ออกแบบแผน่ ทางเทา้ มวลเบา
จากวสั ดเุ หลือใช้
Design of lightweight pavement
panels from waste materials
ก
คานา
หนังสือเล่มน้ ีชื่อออกแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบาจากวสั ดุเหลือใช้
เป็ นหนังสือเก่ียวกบั เรื่องการออกแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบาจากวสั ดุเหลือ
ใช้ สาหรบั งานภูมิทศั น์ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อ1. เพ่ือศึกษาทดลองการ
หาสูตรการผลิตแผ่นทางเท้ามวลเบา โดยเทคนิ คการหล่อ ท่ีดีมี
ประสิทธิภาพ การเปรียบเทียบในการใชส้ ูตรมาตรฐาน กบั สูตรมวลเบา
ใหเ้ ห็นความแตกต่าง และการพฒั นาทกั ษะทางวิชาชีพภูมิทศั น์ ดา้ นงาน
วสั ดุประเภท แผ่นทางเทา้ มวลเบา
โดยหนังสือเร่ืองน้ ีหวงั เป็ นอย่างย่ิงว่า จะเป็ นประโยชน์ในการใช้
ออกแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบาจากวสั ดุเหลือใช้ แก่ผูท้ ่ีสนใจพอสมควร
ขณะเดียวกนั ก็คงมีส่วนช่วยนาสูตรการหล่อ ในการผลิตแผ่นทางเทา้ มวล
เบาที่ดีข้ ึน เพอ่ื พฒั นารูปแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบาแบบต่างๆ การต่อยอด
องคค์ วามรู้ ตลอดจนเทคนิค และแนวทางการออกแบบแผ่นทางเทา้ ใหม่ๆ
ในอนาคต การศึกษาทดลองเป็ นส่วนหน่ึงของการพัฒนา ทักษะทาง
วิชาชีพภูมิทัศน์ที่จะเกิดประโยชน์ในการประกอบวิชาชีพในอนาคต และ
สามารถนาผลสรุปไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการออกแบบงานภูมิทัศน์
ต่อไปไดจ้ รงิ
ศุภวชิ ญ์ ใจสมุทร
(นายศุภวชิ ญ์ ใจสมุทร)
สารบญั ข
คานา บทนา หนา้
สารบญั ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ก
บทท่ี1 วตั ถปุ ระสงค์ ข
บทท่ี2 สมมตุ ิฐาน
ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั 2
บทท่ี4 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 3
บทท่ี 5 งานภมู ิทศั น์ 4
บรรณานกุ รม วสั ดใุ นงานภมู ิทศั น์ 5
การหลอ่ และการปั้น
วสั ดใุ นกระบวนการผลิตแผน่ ทางเทา้ มวลเบา 7
วสั ดอุ ปุ กรณ์ 9
วสั ดปุ รุงสตู รมวลเบา 10
อปุ กรณแ์ ตง่ ผิวทางเทา้ 11
วิธีการวางแผน 13
กระบวนการดาเนินโครงงาน 14
การเก็บขอ้ มลู และประเมินผล 15
ระยะเวลาดาเนินการ 16
สถานท่ีทาการทดลอง 17
ผลการทดลอง 18
ผลการทดลองผลิตแผน่ ทางเทา้ สตู รมาตรฐาน 19
ผลการทดลองผลติ แผน่ ทางเทา้ สตู รมวลเบา 19
สรุปผลการดาเนินโครงงาน
การประยกุ ตผ์ ลการศกึ ษา 22
ขอ้ เสนอแนะ 24
32
33
ค
บทที่ 1
บทนา
2
ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา
งานภูมิทัศน์มีความจาเป็ น และมี ดั ง น้ั น เ พื่ อ เ พ่ิ ม ค ว า ม
ความสาคัญต่อชีวิตความเป็ นอยู่ของคน ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร จั ด ภู มิ ทั ศ น์
ในครอบครวั เนื่องจากปัจจุบนั ธรรมชาติ แผ่นทางเทา้ จงึ มีความสาคญั
