The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กำหนดการสอน เปตอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กฤษดา พงษ์อุดทา, 2020-12-24 10:54:04

กำหนดการสอน เปตอง

กำหนดการสอน เปตอง

คานา

กาหนดการสอน รายวชิ าเพมิ่ เตมิ พ30201 เปตอง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เล่มน้จี ดั ทาข้ึนเพื่อเปน็
แนวทางในการจดั กระบวนการเรียนการสอน รายวชิ าเพิ่มเตมิ พ30201 เปตอง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 โดยยึดหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระ
การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชี้วดั เป็นแนวทางในการจัดทา โดยม่งุ พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพและ
ความสนใจของผูเ้ รยี น เพอื่ ใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนอยา่ งต่อเน่อื ง

ผจู้ ัดทาหวังเปน็ อย่างย่งิ วา่ เอกสารฉบบั นี้จะเป็นประโยชนส์ าหรับครผู ู้สอนและผทู้ ี่สนใจเพ่อื นาไปเป็น
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธภิ าพตอ่ ไป

นายกฤษดา พงษอ์ ุดทา
ผู้จดั ทา

สารบัญ หนา้

คานา 1
สารบัญ 1
วเิ คราะห์หลักสูตร 9
1. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 10
2. กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา 11
3. คณุ ภาพผู้เรยี น 13
4. วเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ 14
5. คาอธิบายรายวิชา 15
6. โครงสร้างรายวชิ า 16
7. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และอัตราสว่ นคะแนนการวัดผลการเรียนรู้
8. กาหนดการจัดการเรยี นรู้

1

วเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
วิสัยทัศน์หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนทุกคน ซง่ึ เปน็ กาลงั ของชาติให้เปน็ มนษุ ยท์ ี่

มคี วามสมดุลทง้ั ด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ติ สานกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ มีความรู้และทกั ษะพ้นื ฐาน
รวมทั้ง เจตคติ ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรยี นเปน็
สาคัญบนพน้ื ฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

หลกั การ
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มหี ลกั การทส่ี าคญั ดังน้ี
1. เปน็ หลักสูตรการศึกษาเพือ่ ความเป็นเอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้

เป็นเป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเปน็
ไทยควบคู่กับความเป็นสากล

2. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพื่อปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้รบั การศึกษาอยา่ งเสมอภาค และ
มีคุณภาพ

3. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถ่ิน

4. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาท่ีมีโครงสรา้ งยืดหยนุ่ ทงั้ ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้
5. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลมุ ทุก
กลุม่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นคนดี มปี ัญญา มีความสุข

มีศกั ยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพื่อใหเ้ กิดกับผู้เรียน เม่อื จบ
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ดังน้ี

1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีสุขนสิ ัย และรักการออกกาลงั กาย
4. มคี วามรักชาติ มจี ติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวิถีชีวติ และการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจติ สานกึ ในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนุรักษ์และพฒั นาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่ีมงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสิง่ ที่ดีงามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสขุ

2

วิสัยทัศน์โรงเรยี นโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา
โรงเรยี นโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา เปน็ องค์กรแหง่ การเรยี นรแู้ ละเป็นศูนยก์ ลางพฒั นาชุมชน บริหารจัด

การศึกษาด้วยระบบคุณภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าลและหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สูค่ วามเป็นสากลตามวิถี
ความเป็นไทย ครมู ีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี นักเรยี นมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคม์ คี วามเปน็ เลิศทาง
วชิ าการก้าวทันเทคโนโลยีและมีจิตสานึกรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม

พันธกิจ (MISSION)
1. สง่ เสริมคุณภาพผเู้ รียนให้ใหไ้ ดม้ าตรฐานการศกึ ษา
2. พฒั นาผเู้ รยี นสู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรตามมาตรฐานวชิ าชีพมุ่งสูค่ วามเป็นมอื อาชีพ
4. เพ่ิมประวิทธิภาพในการบริหารจัดการได้มาตรฐานโดยมสี ่วนรว่ ม
5. สง่ เสริมให้ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผ้เู รยี น ดาเนนิ ชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เปา้ ประสงค(์ GOAL)
1. ผเู้ รียนมคี ุณธรรม นาความรู้ อยู่รว่ มสังคมอยา่ งมคี วามสขุ
2. ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพตามเป้าหมายของมาตรฐานสากล
3. ครู และบุคลากรมีความเป็นมอื อาชพี
4. มีการบรหิ ารจัดการไดม้ าตรฐานอย่างมคี ุณภาพ โดยเนน้ การมีส่วนร่วม ผรู้ บั บริการพึงพอใจ
5. ผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากร และนักเรยี นมที ักษะชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กลยุทธโ์ รงเรยี น
1. พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
3. ส่งเสริมครูและบคุ ลากรสูม่ ืออาชพี
4. ส่งเสริมการบริหารจัดการใหไ้ ด้มาตรฐานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยเนน้ การมีสว่ นรว่ ม
5. สง่ เสรมิ ผบู้ ริหาร ครู บุคลากร และนักเรียนมที ักษะชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มงุ่ เนน้ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพ

ตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษา

ถ่ายทอดความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสารและ
ประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และลด
ปัญหาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไม่รับข้อมูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใชว้ ธิ กี ารส่อื สาร ท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสังคม

