The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครูศิริเพ็ญ-รร.บ้านบางเลน-Best Practice-MY BOX-กล่องคณิตคิดสนุก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pare-siripen, 2022-03-23 13:58:43

ครูศิริเพ็ญ-รร.บ้านบางเลน-Best Practice-MY BOX-กล่องคณิตคิดสนุก

ครูศิริเพ็ญ-รร.บ้านบางเลน-Best Practice-MY BOX-กล่องคณิตคิดสนุก

ใบสมัครนำสง่ ผลงานนวัตกรรม/การปฏิบตั ทิ ีด่ เี ลศิ (Best Practice)
ในการจดั การเรยี นการสอนของครู ระดบั ปฐมวัย

ระดับช้นั ที่ส่งผลงาน
 ปฐมวัย
 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2
 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5
 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6

ชื่อผลงาน “MY BOX กลอ่ งคณิต คิดสนุก”

ชอื่ เจา้ ของผสู้ ง่ ผลงาน นางสาวศิริเพ็ญ หวานวาจา

อเี มล์ [email protected] โทรศพั ท์ 081-2923032 .
ID Line .
ชอ่ื โรงเรียน pare_t เมสเซ็นเจอร์-เฟซบุ๊ค (ถา้ มี) - .

โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) อำเภอ บางเลน จังหวัด นครปฐม

ลงชอ่ื
(นางสาวศิริเพญ็ หวานวาจา)
ผสู้ มัคร/เจา้ ของผลงาน
10 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

หมายเหตุ
ข้าพเจา้ ผเู้ ปน็ เจา้ ของผลงาน ไดอ้ นญุ าตให้ผ้จู ัดกจิ กรรมการประกวด ดำเนนิ การเผยแพร่ผลงานเพอ่ื ประโยชน์
ทางการศึกษาได้

1

ผลงานนวตั กรรม/วิธกี ารปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
ระดบั ปฐมวยั

ช่อื ผลงาน “MY BOX กล่องคณติ คิดสนุก”
ระดับช้นั ปฐมวยั
ผู้พฒั นา นางสาวศริ ิเพญ็ หวานวาจา
การติดตอ่ 081-2923032 e-mail [email protected]
สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร)
สงั กัด สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

1. ความสำคัญของผลงานหรอื นวตั กรรมที่นำเสนอ
การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นับว่ามีบทบาทสำคัญอย่างมากใน

ชีวิตประจำวัน แต่การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยนั้น มีความ
แตกต่างจากการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับอื่น ๆ เพราะพัฒนาการของเด็กนั้นต่างจากวัยอื่น นอกจากจะใช้
สถานการณ์ในชีวิตประจำวันแล้ว ยังต้องอาศัยการเตรียมการและวางแผนอย่างดี เพื่อให้เด็กได้มี โอกาส
คน้ ควา้ แกป้ ัญหา เรียนรกู้ ารพฒั นาความคดิ รวบยอด เดก็ ปฐมวัยหากได้เรยี นรู้จากการปฏบิ ตั โิ ดยการใช้สื่อของ
จริงจะส่งผลให้มที ักษะการรับรู้เชิงจำนวน เนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมองของเด็กมีบริเวณที่เกี่ยวข้องกบั
การรับรู้เชิงจำนวน โดยมีส่วนของสมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เกี่ยวข้องกับทักษะการรับรู้เชิงจำนวน สองส่วน
แรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลขและบริเวณที่ทำหน้า ที่เกี่ยวข้องกับการ
เปรียบเทียบจำนวน ส่วนบริเวณสุดท้ายอยู่ที่สมองซีกซ้าย จะทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและ
ความจำเก่ียวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทง้ั 3 สว่ นจะทำงานรว่ มกนั พฒั นาการด้านการรบั รู้เชิงจำนวน
และคณติ ศาสตร์เรมิ่ ตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนาเร่อื ยไปจนถึงวยั ผู้ใหญ่

คณิตศาสตร์ไม่ใช่สิ่งท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะทางคำนวณแต่เพียงอย่างเดียว หรือไม่ได้มีความหมายเพียง
ตัวเลขสัญลักษณ์เท่านั้น แต่ยังช่วยส่งเสริมการสร้างให้เด็กการรู้จักการคาดคะเน ช่วยในการแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ ควรมีการส่งเสริมให้เด็กได้คิดอย่างอิสระบนความสมเหตุสมผล ไม่จำกัดว่าการคิดคำนวณต้อง
ออกมาเพียงคำตอบเดียวหรือมีวิธีการเดียว ซึ่งเด็กต้องเรียนรู้อย่างมีความสุขจากสื่อที่เป็นทั้งรูปธรรมและ
นามธรรม เพราะเด็กในวัยนี้จะเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสการรับรู้และการเคลื่อนไหวและเพื่อส่งเสริม
พัฒนาการทางสติปัญญาในการจัดการเรียนรู้ให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสให้มากที่สุด เพราะจะช่วยกระตุ้นให้
เด็กได้คิดและได้ลงมือปฏิบัติจริง คณิตศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ศาสตร์อื่น ๆ
การได้รับประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ ทำให้เด็กมีความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุมีผลและใช้ในการ
แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ได้อยา่ งดี ทกั ษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์จึงเปน็ สิ่งท่ีมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อเป็นพ้ืนฐานใน
การเรียนรขู้ องเด็กตอ่ ไป หากเดก็ ได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัตแิ ละเรียนรจู้ ากการใช้สอ่ื การสอนท่ีเป็นรูปธรรม
จะสง่ ผลให้มีทักษะกระบวนการทางความคิดและพัฒนาความสามารถด้านต่าง ๆ ตงั้ แตก่ ารรู้คา่ จำนวน การจัด

2

หมวดหมู่ การจำแนกเปรียบเทียบ การเรียงลำดับและการหาความสัมพันธ์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เด็กจะเรียนรู้ได้จาก
ประสบการณ์ตรง ที่เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัวในชีวิตประจำวัน หรือการจัดกิจกรรมของคุณครู
หรือผู้ปกครอง แต่ในการจัดกิจกรรมจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่เด็กจะได้
พฒั นาทักษะทางคณติ ศาสตรอ์ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

