึกบัวจะใช้นํ้าไม่เกน ๒© สิตร/คน สินเปลืองใ!าน้อยกว่าการคักราด
และใช้อ่างอาบไ!า ซึ๋งใช้■นาครั้งละ 000 สิตร/คน

๖. ขณะถูสบู่หรอถูคัวไม่ควรเปีดไ!าทิ้งไ'วีจะทำให้สินเปลืองไ!ามาก

๗.ไม่ควรอาบไ!าหสังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ อาจทำให้ไม่สบายได้เพราะภายใน

ร่างกายมความร้อนอันเกิดจากพสังงานจากการย่อยอาหาร

๔. ไม่ควรวางสิงของๆ ตนไว้ในห้องอาบไ!า ควรทำความสะอาดคราบสกปรกจาก

สบู่/แขมพูทีอยู่ตาม■สันและผนังห้องอาบไ!าให้สะอาดหลังการอาบไ!าทุกครั้ง

การสระผม

มีระเบียบวีรการใช้อย่างเหมาะสม คังนื้

0. ราดไ!าบนสืรษะ พร้อมทั้งขยุ้มผมเบาๆ



ด้วยปลายน้ว

www.kalyanamitra.org

0๔ วัฒนอรรมขาวพุทธ

๒, ใฟ้แฃมพูชโลมผมขยี้ให้ทั่ว ใช้ปลายนิ้วกด

อย่าใช้Iล็บเกา จะทำให้หนังสืรษะอักเสบ

เรนสาเหตุของการเก็ดรังแคได้

๓. ล้างแชมพูออกด้วยนํ้า ให้สะอาดหมดจด

๔. ใช้ผ้าช้บนํ้าออกให้แห้ง อย่าขยี้เสันผมจะ

ทาให้ผมหัก และหวึให้เรียบร้อยปล่อยให้

แห้งเอง

0. สระผมอย่างห้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง หรีอตามความเหมาะสม

๒. เสิอกใช้ยาสระผมให้เหมาะสมกับสภาพเสันผม

๓. หลีกเลียงยาสระผมสูตรเข้มข้น ควรใช้สูตรอ่อน
๔. นอกจากยาสระผมแล้ว เราอังสามารถบาพีชสมุนไพรมาสระผมได้ เช่น มะกรูด

มะนาว เพราะพชเหล่านิ้มีฤทธํ๋ขจัดไขมันตามธรรมชาดใต้หนังสืรษะ อันเป็น

สาเหดของการสะสมผ้นละอองจนทำให้เกํดรังแคได้

การแปรงฟ้น

มํระเบยบวรการใช้อย่างเหมาะสม ดังนิ้
0. ควรใช้แก้วหรีอขันรองนํ้ามาใช้ในการแปรงฟ้นและล้างแปรงแต่ละครั้ง ซึ๋งจะใช้นํ้า

เพยง ©-๒ แก้ว ก็พอ

www.kalyanamitra.org

ว้ฌนอรรมขาวพุทธ ofi

to. การเฟรงฟ้นและการฟ้างเฟรงโดยตรงจากก๊อกนํ้า ท้าเปีดทิ้งไว้เวลาเพียง to นาที

จะสูญเสิยนํ้าประมาณ 0๘ สิตร แด่ในขณะแปรงฟ้นใ•รเวลาประมาณ <ร นาที จะ
สูญเสิยนํ้าประมาณ ๘๕ สิตร

การโกนหนวด
มํระเบียบว้ธีการใฟ้อย่างเหมาะสม ดังนี้
เมอโกนหนวดแล้วใฟ้กระดาษขำระเช็ดออกครั้งหนี้งก่อน แล้วจิงใฟ้นํ้าใส่แกวมาขำระ

ฟ้างอกครั้ง และควรล้างมีดโกนโดยการจุ่มล้างในแท้วหริอขัน จะทำให้สินเปสิองนํ้า

ฟ้อยกว่าการล้างโดยตรงจากก๊อก

การล้างรถ

มีระเบียบว้ซีการใฟ้อย่างเหมาะสม ดังนี้

ควรใฟ้ไม้ขนไก่ปีดสูบฝ่นออกก่อน แล้วจึงล้างรถโดยรองนี้าใส่ถังนำมาเช็ดล้างอกครั้ง

(นํ้าทีใฟ้ประมาณ to ถัง)ไม่ควรใช้สายยางฉดล้างโดยตรง จะทำให้สินเปสิองนํ้ามาก

และยังทำให้รถผุฟังเร็วดัวย

ไฟฟ้าแสงสว่าง
หลอดไฟฟ้าทึ๋ช่วยให้ประหยัดไฟฟ้าไค

- หลอดฟลูออเรสเซนต์ หริอหลอดบีออน แม้ราคาสูงกว่าหลอดไล้ แด่ให้ความ

สว่างมากกว่า ๘-๕ เท่า มีอายุการใช้งานนานกว่า ๗-๘ เท่า

•หลอดฟรูออเรสเชนต์รุ่นใหม่(หลอดผอม)จะประหยัดพลังงานไฟฟ้าไดัประพาณ

0O เปอร์เซนต์

- หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ประหยัดไฟฟ้าไดั ๗๘ เปอร์เซนต

ข้อปฎิบตเพี่อการประหยัดไฟฟ้าแสงสว่าง

0. ใช้หลอดไฟวัตต์ดรในบริเวณทีไม่จำเป็นต้องใช้แสงสว่างมากนัก เช่น เงสิยง ทางเต้น
ห้องป้า เป็นต้น

to- หมั่นทำความสะอาดขั้วหลอดและตัวหลอดไฟเสมอ เพราะท้าขั้วหลอดละอาด กระแส

ไฟฟ้าเดนไต้สะดวก แสงสว่างก็จะเปล่งออกมาไต้หมด

www.kalyanamitra.org

©๖ วัฒนธรรมขาวพุทธ

๓. ผนังช่วยสะท้อนแสงควรทาสิขาวๆ นวลพุ จะมองสว่างตาแม้เวลากลางวัน และทาให้

สว่างไท้มากเมือเวลาเปิดไฟ

๔. ปิดไฟทุกครั้งเมี่อไม่จำเป็น หรีอท้าท้องออกจากห้องสิ'ก ๒-๓ นาที ก็ควรปิดไฟก่อน

การปิดเปิดไฟบ่อยพุ จะไม่ทำให้เบ่ลืองไฟแต่อย่างโด และไม่ควรเปิดไฟนอนดลอด

คีนและหมั๋นดรวจดราจุดทีมีการใช้ไฟฟ้าอย่างสม้าเสมอ เพี่อหาจุดทีทำให้สินเปลือง

ไฟ แท้วจะไท้แก้ไขทันทํวงที

การใข้เครื่องปรับอากาศ
ข้อบ่ฏิบ้ตเพี่อการบ่ระหยัดพลังงาน

0. เลือกขนาดและชนิดของเครี่องให้เหมาะสมกับห้อง

๒. ติดตั้งในทีทีเหมาะสม เพี่อให้กระแสความเย็นหมุนเวียนภายในห้องอย่างที'วถึง อากาศ