3

2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพ่อื นาไปสกู่ ารสรา้ งองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศ
เพ่อื การตดั สินใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเี่ ผชิญได้
อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามร้มู าใชใ้ นการป้องกันและแกไ้ ข
ปญั หา และมกี ารตัดสินใจทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนนิ ชีวิตประจาวนั การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยรู่ ่วมกันใน
สังคมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปญั หาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ ันกบั การเปลยี่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลกี เลี่ยง
พฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ืน่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพือ่ ให้

สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซ่อื สัตยส์ ุจรติ
3. มีวินัย
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมน่ั ในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พมิ่ เตมิ ใหส้ อดคล้องตามบรบิ ทและ

จดุ เนน้ ของตนเอง

การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการสาคญั ในการนาหลักสูตรสกู่ ารปฏิบตั ิ ซึง่ หลักสตู รกลุม่ สาระการ

เรยี นรู้การงานอาชพี เป็นหลกั สตู รท่ยี ึดตามแนวทางของหลักสตู รสถานศึกษา และหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ซ่งึ เป็นหลกั สตู รทม่ี มี าตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ของผเู้ รียน เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชน ในการพัฒนาผ้เู รียนใหม้ คี ุณสมบัตติ ามเปา้ หมาย
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ใหผ้ ู้สอนพยายามคดั สรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดย
ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรผู้ ่านสาระทก่ี าหนดไว้ในหลักสูตร รวมทัง้ ปลูกฝงั เสริมสรา้ งคุณลักษณะอันพึงประสงค์

4

พฒั นาทกั ษะตา่ งๆ อนั เป็นสมรรถนะสาคัญใหผ้ ู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย ซงึ่ ไดก้ าหนดแนวทางจดั การเรยี นรู้
ดังนี้

1. หลักการจดั การเรยี นรู้
การจัดการเรยี นรู้เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั

และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่ีกาหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โดยยดึ หลักวา่
ผ้เู รียนมคี วามสาคัญทส่ี ุด เชอ่ื ว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ทีเ่ กดิ กับ
ผ้เู รียน กระบวนการจัดการเรยี นร้ตู อ้ งส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี น สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ
คานงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เน้นให้ความสาคญั ท้งั ความรู้ และคุณธรรม

2. กระบวนการเรยี นรู้
การจัดการเรยี นร้ทู ี่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผูเ้ รียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย

เปน็ เครอ่ื งมอื ท่ีจะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นรูท้ จี่ าเปน็ สาหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จรงิ กระบวนการปฏิบตั ิ
ลงมอื ทาจรงิ กระบวนการจัดการ กระบวนการวจิ ัย กระบวนการเรียนรกู้ ารเรียนรขู้ องตนเอง
กระบวนการพฒั นาลักษณะนสิ ยั

กระบวนการเหล่าน้เี ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นร้ทู ผี่ ู้เรยี นควรได้รับการฝึกฝน พฒั นา เพราะ
จะสามารถชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นร้ไู ดด้ ี บรรลเุ ป้าหมายของหลักสูตร ดังนน้ั ผู้สอนจึงจาเป็นต้องศกึ ษาทา
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพ่ือให้สามารถเลือกใชใ้ นการจัดกระบวนการเรียนรไู้ ด้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

3. การออกแบบการจัดการเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหเ้ ข้าใจถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วดั สมรรถนะสาคัญ

ของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรยี น แลว้ จึงพจิ ารณาออกแบบ
การจดั การเรียนรโู้ ดยเลือกใช้วธิ สี อนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล เพื่อให้
ผู้เรียนได้พัฒนาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลุตามเปา้ หมายที่กาหนด

4. บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รียน
การจัดการเรยี นร้เู พื่อให้ผเู้ รยี นมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสตู ร ทงั้ ผู้สอนและผ้เู รยี นควรมี

บทบาท ดงั น้ี
4.1 บทบาทของผสู้ อน
1) ศึกษาวิเคราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมลู มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้

ที่ท้าทายความสามารถของผเู้ รียน
2) กาหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดขึน้ กบั ผู้เรียน ด้านความรูแ้ ละทักษะกระบวนการ ทเี่ ปน็

ความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสัมพันธ์ รวมท้ังคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
3) ออกแบบการเรยี นรู้และจดั การเรยี นรทู้ ่ตี อบสนองความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและ

พัฒนาการทางสมอง เพอ่ื นาผู้เรยี นไปสู่เป้าหมาย
4) จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผูเ้ รียนให้เกิดการเรยี นรู้

5

5) จัดเตรยี มและเลอื กใช้ส่อื ใหเ้ หมาะสมกับกจิ กรรม นาภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่
เหมาะสมมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

6) ประเมินความกา้ วหน้าของผเู้ รยี นดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของ
วชิ าและระดบั พัฒนาการของผูเ้ รยี น

7) วเิ คราะหผ์ ลการประเมินมาใชใ้ นการซอ่ มเสริมและพัฒนาผู้เรยี น รวมท้งั ปรบั ปรุงการ
จัดการเรียนการสอนของตนเอง

4.2 บทบาทของผเู้ รียน
1) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรียนร้ขู องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหล่งการเรียนรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข้อความรู้ ต้ังคาถาม