จากการศึกษาหลกั การและแนวคิดในการส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั จากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ ผจู้ ัดทำ
ได้ผลิตผลงาน/นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัย ในด้านทักษะการจำแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแบ่ง
ประเภทของสิ่งของ โดยหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการแบ่งขึ้น ส่วนใหญ่เด็กจะใช้เกณฑ์ในการจำแนกอยู่
3 อย่าง คือ ความเหมือน ความแตกต่างและความสัมพันธ์ร่วม ซึ่งในเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่จะเลือกใช้เกณฑ์
2 อย่าง คือ ความเหมือนและความตา่ งเมื่อเด็กสามารถสร้างความเขา้ ใจได้อย่างถ่องแท้เกี่ยวกับความสัมพันธ์
แล้วเด็กจึงจะจำแนกโดยใชค้ วามสัมพันธร์ ่วมได้ ด้านทักษะการเปรียบเทียบ (Comparing) เป็นการที่เดก็ ต้อง
อาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุ สิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไปบนพื้นฐานของคุณสมบัติที่มี
ลักษณะเฉพาะอย่างซ่ึงความสำคัญในการเปรียบเทียบ คือเด็กจะต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับลักษณะเฉพาะของ
ส่งิ นั้น ๆ และรูจ้ ักคำศัพท์คณิตศาสตร์ เชน่ เล็กกวา่ ใหญก่ ว่า ส้นั กว่า ยาวกวา่ หนักกว่า เบากว่า ฯลฯ โดยถ้า
สามารถบอกได้ว่าลูกบอลลูกหนึ่งมีขนาดเล็กกว่าอีกลูกหนึ่ง แสดงให้เห็นว่าเด็กเห็นความสัมพันธ์ของลูกบอล
คือ เล็ก- ใหญ่ การเปรียบเทียบนับว่าเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการเรียนในเรื่องการวัดการจัดลำดับและการ
ประมาณต่อไป ด้านทักษะในการรวมหมู่ (การเพิ่ม) เป็นการให้เด็กสังเกตวัตถุหรือสิ่งของ เพื่อให้เข้าใจถึง
จำนวนของวตั ถุหรือสิง่ ของแตล่ ะกอง เช่น ของกองหน่งึ มี 3 อัน อีกกองมี 2 อัน เมอื่ นำมารวมกันเป็นกองใหญ่
จะมี 5 อัน เป็นต้น ด้านการจัดหมวดหมู่ เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่าง ๆ และจับสิ่งที่เข้า
คู่กัน เหมือนกันหรืออยู่ประเภทเดียวกัน ด้านการรู้จักตัวเลขและทักษะการนับ (Counting) เป็นแนวคิด
เกี่ยวกับการนับจำนวน ได้แก่ การนับปากเปล่า บอกขนาดของกลุ่มที่มีขนาดเท่ากันโดยไม่ต้องนับ นับโดยใช้
ลำดับที่นับจำนวนเพิ่มขึ้น นับเพื่อรู้จำนวนที่มีอยู่การจดจำตัวเลข การนับและเข้าใจความหมายของจำนวน
การใช้สัญลักษณ์แทนจำนวน ในเด็กปฐมวัยชอบการนับแบบท่องจำ โดยไม่เข้าใจความหมาย การนับแบบ
ท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง เช่น การนับจำนวนเพื่อนในห้องเรียน
นบั ขนมทอี่ ยู่ในมือ แต่การนับของเด็กอาจสับสนได้หากมีการจดั เรยี งส่ิงของเสียใหม่ เมือ่ เด็กเข้าใจเรื่องจำนวน
แล้ว เด็กปฐมวัยจึงจะสามารถเข้าใจเรื่องการนับจำนวนอย่างมีความหมาย โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัยนั้น นพ.อีริค อาร์แคนเดล จิตแพทย์รางวัลโนเบลในปี 2553 กล่าวว่า “การเรียนรู้
ความรคู้ วามจำ ความคดิ อารมณ์สติปัญญาเกิดจากการทเ่ี ซลล์สมองแตกก่ิงมาเชื่อมต่อกันเป็นวงจรสมองส่วนท่ี
มีการจัดระเบียบใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมต่อใหม่ๆ เพิ่มขึ้นจำ นวนมากขณะที่ใยประสาทส่วนที่ไม่ได้ใช้จะ
หายไป ใยประสาทส่วนที่ใช้บ่อยจะหนาตัวขึ้น ทั้งนี้ทารกอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปีจะเป็นช่วงที่สมองมี
พัฒนาการมากที่สุด ดังนั้น การพัฒนาสมองให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายใยประสาทที่แข็งแรงจะทำ ให้เด็กมี
ระดับ IQ ที่เพิ่มขึ้นด้วย” ผู้จัดทำจึงได้ผลิตผลงาน/นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก”
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตร์ในเด็กปฐมวยั ข้ึน

3

2. จดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน
2.1 จุดประสงค์
1) เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย เรื่อง การจำแนก การจัดหมวดหมู่
การเปรยี บเทียบ การฝกึ ความถกู ต้องในการนับจำนวนและการฝกึ หดั บวกเลขอยา่ งงา่ ย
2) เพ่ือสร้างผลงาน/นวัตกรรม “MY BOX กลอ่ งคณิต คดิ สนุก” จำนวน 5 ชุด
2.2 เปา้ หมาย
1) นักเรียนชั้นอนุบาลปที ี่ 3/1 โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ปีการศึกษา 2564
จำนวน 23 คน

3. กระบวนการพฒั นาผลงาน/นวตั กรรมหรือขั้นตอนการดำเนนิ งาน
การผลิตผลงาน/นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” ใช้กระบวนการทำงานแบบ “วงจร

PDCA” ซึง่ ถกู คดิ ค้นโดย Dr. Edwards W. Deming โดยมีรายละเอยี ดการดำเนนิ งาน ดงั นี้

Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการ Do (ปฏบิ ัติตามแผน) หมายถงึ การดำเนินการ

ดำเนนิ งานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถงึ การ ตามแผน อาจประกอบด้วย การมโี ครงสร้าง
กำหนดหัวขอ้ ที่ต้องการปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลง รองรบั การดำเนนิ การและมผี ลของการ
ซงึ่ รวมถึงการพัฒนาส่ิงใหมๆ่ การแกป้ ญั หาที่ ดำเนนิ การ

เกิดข้ึนจากการปฏิบัตงิ าน

ท่ีมา : https://shorturl.asia/1SMGq

Act (ปรับปรุงแกไ้ ข) หมายถึง การนำผลการ Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน)

ประเมนิ มาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วย การนำ หมายถึง การประเมนิ แผน อาจประกอบดว้ ยการ
ผลการประเมนิ มาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้างหรือ ประเมินโครงสร้างทรี่ องรบั การดำเนนิ การ
ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานใดทีค่ วรปรับปรงุ หรอื การประเมนิ ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานและการ

พฒั นาสง่ิ ที่ดีอยู่แล้วให้ดยี ่งิ ขึน้ ไปอีก ประเมินผลของการดำเนนิ งานตามแผนท่ีได้ต้ังไว้

ขั้นตอนการดำเนนิ งานตามวงจร PDCA
1. P (Plan) มกี ารศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของผูเ้ รยี นว่าควรปรบั ปรุงหรือพัฒนาในด้าน

ใดบ้าง ผู้จัดทำได้ศึกษาแนวคิดจากสถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิตและแนวคิดในการพัฒนาเด็กปฐมวัยใน
ด้านต่าง ๆ พบว่าทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์จะช่วยส่งเสริมการสร้างให้เด็กรู้จักการคาดคะเน มีหลักการ
ชว่ ยในการแกป้ ัญหาและเป็นการส่งเสริมให้เด็กได้คดิ อย่างอิสระบนความสมเหตุสมผล โดยเด็กจะเรียนรู้อย่าง
มคี วามสขุ จากสื่อทีเ่ ป็นท้ังรูปธรรมและนามธรรม เพราะเด็กในวัยนี้จะเรียนรโู้ ดยใช้ประสาทสัมผัสการรับรู้และ
การเคลื่อนไหว และเพอ่ื สง่ เสริมพัฒนาการทางสติปญั ญาในการจดั การเรยี นรู้ให้เด็กไดใ้ ช้ประสาทสัมผัสให้มาก
ที่สุด เพราะจะช่วยกระตุ้นให้เด็กได้คิดและได้ลงมือปฏิบัติจริง นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต
คิดสนุก” จะช่วยสง่ เสริมพัฒนาการในเรื่องการจำแนกประเภท เป็นการฝกึ ฝนให้เด็กรู้จักสังเกตสิ่งต่าง ๆ ว่ามี

4

ความเหมอื นและต่างกันอย่างไร จึงสามารถจัดประเภทได้ เรื่องการจัดหมวดหมู่ เป็นการฝกึ ฝนให้เด็กรู้จักการ
สังเกตลักษณะต่าง ๆ และจับสิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรืออยู่ประเภทเดียวกัน เรื่องการเปรียบเทียบ คือเด็ก
จะตอ้ งมกี ารสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองส่ิงหรือมากกว่า รจู้ ักใช้ คำศัพท์ เช่น ยาวกว่า ส้ัน
กว่า เบากว่า สงู กวา่ เรือ่ งการรู้จกั ตัวเลข คือการใหเ้ ด็กรจู้ กั ตัวเลขที่เหน็ หรอื ใช้อยูใ่ นชีวิตประจำวนั ใหเ้ ดก็ เลน่
ของเล่นที่เกี่ยวกับตัวเลข ให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยอาจมีการเปรียบเทียบแทรกเข้าไปด้วย เช่น มากกว่า
น้อยกว่าเรือ่ งการเพิ่มและการลดจำนวน คือ การหาผลบวกและลบ ไม่เกิน 5 10 15 20 25 ฯลฯ เพิ่มจำนวน
ความยาก งา่ ย ตามความเหมาะสมกับความพรอ้ มของเด็ก

