The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้การเตรียมความพร้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Poopae, 2022-09-06 02:57:14

หน่วยการเรียนรู้การเตรียมความพร้อม

หน่วยการเรียนรู้การเตรียมความพร้อม

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๑
กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชัว่ โมง
หนวยการเรียนรู เร่ือง การเตรียมความพรอม เวลา ๑ ชวั่ โมง
เรอื่ ง การแนะนาํ ตนเอง

สาระสาํ คญั
การมีมารยาทในการฟง ดู พดู และการอา น ชว ยใหการติดตอสอื่ สาร สะดวกราบรน่ื และไดผ ลดี

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดอู ยา งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ และความรูส กึ ในโอกาส

ตา งๆ อยา งมวี จิ ารณญาณและสรา งสรรค

ตวั ชว้ี ัด
ท ๓.๑ ป. ๑/๔ พูด สื่อสารไดต ามวัตถปุ ระสงค

จุดประสงค
๑. นกั เรยี นสามารถพดู แนะนาํ ตนเองได
๒. นักเรยี นสามารถบอกชื่อครูประจาํ ชนั้ ได
๓. นกั เรียนมมี ารยาทในการฟง ดู และพูด

สมรรถนะสาํ คัญของผูเ รยี น
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญ หา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยา งพอเพยี ง

สาระการเรียนรู
- การพดู สอ่ื สารในชีวิตประจาํ วัน

กระบวนการจัดการเรยี นรู

๑. ครแู นะนาํ ตวั เอง บอกชอื่ ครู ๒-๓ ครงั้ ใหนกั เรยี นพดู ตาม

๒. ครกู ลาวตอนรบั นักเรยี น ถามชื่อนกั เรียน เปน รายบคุ คล โดยใหร อ งเพลง “ช่อื ของเธอ”

เพลงชือ่ ของเธอ

ชอ่ื ของเธอฉันไมรูจ ัก ครูถามทักนกั เรยี นเขา ใหม

ช่ือของเธอฉันจําไมไ ด ชือ่ อะไรขอใหบอกมา

(ครชู ไ้ี ปที่ นักเรียนคนหน่ึง นกั เรียนบอกเฉพาะชอื่ ของตนเอง) หรอื ใชวิธีการอื่นๆ

๓. สนทนาเกย่ี วกบั การมาโรงเรียนของนกั เรียน

๔. บอกช่อื ช้ัน ครูประจาํ ชน้ั โรงเรยี น

๕. ครูพานกั เรียนสํารวจโรงเรียน หอ งปฏบิ ัติการตางๆ สนทนาซกั ถามและแนะนาํ วธิ กี ารใช

สอื่ /แหลง เรยี นรู
๑. เพลง ช่ือของเธอ
๒. สถานที่ตา งๆ ในบรเิ วณโรงเรยี น

การวัดผลและประเมินผล
๑. วิธีประเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
๒. เคร่ืองมอื ประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
๓. เกณฑก ารประเมิน
- นักเรียนผา นเกณฑการสังเกตพฤตกิ รรมรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๒ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑
กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชัว่ โมง
หนว ยการเรียนรู เรอื่ ง การเตรยี มความพรอ ม เวลา ๑ ช่วั โมง
เรื่อง หองเรยี นของฉนั

สาระสาํ คัญ
การมีมารยาทในการฟง ดู พดู และการอา น ชวยใหการตดิ ตอ สอ่ื สาร สะดวกราบรน่ื และไดผ ลดี

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟง และดูอยางมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ และความรสู ึกในโอกาส

ตางๆ อยา งมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค

ตัวช้ีวดั
ท ๓.๑ ป. ๑/๑ ฟงคําแนะนาํ คาํ ส่ังงายๆ และปฏบิ ัตติ าม

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกประโยชนข องการมาเรียนได
๒. นักเรยี นสํารวจและบอกสิ่งของในหองเรยี นได
๓. นกั เรยี นมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกปญ หา
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มจี ิตสาธารณะ
๔. มวี ินัย
๕. อยูอ ยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- การพดู สอ่ื สารในชีวิตประจําวนั

กระบวนการจดั การเรียนรู
๑. ทบทวนชอ่ื ครปู ระจาํ ช้ัน และช่อื โรงเรียน
๒. สนทนาเก่ียวกับประโยชนของการมาโรงเรยี น
๓. นกั เรยี นสาํ รวจหองเรยี นและบอกชอ่ื ส่งิ ท่ีมีในหองเรียน เชน โตะครู กระดาน หนังสือ แจกันดอกไม

