รายงาน
เรอื่ ง บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)
จัดทำโดย
นางสาวนครัตน์ รัตวาสี
เลขท่ี 9 รหัสนกั ศึกษา 6332160011
ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพข้ันสงู สุด ปวส.2
สาขา การจดั การสำนกั งาน
เสนอ
อาจารย์ ใกลร้ ุ่ง มามี
รายงานเลม่ นเ้ี ป็นสว่ นหน่ึงของวิชา การจดั การสำนักงานสมัยใหม่
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก
คำนำ
รายงานเล่มน้ีจัดทำขน้ึ เพอื่ เป็นสว่ นหนง่ึ ของวิชา การจดั การสำนักงานสมยั ใหม่ สาขาการจดั การสำนักงาน
ปวส.2.2 เพอ่ื ให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรอ่ื ง สำนักงาน AIS และไดศ้ กึ ษาอยา่ งเข้าใจเพื่อเป็นประโยชนก์ ับการเรียน
ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษาที่กำลังค้นคว้าหาข้อมูล
เรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรอื ข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ท่ีนีด้ ว้ ย
นางสาวนครัตน์ รตั วาสี
สารบญั หน้า
เรอื่ ง 1
1-2
ประวตั ิ AIS 2
2
บริการเครือขา่ ยโทรศพั ท์เคล่อื นท่ี 3-4
5
บริการเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ 6
7
เรียนรแู้ ละพัฒนากบั AIS 8-9
10-12
คลน่ื ความถีท่ ใี่ ชง้ าน 13-16
17
ผถู้ อื หนุ้ รายใหญ่
โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน
โครงสร้างกลมุ่ ธุรกิจ
สารจากประธานกรรมการ และประธานเจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ าร
เอไอเอสและไมโครซอฟท์ประกาศจบั มอื พฒั นาบริการคลาวดพ์ ลัง 5G
ความสำเรจ็ ในการบรหิ ารงานบุคคลของ AIS กบั แนวคิดการทำงานรว่ มกบั คนร่นุ ใหม่
บรรณานกุ รม
1
ประวตั ิ AIS
เรม่ิ แรกจดทะเบยี นก่อต้ังเปน็ บรษิ ัท แอดวานซ์ อนิ โฟร์ เซอร์วสิ จำกดั เม่ือวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2529
เปดิ ให้บริการคร้งั แรกเม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. 2533 โดยเอไอเอสทำสัญญากับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ให้
ดำเนินการโครงการบรกิ ารระบบโทรศพั ท์เคล่อื นที่ 900 เมกะเฮิรต์ ซ์ เปน็ ระยะเวลา 20 ปี ถึง พ.ศ. 2553
เอไอเอสเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 และ
แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัดในชื่อ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หลังจากนั้นบริษัท
ขยายกิจการโดยการเข้าซื้อกิจการในเครือชินวัตร เช่น ชินวัตร ดาต้าคอม (ปัจจุบันคือ บริษัท แอดวานซ์ ดาต้า
เนต็ เวิร์ค คอมมิวนเิ คชัน่ ส์ จำกัด), ชินวตั ร เพจจ้ิง เปน็ ต้น บริษัทเปิดบรกิ ารโทรศพั ท์เคล่อื นทใี่ นระบบจีเอสเอม็ ใน
ชื่อ Digital GSM ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537 และได้ขยายเวลาร่วมสัญญาเป็น 25 ปี (หมดสัญญาปี พ.ศ. 2558)
เมอื่ พ.ศ. 2539
เอไอเอสได้ว่าจ้างบริษัท พีอี แอนด์ พีเทค จำกัด ผลิตน้ำดื่มตราเอไอเอส สำหรับลูกค้าที่มารับบริการโดย
ไม่คิดคา่ ใช้จา่ ย ท่เี อไอเอส ชอ็ ป
วันที่ 20 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เอไอเอสเปิดร้าน Aunjai with you ทสี่ ถานีสยาม จำหน่ายตกุ๊ ตา เสื้อผ้า
รองเท้า ปากกา หมวก ถุงผา้ สมุดจดบันทกึ และพวงกุญแจ
วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เอไอเอสได้รับการแต่งตั้งจากแผนกจำหน่ายสื่อและความบันเทิงของเดอะ
วอลต์ดิสนีย์ ให้เป็นผู้ให้บริการสตรีมมิงวีดิทัศน์ตามคำขอแบบบอกรับสมาชิกระดับโลก ดิสนีย์+ ฮอตสตาร์
ในประเทศไทยเพียงรายเดยี ว โดยเริม่ ใหบ้ ริการในวันท่ี 30 มิถนุ ายน
บรกิ ารเครือข่ายโทรศัพท์เคลอื่ นที่
- ระบบ 3G
บนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิร์ตซ์ แบ่งตามวิธีการชำระเงินเป็น 2 ประเภทคือ ชำระ
ค่าบริการเป็นรายเดือน มีชื่อการค้าว่า "เอไอเอส 3 จี" และ ชำระค่าบริการด้วยการ
เติมเงิน มชี อื่ การค้าว่า "เอไอเอส 3 จี วนั ทูคอล (AIS 3G One-2-Call) "
- ระบบ 4G
บนคลื่นความถี่ 900, 1800, 2100 และ 2600 เมกะเฮิร์ตซ์ (คลื่นความถี่ 2600 เม
กะเฮิร์ตซ์ที่ถูกแบ่งจากใบอนุญาตความถี่ของ 5G เพื่อเพิ่มแบนวิธให้กับ 4G) ด้วย