เมื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรียนแล้ว มีการศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศกั ราช 2560 และหลักสตู รสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั ของโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ที่ได้มี
การปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมกบั บริบทและสถานการณ์ โดยหลังจากศกึ ษาและวิเคราะห์หลักสตู รเรียบร้อยแล้ว ได้
จดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ในหน่วยการเรียนรู้เร่ือง คณติ ศาสตร์แสนสนุก สาระเร่ืองราวเกยี่ วกบั ส่ิงต่าง ๆ
รอบตัวเด็กขึ้น และนำผลงาน/นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” จำนวน 5 ชุด มาใช้กับ
นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/1 โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน
ซึ่งเป็นกล่มุ เป้าหมาย

2. D (Do) ดำเนินกิจกรรมตามตามที่ได้วางแผนไว้จากขั้นตอนแรก โดยใช้แผนการจัดประสบการณ์
ในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง คณิตศาสตร์แสนสนุก สาระเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก ซึ่งใช้ผลงาน/
นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” จำนวน 5 ชุด มาใช้กับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/1
โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งส้ิน
จำนวน 4 สปั ดาห์ สัปดาหล์ ะ 3 วนั ระหว่างวันที่ 4 – 28 มกราคม 2565

3. C (Check) มีการประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้และพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เด็ก
ปฐมวยั โดยใช้แบบสังเกตและแบบประเมนิ พฒั นาการ โดยไดร้ บั คำปรึกษาและตรวจสอบจากผู้เชีย่ วชาญและผู้
มีประสบการณ์ด้านการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยของโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) จำนวน
3 ท่าน ได้แก่ นางวิไลรัตน์ กุนศรี หัวหน้างานวิชาการระดับชั้นปฐมวัยและหัวหน้าระดับปฐมวัยโรงเรยี นบ้าน
บางเลน (บางเลนวิทยาคาร) นางวาสนา โกยะวงค์ และนางสาวจิตตานันท์ จำปาทอง ครูผู้สอนระดับ
ชน้ั ปฐมวัย โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร)

4. A (Act) กระบวนการปรับปรุงแก้ไขกอ่ นนำนวัตกรรมไปใช้ มีการนำคำปรึกษาและการตรวจสอบ
จากผู้เช่ียวชาญและผู้มปี ระสบการณ์ด้านการเรียนการสอนในระดับปฐมวยั ของโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลน
วิทยาคาร) จำนวน 3 ท่าน มาปรับปรุงและพัฒนา ผลงาน/นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต
คิดสนุก” ก่อนนำไปใช้จริงกับผู้เรียน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขบัตรจำนวนตัวเลขให้เหมาะสมกับวัยและ
พัฒนาการของเด็ก และ กระบวนการปรับปรุงแก้ไขหลังนำนวัตกรรมไปใช้ มีการตรวจสอบและนำผลจากการ
ประเมินพัฒนาการของเด็กจากการเรียนรู้ในทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มาปรับปรุงและต่อยอดเพื่อใช้ในปี
การศกึ ษาถัดไป

5

หลกั การสอนคณติ ศาสตร์สำหรับเดก็ ปฐมวยั
นติ ยา ประพฤติกิจ (2541 : 19 -24) ไดก้ลา่ วถงึ หลักการสอนคณติ ศาสตรไ์ วด้ ังน้ี
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวนั
การเรยี นรขู้ องเด็กจะเกิดขึ้นเมอื่ เด็กมองเหน็ ความจำเป็นและประโยชน์ของสง่ิ ท่ีครูกำลังสอน
ดังนั้น การสอนคณิตศาสตร์ให้กับเด็กจะต้องสอดคล้องกับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เด็ก
ตระหนักถึงเรื่องคณิตศาสตร์ทีละน้อยและช่วยให้เด็กเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในขั้นต่อไป แต่สิ่งท่ี
สำคญั ทีส่ ุดคอื การให้เด็กได้ปฏิสัมพนั ธ์กบั เพ่ือน กบั ครแู ละลงมอื ปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง
2. เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั ประสบการณท์ ีท่ ำให้ค้นพบคำตอบดว้ ยตนเอง
เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายและเป็นไปตามสภาพสิ่งแวดลอ้มที่
เหมาะสม มีโอกาสได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้เด็กได้คน้ พบคำตอบด้วยตนเอง พัฒนา
ความคดิ และความคิดรวบยอดได้เองในที่สุด
3. มีเป้าหมายและมีการวางแผนที่ดี
ครูจะต้องมีการเตรียมการเพื่อให้เด็กได้ค่อย ๆ พัฒนาการเรียนรู้ขึ้นเองและเป็นไปตาม
แนวทางที่ครูวางไว้
4. เอาใจใสเ่ รือ่ งการเรียนรู้และลำดับขนั้ การพฒั นาความคิดรวบยอดของเด็ก
ครูต้องมีการเอาใจใส่เรื่องการเรียนรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะลำดับข้ันการพัฒนา
ความคิดรวบยอด ทักษะทางคณติ ศาสตรโ์ ดยคำนงึ ถงึ หลักทฤษฎี
5. ใชว้ ธิ ีการจดบนั ทกึ พฤตกิ รรม เพอ่ื ใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
การจดบันทึกด้านทัศนคติ ทักษะและความรู้ความเข้าใจของเด็กในขณะทำกิจกรรมต่าง ๆ
เป็นวิธกี ารท่ีทำให้ครวู างแผนและจัดกิจกรรมไดเ้ หมาะสมกับเด็ก
6. ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์ของเด็ก เพ่ือสอนประสบการณ์ใหมใ่ นสถานการณใ์ หม่
ประสบการณ์ทางคณิตศาสตรข์ องเด็ก อาจเกิดจากกิจกรรมเดิมทีเ่ คยทำมาแล้วหรือเพิ่มเติม
ขน้ึ อกี ได้ แมว้ ่าจะเป็นเรื่องเดิมแตอ่ าจอยู่ในสถานการณ์ใหม่
7. รู้จักการใช้สถานการณข์ ณะน้ันให้เปน็ ประโยชน์
ครูสามารถใช้สถานการณ์ที่กำลังเป็นอยู่และเห็นได้ในขณะน้ันมาทำให้เกิดการเรียนรู้ด้าน
จำนวนได้
8. ใช้วธิ ีการสอดแทรกกับชีวิตจรงิ เพือ่ สอนความคิดรวบยอดที่ยาก
การสอนความคิดรวบยอดเรื่องปริมาณ ขนาดและรูปร่างต่าง ๆ ต้องสอนแบบค่อย ๆ
สอดแทรกไปตามธรรมชาติให้สถานการณ์ทมี่ ีความหมายต่อเด็กอย่างแท้จริงใหเ้ ด็กได้ทงั้ ดูและจับต้อง
ทดสอบความคดิ ของตนเองในบรรยากาศท่ีเปน็ กันเอง

