The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pare-siripen, 2022-03-23 14:13:57

วิจัย 2-2564

วิจัย 2-2564

วิจยั ในชัน้ เรียน

การใชเ้ กมการศึกษาเพ่อื พฒั นา
ทักษะพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์

ในเดก็ ปฐมวัย

ประกาศคุณูปการ

งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับน้ีสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีต้องขอขอบคุณครูวิไลรัตน์ กุนศรี คุณครูวาสนา
โกยะวงค์ ที่ได้ให้คำแนะนำในการทำวิจัยในครั้งน้ี ผู้วิจัยรู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาและขอขอบพระคุณเป็น
อย่างสูงไว้ ณ ทนี่ ้ี

ขอขอบพระคุณนางศวิ ิไล ทีคำ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) นางสาวสุภาพร
ภริ มยเ์ มอื ง รองผู้อำนวยการโรงเรยี นโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร) ท่ีได้ใหค้ วามรู้โดยให้เขา้ รับการ
อบรมต่าง ๆ เพ่อื นำมาทำการวจิ ัยผู้เรียนและพัฒนาการเรยี นการสอนให้สำเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี

นางสาวศริ ิเพ็ญ หวานวาจา
ผวู้ จิ ัย

ชอื่ งานวจิ ัย การใช้เกมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะพืน้ ฐานทางคณติ ศาสตรใ์ นเด็กปฐมวัย
ช่อื ผู้วจิ ยั นางสาวศริ ิเพญ็ หวานวาจา
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์
ทปี่ รกึ ษา นางวไิ ลรัตน์ กุนศรี และนางวาสนา โกยะวงค์

เค้าโครงการทำวิจยั ในชั้นเรียน  มี  ไม่มี
ท่มี าและความสำคัญของการวิจยั  มี  ไม่มี
ออกแบบเกบ็ ข้อมลู  เสรจ็  ไม่เสร็จ
เก็บข้อมูลเรยี บร้อย  เสรจ็  ไมเ่ สรจ็
แปรผลและอภปิ รายผล  เสรจ็  ไม่เสรจ็
สรปุ เปน็ รปู เล่ม  เสรจ็  ไม่เสรจ็

นางสาวศริ เิ พญ็ หวานวาจา
ผู้วิจยั

(นางวาสนา โกยะวงค์) (นางวิไลรตั น์ กุนศรี)
ทปี่ รึกษา ท่ีปรกึ ษา

เคา้ โครงงานวจิ ยั ในชั้นเรียน

ช่อื นางสาวศริ เิ พญ็ หวานวาจา
ช่อื เรื่อง การใชเ้ กมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรใ์ นเดก็ ปฐมวยั
สภาพปัญหา/ท่ีมาและความสำคญั

การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นับว่ามีบทบาทสำคัญอย่างมากใน
ชีวิตประจำวัน แต่การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยนั้น มีความ
แตกต่างจากการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับอื่น ๆ เพราะพัฒนาการของเด็กน้ันต่างจากวัยอื่น นอกจากจะใช้
สถานการณ์ในชีวิตประจำวันแล้ว ยังต้องอาศัยการเตรียมการและวางแผนอย่างดี เพ่ือให้เด็กได้มี โอกาส
ค้นคว้าแก้ปญั หา เรียนรู้การพัฒนาความคิดรวบยอด เด็กปฐมวยั หากได้เรยี นรูจ้ ากการปฏิบัตโิ ดยการใชส้ ื่อของ
จริงจะส่งผลให้มีทักษะการรับรู้เชิงจำนวน เนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมองของเด็กมีบริเวณท่ีเกี่ยวข้องกับ
การรับรู้เชิงจำนวน โดยมีส่วนของสมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เกี่ยวข้องกับทักษะการรบั รูเ้ ชิงจำนวน สองส่วน
แรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเก่ียวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลขและบริเวณที่ทำหน้าท่ีเก่ียวข้องกับการ
เปรียบเทียบจำนวน ส่วนบริเวณสุดท้ายอยู่ท่ีสมองซีกซ้าย จะทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและ
ความจำเก่ียวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทง้ั 3 ส่วนจะทำงานร่วมกัน พฒั นาการด้านการรับรูเ้ ชิงจำนวน
และคณิตศาสตร์เร่มิ ตง้ั แต่ปฐมวัยและพฒั นาเรอ่ื ยไปจนถึงวัยผ้ใู หญ่