วีอนทีระบายออกช้างนอกก็อย่าให้มืสิงกีดขวางให้ก่ายเทไท้สะดวก

๓. อย่าให้ความเย็นรั่วไหล โดยปิดเปิดหน้าต่างอย่างมืดชิด อย่าเปิดบ่ระดูห้องทิ้งไว้

เมื่อเปิดเช้าออกก็ควรรีบปิดทันที เพราะจะทำให้อากาศว้อนเช้ามา ความเย็นก็จะ

กระจายหนีออกไบ่

๔. บ่รับป่มต่างพุ ให้เหมาะสม โดยมืวีธีการดังนี้

- เริมท้นเปิดเครี่องท้วยการตั้ง!Jมทีมือักษรว่า HI/LOWไว้ที HI ก่อนเพราะจะทำให้

เย็นเร็วเมื่อเย็นแล้วค่อยลดลงมาที LOW ภายหลัง

- หมุนม้มก่ายเทอากาศมาอย่ที CLOSE เศรึ่องก็จะไม่ดูดอากาศเย็นภายในห้องออก

ไบ่

- เศรึ่องควบคุมอุณหภูมื(THERMOSTAT)ควรติดตั้งไว้ทีเลขกลางพุ คือ บ่ระมาณ
๗๘°Fหรือ ๒๖°อ ท้าตั้งไว้ทีอุณหภูมืตามาก เครี่องก็จะทำงานมากทำให้เปลืองไฟ

๕. หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศท้านหน้า อย่างน้อยเดือนละหนี้งครั้ง โดย

ถอดออกมาซักล้างท้วยนํ้าสยู่อุ่นพุ ค่อยพุ บีบให้แห้ง(อย่าบิดจะทำให้ขาดไท้)ตะแกรง

ท้านหลังก็ควรทำเช่นเดียวกัน ภายในเครื่องควรให้ช่างทอดมาล้างป็ละ 0 ครั้ง ท้า
ห้องทีมืฝ่นมากก็ท้องทำบ่อยครั้งขึ้น
๖. ปิดเครื่องบ่รับอากาศเมื่อไม่มืความจำเป็นท้องใช้ เพราะเครื่องปรับอากาศจะสินเปลือง
ไฟกว่าพัดลมขนาด 0๖ นี้ว บ่ระมาณ too เท่า

www.kalyanamitra.org

พันซารมขาวทุทธ ort

การใฟ้ฟ้'ดลม
มีระฒยบวิรการใช้อย่าง!หมาะสม ดังนี้
กํนไฟน้อยกว่าเครึ๋องปร้บอากาศมาก พัดลมติดเพดานแบบธรรมดา*? กินไฟประมาณ

๗0-000 วัตต์ ถ้าใช้นาน ©๒ ขั่วโมงจะใช้ไฟประมาณ 0 หน่วย พัดลมดั้งพื้นและดั้งโต๊ะ
หากเปิดใช้ดั้งวันทั้งคนจะกินไฟเพยง 0 หน่วย (ประมาณ เอ«-๗« วัตต์) แต่เมีอเสิกใช้
แล้วควรปิดพัดลมและต๊งปลั๊กออกด้วย เพื้อความปลอดภัยยงขึ้น

การโซ้เตารีดไฟฟ้า
มีระเปียบวิธีการใช้อย่างเหมาะสม ดังนี้
- ดั้งปมปรับความร้อนให้เหมาะสม
- ควรรวบรวมผ้าสำหรับรดแต่ละครั้งให้มีปริมาณมากพอ เพื้อน่ามารีดพร้อมๆ กัน

-ไม่พรมนํ้าทีผ้าจนแฉะหรือเมีอเก็บผ้าไม่ควรขยุ้มผ้าจะทำให้รีดยาก ควรพับให้เรียบร้อย

- ก่อนรีดเสร็จประมาณ la-Pi นาทีให้ดึงปลั๊กเพี่อดัดกระแสไฟฟ้าของเตารีดออก เพราะ

ความร้อนท็่เหลีอฮยู่ในเดารีดยังสามารกรีดผ้าต่รไปจนกระหงเรรีจได้

ารใซ้เสัอผ้าเครึ๋องนุ่งห่ม

สวมเสัอผ้าเพื่ออะไร? /(เโ; ^^©x

ปกอดร่างกาย
บรรเทาความร้อนหนาว
ปกป้องร่างกายจากลม แดด
แมลง และสํ'ตว์แอยคลาน

www.kalyanamitra.org

0๘ นธรรมขาวทุทธ

การเลอกเสัอผ้า
ก่อนที่จะเสิอกเสิฮผ้า เราต้องมาดูก่อนว่า.,.จะไฝไปไหน? งานอะไร? เหมาะสม
กับอายุซองเราหร็อไผ่? เมื่อตอบคำถามของตนเองไต้แต้ว ก็มาเลิอกชุดกันโดยใช้

เกณราง่ายๆ ดังนี้

0. สะอาด เรียบร้อย เรียบง่าย ไม่ฟ้งเฟ้อตามสมัยนิยม

๒. ลวดลายเหมาะสมกับรูปร่างฝ็เสิอผ้าเหมาะกับผํว

£า. ไม่รุ่มร่ามหรีอคับเก็นไป

๔. ความยาวของชายเสัอไห้ตรกว่าระดับสะด็อ และความยาวซองกระโปรงประมาณ

ครึ๋งน่อง

การแต่งกายที่ทำไห้เก็คคุณอรรมเพมซนค็อ

0. มื่เส์อผ้าเท่าที่จาเป็นต่อการไช้ ไม่มไว้เฟ้อสะสม

๒. ร้จักแบ่งปันเสัอผ้าไห้กับยู้ที่ขาดแคลน

(า. ไฝเสัอผ้าแต้วต้องหมั่นทำความสะอาดและเก็บรักษาไร้เป็นอย่างด เฟ้อรดอายุ

การไช้งานของเส์'อผ้า หากเสัอผ้าชำรุดให้ซ่อมแซมก่อนนำไปใช้หรีอซัก

๔. สุภาพสตรีหลีกเลี่ยงการไฝกระโปรงสันหรีอกางกางซาสันในที่สาอารณซน
๔. จดไจที่ไต้รับการiกฝนมาดแต้ว รู้สักอดทน อดกลั้น ฝ็ความสงบเสงียม จงจะ

เป็นอาภรณ์ที่งามยง

www.kalyanamitra.org

วัฌนซรฯมฃาวพฺทD ©๙

๒บทที่

วัฒนธรรมการดแลรักษาปัจจัย ๔

ความเป็นระเบียบเรยบร้อยของส์งของเครึ๋องใข้ส่วนตัวและส่วนรวม ที่ถูกจัด

พับเก็บอย่างดีนั้น จะซ่วยลดการกระทบกระทั่งกันไตั ทำ ให้เก็ดความสงบทางใจ รักษา
อารมณ์ให้เบิกบานได้อย่างต่อเฟ้องตลอดทั้งวัน แสดงให้เห็นความเป็นที่มที่มระเบียบวิพัย

และแบบแผนอับเดียวกันได้อย่างขัดเจน

การจัดพับ๓บทเหมาะสมควรเป็นอย่างไร ?