ถูกทาลายลงอย่างมาก งานภูมิทัศน์จึงมี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้
คุณค่ามากข้ ึน ท้ังในด้านการอนุ รักษ์ ง า น ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ค ร้ัง น้ ี
ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม การจัดวางผัง เกี่ยวกบั วสั ดุกระถาง ปัจจุบนั
เมือง การกาหนดพ้ ืนที่สีเขียว กา ร เป็ นคอนกรีตในการผลิตและ
กาหนดเขตอุตสาหกรรมและเขตท่ีอยู่ จากการสารวจพบวา่ กระถาง
อาศัย การออกแบบภูมิทัศน์ไม่ว่าจะ ต ้น ไ ม ้มี ค ว า ม ส า คัญ ใ น ง า น
ขนาดเล็กหรือใหญ่จะตอ้ งระลึกเสมอว่า ภู มิ ทั ศ น์ แ ล ะ ยัง มี ลั ก ษ ณ ะ ท่ี
ต้ อ ง อ อ ก แ บ บ ใ ห ้มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ โดนเด่น
สภาพแวดลอ้ ม อันรวมไปถึงสภาพพ้ ืนท่ี
รูปแบบของสถาปัตยกรรมสิ่งก่อสรา้ ง ทา
ใหก้ ารจดั ภูมิทศั น์มบี ทบาทมากข้ ึน
3
วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ ศึกษาทดลองการหาสตู รการผลิตแผ่นทางเทา้ มวลเบา โดยเทคนิค
การหล่อ ท่ีดีมปี ระสิทธิภาพ
2. เพื่อการเปรียบเทียบในการใชส้ ตู รมาตรฐาน กบั สูตรมวลเบา ใหเ้ หน็
ความแตกต่าง
3. เพอื่ การพฒั นาทกั ษะทางวชิ าชพี ภมู ทิ ศั น์ ดา้ นงานวสั ดุประเภท แผ่น
ทางเทา้ มวลเบา
4
สมมุติฐาน
แผ่นทางเทา้ มวลเบา
จะช่วยเพมิ่ ทางเลือกใหม่
ในกระบวนการผลิต ได้
ผลผลิตท่ีมปี ระสิทธิภาพ
ดา้ นการลดตน้ ทุน และ
ความหลากหลายของ
รปู ลกั ษณ์ และเพิ่มความ
สะดวกในการใชง้ านไดด้ ี
ข้ นึ เน่ืองจากมนี ้าหนักท่ี
เบา และเหมาะสมสาหรบั
ทุกกิจกรรม
5
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1. สามารถนาสตู รการหล่อ ในการผลิตแผ่นทางเทา้ มวลเบาท่ี
ดีข้ นึ เพือ่ พฒั นารูปแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบาแบบต่างๆ การต่อยอดองค์
ความรู้ ตลอดจนเทคนิค และแนวทางการออกแบบแผ่นทางเทา้ ใหมๆ่ ใน
อนาคต
2. สามารถเปรยี บเทียบในการใชป้ นู สูตรมาตรฐานกบั สตู รมวล
เบา เพ่ือใหเ้ หน็ ความแตกต่างได้
3. การศึกษาทดลองเป็ นสว่ นหน่ึงของการพฒั นา ทกั ษะทาง
วชิ าชีพภูมทิ ศั น์ที่จะเกดิ ประโยชน์ในการประกอบวชิ าชพี ในอนาคต
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
7
1 งานภมู ทิ ศั น์
หมายถึงงานที่กระทากบั พ้ นื ที่ภายนอกอาคารที่มีการปรบั แต่งพ้ ืนท่ี
ใหม้ ี ประโยชน์ใชส้ อยอย่างมีประสิทธิภาพ มีความร่มรื่นสวยงาม
และมีเอกลักษณ์ รวมท้ังการมี องค์ประกอบพ้ ืนฐาน เช่น ระบบ
การใหแ้ สงสว่าง ระบบการใหน้ ้าตน้ ไมร้ ะบบระบายน้า และระบบ
ป้องกนั น้าท่วม ระบบอานวยความสะดวก เช่น ศาลา มา้ นัง่ ถงั ขยะ
ป้าย ตลอดจนสิ่งประเทืองใจ เช่น น้าพุ น้าตก หรือประติมากรรม
งานภูมิทัศน์มีท้ังขนาดเล็กที่ไม่ซับซอ้ นที่เรียกว่า “สวนประดับ”