เทคโนโลยี แอลทีอี แอดวานซ์ 3 ซีเอ มีชือ่ การค้าว่า "เอไอเอส 4 จี แอดวานซ์ (AIS 4G
Advanced)"
มีการนำคลื่นความถี่ 1800 และ 2100 เมกะเฮิร์ตซ์ มารวมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(2CA) Carrier Aggregation, 4x4MIMO และ DL256QAM/UL64QAM รวมถึงนำ
เครือข่าย WiFi 20 กิกะเฮิร์ตซ์ มารวมเป็นช่องสัญญาณเดียวกัน ด้วยเทคโนโลยี
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง Multipath TCP (MPTCP) โดยมีชื่อทางการค้าว่า "เอไอเอส
2
เน็กซ์ จี (AIS Next G)" ร่วมกับบริษัท ซัมซุง อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด
[เมอื่ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2564 ทาง AIS ประกาศยตุ ิบริการ Next G แลว้ ]
- ระบบ 5G
บนคลนื่ ความถี่ 700, 2600 เมกะเฮริ ์ตซ์ และ 26 กิกะเฮริ ์ตซ์
บรกิ ารเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็
- ระบบอนิ เทอร์เน็ต
1.เนต็ บา้ นความเร็วสงู มชี ่อื การคา้ ว่า "เอไอเอส ไฟเบอร์ (AIS Fibre)"
2.เนต็ บา้ นผ่านสายโทรศัพทพ์ น้ื ฐานแบบ Narrow band (Dial-Up Modem) 56 kbps มีช่ือการค้าว่า
"ซเี อส อินเทอรเ์ นต็ (CS Internet)" (ยกเลกิ บริการแลว้ )
3.เน็ตบ้านและสำหรับองค์กรผา่ นสายโทรศพั ท์พ้ืนฐานแบบ ISDN 256 kbps -1,024 kbps มชี อื่ การคา้
วา่ "ซเี อส ล็อกอินโฟร์ (CS Loxinfo)" (ปจั จบุ นั ไดย้ กเลิกบรกิ ารแล้ว และไดเ้ ปล่ียนไปใชช้ ่อื บรษิ ทั CSL
แยกตวั ออกไปทำระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตและ Internet Data Center เนน้ ธรุ กจิ เชงิ พาณิชย)์
เรยี นรู้และพฒั นากบั AIS
AIS มุ่งมั่นเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ และเป้าหมายธุรกิจ โดยมีวัฒนธรรมการ
ทำงานอย่างมืออาชีพ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ทักษะ และศักยภาพทเหมาะสม รวมถึงพัฒนา New
Abilities ให้กับพนักงานทั่วทั้งองค์กร ที่สอดคล้องต่อแผนความก้าวหน้าเติบโตในสายอาชีพ โดยจัดให้มีการอบรม
สัมมนา ดูงานทั้งในและต่างประเทศ การหมุนเปลี่ยนเรียนงาน การโอนย้ายงาน โดยใช้ระบบ Competency-
Based Development และมีการวางแผนพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Advancement) โดยจัดให้มี
โปรแกรมการพัฒนา รักษากลุ่มพนักงานที่มีศักยภาพ ความสามารถโดดเด่น เพื่อเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดง
ศักยภาพในการทำงานอยา่ งเตม็ ที่และประสบความสำเรจ็ ในวิชาชีพ รวมทงั้ จัดใหม้ ีทนุ การศกึ ษา ระดบั ปริญญาโท
ในและตา่ งประเทศ
AIS เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพพนักงาน ตั้งแต่เริ่มงานใหม่จนถึงปัจจุบันที่จะก้าวเติบโต
ไปด้วยกัน เพื่อให้เข้าใจวัฒนธรรมการทำงาน แนวทางปฏิบัติ ลักษณะการดำเนินธุรกิจขององค์กร ซึ่งจะช่วยให้
พนักงาน ได้เรยี นรู้และทำงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3
คล่นื ความถที่ ใี่ ช้งาน
เอไอเอส ถอื ครองคล่ืนความถที่ งั้ หมดรวม 1450 MHz ซึ่งเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารเครือข่ายโทรศัพท์มือถอื ทม่ี ีคลนื่
มากท่สี ุดในประเทศไทย[7] โดยในปัจจุบนั เอไอเอส ไดจ้ ัดสรรการใหบ้ รกิ ารแตล่ ะคลน่ื ความถ่ดี งั ต่อไปนี้
คลนื่ ความถ่ีในการใหบ้ ริการของเอไอเอส
คลน่ื หมายเลข จำนวน เทคโนโลยี ประเภท สถานะ เปดิ ระยะเวลา
ความถ่ี ช่องสญั ญาณ คลน่ื บรกิ าร ให้บรกิ าร ดำเนนิ การ
ความถี่
2x5 MHz UMTS/HSPA+ 3G 8 พ.ค. พ.ศ.
2556 สนิ้ สุด พ.ศ.
2x10 LTE/LTE-U 4G
MHz 2570
10 ธ.ค. (ใบอนญุ าต)
พ.ศ. 2558
2100 MHz 1
2x5 MHz UMTS/HSPA+ 3G 29 ม.ี ค. สิน้ สุด พ.ศ.
พ.ศ. 2560 2568 (สัญญา
2x10 LTE/LTE-U 4G เช่า)
MHz กำลงั
ให้บริการ ม.ิ ย. พ.ศ.
2562
1800 MHz 3 2x20 LTE/LTE-U 10 ธ.ค. ส้นิ สดุ พ.ศ.
900 MHz 8 MHz พ.ศ. 2558 2576
(ใบอนญุ าต)
4G
2x10 LTE ก.ค. พ.ศ.
MHz 2559 [8]
4
คลน่ื ความถ่ใี นการใหบ้ ริการของเอไอเอส
คลน่ื หมายเลข จำนวน เทคโนโลยี ประเภท สถานะ เปิด ระยะเวลา
ความถ่ี ช่องสัญญาณ คลนื่ บริการ ให้บริการ ดำเนนิ การ
ความถี่
GiLTE GSM/GPRS/EDGE 2G 1 ต.ค. พ.ศ. สิ้นสดุ พ.ศ.