6

9. ใช้วธิ ีให้เดก็ มสี ว่ นร่วมหรอื ปฏบิ ัตจิ ริงเกย่ี วกบั ตวั เลข
สถานการณ์และส่งิ แวดลอ้ มลว้ นมกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ครูสามารถนำมาใช้ในกจิ กรรม
เกี่ยวกับตัวเลขได้ เพราะตามธรรมชาติของเด็กนั้น ล้วนสนใจในเรื่องการวัดสิ่งต่าง ๆรอบตัวอยู่แล้ว
รวมทง้ั การจดั กจิ กรรมการเลน่ เกมทีเ่ ปดิ โอกาสให้เด็กได้เขา้ ใจในเร่ืองของตวั เลขแล้ว
10. วางแผนสง่ เสริมให้เด็กเรยี นรู้ทั้งทีโ่ รงเรียนและท่ีบาน้ อย่างตอ่ เนือ่ ง
การวางแผนการสอนน้ันครูควรวเิ คราะห์และจดบันทึกด้วยว่า กิจกรรมใดที่ควรสง่ เสริมให้มีที่
บ้านและที่โรงเรียน โดยยึดหลักความพร้อมของเดก็ เป็นรายบุคคลเป็นหลักและมกี ารวางแผนรว่ มกับ
ผู้ปกครอง
11. บันทึกปัญหาการเรยี นร้ขู องเด็กอย่างสม่ำเสมอเพ่ือแก้ไขและปรบั ปรุง
การจดบันทึกอย่างสม่ำเสมอช่วยให้ทราบว่า มีเด็กคนไหนยังไม่เข้าใจและต้องจัดกิจกรรม
เพม่ิ เตมิ อีก
12. ในแตล่ ะคร้ังควรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
ครคู วรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียวและใช้กรรมที่จดั ให้เด็กได้ลงมือปฏิบตั ิจริงจึงเกิดการ
เรียนรู้ได้
13. เน้นกระบวนการเลน่ จากงา่ ยไปหายากได้
การสร้างความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตัวเลขของเด็กจะต้องผ่านกระบวนการเล่นมีท้ังแบบจัด
ประเภท เปรียบเทียบและจัดลำดับ ซึ่งต้องอาศัยการนับ เศษส่วน รูปทรงและเน้ือที่การวัด การจัด
และการเสนอข้อมลู ซ่ึงเปน็ พน้ื ฐานไปสู่ความเข้าใจเรื่องคณิตศาสตร์ต่อไป จำเป็นต้องเรมิ่ ต้นต้ังแต่ข้ัน
ที่งา่ ยและคอ่ ยๆ ยากขึ้นตามลำดับ
14. ควรสอนสญั ลกั ษณต์ ัวเลขและเครือ่ งหมาย เม่ือเดก็ เข้าใจสง่ิ เหล่านี้แลว้
การใชส้ ัญลักษณ์ตวั เลขและเครอ่ื งหมายกับเดก็ น้ัน ทำได้เมอ่ื เด็กเขา้ ใจความหมายแลว้
15. ต้องมกี ารเตรยี มความพร้อมในการเรียนคณติ ศาสตร์
การเตรียมความพร้อมน้ันจะต้องเริ่มที่การฝึกสายตาเป็นอันดับแรก เพราะหากเด็กไม่
สามารถใชส้ ายตาในการจำแนกประเภทแลว้ เดก็ จะมปี ญั หาในการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
การวดั และการประเมินผลทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรข์ องเดก็ ปฐมวยั
การวดั ทกั ษะพ้ืนฐานคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหรือการประเมินพัฒนาการเปน็ การวดั ความสามารถ
ในการเรียนรู้และประสบความสำเรจ็ ทางด้านคณิตศาสตร์ของเด็ก ซึ่งสามารถวัดได้หลายทาง ดังที่มีผกู้ล่าวไว้
ดง้ น้ี
อรุณี เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์ (2546) ได้กล่าวถึงวิธีการประเมินพัฒนาการด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัย ไวด้ ังนี้
วธิ ีการและเครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ พฒั นาการด้านคณิตศาสตรส์ ำหรับเด็กปฐมวัย มีดงั นี้
1. การสังเกต (Observation) เป็นวิธีการรวบรวมขอ้มูลอย่างง่าย ๆ โดยสังเกตและบันทึก
พฤติกรรมของเด็กในขณะทำกจิ กรรม ผู้บันทกึ ต้องมจี ุดมงุ่ หมายว่าจะสังเกตเด็กในเร่ืองใด การสังเกต

7

ต้องกระทำโดยไม่ให้เด็กรู้ตัวว่ากำลังถูกสังเกตอยู่ เพื่อให้เด็กแสดงพฤติกรรมตามความเป็นจริงเป็น
ธรรมชาติของเด็กออกมา ครูควรสังเกตเด็กอย่างต่อเนื่องและจดบันทึกไว้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง
เช่อื ถือได้ การสังเกตและการบันทกึ พัฒนาการเด็กสามารถบันทึกได้ 2 ลกั ษณะ คือ

1.1 แบบบันทึกพฤติกรรม ใช้บันทึกพฤติกรรมของเด็กตามจุดมุ่งหมายของครูระบุ
วัน เวลา ให้ชัดเจน บันทกึ ในรปู แบบของการบรรยายท่ีกระทดั รัด

1.2 แบบสำรวจรายการ ใช้บันทึกพฤติกรรมของเด็กตามรายการที่กำหนดไว้บันทึก
ไดร้ วดเรว็ ง่าย ด้วยการทำเคร่ืองหมายในช่องพฤตกิ รรมทแี่ สดงออกมา
2. แบบประเมินคา่ (Rating Scale) ใช้ในการประเมนิ พฤติกรรมท่ีเด็กแสดงออกจะมสี ่วนของ
มาตราแสดงความมาก น้อยของพฤติกรรม ผู้ใช้แบบประเมินค่าจะต้องพิจารณาเลือกให้น้ำหนัก
เปรียบเทยี บให้ดกี ่อนจะเลือกทำเคร่ืองหมายในช่องใด จะเห็นได้วา่ แบบประเมนิ คา่ จะมลี ักษณะคล้าย
แบบตรวจสอบรายการแต่จะบอกคุณภาพระดับพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกและระดับนั้นจะมี
ความสัมพนั ธต์ ่อเน่อื งกัน อาจใช้คำว่า ดมี าก ดี ปานกลาง ต้องปรับปรงุ ก็ได้
3. แบบทดสอบ (Test) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับปฐมวัย มุ่งเน้นให้เด็กได้
ลงมอื ปฏิบัตดิ ้วยตนเองในการสำรวจคน้ คว้าหาคำตอบ ใช้ประสาทสมั ผัสท้ัง 5 กบั สือ่ ทีเ่ ป็นของจริงให้
มากที่สุด การวัดและการประเมินการเรียนที่ใช้ นอกเหนือจากการสังเกต คือ การใช้คำถามกับเด็ก
หรอื อาจใช้แบบทดสอบปากเปล่าเพราะเด็กปฐมวัยยังอ่านหนังสือไม่ได้โดยครคู วรปฏบิ ัติ ดังน้ี

3.1 สร้างบรรยากาศให้สนุกสนาน น่าสนใจและเป็นกันเอง
3.2 เตรียมแบบทดสอบไว้ล่วงหน้าว่าจะถามอะไรและถามอย่างไร แบบทดสอบ
อาจจะเป็นรูปภาพหรือของจรงิ
3.3 ควรใช้วิธีนี้อย่างน้อยภาคเรียนละครั้ง เพื่อทราบผลการพัฒนาการด้าน
สติปญั ญาของเดก็
3.4 การบนั ทึกการวัดผลใชแ้ บบการจดั อันดบั คณุ ภาพ
4. แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) การประเมินด้วยการใช้แฟ้มสะสมผลงานหรือเรียกว่า
พอร์ตโฟลิโอ (Portfolio) เป็นรูปแบบการประเมินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน เป็นการรวบรวม
ข้อมูลและผลงานของเด็ก โดยเด็กเป็นผู้คัดเลอื กผลงานเองหรือครูเป็นผู้ใหค้ ำแนะนำอย่างเป็นระบบ
และมีจุดมุ่งหมาย สามารถสะท้อนการเรียนรู้ของเด็กได้ดีในแต่ละช่วงเวลาในการประเมินผลการ
เรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้แฟม้ ผลงานสามารถทำได้ โดยครวู างแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนและให้เด็กร่วมคิดพิจารณาเลือกชิ้นงานที่เกี่ยวข้ องกับทักษะด้านคณิตศาสตร์เพ่ือ
รวบรวมจัดเก็บไว้นอกเหนือจากชิ้นงานต่าง ๆ ที่จัดเก็บไว้แล้ว ควรจะต้องมีแบบบันทึกแบบสำรวจ
รายการ หรือแบบประเมินคา่ เพอ่ื ใช้รว่ มในการประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องเด็ก ครูสามารถออกแบบการ
ประเมนิ ในลักษณะตา่ ง ๆ ไดโ้ ดยดูจากจดุ ประสงคแ์ ละพัฒนาการของเดก็ เปน็ พื้นฐาน
5. การประเมินสภาพจริง (Authentic Assessment) เด็กปฐมวัยสามารถเกิดการเรียนรู้ได้
ตลอดเวลา ไม่จำกัดเฉพาะเวลาที่อยู่ในห้องเรียนเท่าน้ัน ครูต้องเป็นผู้จัดการและเปิดโอกาสให้เด็กได้