คดิ หาคาตอบหรอื หาแนวทางแกป้ ญั หาด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ
3) ลงมอื ปฏบิ ัติจริง สรุปสงิ่ ท่ไี ดเ้ รยี นรดู้ ้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ ใน

สถานการณต์ ่าง ๆ
4) มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมรว่ มกับกลมุ่ และครู
5) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นร้ขู องตนเองอย่างต่อเนื่อง

สือ่ การเรียนรู้
สอ่ื การเรียนรู้เป็นเครอ่ื งมอื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การกระบวนการเรยี นรู้ ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ถึงความรู้

ทักษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ส่อื การเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทั้งสอ่ื ธรรมชาติ สื่อสิง่ พิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือขา่ ย การเรยี นรู้ตา่ งๆ ท่ีมใี น
ทอ้ งถ่นิ การเลอื กใชส้ อ่ื ควรเลอื กให้มีความเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการ และลีลาการเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลายของ
ผู้เรียน

การจดั หาส่อื การเรยี นรู้ ผเู้ รยี นและผูส้ อนสามารถจัดทาและพฒั นาข้ึนเอง หรอื ปรบั ปรุงเลอื กใชอ้ ย่าง
มคี ณุ ภาพจากสอ่ื ตา่ ง ๆ ที่มีอยู่รอบตวั เพื่อนามาใช้ประกอบในการจัดการเรยี นรทู้ ีส่ ามารถสง่ เสริมและสอ่ื สาร
ให้ผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้ โดยสถานศกึ ษาควรจดั ใหม้ ีอยา่ งพอเพยี ง เพือ่ พฒั นาให้ผู้เรียน เกดิ การเรียนรอู้ ยา่ ง
แท้จรงิ สถานศกึ ษา เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งและผู้มหี น้าท่ีจัดการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ควร
ดาเนินการดังน้ี

1. จดั ให้มีแหลง่ การเรียนรู้ ศูนย์สอ่ื การเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือขา่ ยการเรยี นรู้
ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชน เพอ่ื การศึกษาคน้ ควา้ และการแลกเปลี่ยนประสบการณก์ าร
เรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถน่ิ ชุมชน สังคมโลก

2. จดั ทาและจัดหาส่อื การเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผเู้ รียน เสริมความรูใ้ ห้ผสู้ อน รวมทงั้
จดั หาสิ่งท่ีมอี ยู่ในท้องถิ่นมาประยกุ ต์ใช้เป็นส่ือการเรยี นรู้

3. เลือกและใช้สือ่ การเรยี นร้ทู ม่ี ีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ้ งกบั วธิ ีการ
เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผเู้ รียน

4. ประเมินคุณภาพของสอื่ การเรียนรทู้ เี่ ลอื กใช้อย่างเปน็ ระบบ
5. ศึกษาคน้ ควา้ วจิ ัย เพอ่ื พัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น
6. จัดใหม้ ีการกากบั ติดตาม ประเมนิ คณุ ภาพและประสิทธิภาพเกีย่ วกบั สื่อและการใช้สือ่ การเรยี นรู้
เป็นระยะ ๆ และสมา่ เสมอ

6

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนรูข้ องผู้เรยี นต้องอยู่บนหลักการพน้ื ฐานสองประการคือการประเมิน

เพอื่ พฒั นาผเู้ รียนและเพ่อื ตดั สนิ ผลการเรียน ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ใหป้ ระสบผลสาเร็จ
นัน้ ผ้เู รียนจะตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาและประเมนิ ตามตัวช้วี ดั เพือ่ ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สะทอ้ น
สมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รียนซึง่ เปน็ เป้าหมายหลักในการวดั และประเมินผล
การเรยี นร้ใู นทุกระดบั ไม่ว่าจะเปน็ ระดบั ช้ันเรียน ระดับสถานศกึ ษา ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา และระดับชาติ
การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนโดยใชผ้ ลการประเมินเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ ทางการเรยี นของผเู้ รยี น ตลอดจนขอ้ มลู ทเี่ ปน็
ประโยชนต์ ่อการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรูอ้ ย่างเตม็ ตามศักยภาพ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบ่งออกเปน็ 4 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดับชั้นเรยี น ระดับสถานศึกษา
ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และระดบั ชาติ มรี ายละเอียด ดงั น้ี

1. การประเมินระดับช้ันเรียน เปน็ การวดั และประเมินผลทอี่ ย่ใู นกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผูส้ อน
ดาเนินการเป็นปกตแิ ละสมา่ เสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอยา่ งหลากหลาย เชน่
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมนิ โครงงาน การประเมินช้นิ งาน/ ภาระงาน แฟม้ สะสม
งาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเปน็ ผ้ปู ระเมินเองหรอื เปดิ โอกาส ให้ผ้เู รียนประเมนิ ตนเอง เพ่อื น
ประเมินเพ่อื น ผู้ปกครองร่วมประเมนิ ในกรณที ่ไี มผ่ า่ นตัวชวี้ ดั ใหม้ ี การสอนซ่อมเสรมิ

การประเมินระดบั ช้นั เรยี นเป็นการตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อนั เป็นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งท่จี ะตอ้ งไดร้ ับการพัฒนา
ปรับปรงุ และสง่ เสริมในด้านใด นอกจากนยี้ ังเปน็ ข้อมลู ใหผ้ ู้สอนใช้ปรับปรุงการเรยี นการสอนของตนด้วย ทั้งนี้
โดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด

2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมนิ ทส่ี ถานศกึ ษาดาเนนิ การเพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี น
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน นอกจากน้ีเพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลเกยี่ วกบั การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ
การเรียนร้ขู องผู้เรยี นตามเปา้ หมายหรอื ไม่ ผู้เรียนมีจดุ พัฒนาในดา้ นใด รวมทัง้ สามารถนาผลการเรียนของ
ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ระดบั ชาติ ผลการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศเพ่ือการปรบั ปรงุ นโยบาย หลกั สูตร โครงการ หรอื วธิ ีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพือ่ การ
จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคณุ ภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน

3. การประเมินระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา เปน็ การประเมนิ คุณภาพผู้เรยี นในระดบั เขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรยี นร้ตู ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลพื้นฐานในการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของเขตพืน้ ที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมิน
คุณภาพผลสัมฤทธ์ขิ องผเู้ รยี นดว้ ยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา หรือดว้ ย
ความรว่ มมอื กับหน่วยงานตน้ สงั กดั ในการดาเนนิ การจดั สอบ นอกจากนี้ยงั ได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูล
จากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา

4. การประเมินระดบั ชาติ เปน็ การประเมินคุณภาพผเู้ รยี นในระดบั ชาตติ ามมาตรฐานการเรยี นรู้
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สถานศึกษาต้องจดั ให้ผูเ้ รยี นทกุ คนท่เี รียน ในชน้ั ประถมศกึ ษาปี
ที่ 3 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมิน ผลจาก

7

การประเมนิ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการเทยี บเคียงคุณภาพการศกึ ษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน
ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ตลอดจนเป็นข้อมลู สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับตา่ ง ๆ ขา้ งต้น เป็นประโยชนต์ อ่ สถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ถอื เป็นภาระความรบั ผิดชอบของสถานศกึ ษาทจี่ ะตอ้ งจัดระบบดูแลชว่ ยเหลือ ปรบั ปรงุ
แก้ไข สง่ เสริมสนบั สนุนเพอ่ื ให้ผู้เรยี นได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพบนพ้นื ฐานความแตกตา่ งระหว่างบุคคลท่ี
จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ไดแ้ ก่ กลุ่มผเู้ รียนทั่วไป กลุม่ ผู้เรยี นที่มีความสามารถพเิ ศษ
กลมุ่ ผเู้ รยี นทมี่ ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนต่า กล่มุ ผเู้ รียนทมี่ ปี ัญหาด้านวินยั และพฤตกิ รรม กลมุ่ ผู้เรยี นที่ปฏเิ สธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรยี นที่มปี ัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลมุ่ พิการทางร่างกายและสตปิ ญั ญา เป็นตน้ ขอ้ มูล
จากการประเมนิ จงึ เปน็ หัวใจของสถานศกึ ษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนไดท้ นั ทว่ งที ปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้รับการพัฒนาและประสบความสาเรจ็ ในการเรียน

สถานศกึ ษาในฐานะผรู้ บั ผิดชอบจัดการศกึ ษา จะต้องจัดทาระเบยี บวา่ ด้วยการวดั และประเมนิ ผลการ
เรยี นของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งและเป็นไปตามหลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นขอ้ กาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน เพื่อให้บุคลากรท่เี ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายถอื ปฏิบตั ริ ว่ มกนั

ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมนิ คณุ ภาพสื่อการเรียนรู้ท่ใี ชใ้ นสถานศกึ ษาควรคานึงถงึ
หลกั การสาคญั ของสือ่ การเรียนรู้ เช่น ความสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ การออกแบบ
กิจกรรมการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์ให้ผเู้ รยี น เนื้อหามคี วามถกู ต้องและทันสมัย ไมก่ ระทบความม่นั คง
ของชาติ ไมข่ ดั ตอ่ ศลี ธรรม มกี ารใชภ้ าษาที่ถกู ตอ้ ง รูปแบบการนาเสนอทีเ่ ขา้ ใจงา่ ย และน่าสนใจ

เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรยี น
1. การตดั สนิ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรยี น
1.1 การตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการตดั สนิ ผลการเรยี นของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนน้นั ผ้สู อนตอ้ งคานงึ ถึงการพัฒนาผู้เรยี นแต่ละคนเป็น
หลัก และตอ้ งเกบ็ ขอ้ มูลของผูเ้ รยี นทกุ ด้านอยา่ งสมา่ เสมอและตอ่ เน่อื งในแตล่ ะภาคเรียน รวมท้ังสอนซอ่ มเสรมิ
ผเู้ รยี นให้พฒั นาจนเต็มตามศกั ยภาพ

ระดับมธั ยมศกึ ษา
(1) ตัดสนิ ผลการเรยี นเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ
80 ของเวลาเรียนทง้ั หมดในรายวชิ าน้ัน ๆ
(2) ผเู้ รยี นต้องได้รบั การประเมินทกุ ตวั ชว้ี ัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(4) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด
ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การพจิ ารณาเลือ่ นชัน้ มธั ยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมขี อ้ บกพรอ่ งเพยี งเลก็ นอ้ ย และสถานศึกษา
พจิ ารณาเหน็ วา่ สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อย่ใู นดุลพนิ ิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผนั ใหเ้ ลอ่ื นชน้ั
ได้ แตห่ ากผู้เรียนไม่ผา่ นรายวชิ าจานวนมาก และมแี นวโนม้ วา่ จะเป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดับชั้นทสี่ งู ข้ึน
สถานศึกษาอาจตงั้ คณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รยี นซา้ ช้นั ได้ ทง้ั นใี้ ห้คานงึ ถึงวฒุ ภิ าวะและความรคู้ วามสามารถ
ของผเู้ รียนเปน็ สาคญั