2533 2574
(ใบอนุญาต)
2600 MHz 41/n41 TD-LTE with 21 ก.พ. ส้ินสดุ พ.ศ.
Intraband 5CA & พ.ศ. 2563[9] 2578
100 MHz Massive MIMO, 4G, 5G (ใบอนญุ าต)
and 5GNR with
DSS technology
700 MHz n28 2x15 5GNR 5G 13 ม.ค. สิ้นสุด พ.ศ.
MHz พ.ศ. 2564 2579
(ใบอนุญาต)
26000 MHz n258 1200 5GNR 5G 15 ก.พ. สิ้นสดุ พ.ศ.
(26GHz) MHz พ.ศ. 2564 2579
(ใบอนุญาต)
5
ผถู้ ือห้นุ รายใหญ่
ลำดบั ที่ รายชื่อผถู้ ือหนุ้ จำนวนหนุ้ สามัญ สัดส่วนการถือห้นุ
1 บริษัท อนิ ทชั โฮลดิ้งส์ จำกดั (มหาชน) 1,202,712,000 40.45%
2 SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD. 693,359,000 23.32%
3 บริษัท ไทยเอน็ วีดีอาร์ จำกดั 178,224,148 5.99%
4 สำนกั งานประกนั สังคม 92,455,400 3.11%
5 SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED 49,202,633 1.65%
6
โครงสร้างการบรหิ ารงาน
7
โครงสรา้ งกลุ่มธุรกจิ
8
สารจากประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทบ่ี ริหาร
3 ทศวรรษแหง่ ความเป็นผู้นำของเอไอเอส ส่คู วามแข็งแกร่งในปแี หง่ ความท้าทาย
ในปี 2563 เอไอเอสได้ดำเนินธุรกิจครบรอบ 30 ปี และเป็นปีที่เราได้เผชิญกับความท้าทายรูปแบบใหม่
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศในทุกภาคส่วน และ
สง่ ผลใหเ้ ศรษฐกจิ ไทยชะลอตัว ธุรกิจของเอไอเอสไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดเชน่ เดยี วกนั โดย
รายได้รวมของปี 2563 ลดลงร้อยละ 4.4 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากรายได้ธรุ กิจโทรศัพทเ์ คลื่อนที่ทีล่ ดลงจากทั้งกำลงั
ซื้อที่อ่อนตัวลง ประกอบกับรายได้จากกลุ่มนักท่องเที่ยวที่หายไป อย่างไรก็ตาม เรายังคงรักษาความเป็นผู้นำใน
ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ธุรกิจอินเทอร์เน็ตบ้านยังคงเติบโตได้อย่างแข็งแกร่งจากความ
ต้องการที่เพิ่มขึ้นจากกระแสการทำงานจากที่บ้าน (Work from home) และเรียนจากที่บ้าน (Learn from
home) ชว่ ยเสรมิ ให้เอไอเอสไฟเบอร์บรรลุเป้าหมายจำนวนผ้ใู ชบ้ ริการที่ 1.35 ล้านรายในปีที่ผ่านมา ดว้ ยแนวโน้ม
ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ เรายังคงให้ความสำคัญกับการบริหารต้นทุนค่าใช้จ่ายและกระแสเงินสด เพื่อรักษา
ความสามารถในการทำกำไรและการลงทุนได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ทำให้ในปี 2563 เอไอ
เอสยงั คงมกี ำไรสุทธิ 28,423 ล้านบาท และปนั ผลรวม 20,219 ล้านบาท
โดยปัจจยั สำคญั ในการตัดสนิ ท้งั 3 ปัจจยั Marketeer วิเคราะห์มาจาก
1. การเติบโตบนกลยทุ ธ์ ดจิ ทิ ัล เซอร์วสิ โพรไวเดอร์
แม้เอไอเอสจะเป็นผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถืออันดับหนึ่งในประเทศไทย ต่อเนื่องยาวนานถึง 29
ปี แตด่ ว้ ยวสิ ัยทัศนข์ อง สมชัย เลิศสุทธวิ งค์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ทไี่ ด้ปรบั เปลย่ี นภาพลักษณข์ องเอไอเอสจาก
ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือสู่ดิจิทัล เซอร์วิส โพรไวเดอร์ ที่ไม่ได้มีแต่เครือข่ายมือถือให้บริการเพียงธุรกิจ
เดยี ว แต่ยงั ประกอบด้วยธรุ กิจอ่ืนๆ ที่จะเขา้ เสริมทพั ความแข็งแกร่งใหก้ ับธรุ กิจในอนาคตโดยธุรกิจของเอไอเอสใน
ปัจจุบัน ประกอบด้วยธุรกิจเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ผ่านแบรนด์เอไอเอส ที่ปัจจุบันมีลูกค้ามากถึง 41.5 ล้านเลข
หมาย พร้อมผู้ใช้งาน 4G มากถึง 63% ของลูกค้าเอไอเอสทั้งหมดและธรุ กิจไฟเบอร์บรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต เอไอ
เอส ไฟเบอร์ ที่มีอัตราการเติบโตด้านลูกค้าใหม่ คิดเป็น 20% ของตลาดในปีที่ผ่านมารวมไปถึงบริการดิจิทัลคอน