การพับ
0. พับเข้ากลาง

b. พับโดยไม่ให้เสียรูปทรง

การจัดเก็บ

0. จัดเก็บ(วาง)ในแนวตั้งฉาก หร้อแนวขนานกับพื้น ทรีอผนังที่ใข้เก็บ

to. จัดเก็บเป็นหมวดหม่ตามชนด หร็อประเภทของสิงของ

รท. จัดเก็บดามความจำเป็นในการใข้โดย "หรบก็ง่าย หายก็รู้ ดูเร้ยบร้อยงามดา"

www.kalyanamitra.org

lao วัฒนธรรมขาวทุทธ

จะมีวิรการจัดพับ๓บอย่างไร?

0. ทำ ความสะอาดตู้ โดยใช้พาชุบนํ้าIซีดใฟ้สะอาดทุกซอกทุกมุมทั้งภายในและภายนอก

๒. ล้างมีอฟ้างเทำให้สะอาด ปูเส์อหรีอผ้าที่ใช้รองพับ
๓. พับผ้าหรีอกางเกง แล้วจัดเก็บเช้าตู้ให้เรียบวัอยพร้อมกับสิงของต่างๆ

๔. ทำ ความสะอาดเส์อหรีอผ้าที่ใช้รองพับ

การพับเข้ากลาง /'I

/า

การพับไม่ให้เฝ็ยรปทรง

การจัดเก็บโนแนวจากและเป็นหมวดหม่ จัดเก็บตามความจำเป็นโนการไข้

www.kalyanamitra.org

^ฒนทรรมซาวทุทซ loo
อานิสงส์ของการจัดพับเก็บ

0. ลดการกระทบกระทั่งทำใท้อยู่ร่วมกันอย่างรความสุข
to. ๓ดความศรัทธาแก่ผู้ที่พบพ็น
m. เป็นคนมีความละ10ยดรอบคอบใบการทำงาน รู้จักวางแผนงานเป็นชั้นเป็นตอน
๔. ใจเป็นระบบระเบียบ มีความลบายนุ่มนวล ละเอียดประณีต เข้าถงธรรมะภายใน

ไกัโดยง่าย

0. ควรพับและเกีบผาด่างา ทั่ใข้ใทํเป็นระเบียบทุกครง ทั่งก่อนโข้และหลังโซ้

ไม่ควรวางทั่งไว้เกะกะ

to.เมี่อใข้ผาหรีอส์งของใดา เสร็จแล้ว ควรจัดเก็บเข้าทั่เดิมใหเร็ยบรอยทุกครั้ง

ไม่วางทั่งไว้เกะกะ

tn. เมึ๋อจัดพับเก็บอย่างเรียบรอยเป็นประจำ คุณธรรมทั่เพมชั้นอย่างแน่นอนดิอ

ความรับผดชอบต่องานของตนเองและส่วนรวม

ความสะอาดจองสถานทีตลอดก๊งอุปกรณีเคร็องใข้ต่างาในอาคารหรีอส่านักงาน
เป็นเคร็องแสดงให้เทีนก๊งคุณธรรมภายในของผู้เป็นเว้าของว่ามีมากน้อยเพียงไร การ
รักษาความสะอาดอาคารสถานทีและอุปกรณีเครีองใข้ต่างา เป็นการยดอายุการใข้งาน
ของสิงด่างา ดังกล่าวนั้นด้วย และทีส่าคัญคอ ทำ ให้อารมณีของผู้เป็นเว้าของ ตลอดก๊ง
ผู้มาเรอนผ่องใส ไม่หงุดหงิด ทำ ให้ใจลงบกลับเข้าคูนย์กลางกายได้ง่ายยั๋งชั้น

www.kalyanamitra.org

๒เอ วัผนDร1ฬ!าวพฺทร

หลักการทำความสะอาด

0- ทำ ความสะอาดจากบนลงล่าง เซ่น เพดาน หลังตู้ เป็นต้น

to. ทำ ความละอาดจากพี้นท็่ยากไปสู่พื้นที่ง่าย เซ่น ชอกมุม ใต้โต๊ะ เป็นต้น

n- กวาดหริอกไปในทิศทางเดียวกัน

๔. เสิอกใช้อุปกรCUกวาดและกูให้เหมาะกับงานและพื้นผวที่จะทำ

การกวาดและการถูพิน

จะมวิธการกวาดถูอย่างไร ?

0. การเคริยม

เตริยมร่างกาย โดยแต่งกายให้รัดกุม สะดวกและเหมาะสมต่อการปฎํบัดีงาน

เตริยมอุปกรณ์ โดยเตรียมอุปกรณ์ต่อไปนี้ให้พร้อม

0. ไม้กวาดหยากไย่ to. ไม้กวาดดอกหญ้า ฅ. ไม้กู

พ^ '๔^.- ททีี่่ตตัักกพผ"งJ กะละม้ง ๖. ถังนํ้า

rt. ผงชักฟอก ๘. ผ้าทพื้น

www.kalyanamitra.org

In. การ!!ฏบัต๊ ■?ฒนซรรมขาวทุทอ
การพใ}!เกวาดสองมิอ
รระเบียบวธีการปฎ้บ้ตทึ๋เหมาะสม ดังนี้

การกวาด

0. ฟ้องหรีออาคารทึ๋จะท้าความสะอาดนั้น

ควรกวาดหยากไย่หรีอฝ่นผงจากข้างบน

ก่อน เข่น เพดาน หลังดู้ เป็นต้น

เอ.ดูทิศทางลม ควรกวาดไปทิศทางเดียว

กับทิศทางทึ๋ลมพัดไป

ค. จับไมกวาดบริเวณปลายด้าม ใข้นี้วซี้

บังดับทิศทาง

๔. ขณะกวาดออกแรงกดพอประมาณ

กวาดไปข้างหนา ไม่ดวัดปลายไม้กวาด

สูงจากพื้นเกิน 0 ฝ่ามิอ เพื้อบีองกันฝ่น

ฟ้งกระจาย

๔. ควรรการดักฝ่นผงหริอขยะเป็นระยะ'}

การใช้นวขื้บงคับทิคทาง

ระยะปรายใช้กวาดเโบพน

www.kalyanamitra.org

๒๔ วัฒนรรรมขาวๆทร

การถู

มีระเบียบวิธีการที่เหมาะสม ดังนี้

0. จับไม้ถูให้ถูกฅ้องและเหมาะสม

เพื่อบีองกันไม่ให้ไม้กระแทกดัว

หากเกิดการสะดุดขึ้นมา(ดังรูป)