8

1.2 การให้ระดบั ผลการเรยี น
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสนิ เพือ่ ใหร้ ะดับผลการเรยี นรายวิชา ให้ใชต้ วั เลขแสดงระดบั ผล

การเรียนเปน็ 8 ระดบั
การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคน์ นั้ ให้ระดบั ผล

การประเมนิ เป็น ดีเยยี่ ม ดี และผ่าน
การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน จะตอ้ งพิจารณาทัง้ เวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม การปฏบิ ตั ิ

กจิ กรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด และให้ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ ผา่ น และ
ไม่ผา่ น

1.3 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรยี นเป็นการสื่อสารให้ผปู้ กครองและผู้เรียนทราบความก้าวหนา้ ในการ

เรยี นร้ขู องผู้เรยี น ซ่ึงสถานศกึ ษาตอ้ งสรปุ ผลการประเมนิ และจดั ทาเอกสารรายงานให้ผ้ปู กครองทราบเปน็
ระยะ ๆ หรืออยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั

การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเป็นระดบั คณุ ภาพการปฏิบัติของผเู้ รียนที่สะทอ้ น
มาตรฐานการเรียนร้กู ลมุ่ สาระการเรียนรู้

2. เกณฑก์ ารจบการศึกษา
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น 3ระดบั

คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
(1) ผู้เรยี นเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หนว่ ยกติ โดยเป็นรายวชิ าพื้นฐาน 63

หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
(2) ผเู้ รยี นตอ้ งได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่า 77 หนว่ ยกติ โดยเป็นรายวิชาพืน้ ฐาน

63 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ไม่น้อยกวา่ 14 หนว่ ยกิต
(3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมิน การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ในระดบั ผา่ น เกณฑก์ ารประเมิน

ตามท่สี ถานศึกษากาหนด
(4) ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
(5) ผเู้ รียนเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
สาหรับการจบการศกึ ษาสาหรบั กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ เชน่ การศึกษาเฉพาะทาง การศกึ ษา

สาหรบั ผ้มู ีความสามารถพเิ ศษ การศกึ ษาทางเลอื ก การศกึ ษาสาหรับผดู้ อ้ ยโอกาส การศกึ ษาตามอัธยาศัย
ใหค้ ณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา และผู้ท่เี ก่ยี วข้อง ดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผล
การเรียนรตู้ ามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั
พ้นื ฐานสาหรับกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ

9

2. กลมุ่ สาระสขุ ศึกษาและพลศึกษา
ทาไมต้องเรยี นสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังทางกาย ทางจิต ทางสังคม และ

ทางปญั ญาหรือจติ วิญญาณ สขุ ภาพหรอื สขุ ภาวะจงึ เป็นเรอ่ื งสาคญั เพราะเก่ียวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซ่ึงทุกคน
ควรจะได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพ่ือจะได้มีความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมท่ี
เหมาะสม รวมทง้ั มีทักษะปฏิบัติด้านสขุ ภาพจนเปน็ กจิ นสิ ยั อันจะส่งผลใหส้ งั คมโดยรวมมีคุณภาพ

เรียนรู้อะไรในสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
สุขศกึ ษาและพลศึกษาเปน็ การศกึ ษาด้านสุขภาพท่มี เี ป้าหมาย เพอ่ื การดารงสขุ ภาพ การสรา้ งเสริม

สุขภาพและการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของบุคคล ครอบครวั และชุมชนให้ย่งั ยืน
สขุ ศกึ ษา มงุ่ เน้นให้ผเู้ รยี นพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ

การปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับสขุ ภาพควบคู่ไปด้วยกัน
พลศึกษา ม่งุ เนน้ ให้ผเู้ รียนใชก้ ิจกรรมการเคล่อื นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกมและกีฬา

เป็นเคร่ืองมอื ในการพฒั นาโดยรวมทงั้ ด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อ
สขุ ภาพและกฬี า

สาระทเี่ ปน็ กรอบเนอื้ หาหรือขอบขา่ ยองค์ความร้ขู องกลุม่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ประกอบดว้ ย

 การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ผู้เรียนจะไดเ้ รยี นรเู้ รื่องธรรมชาติของการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการเจริญเตบิ โต ความสมั พนั ธเ์ ชื่อมโยงในการทางาน
ของระบบตา่ งๆของรา่ งกาย รวมถงึ วิธีปฏิบัติตนเพื่อใหเ้ จรญิ เติบโตและมีพฒั นาการท่สี มวัย

 ชีวติ และครอบครวั ผ้เู รียนจะไดเ้ รยี นรเู้ ร่ืองคุณค่าของตนเองและครอบครัว การปรับตวั ต่อ
การเปลย่ี นแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สกึ ทางเพศ การสรา้ งและรักษาสมั พันธภาพกับผู้อ่นื
สุขปฏิบัติทางเพศ และทักษะในการดาเนินชวี ติ

 การเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนได้เรียนรู้
เรื่องการเคล่อื นไหวในรปู แบบตา่ ง ๆ การเข้ารว่ มกจิ กรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล

 และประเภททมี อย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ และ
ข้อตกลงในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และกฬี า และความมนี ้าใจนักกีฬา

 การสรา้ งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับหลักและ
วิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ และการ
ปอ้ งกันโรคท้งั โรคตดิ ตอ่ และโรคไม่ติดต่อ

 ความปลอดภัยในชีวิต ผ้เู รียนจะไดเ้ รียนรเู้ ร่อื งการป้องกนั ตนเองจากพฤตกิ รรมเส่ียงตา่ ง ๆ ทง้ั
ความเส่ยี งต่อสุขภาพ อบุ ัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใชย้ าและสารเสพตดิ รวมถึงแนวทางในการสรา้ ง
เสรมิ ความปลอดภัยในชวี ิต

10

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี ๑ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์

สาระที่ ๒ ชวี ติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมที ักษะในการดาเนินชวี ติ

สาระที่ ๓ การเคล่อื นไหว การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที ักษะในการเคลอ่ื นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ

มวี ินยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี า้ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชม
ในสุนทรียภาพของการกฬี า

สาระท่ี ๔ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและ

การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ

สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุการใช้ยาสารเสพ

ตดิ และความรุนแรง

3. คณุ ภาพผูเ้ รยี น
จบช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓
 เขา้ ใจและเห็นความสาคัญของปจั จัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการท่มี ีต่อ

สขุ ภาพและชีวติ ในช่วงวยั ต่าง ๆ
 เขา้ ใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก

ทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สรา้ งและรกั ษาสมั พนั ธภาพกับผู้อ่ืน และตัดสินใจแก้ปัญหาชีวิตด้วยวิธีการ
ท่ีเหมาะสม

 เลอื กกนิ อาหารทีเ่ หมาะสม ไดส้ ัดสว่ น สง่ ผลดตี ่อการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการตามวยั
 มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมท่ีมีต่อเจตคติ
ค่านยิ มเกย่ี วกับสขุ ภาพและชวี ิต และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม
 ปอ้ งกนั และหลกี เลีย่ งปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเส่ียงต่อสขุ ภาพและการเกดิ โรค อบุ ตั เิ หตุ การใช้ยา
สารเสพติด และความรนุ แรง รจู้ กั สรา้ งเสริมความปลอดภัยใหแ้ ก่ตนเอง ครอบครวั และชุมชน
 เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ
ทางกายเพ่ือสุขภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน และปฏิบัติเป็น
ประจาสม่าเสมอตามความถนดั และความสนใจ
 แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันโรค การดารง
สุขภาพ การจัดการกับอารมณแ์ ละความเครียดการออกกาลงั กายและการเล่นกฬี ากบั การมีวิถชี ีวติ ทีม่ สี ุขภาพดี

11

 สานึกในคณุ ค่า ศกั ยภาพและความเป็นตวั ของตวั เอง
 ปฏิบัตติ ามกฎ กติกา หนา้ ท่ีความรับผิดชอบ เคารพสทิ ธขิ องตนเองและผู้อื่น ให้ความร่วมมือ
ในการแข่งขันกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งมั่นและมีน้าใจนักกีฬา จนประสบ
ความสาเร็จตามเป้าหมายดว้ ยความชนื่ ชม และสนุกสนาน

จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖
 สามารถดแู ลสุขภาพ สรา้ งเสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกันโรค หลีกเลี่ยงปจั จยั เสีย่ ง และพฤติกรรมเสย่ี ง

ตอ่ สุขภาพ อุบตั ิเหตุ การใชย้ า สารเสพติด และความรุนแรงไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพด้วยการวางแผนอยา่ ง
เป็นระบบ

 แสดงออกถึงความรกั ความเอื้ออาทร ความเข้าใจในอทิ ธิพลของครอบครวั เพอ่ื น สงั คม และ
วัฒนธรรมทม่ี ีต่อพฤตกิ รรมทางเพศ การดาเนินชีวิต และวถิ ีชวี ติ ทม่ี สี ุขภาพดี

 ออกกาลงั กาย เล่นกีฬา เข้าร่วมกจิ กรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพือ่ สุขภาพโดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง สมา่ เสมอดว้ ยความชืน่ ชมและสนุกสนาน

 แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและปฏิบตั ิตามกฎ กตกิ า สิทธิ หลักความปลอดภัยใน
การเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางกาย และเลน่ กฬี าจนประสบความสาเร็จตามเป้าหมายของตนเองและทีม

 แสดงออกถงึ การมมี ารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขัน ดว้ ยความมีน้าใจนักกีฬาและ
นาไปปฏิบตั ใิ นทกุ โอกาสจนเป็นบคุ ลกิ ภาพทีด่ ี

 วเิ คราะหแ์ ละประเมินสขุ ภาพสว่ นบคุ คลเพอ่ื กาหนดกลวิธลี ดความเสีย่ ง สร้างเสริมสขุ ภาพ
ดารงสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค และการจัดการกบั อารมณ์และความเครยี ดได้ถกู ต้องและเหมาะสม