เทนต์ชั้นนำระดับโลก ภายใต้แบรนด์เอไอเอส อย่างเช่นเอไอเอส เพลย์ ที่เข้ามาตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของลูกค้าได้
ประโยชน์ในการใชง้ านด้านต่างๆ
2. ผลประกอบการเติบโตต่อเนือ่ ง ปิดไตรมาส 1/62 รายได้รวมเพ่มิ ขนึ้ 7.1%
จากรายงานในตลาดหลักทรัพย์พบว่าในปีที่ผ่านมาเอไอเอสมีรายได้รวมเติบโตมากถึง 7.7% ทางด้าน
รายได้ และครองสว่ นแบ่งการตลาดเชงิ รายได้มากถงึ 48% และมีผลกำไรมากถึง 29,682 ล้านบาท จากการบรหิ าร
ค่าใช้จ่ายต่อเนื่อง พร้อมจ่ายเงินปันผลท้ังปีคิดเป็น 7.08 บาทต่อหุ้น หรือประมาณ 70% ของกำไรสุทธิส่วนในไตร
9
มาสแรกของปี 2562 เอไอเอสมกี ำไรสทุ ธิ 7,615 ล้านบาท และยงั คงมกี ารเตบิ โตด้านรายได้รวมเพิ่มขนึ้ 7.1% จาก
ช่วงเวลาเดียวกนั ของปีทีผ่ ่านมา
3. ลงทนุ ในโครงการท่ีเสริมศกั ยภาพธุรกจิ
ในปีที่ผ่านมาเอไอเอสใช้งบลงทุนรวม 20,198 ล้านบาท โดยโครงการลงทุนที่สำคัญของเอไอเอสในปีที่
ผ่านมา เพื่อเสรมิ ความแขง็ แกรง่ ให้กับธรุ กิจของเอไอเอส
หนึ่ง-การประมูลคลื่นความถี่ 1800MHz เพิ่มเติม เพื่อเสริมศักยภาพด้านโครงข่าย 4G ให้เป็นโครงข่ายท่ี
เรว็ ที่สดุ และมคี ลืน่ ความถี่รองรับมากท่สี ดุ เพอ่ื ให้บรกิ ารลูกค้าอยา่ งเต็มประสทิ ธิภาพสูงสุด
สอง– ขยายโครงข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตไฟเบอร์ทใ่ี หม่ล่าสดุ เพื่อใหบ้ ริการ FTTH: Fiber to the Home รองรับ
การใช้งานของลูกค้าอินเทอร์เน็ตบ้าน เอไอเอส ไฟเบอร์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยในไตรมาสแรกปี
2562 เอไอเอส ไฟเบอร์ มีจำนวนลูกค้าอยู่ที่ 795,000 ราย ครอบคลุมการใช้งานในพื้นที่ 57 จังหวัดทั่ว
ประเทศ โดยมีลูกค้าเพ่มิ ข้ึนจำนวน 64,500 ราย สงู ท่ีสุดในรอบ 7 ไตรมาสทผ่ี า่ นมา
สาม-ซื้อกิจการ CSL เพื่อขยายการทำธุรกิจในกลุ่มลูกค้าองค์กร (Enterprise Business) โดยเฉพาะใน
งานบริการดา้ น Cloud, Managed ICT Service ด้วยแนวคิดผ้นู ำบริการ ICT เพ่อื องค์กรครบวงจร
สี่-จับมือร่วมลงทุนกับพันธมิตรชั้นนำของประเทศอย่าง LINE และ Rabbit ให้บริการ Rabbit LINE Pay
เพื่อขยายช่องทางในงานบริการลูกค้าด้าน Mobile Money หรือ e-Wallet ให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เพ่ือ
วางรากฐานของธุรกิจในยุคที่ประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่สังคมไร้เงินสดอย่างเต็มรูปแบบในอนาคตยังไม่
รวมถึงการมองหายูสเคสของ 5G ทจ่ี ะนำมาปรบั ใหบ้ ริการกับลูกค้าในอนาคต 5G
10
เอไอเอสและไมโครซอฟทป์ ระกาศจบั มือพฒั นาบริการคลาวดพ์ ลงั 5G ขบั เคล่อื นเศรษฐกิจท่วั
อาเซยี น พรอ้ มปลดลอ็ คศักยภาพธุรกิจไทย มุ่งสู่ความสำเร็จในโลกดจิ ิทัล
• ความรว่ มมอื ครง้ั สำคัญ ร่วมสรา้ งนวัตกรรมคลาวดท์ ่ีเหนือกว่าเพอ่ื ยคุ 5G หนุนธุรกิจในประเทศไทย
• เครือข่าย 5G ของเอไอเอส ผนึกกับแพลตฟอร์มคลาวด์ของไมโครซอฟท์ จะสร้างโอกาสรอบด้าน ให้ทุก
คนไดเ้ ข้าถึงโซลูชัน่ ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพครบครนั และพรอ้ มใชง้ าน
• พร้อมยกระดับความเชี่ยวชาญด้านคลาวด์ของเอไอเอสในเชิงลึก เพื่อสร้างผลลัพธ์ในเชิงบวกให้กับองคก์ ร
ไทยนบั แสนราย
กรุงเทพฯ – 15 มิถุนายน 2564 – บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์
เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ผู้นำด้านบริการโทรคมนาคมและชีวิตดิจิทัล ประกาศความร่วมมือเชิงกล
ยุทธ์อย่างเต็มรูปแบบเพ่อื ขับเคลือ่ นการเตบิ โตของเศรษฐกิจดิจทิ ัลในประเทศไทย พรอ้ มเสริมสร้างนวตั กรรมให้ทุก