หรอื “สวนหยอ่ ม” ไปจนถึงงานซบั ซอ้ นและมีขนาดใหญ่
8
1 ซอฟตส์ เคป (Softscape) หมายถึง ส่วนประกอบทางธรรมชาติในงานภมู ิ
สถาปัตยกรรมหรือในสวน ไดแ้ ก่ ดิน บ่อน้า รวมท้งั พชื พรรณประเภทต่างๆ ซ่ึง
แบง่ ออกไดห้ ลายประเภทตามลกั ษณะของการออกแบบและการวางตาแหน่ง
ลงในสวน เชน่ ไมพ้ มุ่ ไมค้ ลุมดิน เป็ นตน้
2 ฮารด์ สเคป (Hardscape) คือ สว่ นประกอบท่ี
เป็ นโครงสรา้ งในงานภูมสิ ถาปัตยกรรม หรอื ใน
สวน เช่น ลานนัง่ เล่น ศาลา ทางเดิน ระเบียง ซุม้
ประตู เป็ นตน้ โดยจะเป็ นสว่ นที่เกีย่ วขอ้ งกบั การ
ก่อสรา้ ง เชน่ คอนกรีต เหล็ก อิฐ คอนกรีต
แสตมป์ หรือวสั ดุจากธรรมชาติอยา่ ง หิน และ
กรวด เป็ นตน้
9
2. วสั ดุในงานภูมิทศั น์
2.1 แผ่นทางเทา้
2.2 พืชคลุมดิน ในงานภูมิทศั น์
2.3 ปนู ซเี มนต์
10
3. การหล่อและการป้ัน
2. การป้ันการป้ันเป็ นกระบวนการ
หนึ่งในงานประติมากรรมท่ีมลี กั ษณะ
เป็ น 3 มิติ คือ มีความกวา้ ง
ความยาว และความหนา ผชู้ ม
สามารถจบั ตอ้ งหรือสมั ผสั ได้ ท้งั น้ ี
การป้ันจะกระทาไดโ้ ดยนาส่วนย่อย
พอกเพม่ิ เขา้ ไปในส่วนรวมเพ่ือใหเ้ กดิ
รปู ทรงตามตอ้ งการ
1. การหล่อ คอื การนาเอาวสั ดุที่เป็ น
ของเหลวเทลงไปในแม่พมิ พ์ ใหว้ สั ดุ
เหลวน้ันเกาะยดึ ผิวดา้ นในของ
แม่พมิ พใ์ หท้ วั่ เมือ่ วสั ดุน้ันจบั ตวั กนั
เป็ นของแข็ง แกะแมพ่ มิ พอ์ อก รปู ที่
ปรากฏใหเ้ หน็ จะมคี วามเหมือนกบั รปู
ตน้ แบบ แต่เป็ นผลงานอกี ช้ ินหน่ึง เรา
เรียกผลงานใหมว่ า่ “รูปหล่อ”
11
5.วสั ดุในกระบวนการผลิตแผ่นทางเทา้ มวลเบา
5.1 ข้ เี ลื่อย
เป็ นผลพลอยไดจ้ ากการเล่ือยไม้ มีลกั ษณะ
เป็ นผงไมล้ ะเอียด เป็ นของเสียในโรงงานที่
เป็ น ข้ เี ล่ือยมีสารอินทรยี เ์ ป็ นองคป์ ระกอบ
จานวนมาก ที่มหี มโู่ พลีฟี นอลซึง่ สามารถจบั
กบั โลหะหนักไดด้ ว้ ยกลไกต่างกนั
5.2 แกลบ
คือ เปลือกแข็งของเมล็ดขา้ วท่ีไดจ้ ากการสี
ขา้ ว เป็ นส่วนที่เหลือใชจ้ ากการผลิตขา้ วสาร
แกลบประกอบดว้ ยเซลลูโลส เฮมเิ ซลลูโลส
ลิกนิน และเถา้ และมีซิลิกาในเถา้ มาก
แกลบไมล่ ะลายในน้า มคี วามคงตวั ทางเคมี
ทนทานต่อแรงกระทา
5.3 ขุยมะพรา้ ว
คอื เปลือกมะพรา้ วท่ีปัน่ เอาใยออก หรือ ปัน่
ใหใ้ ยละเอียด เป็ นขยุ ๆละเอียดประมาณเม็ด
ทราย แหง้ สนิท มคี ุณสมบตั ิเบา อุม้ น้าไดด้ ี
และเก็บความช้ ืนไวไ้ ดน้ าน เม่ือจะใชต้ อ้ ง
พรมน้าใหข้ ยุ มะพรา้ วมคี วามช้ ืนพอเหมาะ
ไมแ่ ฉะ และไม่แหง้ เกนิ ไป
5.4 แกลบเผา
เป็ นข้ ีเถา้ แกลบท่ีมลี กั ษณะสีดา เน้ ือข้ เี ถา้ มี
การคงรปู ของแกลบบางส่วน เน้ ือแกลบแข็ง
และเปราะงา่ ยกวา่ แกลบสีเทา แต่จะแตก
ละเอียดหากไดร้ บั แรงกดบีบ เป็ นแกลบท่ีได้
จากการเผาอยา่ งต่อเน่ืองท่ีอุณหภูมิไมเ่ กิน
1200 องศาเซลเซียส
บทที่ 3
วสั ดุอุปกรณแ์ ละวธิ ีการ
ดาเนินโครงงาน
13
1. วสั ดุอุปกรณ์