การจับไม้ถ เท แบบ

๒. ถูบริเวณที่ยากก่อน เซ่น ชอกมุม
และถูไปในทิศทางเดียวกัน

ถบริเวณทยากก่อน

ฅ. ขณะถูควรออกแรงกดหอประมาณ

แกิวดันไม้ถูไปข้างหน้า

การQเป็นทีม

www.kalyanamitra.org

วัฌนธรรมซาวทุทธ iQdi
ท. การเก็บงาน

0. เคาะฝุนออกจากไม้กวาดเบาๆ แสัวเก็บในทึ๋เกีบทีปลอดภัยจากความเปียกซึ้น เข่น ฝน

ไอนํ้า ป้าค้าง เป็นต้น
๒.ไม่ควรวางไม้กวาดโดยให้ {ดอกหญ้า) กดกับพน เพราะจะทำให้เก็ดความเสิยหายต่อ

ไม้กวาดไต้

ฅ.ไม้กูควรล้างให้สะอาดหลังใช้เสร็จ แล้วเก็บในทีเก็บให้เรียบร้อย
๔, ซักผ้าถูให้ละอาด น่าไปตากให้แห้ง แล้วจัดเก็บไร้ในทีเก็บให้เรียบร้อย

อานสงส์ของการกวาดถูพื้น

0. เกิดอุปนิลัยรักความสะอาด จนส่งผลให้เป็นคนรักการรักบากาย วาจา ใจ ให้สะอาด

บรีสุทธิ้ตามไปต้วย

๒. ฝ็วพรรณและจิตใจผ่องใสเป็นทีตั้งแห่งศรัทธา

ต, เป็นคนละเอียดรอบคอบ ประณํต ข่างลังเกต รู้จักวางแผนงานอย่างเป็นขั้นเป็นตอบ
๔. เป็นทีรักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย

การโซไม้ขนไก่แระผ้าต่างๆ

จะมีวิธีการใช้อย่างไร ?

การเครียม

เตรียมร่างกาย โดยแต่งกายให้รัดกุม สะดวกเหมาะสมต่อการปฏํบ้ตงาน

เตรียมอุปกรณ์ เตรียมอุปกรณ์ต่อไปนื้ให้พร้อม

0. แปรงสิฟ้น ๒. ผ้าเข็ดโต๊ะ.ผ้าเข็ดดวงแล้ว-องค์พระ ต.ไม้ขนไก่ ๔. ลังป้า

www.kalyanamitra.org

๒๖ วัฒนรรรมขาวพทท การใช้ผ้าเ■รดองค์พระ
0. ใช้ผ้าแห้งเช็ดจากบนลงล่าง
'พ
๒. ห้าเช็ดไม่ออกให้ใช้ผ้าชุบนํ้า{บีบ)หมาดๆเช็ด

แล้วเช็ดด้วยผ้าแห้งอีกครั้ง

การใช้ฟ้าเช็ดดวงแก้ว

0.ใช้ผ้าแห้งเช็ด หบุนไปในทิศทางเดียวกัน
๒. ห้าเช็ดไม่ออกให้ใช้ผ้าชุบนํ้า(บีบ)หมาดๆเช็ด

_» .. ^ V.

แล้วเช็ดด้วยผ้าแห้งอีกครั้ง

การใช้ฟ้าเช็ดโด๊ะ/เก้าอี้

0. เตรียมใ!าใส่กังประมาณ ครี่งกัง

๒. บีดฝุนที่ดีดดามผ้วโดีะทั้งบนและล่างด้วยไห้

ขนไก่ โดยบีดเบาๆให้เต็มหน้าไห้ไปในทิศทาง

เดียวกัน

๓. นำ ผ้าชุบใ!า(บีบ)หมาดๆ และใฑัJให้พอดีกับ

ผ้าห้อ

r ๔. ถูบนโต๊ะไปในทิศทางเดียวกันโดยให้ใ!าหน้ก

การเช็ดสมาเสมอ

www.kalyanamitra.org

วัฒนcรรมขาวพฺทซ ๒๗

๕. ในกรณีที่ต้องทำพื้นล่าง(ใต้โต๊ะ) ศวรพสิก

โต๊ะหงายขี้น ใช้แปรงสิฟันปีดฝ่นตามชอก

และพื้นที่ยากๆ ก่อน แล้วเข็ด'?ากขาโต๊ะ

ลงสู่พื้นใต้โต๊ะให้สะอาด แล้วพลิกกลับดาม

เต๊ม เข็ดบนโต๊ะให้สะอาดอีกครั้งต้วยผ้า
แห้ง(ควรมีผ้าพลาสต๊กหริอเสิอรองผิวโต๊ะ

ต้วยขณะหงาย)

๖. นำผ้าไปซักให้สะอาดและเกีบล้างอุปกรณี

ทุกอย่างให้เรียบริอย / r—

อานิสงส์ซองการเช็ดโต๊ะ/เก้าอี้

0. เกิดอุปนํลัยรักความสะอาด ส่งผลให้อยากรักษากาย วาจา ใจให้สะอาดด้วย

๒. ผิวพรรณและจิตใจเบกบานผ่องใส เรนที่ดั้งแห่งศรัทธา เพราะใจเกาะเกึ๋ยวอย่กับ

ความใสความสะอาด ทำ ให้เปีนคนละเอียดรอบคอบ ประณีต ช่างลังเกด รู้จักวาง

แผนงานอย่างเปีบขั้นเป็นตอน

ต. เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย
๔. นึกนิม็ดดวงแก้ว องค์พระไต้ง่ายขณะทำสมาธ ยังผลให้ใจดั้งอยู่ศูนย์กลางกายเขาสิง

ธรรมไต้ง่าย

£>. การกวาด/ถูทุกครั้งต้องใช้อุปกรณีให้เหมาะสมกับงาน
๒. การทำความสะอาดควรทำให้ถูกตามลำดับการทำความสะอาด เที่อประหยัด

เวลา แรงงาน และพื้นที่ที่ทำจะไต้สะอาดอย่างแท้จรีง

PI. ผ้าเข็ดดวงแก้วองค์พรฺะ ควรเป็นผ้าเนื้อนุ่ม ไม่มีซนที่ทำให้หลุดต๊ดตวงแก้ว

หรีอองค์พระไต้ ควรเข็ยนก่าหนดให้ซัดเจนที่ชายผ้า ว์าเปีนผ้าเข็ดดวงแก้ว

หรีอองค์พระ

๔. คุณธรรมที่เกิดขึ้นคอความรับผิดขอบต่อส่วนรวม และความมีนํ้าใจต่อหมู่คณะ

www.kalyanamitra.org

10๔ วัฒนD■ใรมซาวทุทซ

จะมวิรการข้กผาอย่างไร ?