องค์กรในเมืองไทย ด้วยพลงั จากบรกิ ารคลาวด์ระดับโลกและเครอื ข่ายทีด่ ที สี่ ุดของไทย
ภายใต้ความร่วมมือครั้งสำคัญนี้ ทั้งสองฝ่ายจะร่วมกนั พัฒนาและนำเสนอบริการคลาวด์ที่สามารถตอบสนองความ
ต้องการขององค์กรไทยได้ดีที่สุด ทั้งยังสนับสนุนการปฏิรูปธุรกิจด้วยดิจิทัลให้แก่องค์กรทั่วประเทศ ผ่านโครงการ
พัฒนาทักษะท่คี รอบคลมุ ตง้ั แต่ภายในองคก์ รของเอไอเอส ไปจนถึงธรุ กิจอนื่ ๆ ด้วย
มร. ฌอง-ฟิลลปิ ป์ คูร์ตัวส์ รองประธานกรรมการบรหิ าร และประธานฝ่ายขาย การตลาด และปฏิบตั ิการระดบั
โลก ไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชัน กล่าวว่า “ภาคธุรกิจของประเทศไทยได้แสดงให้เห็นถึงความคล่องแคล่วและ
ความสามารถที่โดดเด่นในการฟื้นตัว ท่ามกลางสถานการณ์ที่เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงรอบด้าน เนื่องจาก
หลายองค์กรไดห้ ันมาปรบั เปล่ยี นกลยุทธ์เชิงดจิ ทิ ลั เพื่ออนาคตของพวกเขา เราจงึ มองวา่ ประเทศไทยเป็นประเทศท่ี
มีโอกาสที่ยิ่งใหญ่ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้วยคลาวด์ ความร่วมมือเชิงกลยุทธ์ของเรากับเอไอเอสจะเข้ามาต่อ
ยอดและเติมเต็มศักยภาพของประเทศอย่างเต็มที่ ด้วยการผสมผสานทั้งความเชี่ยวชาญด้านการเชื่อมต่อ พร้อม
ด้วยระบบเครือข่ายที่ดีทีส่ ุดในประเทศ และระบบคลาวด์ทีไ่ ด้รบั ความเชือ่ มั่นในระดบั โลกของไมโครซอฟท์ เพื่อทำ
ใหค้ วามฝันและแผนงานเชิงดิจทิ ัลของทุกองคก์ รกลายเป็นความจริง”
11
นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) กล่าว
อีกว่า “ในฐานะ Digital Life Service Provider ที่ยึดมั่นในเป้าหมายสำคัญคือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน
ดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการเดินหน้าของประเทศ เราตื่นเต้นอย่างยิ่ง ที่ได้ประกาศความร่วมมือกับไมโครซอฟท์ ใน
ฐานะ Exclusive Strategic Partner ในประเทศไทยและเป็นอันดับต้นๆของภูมิภาคอาเซียน ในการเป็นดิจิทัล
พาร์ทเนอร์ที่จะร่วมสนับสนุน ผลักดัน ทุกอุตสาหกรรมในการใช้ดิจิทัลเข้ามาขับเคลื่อน สร้างการเปลี่ยนแปลง
และยกระดับการบรหิ ารจดั การภายในองคก์ ร ตอบสนองโลกทพี่ ลิกโฉมอยตู่ ลอดเวลาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ”
“ผมเชื่อมัน่ เป็นอย่างยิ่งว่า เทคโนโลยี Cloud ระดับโลกจากไมโครซอฟท์ เมื่อมาบูรณาการกบั เทคโนโลยเี ครือขา่ ย
จาก AIS 5G และ AIS Fibre ที่ดีที่สุด จะสามารถสร้างรูปแบบบริการใหม่ๆให้แก่องค์กรไทยบนต้นทุนที่เหมาะสม
เป็นรากฐานในการนำเทคโนโลยีอัจฉริยะอย่างปัญญาประดิษฐ์เข้ามาประยุกต์ใช้ในโมเดลธุรกิจแบบใหม่ได้อย่าง
รวดเร็ว และที่สำคัญที่สุดคือ ร่วมเป็นกำลังเสริมในการนำดิจิทัลเข้ามาสนับสนุนภารกิจของประเทศในทุก
สถานการณ์ ทั้งในแง่การรับมือภาวะวิกฤต และการสร้างการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างยั่งยืน ในฐานะ
Digital Transformation Accelerator นั่นเอง”
ไมโครซอฟท์และเอไอเอสได้ร่วมเป็นพันธมิตรกันอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยเอไอเอส ในฐานะ
พันธมิตรคลาวด์ของไมโครซอฟท์ ได้ขับเคลื่อนความสำเร็จให้กับลูกค้าองค์กรมากมาย ด้วยสมรรถนะและ
ประสบการณ์การใชง้ านทด่ี ที สี่ ุด ด้วยนวัตกรรมและโครงสร้างพน้ื ฐานที่เหนอื กว่า
สำหรบั ความร่วมมอื ท่ปี ระกาศในครง้ั น้ี ทั้งสองบริษัทจะเดินหน้าดำเนนิ โครงการทง้ั หมด 3 ส่วน ดังน้ี
• ผลักดันโซลูชั่นดิจิทัลให้เติบโต: ไมโครซอฟท์และเอไอเอสจะดำเนินงานร่วมกัน เพื่อกระตุ้นการใช้งาน
โซลชู ่ันและบรกิ ารดา้ นคลาวด์ ขอ้ มูล ความปลอดภัยไซเบอร์ และ IoT ซง่ึ ในท้ายท่ีสุด จะทำใหอ้ งค์กรไทย