8

พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เมื่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนไป การประเมินผลการเรียนรู้
ต้องเปลี่ยนไปด้วย จะประเมินจากการสอนอย่างเดียวคงจะไม่เหมาะสม หากต้องหันมาสนใจกับ
คุณภาพของงานหรือกจิ กรรมทเ่ี ด็กได้ลงมือปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองให้มากขนึ้ หากครูเปลยี่ นบทบาทมาเป็น
ผู้อำนวยความสะดวกมากกว่าการเป็นผู้บอกความรู้แล้ว เด็กจะมีโอกาสสร้างความรู้ด้วยตนเองจะ
ทำใหก้ ารประเมินตามสภาพจรงิ ได้ผลท่ีชัดเจนแนน่ อนและเกิดประโยชนส์ ูงสุดกับตัวเดก็

วิธกี ารที่ใช้ในการประเมินตามสภาพจริง ได้แก่ การสงั เกต การบนั ทกึ พฤติกรรม การทดสอบ
การสัมภาษณ์ การพูดคุย แฟ้มสะสมผลงาน ซึ่งเป็นการประเมินในด้านความรู้ ความคิด พฤติกรรม
วธิ ีการปฏบิ ตั ิรวมไปจนถึงผลของการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ของเดก็

จากที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่าการวัดและการประเมินทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัยสามารถทำได้หลายวิธี คือการสังเกต การประเมินค่าแบบทดสอบ แฟ้มผลงานและการ
ประเมินสภาพจริง เพื่อดูความสามารถและพัฒนาการด้านคณิตศาสตร์ของเด็ก รวมทั้งเป็นข้อมูลใน
การส่งเสริมเด็กให้มพี ัฒนาการเหมาะสมย่ิงขนึ้
กระบวนการขั้นตอนการผลิต
1. ข้นั การออกแบบ

1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 คัดเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมและ
สอดคล้องกับความต้องการของผ้เู รยี น

2) รา่ งแบบสื่อ/นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” เพือ่ เปน็ เคา้ โครงในการผลติ ส่ือ
3) ขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญและผู้มีประสบการณ์ด้านการสอนในระดับปฐมวัย เพื่อดู
จุดบกพร่องและจุดที่ควรพัฒนา ทั้งในด้านเนื้อหา รูปแบบ สีสันและความน่าสนใจ ก่อนผลิตสื่อ
ของจริง
4) กำหนดประเภทบัตรคำสั่งที่ใช้โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่เรื่อง การจำแนก การจัดหมวดหมู่
การเปรียบเทียบ การฝกึ ความถูกตอ้ งในการนับจำนวนและการฝึกหัดบวกเลขอย่างง่าย
2. ขัน้ การปฏิบัติ
1) เลอื กใชว้ ัสดุเหลือใช้ท่มี ใี นหอ้ งเรยี น คือ กลอ่ งนม เป็นวัสดหุ ลักในการผลิตสอ่ื
2) ผลติ สอื่ ตามแบบทร่ี า่ งไว้ โดยคำนึงถึงประโยชนท์ ีเ่ ดก็ จะได้รบั ตอบสนองการเรียนรแู้ ละมี
รปู แบบ สสี ันท่นี ่าสนใจ
3. ขน้ั ประเมนิ ผล
1) มกี ารประเมินผลการผลิตส่ือโดยผูเ้ ชย่ี วชาญด้านการจดั การเรียนการสอนในระดับปฐมวัย
ของโรงเรยี นบ้านบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร) ทง้ั 3 ทา่ น
2) มีการประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อ/นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต
คิดสนุก” ด้วยแบบสอบถาม โดยครูถามแบบปากเปล่า เนื่องจากนักเรียนในระดับปฐมวัยยังไม่
สามารถอ่านหนังสอื ได้

9

3) มีการประเมินผลพัฒนาการในหน่วยการเรียนรู้เร่ือง คณิตศาสตร์ แสนสนุก ของนักเรียน
ชั้นอนุบาลปีที่ 3/1 โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน
ซงึ่ เป็นกลุ่มเปา้ หมาย
4. ข้ันการเผยแพร่

1) เผยแพร่ผลงานให้แก่คณะครูในโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ผ่านทางกลุ่ม
ไลนข์ องโรงเรียนและเผยแพร่ในหอ้ งเรียนชน้ั ปฐมวยั ของโรงเรยี น

2) เผยแพร่ผลงานผ่านเพจ “เข็นครูขน้ึ ภเู ขา” ยอดผูต้ ดิ ตามประมาณ 3,200 คน
3) เผยแพรผ่ ลงานผ่านกลุ่มทางการศึกษาต่าง ๆ ใน Facebook

4. ผลการดำเนินการ/ผลสมั ฤทธิ์
4.1 ผลสำเร็จ
1) ผลสำเรจ็ เชิงปรมิ าณ
- ครูได้สรา้ งส่ือ/นวตั กรรม “MY BOX กล่องคณติ คดิ สนุก” จำนวน 5 ชดุ
- ผลการประเมินจากแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ (Best Practice) สำหรบั
ผ้เู ชยี่ วชาญ อย่ใู นระดับ “ดีมาก”
- นกั เรยี นช้นั อนบุ าลปีที่ 3/1 โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ปีการศึกษา
2564 จำนวน 23 คน ได้รับการพัฒนาทกั ษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้วยผลงาน “MY BOX
กลอ่ งคณิต คดิ สนุก” มผี ลการประเมนิ พฒั นาการจากหนว่ ยการเรียนรู้ คณิตศาสตร์แสนสนุก
ผา่ นเกณฑจ์ ุดประสงคก์ ารเรยี นรคู้ รบทุกข้อ คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.30
2) ผลสำเรจ็ เชงิ คณุ ภาพ
- สื่อ/นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
การจำแนกการจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบ การฝึกความถูกต้องในการนับจำนวนและการ
ฝกึ หดั บวกเลขอย่างง่าย
- นักเรียนชั้นอนบุ าลปีท่ี 3/1 โรงเรียนบา้ นบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร) ปีการศึกษา
2564 ไดร้ บั การพัฒนาทกั ษะพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเดก็ ปฐมวยั

5. ปัจจัยความสำเร็จ
1) คณะผู้บริหารและครูโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) มีส่วนร่วมในการแนะนำและให้

คำปรกึ ษา ตลอดระยะเวลาในการดำเนินการสร้างผลงาน/นวตั กรรม “MY BOX กลอ่ งคณติ คดิ สนุก”
2) ผู้ปกครองท่มี สี ่วนช่วยในการสอนนกั เรียนระดับชั้นอนบุ าลปที ่ี 3/1 เรือ่ ง จำนวนและตวั เลข ในชว่ ง

ที่โรงเรียนยังไม่สามารถเปิดได้ตามปกติ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไ วรัสโคโรน่า
2019 (COVID-19)

3) นักเรียนชั้นอนบุ าลปที ี่ 3/1 ท่ใี หค้ วามร่วมมือในกิจกรรมการเรียนการสอนและให้ความสนใจกับส่ือ
การสอน “MY BOX กลอ่ งคณติ คดิ สนกุ ” ทำใหก้ ารเรียน/การจดั ประสบการณ์ผ่านไดไ้ ดด้ ว้ ยดี

10

6. บทเรยี นท่ไี ด้รับ
ผลงาน/นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” มีสีสันสดใสและลักษณะแปลกใหม่ ผู้เรียนยังไม่

เคยเห็นหรือใช้มาก่อน ส่งผลให้ในเบื้องต้นสามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ซึ่งนอกจาก
รูปลักษณ์แล้ว การที่ผู้เรียนไดฝ้ ึกทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ผ่านนวัตกรรมชิ้นนีย้ งั ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความ
สนกุ สนานและเรยี นร้ไู ด้รวดเรว็ เพราะนกั เรียนได้สมั ผสั ไดล้ งมอื ทำ

