The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 1 หลักการพัฒนาโปรแกรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Puangpet Rittiponpan, 2022-04-28 00:29:34

บทที่ 1 หลักการพัฒนาโปรแกรม

บทที่ 1 หลักการพัฒนาโปรแกรม

Keywords: หลักการพัฒนาโปรแกรม

หน่วยที่ 1 แนวคิดเกีย่ วกับการพัฒนาโปรแกรม

Written by -- > Puangpet Rittiponpun

Contents
บทที่ 1 หลกั การพฒั นาโปรแกรม
บทที่ 2 ผงั งาน

บทท่ี 1 หลกั การพฒั นาโปรแกรม

ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรม
ภาษาคอมพวิ เตอร์

วตั ถุประสงค์การเรียนการสอน

วตั ถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป
1. เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรคู ้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั
ขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร ์
2. เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรคู ้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั
ภาษาคอมพวิ เตอรแ์ ละตวั แปลภาษา
3. เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามเี จตคตทิ ดี่ ใี นการพฒั นาโปรแกรม

This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY-NC-ND

วตั ถุประสงค์การเรียนการสอน This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY-NC-ND

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษาสามารถ
1. บอกขนั้ ตอนของการพฒั นาโปรแกรมได ้
2. บอกขน้ั ตอนและวเิ คราะหป์ ัญหาเพอื่ เขยี นโปรแกรมได ้
3. เลอื กเครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการออกแบบโปรแกรมได ้
4. จาแนกประเภทความขอ้ ผดิ พลาดในการเขยี นโปรแกรมไดแ้ ละบอกขนั้ ตอนการ

ตรวจสอบความผดิ พลาดได ้

5. บอกวธิ กี ารทดสอบความถกู ตอ้ งของโปรแกรมได ้

6. บอกความสาคญั ของการจดั ทาเอกสารประกอบโปรแกรมได ้
7. บอกความสาคญั ของการตดิ ตงั้ และบารงุ รกั ษาโปรแกรมได ้

8. บอกประเภทของภาษาคอมพวิ เตอรไ์ ด ้

9. เลอื กใชภ้ าษาคอมพวิ เตอรไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง

10. อธบิ ายลกั ษณะของตวั แปลภาษาได ้

1. ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรม

โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ หมายถึง กลุ่มคาสง่ั ที่เรียบเรียงตามไวยากรณ์เพ่ือ
สงั่ งานใหค้ อมพิวเตอร์ทางานในส่ิงท่ีตอ้ งการ

การพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การเขียนกลุ่มคาสงั่ อยา่ งเป็น
กระบวนการ มีข้นั ตอน และถูกตอ้ งตรงตามไวยากรณ์ เพ่ือสงั่ ให้
คอมพิวเตอร์ทางานในสิ่งที่ตอ้ งการ มุ่งเนน้ ใหเ้ กิดความน่าเชื่อถือ ถูกตอ้ ง
ทนั เวลา เป็นปัจจุบนั โดยมีการดาเนินงาน 7 ข้นั ตอน ดงั น้ี

1. ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรม

การวเิ คราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขยี นโปรแกรม การตรวจสอบความ
(Problem Definition) (Program Design) (Coding Program) ผดิ พลาดของโปรแกรม

การติดต้งั และการ (Debugging)
บารุงรักษาโปรแกรม
การทดสอบความถูกต้อง การทาเอกสารประกอบ (Implementation and
ของโปรแกรม (Testing โปรแกรม Program Maintenance)

and Validating) (Documentation)

1.1 การวเิ คราะห์ปัญหา (Problem Definition)

การวเิ คราะห์ปัญหา คือ การทาความเขา้ ใจปัญหา และคน้ หาส่ิงที่ตอ้ งการ

ข้นั ตอนท่ี 1 ข้นั ตอนท่ี 2 ข้นั ตอนที่ 3 ข้นั ตอนที่ 4 ข้นั ตอนท่ี 5

ระบุสิ่งท่ีตอ้ งการ กาหนดรูปแบบผลลพั ธ์ ระบุขอ้ มูลนาเขา้ กาหนดตวั แปรท่ีใช้ กาหนดวธิ ีการ
ประมวลผล
ขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการ
เป็นการบอกใหท้ ราบ การศึกษารูปแบบหรือ ประมวลผล เป็นการบอกวา่ ใชต้ วั ป็นข้นั ตอนของคาสง่ั
แปรใดบา้ งแทนขอ้ มูล หรือวธิ ีการที่ใชใ้ น
วา่ สิ่งท่ีตอ้ งการใหท้ า ลกั ษณะของการแสดง นาเขา้ และตวั แปร โปรแกรม โดยการ
ขอ้ มูล
ใดบา้ งแสดงผลลพั ธ์ เรียงลาดบั ก่อนหลงั

1.2 การออกแบบโปรแกรม (Program Design)