 ใชก้ ระบวนการทางประชาสงั คม สร้างเสรมิ ให้ชมุ ชนเข้มแขง็ ปลอดภัย และมีวถิ ชี ีวิตทด่ี ี

4. วิเคราะห์ผลการเรยี นรู้
รายวชิ าเพมิ่ เติม พ30201 เปตอง

ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับกิจกรรมกีฬาเปตอง - ความหมายความสาคัญ ประวตั คิ วามเป็นมาของ
และลกั ษณะการเคลื่อนไหว กฬี าเปตอง
- ประโยชน์ของกฬี าเปตอง
2. มคี วามรเู้ กีย่ วกบั กตกิ า การแข่งขนั เปตองทถ่ี กู ต้อง - ความร้ทู วั่ ไปเกยี่ วกบั กฬี าเปตอง
โดยรูแ้ ละปฏบิ ัติการเล่นเปตองเบอื้ งตน้ - กติกาและมารยาทในการเล่นเปตอง
3. สามารถปฏิบตั ิการบริหารรา่ งกายไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
กบั ประเภทกฬี า - การบริหารรา่ งกาย
- การทดสอบสมรรถภาพ
4. สามารถปฏิบัตกิ ารจับลกู เปตองแบบต่าง ๆ ตาม - ความปลอดภยั ในการเลน่ กีฬาเปตอง
กตกิ า - ทกั ษะการจบั ลกู เปตอง
- ปฏบิ ัตกิ ารจบั ลกู เปตองแบบต่าง ๆ ตามกติกา

12

ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
- ทักษะการโยนลูกโดง่ และการโยนลูกยึด
5. สามารถปฏิบตั ิการโยนลกู ตามกตกิ า - ทักษะการชง่ิ หรอื การตีลกู แบบตา่ ง ๆ

6. สามารถอธบิ ายทกั ษะการชงิ่ หรือการตีลกู แบบ
ตา่ ง ๆ

13

5. คาอธิบายรายวิชา

คาอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม

ง30201 เปตอง กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา และเข้าใจในการเลน่ เกม และกฬี าเปตอง เร่อื ง ความรูท้ ่วั ไปเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา การ
เล่นเกมกีฬาเปตอง รูปแบบการเคลื่อนไหวแบบต่าง ๆ ตลอดจนการนาหลักการทางวิทยาศาสตร์ การ

เคลือ่ นไหวไปใช้ในการเลน่ เปตอง ตามหลกั กฎ กติกา ความปลอดภยั และกลวิธีในการเล่นและการแข่งขัน
สามารถปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้ความ

ร่วมมือ เป็นผู้มีนา้ ใจนักกีฬา ชื่นชม สุนทรียภาพในการเลน่ การดแู ล และการแขง่ ขนั เปน็ ประจา สมา่ เสมอ

เพื่อให้นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวนั เพื่อให้เป็นบุคคลท่ี
มีความสุขทัง้ ทางรา่ งกาย จิตใจ

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับกจิ กรรมกฬี าเปตอง และลกั ษณะการเคลอ่ื นไหว

2. มคี วามรเู้ กย่ี วกับกติกา การแข่งขันเปตองทถี่ กู ต้อง โดยรูแ้ ละปฏิบัตกิ ารเลน่ เปตองเบอ้ื งตน้ ได้
3. สามารถปฏบิ ตั กิ ารบริหารรา่ งกายไดอ้ ย่างเหมาะสมกับประเภทกฬี า

4. สามารถปฏิบตั ิการจับลูกเปตองแบบตา่ ง ๆ ได้
5. สามารถปฏบิ ัตกิ ารโยนลกู ตามกตกิ าไดท้ ้ัง 3 แบบ
6. สามารถปฏบิ ัติการตลี ูกแบบตา่ ง ๆ ได้

รวม 6 ผลการเรียนรู้

14

6. โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายวิชาเพิม่ เตมิ

รายวชิ า ง30201 เปตอง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

หน่วย ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ เวลา นา้ หนกั
ท่ี (ชวั่ โมง) คะแนน

- ความหมายความสาคัญ

1 ประวตั กิ ีฬาเปตอง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับ ประวตั ิความเป็นมาของ 5 20
กจิ กรรมกฬี าเปตอง และ กีฬาเปตอง
ลกั ษณะการเคลือ่ นไหว - ประโยชน์ของกฬี าเปตอง
- ความรทู้ ่วั ไปเกยี่ วกับกฬี า

เปตอง

มีความรู้เก่ียวกับกตกิ า การ

2 กฎ กติกาการแขง่ ขนั แข่งขนั เปตองที่ถูกต้อง โดยรู้ - กตกิ าและมารยาทในการ 5 10
และปฏิบัติการเล่นเปตอง เลน่ เปตอง

เบือ้ งต้น

- การบริหารร่างกาย

3 ทกั ษะการเล่น - สามารถปฏบิ ตั ิการบริหาร - การทดสอบสมรรถภาพ 15 30
เปตอง รา่ งกายได้อยา่ งเหมาะสมกับ
ประเภทกีฬา - ความปลอดภยั ในการเล่น
กฬี าเปตอง
- สามารถปฏิบตั กิ ารจับลูก
เปตองแบบต่าง ๆ ตามกติกา - ทักษะการจับลูกเปตอง
- ปฏิบัติการจบั ลกู เปตอง
- สามารถปฏบิ ัตกิ ารโยนลูก แบบต่าง ๆ ตามกตกิ า
ตามกติกา
- สามารถอธบิ ายทักษะการ - ทกั ษะการโยนลูกโดง่ และ
การโยนลูกยึด
ช่งิ หรือการตีลกู แบบต่าง ๆ
- ทกั ษะการชง่ิ หรอื การตลี กู
แบบต่าง ๆ