คณิตศาสตร์ไม่ใช่สิ่งท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะทางคำนวณแต่เพียงอย่างเดียว หรือไม่ได้มีความหมายเพียง
ตัวเลขสัญลักษณ์เท่านั้น แต่ยังช่วยส่งเสริมการสร้างให้เด็กการรู้จักการคาดคะเน ช่วยในการแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ ควรมีการส่งเสริมให้เด็กได้คิดอย่างอิสระบนความสมเหตุสมผล ไม่จำกัดว่าการคิดคำนวณต้อง
ออกมาเพียงคำตอบเดียวหรือมีวิธีการเดียว ซึ่งเด็กต้องเรียนรู้อย่างมีความสุขจากส่ือท่ีเป็นทั้งรูปธรรมและ
นามธรรม เพราะเด็กในวัยนี้จะเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสการรับรู้และการเคล่ือนไหวและเพื่อส่งเสริม
พัฒนาการทางสติปัญญาในการจัดการเรียนรู้ให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสให้มากที่สุด เพราะจะช่วยกระตุ้นให้
เด็กได้คิดและได้ลงมือปฏิบัติจริง คณิตศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ศาสตร์อ่ืน ๆ
การได้รับประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ ทำให้เด็กมีความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุมีผลและใช้ในการ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างดี ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์จึงเป็นส่ิงท่ีมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อเป็นพ้ืนฐานใน
การเรยี นรู้ของเด็กตอ่ ไป หากเด็กไดเ้ รียนรู้จากการลงมือปฏบิ ัตแิ ละเรยี นรจู้ ากการใช้ส่ือการสอนทีเ่ ป็นรูปธรรม
จะส่งผลใหม้ ีทักษะกระบวนการทางความคิดและพัฒนาความสามารถด้านต่าง ๆ ต้ังแต่การรู้คา่ จำนวน การจัด
หมวดหมู่ การจำแนกเปรียบเทียบ การเรียงลำดับและการหาความสัมพันธ์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เด็กจะเรียนรู้ได้จาก
ประสบการณ์ตรง ท่ีเด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมรอบตัวในชีวิตประจำวัน หรือการจัดกิจกรรมของคุณครู
หรือผู้ปกครอง แต่ในการจัดกิจกรรมจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก เพ่ือท่ีเด็กจะได้
พฒั นาทกั ษะทางคณติ ศาสตรอ์ ย่างมีประสิทธิภาพ