• เป็ นข้ันตอนของการใช้เคร่ืองมือในการออกแบบลาดบั การ
ทางานของโปรแกรมตามข้นั ตอนการประมวลผลและ
สอดคล้องกบั วธิ ีการทางคอมพวิ เตอร์ โดยมหี ลายวธิ ที ่ีนามา
ช่วยในการออกแบบ

การเขียนผงั งาน (Flow การเขียนรหสั จาลอง การเขียนแผนภูมิโครงสร้าง การเขียนฮิโปชาร์ต
Chart) (Pseudo code) (Structure (HIPO chart:
Charts)
Hierarchy
Input/Process/O

utput Chart)

การเขียนผงั งาน
(Flow Chart)

This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY-SA

การเขียนรหสั จาลอง
(Pseudo code)

การเขียนแผนภูมิโครงสร้าง (Structure Charts)

This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY-SA

การเขียนฮิโปชาร์ต (HIPO chart: Hierarchy
Input/Process/Output Chart)

https://www.quora.com/What-are-the-uses-of-a-hipo-diagram

1.3 การเขยี นโปรแกรม (Coding Program)

• เป็นข้นั ตอนของการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ตามผงั งานท่ีเขียนไว้
• แปลงผงั งานใหเ้ ป็นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ซ่ึงผงั งานท่ีเขียนไวต้ อ้ งไม่ข้ึนอยกู่ บั

ภาษาคอมพิวเตอร์ใด
• โดยการเขียนลงในกระดาษท่ีจดั ทาข้ึนพเิ ศษ เรียกวา่ กระดาษลงรหสั (Coding

form)
• ข้นั ตอนน้ีจึงสามารถเลือกใชภ้ าษาคอมพวิ เตอร์ไดห้ ลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล

ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาซี ภาษาฟอร์แทรน ภาษาจาวา ภาษาไพทอน เป็นตน้

1.4 การตรวจสอบความผดิ พลาดของโปรแกรม (Debugging)

โปรแกรม ตรวจสอบ
ความผดิ พลาด

1.4.1 ประเภทของความผดิ พลาดของโปรแกรม

ความผดิ พลาดทาง ความผิดพลาดขณะ ความผิดพลาดของลาดบั
ไวยากรณ์ ปฏิบตั ิงาน ข้นั ตอน

(Syntax Error) (Run-time Error) (Logical Error)

1.4.2 ข้ันตอนของการตรวจสอบข้อผดิ พลาด

การตรวจสอบความ ตรวจสอบความผดิ พลาด
ผดิ พลาดดว้ ยตนเอง ดว้ ยการแปลโปรแกรม

(Self-Checking) (Translating)

1.5 การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม (Testing and Validating)

การทดสอบโครงสร้างของโปรแกรม การทดสอบฟังกช์ นั ของโปรแกรม
White Box Testing
ดูโครงสร้างของโปรแกรม มุ่งทดสอบการทางานไดต้ ามฟังกช์ นั
ชุดทดสอบ ที่เป็นปกติ /ไม่ปกติ
ทดสอบโดยไม่คานึงถึงคาสงั่ ภายใน
โปรแกรม

Black Box Testing
ทดสอบตาม requirement

1.6 การทาเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation)

เอกสารประกอบโปรแกรม เอกสารประกอบสาหรับผเู้ ขียน
สาหรับผใู้ ช้ (User โปรแกรม (Technical

Documentation) Documentation)

1.6 การทาเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation)

เอกสารประกอบโปรแกรม เอกสารประกอบสาหรับผเู้ ขียน
สาหรับผใู้ ช้ (User โปรแกรม (Technical

Documentation) Documentation)

1.7 การตดิ ต้งั และการบารุงรักษาโปรแกรม (Implementation and Program Maintenance)

การติดต้งั การ
โปรแกรม บารุงรักษา

โปรแกรม

ภาษาคอมพวิ เตอร์ (Computer Language)

2.1 ประเภทของภาษาคอมพวิ เตอร์

ภาษาเคร่ือง ภาษาระดบั ต่า ภาษาระดบั สูง

ภาษาเคร่ือง เป็ นภาษาพ้ืนฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเขา้ ใจไดแ้ ละปฏิบตั ิตามคาสั่งไดท้ นั ที แต่ละ
คาสงั่ ประกอบข้ึนจากเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 ซ่ึงเป็นตวั เลขฐานสองเขียนเรียงติดต่อกนั
โดยที่โครงสร้างคาส่ังในภาษาเคร่ืองจะประกอบดว้ ย 2 ส่วนคือ

1. ส่วนท่ี 1 คือ โอเปอเรชนั โคด (OperationCode) เป็นคาสั่งที่ส่ังใหเ้ ครื่อง
คอมพิวเตอร์ปฏิบตั ิการ ทาหนา้ ท่ีบอกใหค้ อมพิวเตอร์ทราบวา่ ตอ้ งทาอะไร เช่น การบวก
(Addition) การลบ(Subtraction) เป็นตน้