วสั ดุอุปกรณต์ ่างๆ ที่นามาใชใ้ นการดาเนินงานคร้งั น้ ี แบ่งเป็ นหมวดหมู่ ดงั น้ ี
1.1 วสั ดุปรุงสูตรมาตรฐาน
1. ปนู ซีเมนตต์ ราเสือซเู ปอร์ ก่อ ฉาบ เท ขนาด 40 กิโลกรมั / ถุง (ราคา
115 บาท ปี 2562)
2. ทรายหยาบ / กระสอบ (ราคา 30 บาท ปี 2562)
3. น้า
4. กรวดแกลบ จานวน 4ขีด
ทราบ
หยาบ
ปนู ซเี มนต์ ตราเสือ
น้า
14
1.2 วสั ดุปรุงสตู รมวลเบา
สตู ร : 1 : 1: 1 : 1/2 ถงั (1/2 ถงั = 2.5 ลิตร)
วสั ดุมวลเบาเหลือใช้ 1.กล่องนม 2.ตะกรา้ 3.ขวดน้าพลาสติก
1. ปนู ซีเมนตต์ ราเสือซเู ปอร์ ก่อ ฉาบ เท ขนาด 40
กิโลกรมั / ถุง (ราคา 115 บาท ปี 2562)
2. ทรายหยาบ / กระสอบ (ราคา 30 บาท ปี 2562)
3. น้า
ปนู ซีเมนต์ ตราเสือ ทราย น้า
กล่องนม ตะกรา้ พลาสติก ขวดน้าพลาสติก
15
1.3 อุปกรณแ์ ต่งผิวทางเทา้
สว่ นประกอบอุปกรณแ์ ต่งผิว อุปกรณว์ ดั ผล : ตาชงั่ ขนาด
แผ่นทางเทา้ มวลเบา น้าหนัก 60 กโิ ลกรมั
เกียงใบโพธ์ิ ตาชงั่ 60 กโิ ลกรมั
16
2. วธิ ีการวางแผน
2.2 ตารางการวางแผนการทดลอง
จานวน 4 แผนการทดลอง ประกอบดว้ ย
2.2.1 การหล่อแผนทางเทา้ ขนาด ความยาว 60 เซนติเมตร กวา้ ง 30
เซนติเมตร หนา4เซนติเมตร จานวน 1 แผนการทดลอง (ตารางท่ี 2.1)
2.1 การวางแผนการทดลอง
2.1.1 การศึกษาโครงงาน เร่ือง แผ่นทางเทา้ มวลเบาเพิ่มประสิทธิภาพ
การใชส้ อย กาหนดแผนงานท่ีเก่ียวขอ้ งกับสูตรปรุงซีเมนต์และกระบวนการ
ผลิตแผ่นทางเท้า เพ่ือให้ได้ผลผลิตตามวัตถุประสงค์ และสมมุติฐานใน
การศึกษาทดลอง
1) การใชส้ ูตรผสมปรุงแต่งเพื่อการหาเวลาและมวลในการผลิตทาง
เทา้ โดยมวี สั ดุตวั แปรเป็ นวสั ดุมวลเบาเหลือใช้ 3 ชนิด ไดแ้ ก่ กล่องนม ตะกรา้
พลาสติก ขวดพลาสติก
17
3. กระบวนการดาเนินโครงงาน
ขน้ั ตอนและวธิ ีการดาเนินงาน การผลิตแผ่นทางเทา้ ดังน้ ี
3.1 การเตรียมแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบา
3.1.1 ทาความสะอาดแบบทางเทา้
3.1.2 เตรียมวสั ดุปพู ้ นื เพอ่ื ใหแ้ ผ่นทางเทา้ ดา้ นล่างมพี ้ ืนผิวเรียบ
3.1.3 นาแบบแผ่นทางเทา้ ที่ทาความสะอาดแลว้ มาจดั วางบนวสั ดุปูพ้ นื ท่ี
จดั เตรียมไว้
3.2 การผสมสตู ร
3.2.1 การผสมสตู รมาตรฐาน
3.2.2 การผสมสูตรมวลเบา
3.3 การหลอ่ แผ่นทางเทา้
3.3.1 นาปนู ที่ผสมเสร็จแลว้ เทลงในแบบ
3.3.2 ใชเ้ กยี งเกลียปนู ที่เทลงในแบบใหท้ วั่ แบบ
3.3.3 .ใชเ้ กยี งแต่งผิวหนา้ แผ่นทางเทา้ ใหเ้ สมอกบั แบบ
3.3.4 รอจนปนู แหง้ พอหมาดๆ ประมาณ5นาทีแลว้ ใชก้ รวดแกรบแต่งใหผ้ ิว
ทางเทา้
3.3.5 รอจนปนู ที่หล่อแผ่นทางเทา้ แหง้ ใชเ้ วลาประมาณ 8 ชวั่ โมง
3.3.6 ถอดแบบออกจากแผ่นทางเทา้
3.3.7 ใชเ้ กียงแต่งขอบแผ่นทางเทา้ ท้งั 4ดา้ น หลงั จากถอดแบบ
3.3.8 ทาความสะอาดแบบและอุปกรณท์ ้งั หมดก่อนเกบ็
18
4. การเก็บขอ้ มูลและประเมินผล
4.1 ดา้ นผลผลิต การเกบ็ ขอ้ มูลโดยการจดบนั ทึกเวลาในกระบวนการหล่อ