การที่จะใช้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” ได้นั้น ผู้เรียนต้องมีพื้นฐานหรือได้เรียนรู้เรื่องจำนวน
ตัวเลขมาก่อน เพราะผลงานชิ้นนี้ จะเน้นการฝึกและพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในเรื่องการจำแนก
การจดั หมวดหมู่ การเปรยี บเทยี บ การฝกึ ความถูกตอ้ งในการนับจำนวนและการฝึกหดั บวกเลขอย่างงา่ ย ซึ่งจะ
ฝึกหัดเรื่องใดนั้น ขึ้นอยู่กับครูผู้สอนที่จะปรับเปลี่ยน ประยุกต์ หรือพัฒนาป้ายคำสั่งเป็นแบบใด ซึ่งสามารถ
นำไปต่อยอดและพฒั นาได้ตามบรบิ ทและโอกาสทเ่ี หมาะสม

7. การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรับ
1) เผยแพรผ่ ลงานให้แก่คณะครูในโรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)
2) เผยแพร่ผลงานผา่ นเพจ “เขน็ ครขู ึ้นภูเขา” ยอดผ้ตู ดิ ตามประมาณ 3,200 คน
3) เผยแพรผ่ ลงานผา่ นกลุ่มทางการศึกษาต่าง ๆ ใน Facebook

ลงชอื่ ผู้รายงาน
(นางสาวศิรเิ พ็ญ หวานวาจา)

ครู โรงเรียนบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)



MY BOX

กล่องคณติ คดิ สนกุ

การเผยแพร่ส่อื /นวัตกรรมการเรียนรู้
“MY BOX กล่องคณติ คิดสนกุ ” ให้คุณครภู ายในโรงเรยี น

กจิ กรรมการจดั ประสบการณ์ด้วย
MY BOX กลอ่ งคณติ คิดสนุก

การเผยแพร่สอื่ /นวัตกรรมการเรียนรู้
“MY BOX กล่องคณิต คดิ สนกุ ” ใหค้ ณุ ครูภายในโรงเรียนและการใช้สื่อของนกั เรยี น

ในหน่วยการเรียนรู้ คณิตศาสตรแ์ สนสนุก

กจิ กรรมการจัดประสบการณด์ ้วย
MY BOX กล่องคณติ คดิ สนุก

ตัวอย่างส่อื /นวัตกรรมการเรยี นรู้
“MY BOX กล่องคณติ คดิ สนกุ ”

ตวั อย่างแผนการจดั ประสบการณ์





























แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice)
สำหรับผู้เชย่ี วชาญ

โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)

ชื่อผลงาน/นวตั กรรม MY BOX กล่องคณติ คิดสนกุ

ช่อื ผู้พัฒนา นางสาวศริ เิ พญ็ หวานวาจา

คำชีแ้ จง ให้ผูป้ ระเมินใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่องผลการประเมินที่ตรงตามความเปน็ จรงิ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้
ดีมาก หมายถึง ทำไดค้ รบตามรายการประเมนิ 3 รายการ
ดี หมายถงึ ทำไดค้ รบตามรายการประเมิน 2 รายการ
พอใช้ หมายถงึ ทำไดค้ รบตามรายการประเมนิ 1 รายการ

ดา้ นท่ี 1 องคป์ ระกอบดา้ นคณุ ภาพ รายการประเมิน ผลการประเมิน
ที่ ตัวชวี้ ัด ดมี าก ดี พอใช้
1 คณุ ลักษณะของนวัตกรรม 1. มีรูปแบบนวัตกรรมถูกต้อง 
2. นวัตกรรมมีความสอดคล้องกับบริบทและ
2 คุณภาพขององค์ประกอบใน จุดประสงค์ของการประเมนิ คดั เลอื ก 
นวตั กรรม 3. รูปแบบการจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มนวัตกรรม
การนำเสนอน่าสนใจ จัดเรียงลำดับเป็น 
3 การออกแบบนวัตกรรม ขน้ั ตอน
1. วัตถุประสงค์ เป้าหมายของนวัตกรรม
สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ
พัฒนา
2. ความสมบรู ณใ์ นเน้อื หาสาระของนวัตกรรม
3. ความถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ
1. มีแนวคิด ทฤษฎีรองรับอย่างสมเหตุสมผล
2. แนวคิด ทฤษฎีที่ระบุมีความเป็นไปได้ใน
การพฒั นานวัตกรรมให้สัมฤทธิ์ผล
3. นวัตกรรมมีความสอดคล้องตามแนวคิด
ทฤษฎที ่ีระบุ

ท่ี ตัวชวี้ ดั รายการประเมนิ ผลการประเมิน
4 ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม ดมี าก ดี พอใช้
1. กระบวนการหาประสิทธภิ าพของ
นวตั กรรมถูกต้องตามหลักวชิ า 
2. นวตั กรรมมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑท์ ี่
กำหนด
3. วิธีการหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม
ครอบคลุมในด้านเนื้อหา (Content validity)
และโครงสร้าง (Construct validity)

ด้านที่ 2 คณุ ประโยชน์ รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ท่ี ตัวช้ีวดั ดีมาก ดี พอใช้
1 ความสามารถในการ 1. สอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 
ทรี่ ะบไุ ด้ครบถว้ น
แก้ปญั หาหรือพัฒนา 2. แก้ปัญหาหรือพัฒนาได้ตรงตามตาม 
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 กลมุ่ เปา้ หมาย
3. นำไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบทที่มี 
2 ประโยชน์ตอ่ บคุ คล ลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั
1. ผลงานสง่ ผลให้เกิดประโยชนต์ ่อผูเ้ รยี น
3 ประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงาน 2. ผลงานสง่ ผลใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ครู
3. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริหาร
สถานศกึ ษา
1. ผลงานส่งผลใ ห้เกิดประโ ยช น์ต่อ
สถานศึกษา
2. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อวงการ
วชิ าชีพ
3. ผลงานสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อชมุ ชน

ดา้ นท่ี 3 ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ รายการประเมิน ผลการประเมนิ
ที่ ตัวชว้ี ัด ดีมาก ดี พอใช้
1 ความแปลกใหม่ของ 1. เกิดแนวคิดแปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏ 
มากอ่ น
นวัตกรรม 2. เปน็ การพัฒนาตอ่ ยอดจากแนวคดิ เดิม 
3. มีการปรับปรุงจากแนวคิดเดิมและนำมา
2 จดุ เด่นของนวัตกรรม พฒั นาใหม่
1. ผลงานมีจุดเด่น น่าสนใจ สะท้อนถึงการมี
แนวคิดใหม่
2. ใช้ง่าย สะดวก เกิดการพัฒนาทักษะใน
ศตวรรษที่ 21
3. ลงทุนน้อย เกดิ ประโยชน์สูง

ดา้ นท่ี 4 ผลทเี่ กดิ ข้ึนกับผู้เรียน รายการประเมิน ผลการประเมนิ
ที่ ตวั ช้วี ดั ดมี าก ดี พอใช้
1 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/ 1. นักเรยี นมีทักษะในศตวรรษท่ี 21
2. นักเรียนผ่านการประเมนิ คุณลักษณะอันพึง 
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ประสงคค์ รบทั้ง 8 ขอ้
3. นักเรียนได้รับรางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ 
2 ผลงาน/ช้นิ งาน/ภาระงาน ผล 1. นักเรียนทุกคนมีผลงาน/ชิน้ งาน/ภาระงาน
การปฏบิ ัตงิ าน ผลการปฏิบตั ิงาน 
2. ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน ผลการ
3 การเผยแพร่ผลงานของ ปฏิบัติงานของนกั เรียนมคี ุณภาพตามเกณฑ์ท่ี
นักเรียน กำหนดในระดบั ดีขน้ึ ไปคิดเป็นร้อยละ 80
3. ผลงาน/ช้ิ นงาน/ภ าระงาน ผ ล ก า ร
ปฏิบัติงานเกดิ จากการปฏบิ ัติงานของนักเรียน
ตามหลกั สูตรอยา่ งแทจ้ รงิ
1. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน
เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ
ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม
วาระ