0. การเดรึยม

เตรียมร่างกาย โดยแต่งกายใไ^รัดกุมเหมาะสมต่อการปฐบ้ตงาน

เตรียมอุปกรณ์ โดยเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ให้พร้อม

0. กะละมัง to. นํ้ายาชักพา £า. แปรงชักผ้า

๔. โต๊ะ/ม้านั่ง &. ไม้แขวนเสัอ ๖. ไม้หนบผ้า

๗. ทังนํ้า/ตะกร้า V

o_/f-



๒.การปฎิปัดิ mm

ta.o ตรวจเช็ค น่ารรรมดา — <v.

- กระเป๋า เฟ้อป้องกันสิงของเสิยหายและทันตราย efts

จากซองมีคม นํ้ายาขักม้า

- รอยขารุด หากพบควรซ่อมแขมหรือระมัดระวัง

ขณะชัก

- จุดสกปรก หากพบควรทาความสะอาดก่อน
to.to แยกข•นดของผ้า เซ่น ผ้าขาว/ผ้าสิ เนี้อกางเกง
to.m ขั้นดอนชัก
- ชักด้วยป้าธรรมดา เฟ้อขยายใยผ้าให้สิงสกปรก

หลุดออก

- ชักด้วยป้ายาชักผ้าที่ผสมได้ทัดส่วนพอเหมาะ อาจ
แซ่ผ้าไว้ได้ ประมาณ ๕-๓อ นาที ควรขยี้ผ้าโดย

ออกแรงสองมีอ สมาเสมอเท่าเทียมกัน

www.kalyanamitra.org

- ซักด้วยนํ้าฟล่าอีก to นํ้า เพื่อด้างนํ้ายา วัฒบBรรมขาวพุทธ ๒๙

และความสกปรก นาธรรมดา

- บีบผ้าให้พมาด(หลีกเลยงการบดผ้าแรงf
เพื่อรักษาใยผ้า)

- กลับดะแบเพื่อไม่ให้สิเส์'อผ้าจาง เมํ่อถูก

แดดขณะตาก

๒.๔ ขั้นทปีนการดาก นาธรรมดา

- สะบัดผ้าเพื่อขจัดรอยยับ

- ตากตามรูปทรงหรึอใช้ไม้แขวนเสือ

- ใช้ไม้หบีบหนบผ้า บีองกันผ้าหล่น

ท. การเกึบงาน

PI.O ด้างอุปกรณ์ให้สะอาด

cn.to เก็บให้เรียบ?อยใบทึ๋เก็บ

การตากม้า

อานํสงส์ของการชัก-ตาก ii

0- เป็นคนรักความสะอาด ส่งผลให้อยากรักษากายวาจาใจให้สะอาดด้วย

to. เป็นคนช่างลังเกต ละเอียดรอบคอบ รู้จักวางแผนงานเป็นขั้นเป็นตอน

๓. เป็นผ้ทรู้จักประหยัด รู้จักประมาณ รู้จักความพอดี

(ร. มีสติ ใจดั้งทึ๋ดูนย์กลางกายได้ง่าย

0. นํ้าซักผ้าสามารถนำไปด้างห้องบาหรีอถูบัานได้อีกด้วย เป็นการช่วยประหยัดป้า
to. คุณรรรมพื่เก็ดขึ้นดีอมีความอดทบอดกลั้น มีความเสิยสละความสะดวกสบาย

สละอารมณ์ที่ไม่ดีต่างๆ ออกจากใจได้ง่าย
๓. เมี่อผ้าแห้งแด้วควรเก็บทับที่ อย่าตากท็้งไ•รี

www.kalyanamitra.org

๓0 วัฌนรรรมขาวพุทธ

ห้องนาหรีอฟ้องตุฃาเป็นท้องที่คนทุกระดับซนขั้นทุกสาขาอาปึพรองใช้บรํการ

แม้เป็นฟ้องที่ใช้เก๊บของเสิยและส์งปฎํกูลต่างๆ ก็ตาน ทากสามารถทาให้สะอาดน่าใช้ได้
ย่อมแสดงให้เห็นว่า ผู้ที่เป็นเจ้าของห้องนํ้ารักความสะอาดเป็นอย่างยง ม้ความสะอาด

ของจิตใจอย่างยอดเยี่ยม จนส่งผลออกมาส่การกระทำภายนอก ด้วยการรักษาฟ้องที่

ใครๆเห็นว่าสกปรกที่สุดให้สะอาดได้
ห้องนํ้าจิงม้ความสำคัญไม่น้อยไปกว่าฟ้องรับแขก เพราะคอยรับรองผู้มาเยีอบ

จากที่ใกล้หรึอไกล ที่จำเป็นต้องทำภาระกิจส่วนตัวให้สบายดัวสบายอารมณ์ก่อน แล้วค่อย

พูดคุยสนทนากับเจ้าของบ้านด้วยไมดรํจิตม้ตรภาพ ความสะอาดแวววาวของโถและ
คอห่านรวมถ็งพื้นและผนังที่ผู้มาเยือนได้พบเห็นขณะทำกิจอันเป็นส่วนตัวอยู่ จะทำให้
ใบทน้าที่เทน็ดเหนื่อยอึดอัด ม้รอยยิ้มอันเบิกบานปรากฎขื้น เขาจะแอบเคารพขึ่นขมผู้
เป็นเจ้าของห้องนํ้าไวในใจม้รู้สิมเลยทีเด้ยว

หลกในการล้างฟ้องนํ้า

0, ทำ ความสะอาดจากบนลงล่างและด้านในออกด้านนอก

๒. ทำความสะอาดบริเวณที่ยากก่อน เซ่น ขอกมุม
๓. เช็ด ถู ไปในทศทางเดียวกัน

๔. ใช้อุปกรณ์ให้เทมาะสมกับวัสดุงานและพื้นผวที่จะทำ

จะj3วิธการล้างฟ้องนํ้าอยำงไร ?

e. การเฅรียม

- เตรียมร่างกาย โดยแต่งกายให้รัดกุมสะดวก เหมาะสม

ต่อการปฎินัดีงาน

- เตรียมอุปกรณ์ โดยเตรียมอุปกรณ์ต่อไปนื้ให้พร้อม

www.kalyanamitra.org

วัฒน15รรมซาวทุทร ffio
0. ถัง ๒. แปรงเตาร็ด m. แปรงสิฟ้น ๔. นํ้ายา ๔. ฟ้า

๖. ไฟ้กวาดทางมะฬาว ๗. ฟองนํ้า ๘. ขัน ๙. อุงมอ

หมายเหตุ: หากถุงมอรั่วให้เปลยนใหม่ขันทิ
to. การปฎํบัค๊

0. เข็ดขอบบน(อลูมิเนยม)หรํอเพดานห้องนํ้า

ทาความสะอาดทสังคาเพดาน
เปีดขอบบนของสนัง

๒. ทำความสะอาดฝาผนังด้วยฟ้าชุบนํ้า(บน)ชุ่ม

เข็ดฝาผนังทกสัาน

www.kalyanamitra.org

๓๒ วัฒนรรรมซาวทุทธ

๓. ราดนา{เปล่า)ในถังทึ๋โล คอห่านและพี้น แล้ว
ทำ ความสะอาดขันและถังนํ้าล้วยผ้าชุบนํ้ายา