แลว้ นามาชงั่ น้าหนักเปรียบเทียบท้งั 4แผนการทดลอง
4.2 กระบวนการ แต่ละแผนการทดลอง 1 ช้ นิ / แผ่น ประกอบดว้ ย
4.3.1 รวมเวลากระบวนการ แต่ละแผนการทดลอง 1 ช้ ิน / แผ่น
4.3.2 รวมตน้ ทุนการผลิตดา้ นวสั ดุ และแรงงาน
4.3.3 ชงั่ น้าหนักมวลรวมของแผ่นทางเทา้
4.4 เปรียบเทียบน้าหนักของแผ่นทางเทา้ และตน้ ทุนการผลิตของแต่ละ
แผนการทดลอง
4.5 สรุปและวจิ ารณผ์ ล
19
5. ระยะเวลาดาเนินการ
ระหวา่ งวนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2564 – 28 กรกฎาคม 2564
6. สถานท่ีทาการทดลอง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ละการออกแบบส่ิงแวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ 63 หมู่
4 ต.หนองหาร อ.สนั ทราย
จ.เชยี งใหม่ 50290
บทที่ 4
ผลการทดลอง
21
การศึกษาการผลิตวสั ดุในงานภูมิทัศน์ประเภทแผ่นทางเทา้ ในสูตร
มาตรฐานและสูตรมวลเบาหวั ขอ้ โครงงาน การออกแบบแผ่นทางเทา้ มวลเบา
จากวสั ดุเหลือใช้ โดยสมมุติฐาน แผ่นทางเทา้ มวลเบา จะช่วยเพิ่มทางเลือก
ใหม่ ในกระบวนการผลิต ไดผ้ ลผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ ดา้ นการลดตน้ ทุน และ
ความหลากหลายของรูปลักษณ์ และเพ่ิมความสะดวกในการใชง้ านไดด้ ีข้ ึน
เนื่องจากมีน้าหนักท่ีเบา และเหมาะสมสาหรับทุกกิจกรรม ผลการทดลอง
ปรากฏดงั น้ ี
22
1.ผลการทดลองผลิตแผ่นทางเทา้ สูตรมาตรฐาน
1.1 การทดลองผลิตแผ่นทางเทา้ มวลเบาสตู รมาตรฐาน เทคนิคหล่อ ผลดงั น้ ี
หมายเหตุ : ตน้ ทุนการผลิตต่อ 1 ช้ ิน / แผ่นทางเทา้ (คิดจาก ค่าวสั ดุ + ค่าแรง)
* คา่ แรงมาจากเวลาการทางานอตั รา ชวั่ โมงละ 50 บาท ตามมาตรฐานค่าแรงใน
จงั หวดั เชยี งใหม่ หรือ 400 บาท / วนั / 8 ชวั่ โมง
23
1.2 กระบวนการผสมสตู ร เพ่ือหล่อ โดยมีสว่ น
ผสมต่างๆ ดงั น้ ี
สตู ร : มาตรฐาน
วสั ดุ : ปนู ซเี มนต์ : ทรายหยาบ: น้า
สดั ส่วนของวสั ดุ : 1: 1: 1/2 ถงั (1 ถงั = 5 ลิตร)
ปริมาตร : 5 ลิตร : 5 ลิตร : 2.5 ลิตร
สตู รปนู ที่ผสม
เรียบรอ้ ยแลว้
พรอ้ มหล่อ
1.3 กระบวนการหล่อแผ่นทางเทา้
โดยมกี ระบวนการหล่อแผ่นทางเทา้ ต่างๆ ดงั น้ ี
24
2. ผลการทดลองผลิตแผ่นทางเทา้ สูตรมวลเบา
2.1 ผลการทดลองผลิตแผ่นทางเทา้ มวลเบา
ผลิตภณั ฑใ์ ชส้ ตู รมวลเบา จะมีน้าหนักและเวลาการผลิตผลิตภณั ฑ์ ดงั น้ ี
หมายเหตุ : ตน้ ทุนการผลิตต่อ 1 ช้ ิน / แผ่น (คดิ จาก คา่ วสั ดุ + คา่ แรง)
* ค่าแรงมาจากเวลาการทางานอตั รา ชวั่ โมงละ 50 บาท ตามมาตรฐานค่าแรง
ในจงั หวงั เชยี งใหม่ หรือ 400 บาท / วนั / 8 ชวั่ โมง
25
ตารางเปรียบเทียบ เวลา ตน้ ทุนการผลิต และ
น้าหนักมวลของแผ่นทางเทา้ สูตรมวลเบา
หมายเหตุ : ตน้ ทุนการผลิตต่อ 1 ช้ ิน / กระถาง (คดิ จาก ค่าวสั ดุ + ค่าแรง)
* ค่าแรงมาจากเวลาการทางานอตั รา ชวั่ โมงละ 50 บาท ตามมาตรฐานค่าแรง