- มคี วามรเู้ กยี่ วกบั กติกา การ

4 การเลน่ ทีม แขง่ ขันเปตองทถ่ี กู ต้อง โดยรู้ - ปฏบิ ัตกิ ารเลน่ เปตอง 15 20
และปฏบิ ตั ิการเลน่ เปตอง เบ้ืองตน้
- 80
เบ้ืองตน้ - 20
40 100
รวมก่อนปลายภาค

ปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียน

15

7. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และอัตราส่วนคะแนนการวัดผลการเรียนรู้

รายวิชา ง30201 เปตอง กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ท่ี จุดประสงค์การเรียนรู้ จานวน กอ่ น คะแนนการวดั ผล ปลาย
ชวั่ โมง กลาง หลงั ภาค
1 บอกและอธิบายความหมายประวตั คิ วามเปน็ มา ภาค 10
ของกีฬาเปตองได้ 40 40 กลาง กลาง
ภาค ภาค -
2 บอกและอธบิ ายประโยชนข์ องกฬี าเปตองได้ 2 10 10 40
3 บอกและอธิบายความหมายความร้ทู ่วั ไปเก่ียวกบั
2-
กีฬาเปตองได้
4 บอกและอธิบายกติกาและมารยาทในการเล่นเป 15 1--
25 2--
ตองได้
5 สามารถทาการบริหารรา่ งกายได้ 5 10 2--
6 สามารถการทดสอบสมรรถภาพ ผ่านเกณฑ์ท่ี
23 1--
กาหนดได้ 12 1--
7 มคี วามปลอดภัยในการเลน่ กฬี าเปตอง
8 สามารถปฏิบตั ิทกั ษะการจบั ลูกเปตองได้อยา่ ง 25 1-
2- - 52
ถูกต้อง
9 สามารถปฏิบตั กิ ารจับลูกเปตองแบบ 2- - 52

ต่าง ๆ ตามกตกิ าได้ 3- - 52
10 สามารถปฏิบัติทักษะการโยนลูกโด่งและการโยน
3- - 52
ลกู ยึดได้
11 สามารถปฏิบัติทักษะการชิ่งหรอื การตีลูกแบบต่าง 15 - - 20 2

ๆ ได้ 40 10 40 10
12 ปฏิบัตกิ ารเล่นเปตองเบือ้ งต้น เปน็ ทมี และทาการ 100

แข่งขันได้

รวมคะแนน

16

8. กาหนดการจัดการเรยี นรู้
รายวิชา ง30201 เปตอง

สปั ดาหท์ ่ี ช่วั โมงท่ี สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้
1-2 1-2 ความหมายความสาคัญ ประวตั คิ วาม
เป็นมาของกีฬาเปตอง บอกและอธบิ ายความหมายประวัติความ
3 3 ประโยชน์ของกีฬาเปตอง เป็นมาของกฬี าเปตองได้

4-5 4-5 ความรู้ทั่วไปเก่ยี วกับกีฬา บอกและอธบิ ายประโยชน์ของกีฬาเป
เปตอง ตองได้
6-10 6-10 กติกาและมารยาทในการเลน่ เปตอง
บอกและอธบิ ายความหมายความรทู้ ่ัวไป
11-12 11-12 การบริหารร่างกาย เก่ียวกับกีฬาเปตองได้
13 13 การทดสอบสมรรถภาพ
บอกและอธบิ ายกตกิ าและมารยาทใน
14-15 14-15 ความปลอดภัยในการเล่นกีฬาเปตอง การเล่นเปตองได้
16-17 16-17 ทักษะการจบั ลกู เปตอง
สามารถทาการบริหารร่างกายได้
18-19 18-19 ปฏิบัตกิ ารจบั ลกู เปตองแบบต่าง ๆ
ตามกติกา สามารถการทดสอบสมรรถภาพ ผ่าน
20-22 20-22 ทกั ษะการโยนลูกโดง่ และการโยนลูก เกณฑท์ ่ีกาหนดได้
ยึด
23-25 23-25 ทกั ษะการชง่ิ หรอื การตีลูกแบบตา่ ง ๆ มีความปลอดภัยในการเลน่ กฬี าเปตอง

26-40 26-40 ปฏิบัติการเล่นเปตองเบ้อื งต้น สามารถปฏิบัติทกั ษะการจบั ลูกเปตองได้
อยา่ งถูกต้อง

สามารถปฏิบตั ิการจบั ลูกเปตองแบบ
ต่าง ๆ ตามกติกาได้

สามารถปฏิบตั ิทักษะการโยนลูกโด่งและ
การโยนลูกยึดได้

สามารถปฏิบตั ิทกั ษะการชิง่ หรอื การตลี ูก
แบบตา่ ง ๆ ได้

ปฏบิ ตั กิ ารเลน่ เปตองเบื้องต้น เป็นทีม
และทาการแข่งขันได้

17


Click to View FlipBook Version