เกา อี้ ฯลฯ
๔. วาดภาพระบายสี ส่ิงของในหองเรียนคนละ ๑ อยา ง
๕. ครูสอนวิธกี ารจบั ดนิ สอ และทานัง่ ในการเขยี นที่ถกู ตอ ง

สอ่ื /แหลง เรยี นรู
๑. หอ งเรยี น
๒. สิง่ ของในหองเรียน
๓. อปุ กรณส ําหรบั วาดภาพ

การวัดผลและประเมินผล
๑. วิธีประเมิน
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครือ่ งมือประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน การวาดภาพ
๓. เกณฑการประเมนิ
- นักเรียนผา นเกณฑการสงั เกตพฤติกรรมรอ ยละ ๗๕-๘๐
- นักเรยี นผานเกณฑก ารประเมนิ ผลงานรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๓ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๑
กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ช่วั โมง
หนว ยการเรยี นรู เรื่อง การเตรียมความพรอม เวลา ๑ ช่วั โมง
เร่อื ง การปฏบิ ตั ิตามคาํ สัง่

สาระสําคญั
การฟง การดูอยา งต้งั ใจ และรจู ักสงั เกต ชวยใหเ กิดความรู ความเขา ใจเร่อื งทฟ่ี งและดู สามารถนาํ สง่ิ ทีฟ่ ง

และดถู ายทอดโดยการพูดแสดงความคดิ เหน็ และความรูสึกจากเรอ่ื งท่ีฟง และดูไดเ ปน อยางดี
การมีมารยาทในการฟง ดู พดู และการอาน ชว ยใหการตดิ ตอสื่อสาร สะดวกราบร่นื และไดผลดี

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๓.๑ สามารถเลือกฟง และดูอยา งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรสู กึ ในโอกาส

ตางๆ อยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค

ตัวชว้ี ดั
ท ๓.๑ ป. ๑/๑ ฟง คาํ แนะนํา คาํ สัง่ งา ยๆ และปฏิบัตติ าม
ท ๓.๑ ป. ๑/๓ พดู แสดงความคดิ เห็นและความรูส ึกจากเรอื่ งที่ฟงและดู

จดุ ประสงค
๑. นักเรยี นบอกตําแหนงส่ิงของตางๆ ได
๒. นักเรยี นปฏิบตั ิตามคําสงั่ ได
๓. นกั เรียนมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มวี ินยั
๕. อยูอยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- การปฏบิ ตั ิตามคาํ สงั่ และพดู แสดงความคดิ เห็น

กระบวนการจดั การเรียนรู

๑. ครกู ลาวทกั ทายนักเรียน และหาอาสาสมัคร ๒ คน ชาย ๑ คน หญิง ๑ คน ออกมายืนหนาช้ัน และ

ซกั ถาม

- ใครเปนผูห ญงิ

- ใครเปน ผูช าย

- ผหู ญงิ แตงกายอยางไร

- ผูชายแตง การอยางไร

- นักเรยี นเปน ผหู ญงิ หรือผูชาย (ครใู หนักเรยี นตอบทีละคน)

๒. วาดภาพระบายสีเด็กหญิง หรือ เดก็ ชาย ภาพใดภาพหน่งึ โดยครูแจกบตั รช่ือให นักเรียนทกุ คน

๓. นกั เรยี นบอกตาํ แหนง ของสิ่งตางๆ ในหอ งเรยี น (บน – ลา ง, ซาย – ขวา, หนา – หลัง, ใกล – ไกล)

๔. ปฏิบัตติ ามคาํ สง่ั ของครู

- ชูมอื ซาย

- บอกชือ่ เพ่ือนท่นี ั่งดานซายมอื ของนักเรยี น

- ชมู ือขวา

- บอกชอ่ื เพื่อนที่น่ังดา นขวามือของนกั เรียน

- วาดมอื ซา ยลงบนกระดาษใชมือขวา เขยี นรูปมอื ซายโดยลากดินสอไปตามรอ งน้ิว

- วาดมอื ขาวลงบนกระดาษใชม อื ซาย เขยี นรปู มือขวาโดยลากดนิ สอไปตามรองนวิ้

- ชวยกนั นบั น้วิ ทีละขา ง เรียกชื่อนวิ้ ใหถูกตอ ง

๕. ชวยกนั บอกคําตรงขามกับคําที่ครบู อก เชน

ครู นกั เรยี น

เด็กหญิง เดก็ ชาย

มือซา ย มอื ขวา

ขา งหนา ขางหลัง

ขา งบน ขา งลา ง

๖. สนทนาเกี่ยวกับภาพและระบายสีภาพในแบบฝก เตรียมความพรอมที่ ๑ จากแบบฝกหัด

รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทยชดุ ภาษาเพื่อชีวติ ทักษะภาษา เลม ๑