ท่ี ตวั ชว้ี ัด รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ดมี าก ดี พอใช้

และโอกาสในสถานศกึ ษาไม่จำกัดจำนวนคร้งั

2. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน

เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ

ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม

วาระและโอกาสต่อสารธารณะในระดับเขต/

จงั หวดั อย่างน้อย 2 ครัง้ /ปี

3. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน

เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ

ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม

วาระและโอกาสต่อสารธารณะในระดบั ภาค

ดา้ นที่ 5 ผลการดำเนนิ งาน / ผลงานท่เี ปน็ เลศิ

ท่ี ตวั ชีว้ ัด รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ดมี าก ดี พอใช้
1 การนำองค์ความรูจ้ ากการ 1. นำไปพัฒนานักเรียนแบบองค์รวมได้ 
ไดร้ บั การพฒั นาหรือพฒั นา ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการและเจตคติ
ตนเองไปใชป้ ระโยชน 2. นำไปบรู ณาการกับวิชาอ่ืน ๆ ได้ 
3. นำไปเป็นต้นแบบเผยแพร่ขยายผลได้
2 การแก้ปัญหา/การพัฒนา 1. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้
ผเู้ รยี น กระบวนการวิจยั ในช้นั เรียน
2. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้
นวัตกรรมทางการเรยี นการสอน
3. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้ระบบ
ดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

ลงช่อื ผู้เช่ยี วชาญ
(นางวิไลรัตน์ กนุ ศร)ี

หัวหนา้ งานวชิ าการระดบั ปฐมวัย
โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
สำหรบั ผู้เช่ียวชาญ

โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)

ชื่อผลงาน/นวตั กรรม MY BOX กล่องคณิต คดิ สนุก

ช่อื ผู้พัฒนา นางสาวศริ เิ พญ็ หวานวาจา

คำชีแ้ จง ให้ผูป้ ระเมินใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่องผลการประเมินที่ตรงตามความเปน็ จรงิ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้
ดีมาก หมายถึง ทำได้ครบตามรายการประเมิน 3 รายการ
ดี หมายถงึ ทำไดค้ รบตามรายการประเมิน 2 รายการ
พอใช้ หมายถงึ ทำได้ครบตามรายการประเมิน 1 รายการ

ดา้ นท่ี 1 องคป์ ระกอบดา้ นคณุ ภาพ รายการประเมิน ผลการประเมิน
ที่ ตัวชวี้ ัด ดมี าก ดี พอใช้
1 คณุ ลักษณะของนวัตกรรม 1. มีรปู แบบนวตั กรรมถูกต้อง 
2. นวัตกรรมมีความสอดคล้องกับบริบทและ
2 คุณภาพขององค์ประกอบใน จุดประสงค์ของการประเมินคัดเลอื ก 
นวตั กรรม 3. รูปแบบการจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มนวัตกรรม
การนำเสนอน่าสนใจ จัดเรียงลำดับเป็น 
3 การออกแบบนวัตกรรม ขน้ั ตอน
1. วัตถุประสงค์ เป้าหมายของนวัตกรรม
สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ
พัฒนา
2. ความสมบูรณ์ในเน้ือหาสาระของนวัตกรรม
3. ความถกู ต้องตามหลักวชิ าการ
1. มีแนวคิด ทฤษฎีรองรับอย่างสมเหตุสมผล
2. แนวคิด ทฤษฎีที่ระบุมีความเป็นไปได้ใน
การพัฒนานวตั กรรมใหส้ ัมฤทธผ์ิ ล
3. นวัตกรรมมีความสอดคล้องตามแนวคิด
ทฤษฎที ่รี ะบุ

ท่ี ตัวชวี้ ดั รายการประเมิน ผลการประเมิน
4 ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม ดมี าก ดี พอใช้
1. กระบวนการหาประสิทธภิ าพของ
นวตั กรรมถูกต้องตามหลกั วชิ า 
2. นวตั กรรมมีประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ี่
กำหนด
3. วิธกี ารหาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม
ครอบคลุมในดา้ นเนื้อหา (Content validity)
และโครงสร้าง (Construct validity)

ด้านที่ 2 คณุ ประโยชน์ รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ท่ี ตัวช้ีวดั ดีมาก ดี พอใช้
1 ความสามารถในการ 1. สอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 
ทรี่ ะบไุ ดค้ รบถ้วน
แก้ปญั หาหรือพัฒนา 2. แก้ปัญหาหรือพัฒนาได้ตรงตามตาม 
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 กลมุ่ เปา้ หมาย
3. นำไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบทที่มี 
2 ประโยชน์ตอ่ บคุ คล ลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั
1. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รียน
3 ประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงาน 2. ผลงานสง่ ผลให้เกดิ ประโยชน์ต่อครู
3. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริหาร
สถานศกึ ษา
1. ผลงานส่งผลให้เกิดประโ ยช น์ต่อ
สถานศึกษา
2. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อวงการ
วชิ าชพี
3. ผลงานส่งผลใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน

ดา้ นท่ี 3 ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ที่ ตัวชว้ี ัด ดมี าก ดี พอใช้
1 ความแปลกใหม่ของ 1. เกิดแนวคิดแปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏ 
มากอ่ น
นวัตกรรม 2. เปน็ การพัฒนาตอ่ ยอดจากแนวคดิ เดิม 
3. มีการปรับปรุงจากแนวคิดเดิมและนำมา
2 จดุ เด่นของนวัตกรรม พฒั นาใหม่
1. ผลงานมีจุดเด่น น่าสนใจ สะท้อนถึงการมี
แนวคิดใหม่
2. ใช้ง่าย สะดวก เกิดการพัฒนาทักษะใน
ศตวรรษที่ 21
3. ลงทุนนอ้ ย เกดิ ประโยชน์สงู

ดา้ นท่ี 4 ผลทเี่ กดิ ข้ึนกับผู้เรียน รายการประเมิน ผลการประเมิน
ที่ ตวั ช้วี ดั ดมี าก ดี พอใช้
1 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/ 1. นักเรียนมที กั ษะในศตวรรษที่ 21 
2. นักเรียนผ่านการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึง
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ประสงค์ครบท้งั 8 ข้อ 
3. นักเรยี นไดร้ ับรางวลั ยกย่องเชิดชเู กยี รติ
2 ผลงาน/ช้นิ งาน/ภาระงาน ผล 1. นักเรียนทุกคนมีผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน 
การปฏบิ ัตงิ าน ผลการปฏิบัตงิ าน
2. ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน ผลการ
3 การเผยแพร่ผลงานของ ปฏิบัติงานของนักเรียนมคี ุณภาพตามเกณฑ์ที่
นักเรียน กำหนดในระดบั ดขี น้ึ ไปคดิ เปน็ ร้อยละ 80
3. ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงานผลการ
ปฏิบัตงิ านเกดิ จากการปฏบิ ตั ิงานของนักเรียน
ตามหลกั สตู รอย่างแท้จริง
1. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน
เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ
ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม
วาระ

ท่ี ตวั ช้ีวดั รายการประเมิน ผลการประเมนิ
ดีมาก ดี พอใช้

และโอกาสในสถานศึกษาไมจ่ ำกัดจำนวนครงั้

2. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน

เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ

ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม

วาระและโอกาสต่อสารธารณะในระดับเขต/

จงั หวัด อยา่ งนอ้ ย 2 คร้งั /ปี

3. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน

เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ

ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม

วาระและโอกาสต่อสารธารณะในระดบั ภาค

ดา้ นที่ 5 ผลการดำเนนิ งาน / ผลงานที่เปน็ เลศิ

ท่ี ตัวชี้วดั รายการประเมิน ผลการประเมิน
ดีมาก ดี พอใช้
1 การนำองคค์ วามรู้จากการ 1. นำไปพัฒนานักเรียนแบบองค์รวมได้ 
ไดร้ บั การพัฒนาหรือพัฒนา ความรู้ ทักษะ กระบวนการและเจตคติ
ตนเองไปใช้ประโยชน 2. นำไปบรู ณาการกับวิชาอน่ื ๆ ได้ 
3. นำไปเป็นตน้ แบบเผยแพร่ขยายผลได้
2 การแกป้ ัญหา/การพัฒนา 1. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้
ผเู้ รยี น กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
2. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้
นวตั กรรมทางการเรียนการสอน
3. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้ระบบ
ดแู ลช่วยเหลือนักเรียน