สวมถุงมีอยาง ล้างชันและถังนํ้า

๔. ราดนํ้ายาที่โถ คอห่านและพน แล้วสวมชุง-

มอ ใขัแปรงสิฟ้นทำความสะอาดตามซอกมุม
ต่างๆ ส่วนพื้นที่ก'^างใขัแปรงเตารีดขัดให้

ละอาด

การโชัแปรงล้ฟืนชัดตามซอกมุม ใช้แปรงเตารีดชัดพื้น

๔. ราดนํ้าล้างฟองนํ้ายาที่พื้นออกให้หมด

แล้วทำความสะอาดโทและคอห่านด้วยฟองนํ้าชุบนํ้ายา

www.kalyanamitra.org

วัฒนซรรมขาวพุทซ ฅn

ราดนํ้าไล่ฟองนายาออก ทำ ความสะอาดโถและคอฟาน

๖. ๙างฟองนํ้าสัวยนํ้ๆเปล่าให้สะอาดลงในคอห่าน
๗. ทำ ความสะอาดรางระบายนํ้าด้วยไม้กวาดทางมะพร้าว แปรงฝ็ฟ้นและแปรงเตารีด

๘. นำ อุปกรณ์ต่างๆไปลาง ซัก และตาก เมี่อแห้งแล้ว จัดเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย

m. การเกิบงาน

0. ทำ ความสะอาดอุปกรณ์ตามลำดับ (สวมถุงมืออยู่ขณะล้างลำดับ 0. ๒. ๓. ๔.)

0. ขวดนํ้ายา ๒. แปรงเตารีด ๓. แปรงสิฟ้น ๔. ฟองนํ้า

๔. ถุงมือ ๖. ถุ้ง ๗. ซัน ๔. ม้า

การทำความสะอาดแปรงเตารีด การล้างแปรงล่ฟน

การล้างฟองนํ้า การล้างถงมีอ

www.kalyanamitra.org

๓๔ วัฒนBรรมขาวทุทธ

หมายเหตุ:(สำหรับผ้าจะซักก่อน เพี่อใซัทำความสะอาดอุปกรท่iอ็่นา และใซัซับ
หยดนํ้าที่อุปกรท่!ต่างใ)

๒. ใซัผ้าซับนํ้าพี่เกาะอุปกรณ์ทุกชิ้นออกให้หมด ก่อนนำไปตาก

ต. การตากอุปกรณ์

- นำ แปรงฝ็ฟ้น แปรงเตารีด ลัง ขัน ไปเก็บเข้าพี่ให้เรียบรีอย

- นำ ทุงมีอไปตากในร่ม

- นำ ฟองนํ้าและผ้าไปตากแดด เมี่อแห้งแล้วเก็บเข้าพี่ให้เรียบร้อย

- ล้างมือให้สะอาดจนถึงข้อศอก ล้างเห้าให้สะอาดจนถึงหัวเข่า

การตากถงมีอ การตากผาและฟองนํ้า

การล้างมีอ การล้างเล้า

www.kalyanamitra.org

วัณนธใรพชาวทุทซ nfi

อานิสงฟ้ของการล้างฟ้องนํ้า

0. ลดทิฎฐมานะในจิตใจของตนเอง
๒. เป็นคนละเอียดรอบคอบ วัจักวางแผนงาบเป็นขั้นเป็นดอน

๓. เกิดอุปนลัยรักความสะอาด จนส่งผลให้รักการรักษากาย วาจา ใจให้สะอาดบริสุทธิ้

ตามไปห้วย

๔. เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย

๔. จิตใจผ่องใส เข้ากิงธรรมไห้ง่าย

0. ควรทำความสะอาด กิ'งนํ้า ขัน สัน โทและคอห่านทุกวัน
๒. ห้องนํ้า(ห้องสุขา)ไม่ควรให้มีกลิ่นอันน่ารังเกิยจ

cn. การดรวจสอบผลการล้างห้องนํ้า โดยราดนํ้าลงไปที่คอห่าน หากพบว่าคอห่าน

เปียกทั่วถึงสมาเสมอ ไม่มีรอยคราบไขมันติดอยู่แสดงว่าล้างไห้สะอาดจริง

๔. ห้องนํ้าที่เป็นส่วนตัว ไม่เป็นสาธารณะ ควรขับให้แห้งเสมอ จะทำให้สะอาด

อย่างแห้จริง และปีองอันการลิ่นล้มโดยเฉพาะพู้สูงวัย

๔. ไม่ควรใขันํ้ายาที่เป็นกวดเข้มข้นในการล้างเค^องสุขภัณฑ์ เพราะกรดจะกัด-

กร่อนเครื่องสุขภัณฑ์ที่เคสิอบห้วยเขรามีคให้เสิยหายไห้

๖. ■นายาที่ใข้ล้างห้องนํ้า ควรเป็นประเภทเดียวอับนํ้ายาล้างจาน

www.kalyanamitra.org

๓๖ ^โฌนธรรมชาวพฺทc

- -■^ ร่ารลางจาน

จะ>3รรการล้างจานอย่างไร ?

0. เตริยมนํ้าใส่กะละมัง(อ่างล้าง) โดยเตริยมนํ้าดามสำดับดังนี้

กะละมังทึ๋ 0 นํ้าธรรมดา ที่ ๒ นํ้ายาล้างจาน ที่ ฅ นํ้าธรรมดา ที่ ๔ นํ้าธรรมดา
๒. เข็ดจาน(ภาชนะ)ด้วยกระดาบเพี่อขจัดเศษอาหารและคราบมัน และควรรวบรวม