จากการศกึ ษาหลกั การและแนวคิดในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยจากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ ผ้จู ัดทำ
ได้ผลิตผลงาน/นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” เพ่ือพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทาง
คณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัย ในด้านทักษะการจำแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแบ่ง
ประเภทของส่ิงของ โดยหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการแบ่งข้ึน ส่วนใหญ่เด็กจะใช้เกณฑ์ในการจำแนกอยู่
3 อย่าง คือ ความเหมือน ความแตกต่างและความสัมพันธ์ร่วม ซึ่งในเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่จะเลือกใช้เกณฑ์
2 อย่าง คือ ความเหมือนและความต่างเมื่อเด็กสามารถสร้างความเข้าใจได้อย่างถ่องแท้เก่ียวกับความสัมพันธ์
แล้วเด็กจึงจะจำแนกโดยใช้ความสัมพันธ์ร่วมได้ ด้านทักษะการเปรียบเทียบ (Comparing) เป็นการท่ีเด็กต้อง
อาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุ ส่ิงของหรือเหตุการณ์ต้ังแต่สองสิ่งข้ึนไปบนพื้นฐานของคุณสมบัติที่มี
ลักษณะเฉพาะอย่างซึ่งความสำคัญในการเปรียบเทียบ คือเด็กจะต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับลกั ษณะเฉพาะของ
สง่ิ นั้น ๆ และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ เช่น เล็กกว่า ใหญ่กว่า สั้นกวา่ ยาวกว่า หนักกว่า เบากว่า ฯลฯ โดยถ้า
สามารถบอกได้ว่าลูกบอลลูกหน่ึงมีขนาดเล็กกว่าอีกลูกหนึ่ง แสดงให้เห็นว่าเด็กเห็นความสัมพันธ์ของลูกบอล
คือ เล็ก- ใหญ่ การเปรียบเทียบนับว่าเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการเรียนในเรื่องการวัดการจัดลำดับและการ
ประมาณต่อไป ด้านทักษะในการรวมหมู่ (การเพ่ิม) เป็นการให้เด็กสังเกตวัตถุหรือส่ิงของ เพ่ือให้เข้าใจถึง
จำนวนของวัตถุหรือสิ่งของแต่ละกอง เช่น ของกองหน่งึ มี 3 อนั อีกกองมี 2 อัน เมื่อนำมารวมกันเป็นกองใหญ่
จะมี 5 อัน เป็นต้น ด้านการจัดหมวดหมู่ เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่าง ๆ และจับส่ิงท่ีเข้า
คู่กัน เหมือนกันหรืออยู่ประเภทเดียวกัน ด้านการรู้จักตัวเลขและทักษะการนับ (Counting) เป็นแนวคิด
เกี่ยวกับการนับจำนวน ได้แก่ การนับปากเปล่า บอกขนาดของกลุ่มท่ีมีขนาดเท่ากันโดยไม่ต้องนับ นับโดยใช้
ลำดับที่นับจำนวนเพ่ิมขึ้น นับเพ่ือรู้จำนวนท่ีมีอยู่การจดจำตัวเลข การนับและเข้าใจความหมายของจำนวน
การใช้สัญลักษณ์แทนจำนวน ในเด็กปฐมวัยชอบการนับแบบท่องจำ โดยไม่เข้าใจความหมาย การนับแบบ
ท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเม่ือเช่ือมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง เช่น การนับจำนวนเพ่ือนในห้องเรียน
นบั ขนมที่อยู่ในมอื แต่การนับของเด็กอาจสับสนได้หากมกี ารจัดเรียงสิ่งของเสียใหม่ เมอ่ื เด็กเข้าใจเร่ืองจำนวน
แล้ว เด็กปฐมวัยจึงจะสามารถเข้าใจเร่ืองการนับจำนวนอย่างมีความหมาย โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัยน้ัน นพ.อีริค อาร์แคนเดล จิตแพทย์รางวัลโนเบลในปี 2553 กล่าวว่า “การเรียนรู้
ความรู้ความจำ ความคิดอารมณส์ ติปัญญาเกิดจากการที่เซลล์สมองแตกกิ่งมาเชื่อมต่อกนั เป็นวงจรสมองส่วนท่ี
มีการจัดระเบียบใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมต่อใหม่ๆ เพ่ิมข้ึนจำ นวนมากขณะท่ีใยประสาทส่วนท่ีไม่ได้ใช้จะ
หายไป ใยประสาทส่วนท่ีใช้บ่อยจะหนาตัวข้ึน ทั้งนี้ทารกอายุต้ังแต่แรกเกิดถึง 5 ปีจะเป็นช่วงท่ีสมองมี
พัฒนาการมากท่ีสุด ดังนั้น การพัฒนาสมองให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายใยประสาทท่ีแข็งแรงจะทำ ให้เด็กมี
ระดับ IQ ที่เพ่ิมขึ้นด้วย” ผู้จัดทำจึงได้ผลิตผลงาน/นวัตกรรมการเรียนรู้ “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก”
เพือ่ พัฒนาทกั ษะพ้นื ฐานทางคณิตศาสตร์ในเดก็ ปฐมวัยข้นึ

กิจกรรม/นวตั กรรมทีใ่ ช้
1. เกมการศึกษาทเ่ี ก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ เชน่ การจบั คู่ การเปรียบเทียบ
2. MY BOX กลอ่ งคณติ คิดสนุก

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย เรื่อง การจำแนก การจัดหมวดหมู่

การเปรยี บเทยี บ การฝึกความถกู ต้องในการนับจำนวนและการฝกึ หดั บวกเลขอย่างง่าย
2. เพอื่ สรา้ งผลงาน/นวัตกรรม “MY BOX กลอ่ งคณติ คิดสนุก” จำนวน 5 ชดุ

ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2564 ถงึ 25 กุมภาพนั ธ์ 2565
ข้นั ตอนในการดำเนนิ งาน

1. ขน้ั การออกแบบ
1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 คัดเลือกเน้ือหาท่ีเหมาะสมและ

สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผเู้ รียน
2) ร่างแบบสอ่ื /นวตั กรรม “MY BOX กลอ่ งคณติ คิดสนกุ ” เพอื่ เปน็ เคา้ โครงในการผลิตส่อื
3) ขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญและผู้มีประสบการณ์ด้านการสอนในระดับปฐมวัย เพื่อดู

จุดบกพร่องและจุดที่ควรพัฒนา ทั้งในด้านเนื้อหา รูปแบบ สีสันและความน่าสนใจ ก่อนผลิตสื่อ
ของจรงิ

4) กำหนดประเภทบัตรคำสั่งท่ีใช้โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่เรื่อง การจำแนก การจัดหมวดหมู่
การเปรียบเทยี บ การฝกึ ความถูกต้องในการนบั จำนวนและการฝึกหดั บวกเลขอย่างง่าย
2. ข้นั การปฏิบัติ

1) เลอื กใชว้ ัสดุเหลือใช้ท่ีมใี นห้องเรียน คือ กล่องนม เปน็ วัสดุหลักในการผลิตส่ือ
2) ผลติ สือ่ ตามแบบทีร่ า่ งไว้ โดยคำนึงถงึ ประโยชน์ท่เี ด็กจะได้รับ ตอบสนองการเรียนรู้และมี
รูปแบบ สีสันท่นี า่ สนใจ
3) นำนวตั กรรมมาใช้จัดการเรยี นการสอนกับนักเรียนทุกวันอังคาร
3. ขนั้ ประเมินผล
1) มีการประเมินผลการผลิตสื่อโดยผู้เช่ียวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย
ของโรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ท้งั 3 ท่าน
2) มีการประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อสื่อ/นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต
คิดสนุก” ด้วยแบบสอบถาม โดยครูถามแบบปากเปล่า เน่ืองจากนักเรียนในระดับปฐมวัยยังไม่
สามารถอ่านหนงั สอื ได้
3) มีการประเมินผลพัฒนาการในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ แสนสนุก ของนักเรียน
ชั้นอนุบาลปีที่ 3/1 โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
จำนวน 22 คน ซง่ึ เป็นกลุม่ เปา้ หมาย

ชอ่ื งานวิจัย การใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณติ ศาสตรใ์ นเดก็ ปฐมวัย
ช่ือผู้วิจยั นางสาวศิรเิ พญ็ หวานวาจา
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมเกมการศกึ ษา
ท่ปี รกึ ษา นางวิไลรตั น์ กนุ ศรี และนางวาสนา โกยะวงค์

บทคัดยอ่

การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้เกมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัย
คร้ังนี้ จัดทำข้ึนเพ่ือพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย เรื่อง การจำแนก การจัดหมวดหมู่
การเปรียบเทียบ การฝึกความถูกต้องในการนับจำนวนและการฝึกหัดบวกเลขอย่างง่ายและเพื่อสร้างผลงาน/
นวัตกรรม “MY BOX กล่องคณิต คิดสนุก” จำนวน 5 ชุด ซึ่งคณิตศาสตร์ไม่ใช่ส่ิงท่ีเก่ียวข้องกับทักษะทาง
คำนวณแต่เพียงอย่างเดยี ว หรือไม่ได้มีความหมายเพียงตัวเลขสญั ลักษณ์เท่านนั้ แต่ยังชว่ ยส่งเสริมการสรา้ งให้
เด็กการรู้จักการคาดคะเน ช่วยในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ควรมีการส่งเสริมให้เด็กได้คิดอย่างอิสระบน
ความสมเหตสุ มผล ไม่จำกดั วา่ การคดิ คำนวณตอ้ งออกมาเพยี งคำตอบเดียวหรือมีวธิ ีการเดียว ซ่ึงเด็กตอ้ งเรยี นรู้
อย่างมีความสุขจากสื่อที่เป็นท้ังรูปธรรมและนามธรรม เพราะเด็กในวัยนี้จะเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสการ
รับรู้และการเคลื่อนไหวและเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาในการจัดการเรียนรู้ให้เด็กได้ใช้ประสาท
สมั ผัสให้มากท่ีสุด การวจิ ัยในคร้ังน้ีจะใช้เกมการศึกษาและ “MY BOX กลอ่ งคณิต คิดสนกุ ” เพื่อพฒั นาทกั ษะ
พ้ืนฐานทางคณติ ศาสตรใ์ นเดก็ ปฐมวยั