ทุกขนาดและทกุ ระดบั สามารถเดินหน้าต่อไปอย่างมั่นใจ และเป็นสว่ นหน่ึงในการสนบั สนุนการเตบิ โตของ
เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลในประเทศไทย
• ยกระดับทักษะเชิงดิจิทัลให้กับมืออาชีพ: จากความเชี่ยวชาญและทรัพยากรที่ไม่มีใครเทียบของ
ไมโครซอฟท์ เอไอเอสจะมอบโอกาสให้พนักงานในบริษัทได้รับการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีเชิงลึก
(deep tech) ที่จะช่วยให้สามารถคว้าโอกาสด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้ดียิ่งขึ้น โดยนอกจากหลักสูตรและ
สื่อการเรียนรู้ต่างๆ แล้ว พนักงานเอไอเอสยังจะได้รับใบรับรองความเชี่ยวชาญด้านทักษะที่เกี่ย วข้องกับ
ระบบคลาวด์ อีกทั้งยังจะมีการจัดแฮกกาธอน (hackathon) พิเศษเพื่อนำไอเดียที่ฉายแววที่สุดออกมา
สร้างความเปล่ียนแปลงในเชิงบวกให้กับลูกค้าในการทำงานจริง นอกจากนี้ เอไอเอสยังจะนำความรู้ความ
เชีย่ วชาญดา้ นเทคโนโลยีเชิงลึกน้ไี ปเผยแพร่ใหก้ บั องค์กรนับแสนรายในเครือขา่ ยลกู คา้ ของบริษัทอีกด้วย
• มอบนวัตกรรมที่ดีที่สุดเพื่อธุรกิจ: ไมโครซอฟท์และเอไอเอสจะร่วมกันนำเสนอเทคโนโลยีที่ยอดเยี่ยม
ทสี่ ุดจากท้งั สองฝ่าย เพ่อื มอบโซลชู ่นั ท่ดี ีทีส่ ุดดว้ ยศกั ยภาพจากท้ังเครือข่าย 5G ระบบคลาวด์ AI และ IoT
โดยรวมถงึ การผสมผสานผลิตภัณฑแ์ ละบรกิ ารในรูปแบบต่างๆ ท่ีสามารถมอบประสิทธิภาพทดี่ ที ี่สุดได้ ไม่
ว่าสำหรบั การทำงานบนคลาวด์หรอื ทีอ่ ุปกรณป์ ลายทาง (edge computing) การผสมผสานศกั ยภาพด้าน
การวเิ คราะหข์ ้อมูลข้ันสงู เข้ากบั เครือขา่ ย 5G จะช่วยตอบโจทย์ในจังหวะสำคัญของการทำงาน เช่นการใช้
หุ่นยนต์เข้ามาสนับสนุนงานด้านการแพทย์ การยกระดับภาคการผลิต การสร้างระบบอาคารอัจฉริยะ
12
หรือการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับธุรกจิ ค้าปลีก ระบบขนส่ง และโลจิสติกสต์ ่างๆ โดยทั้งหมดนี้ นอกจากจะ
เปน็ การขยายอีโคซสิ เตม็ ดจิ ิทลั ของเอไอเอสให้ครอบคลุมความต้องการของภาคธุรกจิ ได้มากกวา่ ท่ีเคยแล้ว
ยังจะช่วยขับเคลื่อนธุรกจิ ของลูกคา้ ต่อไป ผ่านทางโซลชู ั่นทั้งในรูปแบบสำเร็จรูปพร้อมใช้งาน และในแบบ
ที่ปรบั แต่งมาใหต้ อบโจทย์ของแต่ละองคก์ รโดยเฉพาะ
มร. ฌอง-ฟิลลิปป์ คูร์ตัวส์ เผยอีกว่า “การดำเนินงานทั้งสามส่วนที่เราได้กล่าวถึงอย่างคร่าวๆ ในวันนี้ เป็นเพียง
ก้าวแรกภายใต้ความร่วมมือระหว่างเรากับเอไอเอส ทั้งผู้บริโภคและภาคธุรกิจจะได้เห็นความคืบหน้าอีกมากมาย
เร็วๆ น้ี นอกจากน้ี ไมโครซอฟท์ยังจะเขา้ ไปเปน็ พันธมิตรอยา่ งเป็นทางการของแพลตฟอร์ม AIS TheStartUp เพอ่ื
ช่วยสนับสนุนสตารท์ อัพไทยในการกา้ วสู่ความสำเรจ็ อีกด้วย”
“ความร่วมมือของ AIS และ ไมโครซอฟท์ ในครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความมั่นคงของ Digital
Infrastructure ในระดับประเทศ อันจะนำมาซึ่งความสำเร็จ และประโยชน์อีกมากมายให้แก่ภาคธุรกิจต่างๆ ใน
การทำ Digital Transformation ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ถือได้ว่าเป็นอีกความร่วมมือครั้งสำคัญที่จะทำให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับประเทศอย่างยั่งยืนที่กำลังขับเคลื่อนด้วยเศรษฐกิจดิจิทัล โดยความแข็งแกร่งทั้งจาก
AIS และ ไมโครซอฟท”์ นายสมชัย กลา่ วทิง้ ท้าย
13
ความสำเรจ็ ในการบริหารงานบุคคลของ AIS กับแนวคิดการทำงานร่วมกับคนรนุ่ ใหม่
ปัจจุบันงาน HR เข้ามามีบทบาทสำคัญในองค์กรมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรที่มีความหลากหลาย
ของพนักงานในแต่ละช่วงอายุ หรือ Generation น่าสนใจเป็นอย่างยิ่งว่าปัจจุบันหลายๆ องค์กรเผยว่ากลุ่มคน