๗. ฝกลากเสนตรงจากบนลงลางและจากลางข้นึ บนโดยใหน ักเรยี นลากนิ้วตามครูในอากาศ ๓ – ๔ คร้ัง

แลวจึงใหลากเสนตามลูกศรในแบบฝกเตรียมความพรอมที่ ๑ จากแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชุด

ภาษาเพอื่ ชวี ิต ทักษะภาษา เลม ๑

สื่อ/แหลง เรียนรู
๑. ส่ิงของในหองเรยี น
๒. แบบฝก หดั รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชุด ภาษาเพอื่ ชีวิต ทกั ษะภาษา เลม ๑
๓. อปุ กรณส ําหรับวาดภาพ

การวดั ผลและประเมินผล
๑. วิธีประเมิน
- สงั เกตพฤติกรรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครอื่ งมือประเมนิ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบฝกหัด
๓. เกณฑการประเมิน
- นกั เรยี นผานเกณฑก ารสังเกตพฤติกรรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นักเรียนผา นเกณฑก ารประเมินผลงานรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๔ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๑
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชว่ั โมง
หนว ยการเรยี นรู เร่ือง การเตรยี มความพรอ ม เวลา ๑ ชวั่ โมง
เรอ่ื ง เสียงรองของสตั ว

สาระสาํ คญั
การฟง การดอู ยางตง้ั ใจ และรูจ ักสงั เกต ชว ยใหเกดิ ความรู ความเขาใจเรอื่ งทฟ่ี ง และดู สามารถนาํ ส่งิ ท่ฟี ง

และดูถายทอดโดยการพูดแสดงความคิดเหน็ และความรสู กึ จากเรื่องทีฟ่ งและดูไดเ ปน อยางดี
การมีมารยาทในการฟง ดู พูด และการอา น ชวยใหก ารติดตอสอื่ สาร สะดวกราบรื่น และไดผ ลดี

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดอู ยางมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ และความรูสกึ ในโอกาส

ตางๆ อยางมวี จิ ารณญาณและสรา งสรรค

ตวั ชี้วัด
ท ๓.๑ ป. ๑/๒ ตอบคาํ ถามและเลาเร่ืองทฟ่ี ง และดทู ้ังทเี่ ปนความรแู ละความบันเทงิ
ท ๓.๑ ป. ๑/๓ พดู แสดงความคิดเหน็ และความรูสึกจากเรือ่ งทฟ่ี ง และดู

จุดประสงค
๑. นักเรยี นบอกเสยี งรอ งของสัตวได
๒. นกั เรียนทําเสยี งรองของสัตวไ ด
๓. นกั เรียนมมี ารยาทในการฟง ดู และพดู

สมรรถนะสําคญั ของผูเรยี น
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รกั ความเปนไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มวี นิ ยั
๕. อยอู ยางพอเพียง

สาระการเรียนรู
- เสยี งรองของสัตวตางๆ

กระบวนการจดั การเรยี นรู

๑. ครอู านคําคลอ งจอง ไก ใหนักเรียนพดู ตาม

ก.เอย ก. ไก เสยี งใสปลกุ เรา

ก.ไกตืน่ เชา ปลกุ เรา เอก เอก

๒. สนทนาเกี่ยวกบั เสียงรองของไกและสตั วอ ื่นๆ

๓. ครบู อกช่ือสัตวใหนกั เรยี นรองเสียงสัตว ชนดิ นัน้ ๆ เชน

ครู นกั เรียน

แมว เหมียวๆ

วัว มอๆ

หมาเหา โฮง ๆ

๔. ใหน ักเรยี นออกมาหนาชั้น ทําเสยี งสัตวใ หเ พอ่ื นๆทาย

๕. ครูเลาเรือ่ งท่ที ําใหเกิดเสยี งตางๆ

คณุ แมต น่ื แตเชา ไปเคาะประตูเรียกหนูนิด ใหรีบแตงตัวไปโรงเรียน หนูนิดขึ้นรถไฟ รถไฟแลน

เสยี งดงั พอถงึ โรงเรยี นไดยินเสียงระฆังดัง เดก็ ๆ เขา แถวเคารพธงชาติ

๖. นักเรียนพลัดกนั ทาํ เสยี งตา งๆ ใหเ พ่ือนๆ ทายวาเปน เสียงอะไร

สอ่ื /แหลงเรียนรู
๑. คําคลองจอง ไก
๒. เร่อื งหนูนดิ

การวัดผลและประเมนิ ผล
๑. วธิ ปี ระเมิน
- สังเกตพฤตกิ รรม
๒. เคร่ืองมอื ประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
๓. เกณฑการประเมิน
- นักเรียนผา นเกณฑก ารสงั เกตพฤติกรรมรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๕ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชั่วโมง
หนวยการเรยี นรู เร่ือง การเตรียมความพรอ ม เวลา ๑ ชั่วโมง
เรื่อง การฝก ลากเสน เฉยี ง