การใชเ้ กมการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวยั

ทม่ี าและความสำคญั
การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นับว่ามีบทบาทสำคัญอย่างมากใน
ชีวิตประจำวัน แต่การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยน้ัน มีความ
แตกต่างจากการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับอ่ืน ๆ เพราะพัฒนาการของเด็กนั้นต่างจากวัยอ่ืน นอกจากจะใช้
สถานการณ์ในชีวิตประจำวันแล้ว ยังต้องอาศัยการเตรียมการและวางแผนอย่างดี เพ่ือให้เด็กได้มี โอกาส
คน้ คว้าแก้ปัญหา เดก็ ปฐมวัยหากได้เรียนรู้จากการปฏิบัติโดยการใช้ส่ือของจริงจะส่งผลใหม้ ีทักษะการรับรู้เชิง
จำนวน เน่ืองจากธรรมชาติได้สร้างให้สมองของเด็กมีบริเวณท่ีเกี่ยวข้องกับการรับรู้เชิงจำนวน โดยมีส่วนของ
สมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เก่ียวข้องกับทักษะการรับรู้เชิงจำนวน สองส่วนแรกอยู่ท่ีสมองทั้งซีกซ้ายและขวา
เก่ียวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลขและบริเวณท่ีทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบจำนวน ส่วนบริเวณสุดท้าย
อยู่ท่ีสมองซีกซ้าย จะทำหน้าท่ีเก่ียวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ โดย
สมองทั้ง 3 ส่วนจะทำงานร่วมกัน พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เร่ิมตั้งแต่ปฐมวัยและ
พัฒนาเรอ่ื ยไปจนถึงวยั ผู้ใหญ่เรยี นรู้การพฒั นาความคิดรวบยอด
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัยนั้น นพ.อีริค อาร์แคนเดล จิตแพทย์รางวัล
โนเบลในปี 2553 กล่าวว่า “การเรียนรู้ความรู้ความจำ ความคิดอารมณ์สติปัญญาเกิดจากการที่เซลล์สมอง
แตกกิ่งมาเช่ือมต่อกันเป็นวงจรสมองส่วนท่ีมีการจัดระเบียบใยประสาทจะเพิ่มการเช่ือมต่อใหม่ๆ เพิ่มขึ้นจำ
นวนมากขณะที่ใยประสาทส่วนที่ไมไ่ ด้ใช้จะหายไป ใยประสาทส่วนที่ใช้บ่อยจะหนาตวั ขึ้น ทง้ั นที้ ารกอายุตัง้ แต่
แรกเกิดถึง 5 ปีจะเป็นช่วงท่ีสมองมีพัฒนาการมากที่สุด ดังน้ัน การพัฒนาสมองให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
ใยประสาททแ่ี ข็งแรงจะทำ ให้เด็กมีระดับ IQ ทเี่ พม่ิ ขน้ึ ด้วย
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย เรื่อง การจำแนก การจัดหมวดหมู่
การเปรียบเทียบ การฝึกความถูกต้องในการนับจำนวนและการฝกึ หัดบวกเลขอย่างง่าย
2. เพ่อื สรา้ งผลงาน/นวัตกรรม “MY BOX กลอ่ งคณติ คดิ สนุก” จำนวน 5 ชดุ
ตวั แปรทศี่ ึกษา
1. ตวั แปรตน้

1) เกมการศึกษาเกย่ี วกบั คณิตศาสตร์
2) “MY BOX กลอ่ งคณิต คิดสนกุ ”
2. ตัวแปรตาม
การพัฒนาทกั ษะพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตร์ของนักเรยี นชัน้ อนุบาลปีท่ี 3/1
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบ้านบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร)

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

ทักษะพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์ เกมการศกึ ษาเกย่ี วกบั
ของเด็กปฐมวัย คณิตศาสตร์

“MY BOX”
กล่องคณติ คิดสนุก

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ
ผลจากการวิจัยครั้งนี้จะเป็นแนวทางสำหรับครูที่จะจัดกิจกรรมเกมการศึกษาในวัย 4-6 ปี