Gen Y เริ่มเข้ามามีบทบาทในองค์กรมากขึ้น และมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้นในองค์กร แต่ทว่าแนวความคิดทัศนคติใน
การทำงานค่อนข้างแตกต่างอย่างมากกับกลุ่มคน Baby Boom และคน Gen X ซึ่งอยู่มาก่อนในองค์กร ฉะนั้น จึง
อาจจะเรียกได้ว่าเปน็ ความท้าทายที่สำคัญอยา่ งยิง่ ของหน่วยงาน HR ที่จะประสานกลุม่ คนทั้งสาม Generation น้ี
ให้เขา้ กันได้อย่างกลมกลืน และใหเ้ กิดข้อขัดแยง้ นอ้ ยทสี่ ุด
ดงั เช่น AIS บรษิ ัทผนู้ ำดา้ น Telco อันดับ 1 ของเมืองไทย ซึง่ มพี นักงาน Gen Y มากถงึ 70% มีพนักงาน
Gen X ถึง 28.6% และมีพนักงาน Baby Boom อยู่ 2.4% แต่พนักงานทั้ง 3 รุ่นนี้ ก็สามารถทำงานกันได้อย่าง
กลมเกลียว จนกระทั่งได้รับรางวัล สุดยอดนายจ้างดีเด่นแห่งประเทศไทย ประจำปี 2016 ซึ่งถือว่าเป็นความ
ภมู ิใจอยา่ งยงิ่ ของชาว AIS ดังนน้ั Marketing Oops! จงึ ได้มโี อกาสเข้ามาพูดคุยกับ ผ้บู ริหาร HR คนสำคญั ซ่ึงถือ
ได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้อยู่เบื้องหลังของความสำเร็จในการบริหารบุคคลและองค์กรจนสามารถทำให้ทุกๆ ฝ่ายรวมตัว
เปน็ เนอื้ เดยี วกันได้ เธอคนนัน้ คือ กานติมา เลอเลศิ ยตุ ิธรรม Chief Human Resources Officer
AIS องค์กรท่ตี ื่นรู้
ในโอกาสที่ได้พูดคุยกับ “พี่เจี๊ยบ” ที่น่ารักของชาว AIS พี่เจี๊ยบเริ่มต้นด้วยการเล่าถึงการเปลี่ยนแปลง
ภายในองค์กรที่สำคัญหรือ Transformation โดยบอกว่า เป็นความว่องไวของ AIS ที่จะได้ตื่นรู้ก่อนที่จะมีอะไร
เกิดขึ้น AIS เราจะต้องเห็นว่าตอนนี้ Positioning ของเราในตลาดอยู่ที่ไหนแล้ว และเราจะต้องทำอะไรบ้าง
เพราะฉะนัน้ สง่ิ สำคัญทีท่ างคณะผูบ้ ริหารเหน็ ทศิ ทางคอื การทำ Transformation ขององค์กร เนอื่ งจากวา่ ถ้าเรารอ
ใหป้ ระสบปญั หาก่อน หรอื รอให้เกิดปัญหากอ่ นแล้วค่อยมาแก้ตรงน้นั แล้ว มันอาจจะช้าเกนิ ไป มนั อาจจะไมท่ นั
นอกจากนี้ ความท้าทายที่สำคัญของการทำหน้าที่ HR คือการผสานความเป็นหนึ่งเดียวกันของคนแต่ละ
ช่วงวัยในองค์กรซึ่งเป็นงานที่ท้าทายมาก โดยพี่เจี๊ยบ เล่าว่า องค์กรเรามี Gen Y อยู่ประมาณ 70% ด้วยความที่มี
พนักงานเป็นคนกลุ่มนี้สูงท่ีสุด เราในฐานะผู้บริหารองค์กรจึงลมื คนกลุ่มนี้ไม่ได้เลยว่าเขามองหาอะไรอยู่ เช่นความ
14
สนุก ความท้าทาย และพื้นที่ที่จะแสดงศักยภาพ โดยมีรุ่นพี่คอยช่วยเหลือและแนะนำ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่สำคัญ
ของคนที่เป็นผู้นำก็คือ การถ่ายทอดประสบการณ์ที่เรามีไปผสานกับศักยภาพที่น้องๆ มี เพื่อช่วยกันนำพาองค์กร
เติบโตไปอย่างยงั่ ยืน สิง่ นีเ้ ป็นสว่ นหน่งึ ทที่ ำให้ AIS ขยายตวั เรว็ ได้กวา่ คนอน่ื
รางวัล “นายจา้ งดเี ด่น”
รางวัลสุดยอดนายจ้างดีเด่นแห่งประเทศไทย ประจำปี 2016 ซึ่งจัดขึ้นโดย บริษัท เอออน ฮิววิท
(ประเทศไทย) รว่ มกบั สถาบนั บัณฑติ บริหารธรุ กิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั พเ่ี จยี๊ บ กล่าวถึงรางวลั นี้วา่
ต้องบอกว่า AIS รู้สึกภูมิใจ ที่เราได้รับเกียรติได้รับรางวัลนี้ และรางวัลนี้เป็นการตัดสินจากข้างนอกไม่ได้ตัดสิน
กันเองจากคนข้างใน ไม่ได้แค่พนักงานไปลงคะแนนสูงๆ แล้วได้มา ไม่ใช่แค่นั้น มีการเข้ามาสัมภาษณ์ แม้แต่ CEO
ก็ต้องทำแบบสอบถาม ซึ่งสิ่งนี้น่าจะเป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่งได้ว่าการ Transformation ของ AIS น่าจะมาได้ถูกทาง
และไดร้ ับการยอมรับกบั องค์กรภายนอก
วัฒนธรรมองคก์ รของ AIS คือ “ความเป็นทมี เวิร์ค”
พี่เจี๊ยบ ยังกล่าวด้วยว่า สาเหตุส่วนหนึ่งที่ทำให้เราได้รับรางวัลนี้ น่าจะมาจากวัฒนธรรมองค์กรที่น่ารัก
ของชาว AIS น่ันคือความเป็นทีมเวิรค์ เพราะชาว AIS ทุกคนมีความผูกพนั กบั องคก์ รอยา่ งจริงจงั มีความจงรักภักดี