จาน(ภาขนะ)ใฟ้มํจำนวนมากก่อนจึงนำไปล้างพร้อมากัน

โข้ทระดาษเช็ดจานก่อน

ei. แช่จาน(ภาขนะ)ทั้งหมดลงในอ่างนํ้าแรก(นี้าธรรมดา)พร้อม*! กัน เพี่อประหยัดป้า

และเวลาในการล้างควรออกแรงกดและถูด้วยฟองป้าให้ทั้ว

^างนาธรรมดา

๔. ล้างด้วยป้ายาล้างจานออกแรงกด (พอประมาณ) ถูด้วยฟองป้าจากข็างในออกข้าง

นอกให้ทั่ว

ล้างด้วยนํ้ายารางจาน

www.kalyanamitra.org

วัฒนธรรมซาวพุทธ ๓๗

«. ล้างบํ้าธรรมดาอีก ๒ ครั้งด้วยฟองนํ้า เช็ดด้วยผ้าสะอาดให้แท้งไม่มีคราบ แล้ว

นำไปตากหรีอเก็บให้เรียบร้อย

๖. ทำความสะอาดอ่างล้างภาชนะ

ล้างด้วยนํ้าธรรมดา

อานสงส์ของการล้างจาน

0, ลดทฎฐมานะในจดใจของตนเอง

๒. เรนคนทำงานไม่คั่งด้าง มีความรับฝ็ดขอบ

เท. เก็ดอุปนส์'ยรักความสะอาด ส่งผลให้รักการรักษากาย วาจา ใจให้ละอาดบรีสุทธด้วย

๔. จํตใจผ่องใส เข้ากึงธรรมได้ง่าย

0. การล้างภาชนะอีนๆ ทีใช้ใส่ทรีอประกอบอาทาร เซ่น ชาม ช้อน ล้อม หม้อ

แล้วนํ้า เป็นด้น มีรูปแบบวิรการล้างทีคล้ายคลึงล้น สามารถนำวิรการล้าง

จานไปประยุกต์ใช้ได้
๒,การล้างจาบเป็นการกให้เป็นคนไม่ผลัดรันประล้'นพรุ่ง โดยเมอใช้จาน ชาม

ช้อน ล้อม หรีอภาชนะอีนๆ ใส่อาหารหรีอประกอบอาหารแล้ว ควรล้างทันที

อย่าปล่อยทิ้งไรัให้คราบอาหารแห้งตดเกรอะกรัง ยากต่อการทำความสะอาด

หรีอไม่ควรแซ่นํ้าไว้จนบูดเน่า อาจเป็นทีเพาะพันธุ้ของเชื้อโรคได้

www.kalyanamitra.org

ท๔ -^ฒนอรรมฃาวพุทธ

[ๆ?ดูแลรักษาศาสนสมบตและสารารณสถาน

ศวสนสมบัด๊
0. ศาสนสถาน เซ่น โบสถ์ วพาร เจดึย์ เป็นด้น

๒. ศาสนวัดถุ เซ่น ได้ะหม่ โด้ะ เด้าอี้ เป็นด้น

F1. ศาสนธรรม เซ่น หนังสิอ พระไตรปิฎก หนังสิอธรรมะ
๔. ศาลนฟ้ฮี เซ่น พธ็เวยบเทียนมาขบูขา ฟ้ธีด้'กบาตร เป็นด้น
๔. ศาสนทายาท เซ่น พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา เป็นด้น

โบสถ์iดพระธรรนกาย นทาธรรมกายเจดํย์

พระไตรป็ฏก

พระ ธรูป พระภกษุ สามเณร

www.kalyanamitra.org

วัฒนธรรมซาวพุทธ ๓๙

สาธารณสถาน

คีอศทานที่ที่คนในส์งคมใฟ้ร่วมกัน ไม่ไฟ้เป็นกรรมสิทธี้ของคนใดคนหนี่งโดย

เฉพาะ เซ่น สวนสาธารณะโรงเรียน ทนน ฯลฯ คนในกังคมจึงควรซ่วยกันดูแลรักษาให้

สะอาดและทำนุบำรุงให้มีสภาพดีเสมอ อีกทั้งต้องซ่วยกันพัฒนาให้เจริญยึ๋งรุ ขึ้นไป

คาสนสมบ้ดีก็เซ่นกัน พุทธคาสนิกซนทุกคนทีอว่าเป็นเจ้าของร่วมกัน จึงต้องซ่วย

กันดูแลรักษาทำนุบำรุงให้คงอยู่ อีกทั้งยังต้องซ่วยกันพัฒนาให้เจริญยึ๋งาขึ้นไป แม้ไม่ใซ่

หน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบโดยตรงก็ตาม เมีอความเสิยหายจะเก็ดขึ้นต่อสาธารณสมบัติ
หรีอคาสนสมบัติ ก็ย่อมเป็นหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันป็องกันแก้ไข เพราะผลเสิยหายที่เกิด

ขึ้นย่อมส่งผลกระทบมาทีงทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ไต้ วิธีการและขั้นตอนการดูแลรักษา

ไต้ขยายความไว้แล้วในเรี่องที่ผ่านมา

หลักการดูแลรักษาสาธารณสมบัติ หรีอคาสนสมบัติที่ไต้ผลมากที่สุดคีอ หมั่น
ตรวจสอบหรีอตรวจตราดูบ่อยๆ จะทำให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น หาก

เปลี่ยนแปลงไปในทางเลี่อมจะไต้รีบแก้ไขไต้ทันท่วงห็ อีกทั้งยังเห็นถึงซ่องทางที่จะ

พัฒนาให้เจริญรุ่งเรีองยิ่งๆ ขึ้นไปอีกต้วย

เหดุนท่งความเสัอมศร้ทรา หรือการล้มละสายขององค์กร

หากบุคลากรในองค์กรใด ปล่อยปละละเลยวัสดุลี่งของที่เป็นขององค์กร ต่างคน
ต่าง'นงดูดาย เพราะเห็นว่าไม่ใช่หน้าที่ที่ตนรับผิดขอบแล้ว ความหายนะล้มละลายย่อม
มาเรอนองค์กรนั้นๆ แต่เหตุสำคัญที่จะทำให้องค์กรล้มละลาย พระบรมศาสดากัมมา-

กัมพุทธเจ้าไต้ตรัสไว้ใน กุลสูตร อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต สรุปความไต้ ดังนี้

0. ของหายแล้วไม่หา
๒. ของเลียแล้วไม่ซ่อม
ต. ใช้ของไม่รีจักประมาณ

๔. ตั้งคนพาลเป็นพัวหน้า

www.kalyanamitra.org

๔๐ วัฌนaรรมซาวพุทธ

www.kalyanamitra.org

วัฒนธรรมขาวพทธ ๔©

บทที่ cn

วัฒนธรรมการดแลรักษาสุขภาพ

รป้องกันดูแลตนเองเบื้องต้น

การทาใฟ้สรีระยนต์แข็งแรงถึอเป็นภารก็จอย่างพนงของลูกๆ ในองต์กร การ

ปล่อยปละละเลยถํอว่าไม่ดูแลลมบ้ติพระศาสนา และการละเว้นกิจสำคัญขององศ์กรถือ
เป็นการหลีกเลี่ยงภารกิจอันยิ่งใหญ่ เพราะร่างกายเป็นที่รองรับของทุกลี่งคือ มรรศ ผล

นิพพาน ถาร่างกายไฝแข็งแรง เห็นศูนย์กลางกายก็จะเข้าไปอ่อนๆ เหรอนสายธนูท

อ่อนจนรงไม่ไหว ถ้าร่างกายแข็งแรงจิตใจจะแข็งแกร่ง

ลรีระยนต์นี้เป็นสมบ้ตอันลํ้าค่าของพระศาลนา เราจะต้องดั้งใจรักษาสรีระยนต์

นี้ไห้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัย เพี่อศึกษาวํชซาธรรมกาย และเผยแผ่พระพุทธ-

ศาสนาว้ชซาธรรมกายไปทั่วโลก

โอวาทพระราชภาวนาว้สุทธิ้

เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย

www.kalyanamitra.org

๔๒ วัฒนธรรมซาวพุทธ

การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง

หลักการของหลวงพ่อ
เสันติด..