ลงชอ่ื ผู้เชย่ี วชาญ
(นางวาสนา โกยะวงค์)
ครูผ้สู อนระดบั ปฐมวัย

โรงเรยี นบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice)
สำหรับผู้เชี่ยวชาญ

โรงเรยี นบ้านบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร)

ชื่อผลงาน/นวตั กรรม MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก

ช่อื ผู้พัฒนา นางสาวศริ เิ พญ็ หวานวาจา

คำชีแ้ จง ให้ผูป้ ระเมินใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่องผลการประเมนิ ที่ตรงตามความเปน็ จรงิ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้
ดีมาก หมายถึง ทำได้ครบตามรายการประเมนิ 3 รายการ
ดี หมายถงึ ทำได้ครบตามรายการประเมนิ 2 รายการ
พอใช้ หมายถงึ ทำได้ครบตามรายการประเมิน 1 รายการ

ดา้ นท่ี 1 องคป์ ระกอบดา้ นคณุ ภาพ รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ที่ ตัวชวี้ ัด ดมี าก ดี พอใช้
1 คณุ ลักษณะของนวัตกรรม 1. มีรปู แบบนวัตกรรมถูกต้อง 
2. นวัตกรรมมีความสอดคล้องกับบริบทและ
2 คุณภาพขององค์ประกอบใน จุดประสงค์ของการประเมนิ คัดเลือก 
นวตั กรรม 3. รูปแบบการจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มนวัตกรรม
การนำเสนอน่าสนใจ จัดเรียงลำดับเป็น 
3 การออกแบบนวัตกรรม ขน้ั ตอน
1. วัตถุประสงค์ เป้าหมายของนวัตกรรม
สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ
พัฒนา
2. ความสมบูรณใ์ นเนือ้ หาสาระของนวัตกรรม
3. ความถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ
1. มีแนวคิด ทฤษฎีรองรับอย่างสมเหตุสมผล
2. แนวคิด ทฤษฎีที่ระบุมีความเป็นไปได้ใน
การพัฒนานวัตกรรมใหส้ มั ฤทธผ์ิ ล
3. นวัตกรรมมีความสอดคล้องตามแนวคิด
ทฤษฎที ่รี ะบุ

ท่ี ตัวชวี้ ดั รายการประเมนิ ผลการประเมิน
4 ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม ดมี าก ดี พอใช้
1. กระบวนการหาประสทิ ธภิ าพของ
นวตั กรรมถูกต้องตามหลกั วชิ า 
2. นวตั กรรมมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑท์ ่ี
กำหนด
3. วิธกี ารหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
ครอบคลุมในด้านเนื้อหา (Content validity)
และโครงสร้าง (Construct validity)

ด้านที่ 2 คณุ ประโยชน์ รายการประเมิน ผลการประเมิน
ท่ี ตัวช้ีวดั ดีมาก ดี พอใช้
1 ความสามารถในการ 1. สอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 
ทรี่ ะบไุ ด้ครบถว้ น
แก้ปญั หาหรือพัฒนา 2. แก้ปัญหาหรือพัฒนาได้ตรงตามตาม 
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 กลมุ่ เปา้ หมาย
3. นำไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบทที่มี 
2 ประโยชน์ตอ่ บคุ คล ลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั
1. ผลงานสง่ ผลให้เกิดประโยชน์ต่อผูเ้ รียน
3 ประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงาน 2. ผลงานสง่ ผลใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ครู
3. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริหาร
สถานศกึ ษา
1. ผลงานส่งผลให้เกิดประโ ยช น์ต่อ
สถานศึกษา
2. ผลงานส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อวงการ
วชิ าชพี
3. ผลงานสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชน์ต่อชมุ ชน

ดา้ นท่ี 3 ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ที่ ตัวชว้ี ัด ดีมาก ดี พอใช้
1 ความแปลกใหม่ของ 1. เกิดแนวคิดแปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏ 
มากอ่ น
นวัตกรรม 2. เป็นการพฒั นาต่อยอดจากแนวคดิ เดิม 
3. มีการปรับปรุงจากแนวคิดเดิมและนำมา
2 จดุ เด่นของนวัตกรรม พฒั นาใหม่
1. ผลงานมีจุดเด่น น่าสนใจ สะท้อนถึงการมี
แนวคิดใหม่
2. ใช้ง่าย สะดวก เกิดการพัฒนาทักษะใน
ศตวรรษที่ 21
3. ลงทุนนอ้ ย เกดิ ประโยชน์สงู

ดา้ นท่ี 4 ผลทเี่ กิดข้ึนกับผู้เรียน รายการประเมนิ ผลการประเมนิ
ที่ ตวั ช้วี ดั ดีมาก ดี พอใช้
1 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/ 1. นักเรยี นมที ักษะในศตวรรษที่ 21
2. นักเรยี นผา่ นการประเมนิ คุณลักษณะอันพึง 
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ประสงค์ครบทั้ง 8 ข้อ
3. นักเรียนได้รับรางวลั ยกย่องเชิดชเู กียรติ 
2 ผลงาน/ช้นิ งาน/ภาระงาน ผล 1. นักเรียนทุกคนมีผลงาน/ชิน้ งาน/ภาระงาน
การปฏบิ ัตงิ าน ผลการปฏบิ ตั งิ าน 
2. ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน ผลการ
3 การเผยแพร่ผลงานของ ปฏิบัติงานของนกั เรยี นมคี ุณภาพตามเกณฑ์ที่
นักเรียน กำหนดในระดบั ดีข้นึ ไปคิดเป็นร้อยละ 80
3. ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงานผลการ
ปฏิบัตงิ านเกดิ จากการปฏบิ ตั ิงานของนักเรียน
ตามหลกั สูตรอย่างแท้จริง
1. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน
เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ
ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม
วาระ

ที่ ตวั ชว้ี ดั รายการประเมนิ ผลการประเมนิ
ดีมาก ดี พอใช้

และโอกาสในสถานศกึ ษาไมจ่ ำกดั จำนวนครั้ง

2. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน

เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ

ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม

วาระและโอกาสต่อสารธารณะในระดับเขต/

จงั หวัด อยา่ งน้อย 2 คร้งั /ปี

3. นักเรียนได้นำเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลี่ยน

เรียนรู้/ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการ

ปฏิบัติงานที่มีคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆตาม

วาระและโอกาสต่อสารธารณะในระดบั ภาค

ด้านที่ 5 ผลการดำเนนิ งาน / ผลงานท่ีเปน็ เลิศ

ท่ี ตัวชว้ี ดั รายการประเมนิ ผลการประเมนิ
ดมี าก ดี พอใช้
1 การนำองค์ความรจู้ ากการ 1. นำไปพัฒนานักเรียนแบบองค์รวมได้ 
ไดร้ บั การพฒั นาหรอื พัฒนา ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการและเจตคติ
ตนเองไปใช้ประโยชน 2. นำไปบรู ณาการกับวชิ าอ่นื ๆ ได้ 
3. นำไปเปน็ ตน้ แบบเผยแพรข่ ยายผลได้
2 การแก้ปัญหา/การพัฒนา 1. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้
ผู้เรียน กระบวนการวจิ ยั ในช้ันเรยี น
2. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้
นวัตกรรมทางการเรียนการสอน
3. การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนโดยใช้ระบบ
ดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น

ลงช่อื ผเู้ ชี่ยวชาญ
(นางสาวจิตตานนั ท์ จำปาทอง)
ครผู สู้ อนระดบั ปฐมวยั

โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)




Click to View FlipBook Version