2. ส่ วนที่ 2 คือ โอเปอแรนด์ (Operands) เป็ นส่ วนที่บอกตาแหน่งของ

หน่วยความจาหลกั ที่ใชเ้ กบ็ ขอ้ มูล ซ่ึงคอมพิวเตอร์ตอ้ งนามาใชก้ ารทางาน

ตวั อย่างเช่น ตอ้ งการเขียนคาส่ังเพ่ือบวกขอ้ มูลที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาหลกั 2
ตาแหน่งเขา้ ดว้ ยกนั กาหนดให้

01011010 แทน คาสง่ั บวกในภาษาเคร่ือง
00001000 แทน ตาแหน่งของหน่วยความจาท่ีเก็บข้อมูลจานวนแรก
อยใู่ นตาแหน่ง 00001000
00001010 แทน ตาแหน่งของหน่วยความจาท่ีเก็บขอ้ มูลจานวนที่สอง
อยใู่ นตาแหน่ง 00001000
รูปแบบคาสง่ั ในภาษาเครื่อง คือ 01011010 0000 1000 0000 1010

ขอ้ จากดั ของภาษาเคร่ือง ยากต่อการเขียน การจดจา ผเู้ ขียนโปรแกรมจาเป็นตอ้ งมี
และเรียนรู้คาสง่ั ความรู้เกี่ยวกบั ฮาร์ดแวร์เป็น

อยา่ งดี

เป็นภาษาท่ียดึ ติดกบั เคร่ือง ไม่สามารถนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ (Hardware เดียวกนั ไปใชบ้ นเครื่อง ต่าง

Dependent) ชนิดกนั ได้

ภาษาระดบั ต่า เป็นภาษาท่ีคอมพวิ เตอร์รับรู้คาสง่ั โดยตรงหรือเขา้ ใจง่าย
เป็นภาษาท่ีมนุษยอ์ ่านแลว้ เขา้ ใจยาก
ภาษาระดบั ต่าเป็นภาษาที่ข้ึนกบั ฮาร์ดแวร์ของคอมพวิ เตอร์แต่ละระบบ
ไม่สามารถนาโปรแกรมจากคอมพวิ เตอร์หน่ึงไปทางานกบั อีกคอมพวิ เตอร์หน่ึงได้
ตวั อยา่ งภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาแอสแซมบลี



ขอ้ จากดั ของภาษาแอสแซมบลี คือ
เป็นภาษาที่ยงั ข้ึนอยกู่ บั ฮาร์ดแวร์ หรือคอมพวิ เตอร์เฉพาะระบบเท่าน้นั

ภาษาระดบั สูง

• เป็นภาษาที่สร้างข้ึนเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม
• ลกั ษณะของคาสง่ั จะประกอบดว้ ยคาในภาษาองั กฤษ
• โปรแกรมท่ีไดจ้ ะไม่ข้ึนกบั ฮาร์ดแวร์
• ผอู้ ่านสามารถเขา้ ใจความหมายไดท้ นั ที
• ภาษาระดบั สูงมีมากมายหลายภาษา อาทิเช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล

ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษาวิชวลเบสิก ภาษาซี และภาษาจาวา เป็นตน้

2.2 การเลือกใช้ภาษาคอมพวิ เตอร์ 3. การทางานร่วมกบั
โปรแกรมอื่น
1. ภาษามาตรฐานที่ใช้
ในองคก์ ร

2. คุณสมบตั ิและความ 4. การทางานร่วมกบั
เหมาะสมกบั งาน ระบบอื่น

2.3 ตวั แปลภาษา

• ใชแ้ ปลรหสั คาสง่ั เฉพาะ ตวั แปลภาษาแบบคอมไพล์ • แปลรหสั ทีละคาสง่ั เม่ือพบ
ภาษาแอสแซมบลีใหเ้ ป็น เลอร์ (Compiler) ความผดิ พลาดจะหยดุ
ภาษาเคร่ือง ทางาน แลว้ แจง้ ความ
• แปลคาสง่ั ท้งั โครงสร้าง ผดิ พลาด
ตวั แปลภาษาแบบแอสแซม โปรแกรมแลว้ จึงแจง้ ความ
เบลอร์ (Assembler) ผดิ พลาดท้งั หมดเพ่ือให้ ตวั แปลภาษาแบบอินเทอร์
แกไ้ ข พรีเตอร์ (Interpreter)

อ่านทบทวนเอกสาร และค้นคว้าเพ่ิมเติม
ทาใบงานในคาบเรียน
ทาแบบฝึ กหดั ลงกระดาษ ถ่ายรปู ส่งช่องทาง google classroom

Questions & answers

This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY-NC


Click to View FlipBook Version