เกิดจากการอยู่ในอิริยาบถเดียวนาน ๆ เข่น พิมพ์ดีด(เฟ้นคอดีด)นั่งรทก็เฟ้นดีด,
นั่งภาวนา, นั่งเขียนนานๆ ก็เฟ้นดีด แกิไขโดยออกกำลังกายอย่างสมิาเสมอ ดี่มนํ้าให้

เพิยงพอต่อความต้องการของร่างกาย

ด็่มนํ้าน้อยเฟ้นจะเหี่ยวลีบ ท้าปล่อยไวัเฟ้นจะดีดเป็นแผงจนไขว้ แฟ้วแคลเขี่ยม

เกาะแกะไต้ยาก อาการเฟ้นดีดดูไต้จากการขับปัสสาวะจะขับไม่หมด ยังมีกระปริบกระ-

ปรอยแสดงว่าเฟ้นลีบแห้ง เฟ้นเริมไขว้ แคลเขี่ยมเริ่มพอก ให้รีบออกกำลังกายภายใน

o-to ลัปดาห์จะหาย ท้าทิ้งไว้นานจะรักษานาน(มาก)การนวดก็พอทำให้อาการทุเลาบ้าง

แต่ไม่หายเพราะเฟ้นดีดลีก

การออกกำลังกาย

มีทังฃ้อดีและขัอเลีย บางคนเล่นโยคะเล่นเฉพาะท่าหี่ขอบใจ จ็งเกิดการผิดพลาด

การเล่นฺโยคะและมวยจีนนั้นจะต้องไม่ทักโหม ควรเล่นท่าตามลำดับ การออกกำลังกาย

อย่างตำต้องออกครังละครึ๋งขี่'วโมง การแกว่งแขนจะไต้ผลต้องทำต่อเนี่องอย่ๆงน้ถย ๒0
นาที ควร-หงายมีอ รอบละ ๕ นาที รวม ๔ รอบเป็น ๒0 นาที จำ นวนครั้งในการแกว่ง
แขนประมาณ 0,๒00 ครั้ง จะให้ดีควรแกว่งแขนให้ไต้ถึง ๒.000 ครั้งต่อวัน

ท้าไม่ขอบแกว่งแขนให้กวาดสนามห{ฐา อย่างน้อยขี่'วโมงคริ่งเหมาะลำหรับ

ผู้นั่งภาวนาอย่างต่อเนั่องจีงจะเห็นผล
การดึ่มนํ้า

ดี่มนามากพอ การดี่มนํ้าต้องดี่มให้เป็นให้เพียงพอ โดยดูไต้จากตื่นนอนในตอน

เข้าปัสสาวะมีลีใส ท้ามีลีเหลีองเข้มหรีอลีขายังใข้ไม่ไต้ ตื่นมาดอ้นเข้ารีบตื่ม ๒-ฅ แท้ว

(ประมาณ 0 ลิตร) ก่อนออกเดินทาง 0 ชั่วโมงไม่ควรตื่มนั้า แต่เมี่อเดินทางใกล้จะถึงหี่
หมายจึงค่อยดื่ม หนี่งชั่วโมงก่อนนอนไม่ควรดื่มนั้า

ดมนำนอย โอกาสจะเกิดอาการข้อเห้าแพลงก็มีมากเพราะเฟ้นลีบ ทั้งยังทำให้

เกิดอาการมีนและปวดศรีษะไต้

.การร้บประพานอาหาร
กินข้าวเป็น

มื้อเข้า รับประทานแค่เพียงค่อนห้องก็พอ เพราะท้าอมมากเกินไปจะรับประทาน

www.kalyanamitra.org

วัฒนธรรมซาวพุทธ ๔ท

ตอนเพลไม่ไต้ แต้วจะทำให้หิวตอนบ่ายหรึอคา

เฟ้อช่วยในการย่อย

เหตุที่กระเพาะสำไลัIม่มินรง

เพราะดีมป้าน้อย กระเพาะจิงต้องใข้พลังงาบมากในการย่อย ดังนั่นหากมความ

กระเพาะอาหาร

กลั้นปัลสาวะนานๆ อันตราย!
ทำให้ตับรัอน ไตร้อน ทำลายสุขภาพของร่างกาย

กลั้นอุจจาระนานๆ อันตราย!

ทำให้ของเหลวในอุจจาระถูกดูดซึมกลับเข้าฝูลำไต้แต้วเข้าส่เลันเลีอด ทำให้เลอด

เสิย กลนตัวแรง เป็นโรคผวหนัง อุจจาระแข้ง เพราะป้าถูกดูดซมกลับเข้าส่เต้นเสิอด

ขับถ่ายลำบากอาจเป็นเหตุทำให้เป็นโรคริดสิดวงทวารไต้

การกนไม่เป็น ปัสสาวะไม่เป็น อุจจาระไม่เป็น ออกก่าลังกายไม่เป็น เป็นเหตุ
าทํให้ต้องไปพบแพทยบ่อยๆ สูญเสียความมั่นใจในสุขภาพชองตนเอง มั่นทอนจิตใจ
กลายเป็นคนวิตกกังวลไปในที่สุครักที่จะปฎ๊นัตธรรมโห้ดต้องรักชาสุขภาพให้เป็นให้ด็ต้วย

โอวาทพระภาวนาวิร้ยคุณ

รองเจ้าอาวาลวัดพระธรรมกาย

o. ควรเคื้ยวอาหารใฟ้ละเรยดก่อนกลนจะช่วยใฟ้กระเพาะย่อยอาทารไดัง่ายซน
to. หลังรับประทานอาหารไม่ควรนั่งหรํอนอนทันท ควรเดินไปมาลัก 00-0๕ นาที

เฟ้อให้อาหารย่อยเฝ็ยก่อน
cn. หลังรับประทานอาหารไม่ควรดึ่มนํ้ามาก จะทำให้ป้าย่อยเจึอจาง ควรด็่มเพยง

แห้วเดิยว จากนั่นอกประมาณ too-pio นาที จงค่อยดึ๋มให้เคมที่ตามต้องการ

๔. การดีมป้าอุ่นร่างกายจะไต้รับประโยชน์มากที่สุด เพราะป้ามอุณหภูมิใกต้เคียง

กับอุณหภูมั๋ซองร่างกายทำให้ร่างกายไม่ต้องปรบมากดูดซึมเข้าส่ร่ายกายไต้เลย

๕. ควรรับประทานอาหารให้ครบ ๕ หม่และเทียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย

www.kalyanamitra.org


Click to View FlipBook Version