ในจงั หวดั เชยี งใหม่ หรือ 400 บาท / วนั / 8 ชวั่ โมง
26
2.1 กระบวนการผสมสตู ร เพอ่ื หล่อ โดยมี
ส่วนผสมต่างๆ ดงั น้ ี
สตู ร : มวลเบา
วสั ดุ : ปนู ซีเมนต์ : ทรายหยาบ : วสั ดุมวลเบา : น้า
สดั ส่วนของวสั ดุ : 1: 1: 1: 1/2 ถงั (1/2 ถงั = 2.5 ลิตร)
ปริมาตร : 5 ลิตร : 5 ลิตร : 5 ลิตร : 2.5 ลิตร
ผลผลิตแผ่นทางเทา้ สตู รมวลเบา ขนาด ยาว 60 เซนติเมตร กวา้ ง 30 เซนติเมตร
หนา 4 เซนติเมตร
สูตรปนู ที่ผสม
เรียบรอ้ ยแลว้
พรอ้ มหล่อ
27
2.2 กระบวนการหล่อแผ่นทางเทา้
โดยมีกระบวนการหล่อแบบทางเทา้ ต่างๆ ดงั น้ ี
1 23
4 56
28
3. ผลการเปรียบเทียบทดลองผลิตแผ่นทางเทา้
สูตรมาตรฐานกบั สตู รมวลเบา
29
4. ผลการศึกษา
ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ผ่ น ท า ง เ ท้ า
โครงงานการออกแบบแผ่นทางเท้า
มวลเบาจากวสั ดุเหลือใช้ มีแผนการ
ทดลองจานวน 4 แผนการทดลอง
จากปูนซีเมนต์ 1 ยี่หอ้ และวสั ดุมวล
เบา 3 ชนิด ไดผ้ ลการศึกษา ดงั น้ ี
4.1 สูตรปรุงซีเมนต์
4.1.1 สูตรมาตรฐาน มี
ประสิทธิภาพในการใชง้ านแผ่นทาง
เทา้ ไดด้ ี แต่มีน้าหนักมากกว่าสตู ร
มวลเบา
4.1.2 สูตรมวลเบา มี
ประสิทธิภาพในการใชง้ านแผ่นทาง
เทา้ ไดด้ ีแต่น้อยกวา่ สตู รมาตรฐาน
และน้าหนักที่เบากวา่ สูตรมาตรฐาน
4.2 ดา้ นตน้ ทุนการ 30
ผลิต
4.4 การประเมนิ
จากการศึกษาทดลองโครงงานการ ประสิทธิภาพโดยรวม
หล่อแผ่นทางเทา้ สตู รมาตรฐานและสตู ร
มวลเบา จาก 2 องคป์ ระกอบ คือ จากการศึกษา
ปนู ซเี มนต์ กบั วสั ดุมวลเบา เพอ่ื ใชเ้ ป็ น ทดลองโครงงานการ หล่อแผ่นทางเทา้
ราคาตน้ ทุน / 1 แผ่น
สูตรมาตรฐานและสตู รมวลเบา การ
4.4.1 การผลิดแผ่นทางเทา้ โดยใช้ ประเมนิ ประสิทธิภาพ ดงั น้ ี
สูตรมาตรฐานและสตู รมวลเบา สูตรมวล
เบาจะมตี น้ ทุนตา่ กวา่ สูตรมาตรฐาน 4.4.1 สูตรมาตรฐาน จะมี
ประสิทธิภาพมากกวา่ แต่มนี ้าหนัก
4.3 ดา้ นน้าหนัก มากกวา่ สูตรมวลเบา
ผลผลิต
4.4.2 สตู รมวลเบา จะมีประ
จากการศึกษาทดลอง สิทธิภาน้อยกวา่ แต่มนี ้าหนักเบากวา่ สูตร
โครงงานการ หล่อแผ่นทางเทา้ สตู ร มวลเบา
มาตรฐานและสูตรมวลเบา ผลท่ีได้
คอื กระถางสตู รมวลเบาจะมี หมายเหตุ : ประเมินประสิทธิภาพโดย
น้าหนักน้อยกวา่ แผ่นทางเทา้ สูตร การชงั่ น้าหนัก
มาตรฐาน เพราะวสั ดุมวลเบาท่ี
นามาผสมจะมนี ้าหนักท่ีน้อยกวา่
ทรายและวสั ดุมวลเบาแต่ละชนิดไป
แทรกอยใู่ นเน้ ือปนู ทาใหก้ ารใชป้ นู
แต่ละแผ่นมปี ริมาณน้อยกวา่ สูตร
มาตรฐาน ทาใหม้ นี ้าหนักเบา
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินโครงงาน
32
1. สรุปและอภิปรายผลการศึกษา
1.1 ดา้ นสูตรปรุง
สูตรมาตรฐาน มปี ระสิทธิภาพในการใชง้ านแผ่นทางเทา้ มวล
เบาไดด้ ี แต่มนี ้าหนักมากกวา่ สตู รมวลเบา ส่วนสูตรมวลเบา มี
ประสิทธิภาพในการใชง้ านแผ่นทางเทา้ ไดด้ ีแต่น้อยกวา่ สตู รมาตรฐาน