ให้ได้ผลตามจุดประสงค์ แก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน พัฒนาทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น ทักษะ
การเปรียบเทียบ การจำแนกและอ่ืน ๆ สามารถนำผลมาใช้ในการปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนการสอนให้
นักเรยี นเกิดการพัฒนาและเกดิ ประสทิ ธิภาพสำหรบั นกั เรียนปฐมวัย

ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรทใ่ี ช้ในการศกึ ษาวิจยั
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) จำนวน 22 คน

วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั
การดำเนนิ การวจิ ยั เร่ือง การใช้เกมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตรใ์ นเดก็ ปฐมวัยมี

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ นักเรียนช้ันอนุบาลปีที่ 3/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน
บ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) จำนวน 22 คน โดยมวี ธิ ดี ำเนนิ งานดว้ ยการวจิ ัย ดงั น้ี

ท่ี วนั /เดือน/ปี กจิ กรรม หมายเหตุ

1 2 พ.ย.64 เกมการศึกษา (จำแนก) ปฏิบัตติ ามกิจกรรม
9 พ.ย.64 “MY BOX” กลอ่ งคณิต คดิ สนกุ ทุกวนั อังคาร

2 16 พ.ย.64 เกมการศึกษา (จำแนก)
23 พ.ย.64 “MY BOX” กล่องคณิต คิดสนกุ

3 30 พ.ย.64 เกมการศึกษา (จำแนก)
7 ธ.ค.64 “MY BOX” กลอ่ งคณิต คดิ สนกุ

4 14 ธ.ค.64 เกมการศกึ ษา (เปรยี บเทยี บ)
21 ธ.ค.64 “MY BOX” กลอ่ งคณิต คิดสนุก

ท่ี วนั /เดือน/ปี กจิ กรรม หมายเหตุ

5 28 ธ.ค.64 เกมการศกึ ษา (เปรยี บเทียบ)
4 ม.ค.65 “MY BOX” กล่องคณิต คดิ สนุก

6 11 ม.ค.65 เกมการศึกษา (จำนวนตวั เลข)
18 ม.ค.65 “MY BOX” กล่องคณิต คดิ สนกุ

7 25 ม.ค.65 เกมการศกึ ษา (จำนวนตวั เลข)
1 ก.พ.65 “MY BOX” กล่องคณิต คดิ สนุก

8 8 ก.พ.65 เกมการศึกษา (จำนวนตัวเลข)
15 ก.พ.65 “MY BOX” กล่องคณิต คิดสนุก

เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย
ในการทำวจิ ัยเร่ือง การใช้เกมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตรใ์ นเด็กปฐมวัย ครง้ั นี้

ผวู้ ิจยั ไดใ้ ชเ้ ครือ่ งมือในการวิจยั ดังน้ี
1. เกมการศึกษาเกยี่ วกบั คณิตศาสตร์ ไดแ้ ก่
1) การจำแนก
2) การเปรียบเทียบ
3) จำนวน ตวั เลข
2. “MY BOX” กลอ่ งคณิต คิดสนกุ

สรปุ ผลการวจิ ัย
1) ผลสำเรจ็ เชิงปริมาณ
- ครไู ด้สรา้ งส่อื /นวตั กรรม “MY BOX กลอ่ งคณิต คดิ สนกุ ” จำนวน 5 ชุด
- นักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 โรงเรียนบ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) ปีการศึกษา 2564
จำนวน 23 คน ได้รับการพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ด้วยผลงาน “MY BOX กล่องคณิต
คิดสนุก” มีผลการประเมินพัฒนาการจากหน่วยการเรียนรู้ คณิตศาสตร์แสนสนุกผ่านเกณฑ์
จุดประสงค์การเรยี นรู้ครบทกุ ขอ้ คดิ เป็นร้อยละ 91.30
2) ผลสำเร็จเชงิ คณุ ภาพ
- ส่อื /นวตั กรรม “MY BOX กลอ่ งคณติ คิดสนุก” ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการจำแนก
การจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบ การฝึกความถูกต้องในการนับจำนวนและการฝึกหัดบวกเลข
อยา่ งง่าย
- นกั เรียนชน้ั อนบุ าลปีท่ี 3/1 โรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์
สำหรับเด็กปฐมวัย

ภาคผนวก


































Click to View FlipBook Version