กับองค์กรสูง อย่างเวลาที่มีอีเวนท์หรือเหตุกาณณ์ต่างๆ เราจะเห็นความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของพนักงาน อย่าง
ล่าสุดการประมูลคลื่น เราจะเห็นคน AIS ต่างจับจ้องร่วมลุ้นและเชียร์ไปด้วยกัน เวลาที่ได้ดูตามฟีด Facebook
15
ของพนักงาน ทุกคนก็จะจดจ่ออยู่กับความเคลื่อนไหวในองค์กรอย่างมาก เพราะฉะนั้น ตัวตนของคน AIS คือ AIS
มคี วามเปน็ ทมี
เคลด็ ลับการเช่อื มโยงบุคคล คือการมองแบบ Gen C
อยา่ งทเี่ กริ่นตอนตน้ หน้าท่สี ำคญั อีกอย่างของ HR คอื การผสานคนทกุ Gen ให้เปน็ นำ้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั ให้ได้
ซึ่งพี่เจี๊ยบได้แนะนำ Gen ใหม่ให้เราได้รู้จักด้วย ซึ่งเป็นสะพานเชื่อมคนทุก Gen เข้าหากัน โดยกล่าวว่า ในบริบท
ของทั้ง 4 Gen นี้ ก็มีศัพท์ใหม่ขึ้นมาเขาเรียกว่า Gen C คือ Generation Connect ซึ่งไม่ได้พูดถึงอายุแล้ว แต่
พูดถึงพฤติกรรม ตรงนี้เป็นตัวตอบโจทย์ของ AIS ได้ดีว่า ทำไมในความหลากหลายของ Gen ใน AIS ทำไมเราจึง
อยู่ร่วมกันได้อย่างแฮปปี้ เพราะคาแร็คเตอร์หนึ่งที่เรามีคือ ความเป็น Gen C คือความสัมพันธ์เรื่องอายุไม่ใช่
ประเด็น แต่อยู่ที่ความเชื่อมโยงเรื่องพฤติกรรมต่างๆ เข้าหากัน นำความชอบเข้าหากัน ซึ่งไม่ว่าคุณจะเป็น Gen
ไหนก็สามารถ Connect เข้าหากันได้ สิ่งนี้นับเป็นความท้าทายของเรา ซึ่งก็คิดว่าคงไม่ใช่มีแค่ AIS ที่เดียวน่าจะ
เกิดข้นึ ในหลายๆ องค์กร
การว่งิ หนีความสำเร็จของตัวเอง คอื ความทา้ ทายใหก้ บั คนรนุ่ ใหม่
ในเมื่อ AIS คือผู้นำในอุตสาหกรรมมาโดยตลอด อะไรจะเป็นแรงผลักดันที่ทำให้คนรุ่นใหม่อยากจะเข้ามา
ทำงานในองค์กร บริษัทยังจะมีความท้าทายให้กับคนกลุ่มนี้ได้หรือ ซึ่งพี่เจี๊ยบตอบคำถามนี้อย่างมั่นใจว่า มัน
คือ การวง่ิ หนคี วามสำเรจ็ ของตัวเอง
พี่เจี๊ยบ กล่าวด้วยว่า เมื่อมันมีบริบทความคิดแบบนี้อยู่ด้วยกันแล้ว เมื่อ Gen ใหม่เข้ามา เขาได้เรียนรู้
ประสบการณ์ทีเ่ ราผ่านมา 27 ปี ในระหวา่ งน้นั เขาจะตอ้ งว่ิงเก็บเกย่ี วทกุ ประสบการณ์ทเ่ี ราผ่านมา ในขณะเดียวกัน
ก็จะต้องช่วยกันวิ่งหนีความสำเร็จในอดีตที่มี นี่คือความชาเลนจ์ของคน AIS เราไม่สามารถไปมองเทียบตัวเองกับ
16
คนโน้นคนนี่ได้ตลอดเวลา แต่ถามว่าต้องเรียนรู้จากคนอื่นไหม ต้องเรียนรู้ แต่ที่สุดของการแข่งคอื การแข่งเพื่อการ
เปน็ ท่ี 1 อยา่ งยัง่ ยืน อันน้ีแหละคือสิ่งที่ทา้ ทายเรา
คำแนะนำแก่นอ้ งๆ Gen Z ท่กี ำลงั กา้ วมาส่ชู ีวิตการทำงาน
พีเ่ จ๊ียบ ใหค้ ำแนะนำแกน่ อ้ งๆ ร่นุ ใหม่ทจี่ ะมาสู่ตลาดแรงงานว่า สำหรบั น้องๆ รนุ่ ใหมต่ อ้ งถอื ว่าเขาโตมาใน
บริบทที่โชคดีมาก เพราะว่าในสภาวะสังคมที่มีการต่อสู้มากขึ้นทำให้ภูมิคุ้มกันของเขาจะดีกว่าในยุคก่อนๆ แต่ส่ิง
สำคญั ไมว่ ่าจะคนยุคไหน เวลาท่เี ราเขา้ มาในสถานทีท่ ำงานใหม่ เรอ่ื งของ Observation เป็นเร่อื งสำคัญ เพราะมัน
จะชว่ ยใหเ้ ข้าใจได้วา่ คนเขาทำอะไร และทำทำไม
ทำให้ AIS สามารถคงความเปน็ ผนู้ ำด้าน Telco มาได้อย่างยาวนาน ซ่ึงจุดน้เี องหลายองค์กรท่ีกำลังมีกลุ่ม
คนรุ่นใหม่เข้ามาในสัดส่วนที่มากขึ้นและเริ่มมีบทบาทสำคัญในองค์กร ก็น่าจะนำไปเป็นกรณีศึกษาเพื่อหาหนทาง
ในการทำงานร่วมกันได้ เพราะเชื่อมั่นว่าไม่ว่าจะคนยุคไหนต่างก็มีศกั ยภาพในแบบของตวั เอง ดงั น้นั หากนาสิ่ง
เหลา่ น้ีมาเติมเตม็ ซ่ึงกนั และกนั กจ็ ะทาใหอ้ งคก์ รของเราเขม้ แขง็ และยงั่ ยนื ไดใ้ นท่ีสุด
17
บรรณานุกรม
https://news.microsoft.com/
https://www.ais.th/
https://investor-th.ais.co.th/
https://www.marketingoops.com/
https://marketeeronline.co/
https://th.wikipedia.org/