และน้าหนักท่ีเบากวา่ สูตรมาตรฐาน
1.2 ดา้ นตน้ ทุนการผลิต
จากการศึกษาทดลองโครงงานการ หล่อแผ่นทางเทา้ สูตร
มาตรฐานและสตู รมวลเบา จาก 2 องคป์ ระกอบ คอื ปนู ซเี มนต์ กบั วสั ดุ
มวลเบา เพือ่ ใชเ้ ป็ นราคาตน้ ทุนต่อ1 แผ่น การผลิดแผ่นทางเทา้ โดยใช้
สตู รมาตรฐานและสูตรมวลเบา สตู รมวลเบาจะมตี น้ ทุนตา่ กวา่ สูตร
มาตรฐาน
1.3 ดา้ นน้าหนักผลผลิต
จากการศึกษาทดลองโครงงานการ หล่อแผ่นทางเทา้ สตู ร
มาตรฐานและสตู รมวลเบา ผลที่ได้ คือ แผ่นทางเทา้ สูตรมวลเบาจะมี
น้าหนักน้อยกวา่ แผ่นทางเทา้ สูตรมาตรฐาน เพราะวสั ดุมวลเบาที่นามา
ผสมจะมนี ้าหนักที่น้อยกวา่ ทรายและวสั ดุมวลเบาแต่ละชนิดไปแทรกอยู่
ในเน้ ือปนู ทาใหก้ ารใชป้ นู แต่ละแผ่นมีปรมิ าณนอ้ ยกวา่ สูตรมาตรฐาน ทา
ใหม้ นี ้าหนักเบา ผทู้ ดลองจึงเสนอสตู รมวลเบาใหเ้ ป็ นแนวทางเพื่อใชใ้ น
การต่อยอดต่อไป
33
2. ขอ้ เสนอแนะ
2.1 ดา้ นสตู รปรุง
การเลือกปนู ซเี มนตแ์ ต่ละยห่ี อ้ หรอื วสั ดุท่ีนามาผสม ควรเลือกเพ่ือ
ตอบโจทยใ์ นการเลือกข้ ึนอยกู่ บั วตั ถุประสงคข์ องผจู้ ดั ทาดว้ ย
2.2 กระบวนการหล่อ
ไมจ่ ากดั เทคนิค สามารถทาไดห้ ลากหลายวธิ ี เช่น การวางแบบ,การ
ถอดแบบ,การผสมปนู เหลว ซ่ึงข้ นึ อยกู่ บั วตั ถุประสงคข์ องผจู้ ดั ทามคี วาม
ตอ้ งการในรูปแบบใด เพ่ือเพิ่มความสวยงามและประโยชน์การใชส้ อย
2.3 ดา้ นเวลาการผลิต
เป็ นตวั แปรปัจจยั สาคญั เป็ นสิ่งที่ควบคู่กบั กระบวนการหล่อ ท้งั น้ ี
ข้ นึ อยกู่ บั ทกั ษะและฝีมอื ช่างท่ีมีประสบการณม์ ากจะสง่ ผลใหเ้ วลาการผลิต
น้อย
2.4 ดา้ นตน้ ทุนการผลิต
ดา้ นตน้ ทุนการผลิตเป็ นผลมาจากสูตรปรุงและเทคนิคการผลิต ถา้
ตอ้ งการใหต้ น้ ทุนตา่ ควรใชว้ สั ดุที่สามารถหาไดท้ วั่ ไปตามทอ้ งถิ่นน้ันๆ และ
ใชเ้ ทคนิคท่ีมกี ระบวนการท่ีงา่ ย ท้งั เก่ียวเนื่องกบั วสั ดุการไดม้ าของการผลิต
แผ่นทางเทา้ มวลเบา รวมถึงเทคนิคพเิ ศษงานศิลปะข้นั สูงดว้ ย
2.5 ดา้ นน้าหนักผลผลิต
เป็ นผลตรงจากสตู รปรุงท่ีใชม้ าผสม หรือตอ้ งการวตั ถุประสงค์
อยา่ งไร ควรเลือกวสั ดุที่มีน้าหนักเบา ผลผลิตกจ็ ะมีน้าหนักเบา
34
2.6 ขอ้ เสนอแนะโดยรวม
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร ท า
โครงงานคร้งั น้ ี อาจมีปัจจยั ภายใน
ที่ทาใหไ้ ม่สามารถดาเนินงานตาม
กระบวนการ ได้แก่ ทักษะของผู้
ปฏิบัติ ขอ้ จากัดดา้ นสถานท่ี และ
ดา้ นสภาพภูมิอากาศ เป็ นตน้ และ
ปัจจยั ภายนอกเนื่องจากมีการแพร่
ระบาดของโรค COVID 2019 ทา
ใหเ้ ป็ นอุปสรรคในการดาเนินใน
คร้งั น้ ี
ค
บรรณานุกรม
นายมนตรี รื่นรวย. เอกสารประกอบการสอน วชิ า การออกแบบภูมิทศั น์เบ้ ืองตน้ (Introduction to
landscape design). ตาก. หลกั สตู รประกกกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สงู พุทธศกั ราช 2557.
ประชิด วามานานนท.์ วสั ดุและอุปกรณส์ าหรบั งานภมู ทิ ศั น์. เอกสารการสอนชุดวชิ า 93440 การ ผลิต
และการจดั การพชื สวนประดบั หน่วยที่ 12 สาขาวชิ าสง่ เสริมการเกษตรและสหกรณ.์
มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2552
ผูช้ ่วยศาสตราจารยณ์ ฐั ญา อาจองค.์ โครงงานฉบบั น้ ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ ศึกษากาลงั แรงดึงของคอนกรีตท่ีใช้
เสน้ ใยเปลือกมะพรา้ วเป็ นส่วนผสม โดยการใชเ้ สน้ ใยเปลือกมะพรา้ วแทนมวลรวมละเอยี ดท่ี 0.5-3.0%
ของนา้ หนักมวลรวมละเอยี ดใชผ้ สมคอนกรีต ของอายุคอนกรีตที่ 7, 14 และ 28 วนั
พภิ พ สุนทรสมยั : ช่างปนู กอ่ สรา้ ง พิมพท์ ่ี หจก. สีทองกิจพศิ าล จากดั กรุงเทพฯ Colomna, VB.
(1974) ไดศ้ ึกษาผลของเถ่าแกลบในปนู ซีเมนตแ์ ละสว่ นผสมคอนกรีต พบวา่ ความตา้ นการอดั และ
กาลงั แรงดึงผ่าซีก (Splitting tensile strength) ของคอนกรีตผสมเถ่าแกลบลดลง หากเพ่มิ ปริมาณ
เถ่าแกลบในส่วนผสม และจะมีความตา้ นการอดั เพ่มิ ข้ นึ หากเพมิ่ อตั ราส่วนน้าต่อวสั ดุผง
(w/b ratio) จนถึงระดบั พอดี
หนังสืออา้ งองิ : ประณต กุลประสตู ิ : เทคนิคงานปนู -คอนกรีต พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5 บริษทั อมรินทรพ์ ร้ ินต้ ิง
แอนดพ์ บั ลิชซ่ิง จากดั (มหาชน) กรุงเทพฯ 2530
อศั วนิ น้อยสุวรรณ และคณะ. “คอนกรีตผสมแกลบ”. ปริญญนิพนธ์ ภาควชิ าวศิ วกรรมศาสตร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , 2548
Mehta, PK. (1975) ไดศ้ ึกษาคุณภาพของซีเมนตเ์ ถ่าแกลบ และความตา้ นทานต่อกรด พบวา่ การผสมเถ่า
แกลบในปนู ซีเมนตป์ อรต์ แลนดท์ าใหไ้ ดว้ สั ดุซีเมนตท์ ี่ มีกาลงั รบั แรงอดั ของมอรต์ า้ และ คอนกรีตท่ี
อายุ 28 วนั มากกวา่ 800 psi
https://www.nfc.or.th/content. สานักงานพฒั นาการวิจยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) .2562.แผ่นทาง
เทา้ มวลเบาจากเถา้ ชานออ้ ย. [คน้ วนั ท่ี 18 มกราคม 2562]
https://www.tech2biz.net/content . 2562. แผ่นทางเทา้ มวลเบาจากแกลบ.
[คน้ วนั ท่ี 18 มกราคม 2562]
https://www.scgbuildingmaterials .com . ศพั ทค์ นสรา้ งบา้ น ฮารด์ สเคป (Hardscape). 2562.
[คน้ วนั ท่ี 18 มกราคม 2562]
THANK YOU
ขอบคุณครบั