สาระสําคญั
การคัดลายมือใหถูกตอง สวยงาม แลเปนระเบียบ ทําใหเขาใจขอความท่ีเขียนไดงาย เปนการปลูกฝง

ลักษณะนิสัยทด่ี แี ละชว ยฝก ใหม สี มาธิ

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ

เขยี นรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน ควาอยา งมีประสทิ ธิภาพ

ตัวชว้ี ดั
ท ๒.๑ ป. ๑/๑ คดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกและปฏบิ ตั ติ นตอผใู หญไ ด
๒. นกั เรียนสามารถลากเสน เฉยี งขนึ้ และลงไดถ ูกตอ ง

สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
๑. รกั ความเปนไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มวี ินัย
๕. อยอู ยา งพอเพียง

สาระการเรียนรู
- การปฏิบตั ติ นทดี่ ตี อผใู หญ
- การลากเสน เฉยี งและคดั ลายมือ

กระบวนการจัดการเรยี นรู
๑. สนทนาเก่ียวกับการปฏบิ ตั ติ นตอผใู หญ การทําความเคารพผใู หญ การกลา วคําขอบคุณ ขอโทษ และ

ฝกปฏบิ ัติ ครูกลา วคําชมเมอื่ นกั เรียนทําไดถ กู ตอง
๒. นกั เรยี นวาดภาพระบายสี “เดก็ ทาํ ความเคารพผูใหญ”
๓. ฝก ลากเสนเฉยี งลงและข้ึน โดยใชน้ิวลากในอากาศกอน เสนละ ๔ – ๕ ครั้ง โดยใหเด็กจินตนาการ

เชน
ฝนตกจากฟา ลากเฉียงลง
ลูกโปง ลอยขึ้น ลากเฉยี งขึ้น

๔. เขียนตามลกู ศรและรอยเสน ประ ในแบบฝกเตรียมความพรอมท่ี ๒ จากแบบฝกหัดรายวิชาพ้ืนฐาน
ภาษาไทยชดุ ภาษาเพื่อชีวิต ทกั ษะภาษา เลม ๑

๕. นกั เรียนดูภาพจากแบบฝกเตรียมความพรอ มที่ ๒ และตอบคาํ ถาม
- ภาพนี้เปนภาพอะไร
- ในสนามมเี คร่อื งเลนกอ่ี ยา ง อะไรบาง
- ชว ยกนั สรุปเปนแนวปฏบิ ตั ิในการเลน ใหปลอดภยั

๖. ระบายสีภาพ “สนามเดก็ เลน ”

สอ่ื /แหลง เรียนรู
- แบบฝกหัดรายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ ภาษาเพ่ือชวี ิต ทกั ษะภาษา เลม ๑

การวดั ผลและประเมินผล
๑. วิธีประเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครื่องมอื ประเมนิ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบฝกหัด
๓. เกณฑการประเมิน
- นักเรยี นผา นเกณฑการสงั เกตพฤติกรรมรอ ยละ ๗๕-๘๐
- นักเรียนผา นเกณฑการประเมนิ ผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๖ ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๑
กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ช่วั โมง
หนว ยการเรียนรู เรื่อง การเตรยี มความพรอม เวลา ๑ ชั่วโมง
เรอื่ ง การอา นบทรอ งเลน

สาระสาํ คญั
การอานออกเสียงคาํ ขอ ความ และเขา ใจความหมายไดถกู ตอ ง เปน การสง เสริมใหผูเรยี น อาน เขียน และ

เขา ใจเรื่องราวไดเปน อยางดี

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอา น สรา งความรู และความคิด เพอ่ื นําไปใชต ดั สินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต

และมนี สิ ยั รกั การอา น

ตัวชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป. ๑/๑ อา นออกเสียงคาํ คําคลองจอง และขอความสั้นๆ

จุดประสงค
๑. นักเรียนทอ งบทรอ งเลน แมงูได
๒. นกั เรยี นรแู ละจดั หมูพยัญชนะได
๓. นักเรียนอา นคําไดถกู ตอ ง

สมรรถนะสําคัญของผเู รียน
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มวี ินัย
๕. อยอู ยา งพอเพียง

สาระการเรียนรู
- การอานออกเสียงคํา ขอ ความ การอานบทรองเลน

กระบวนการจดั การเรียนรู

๑. อา นบทรอ งเลน “แมง ”ู ตามครู

บทรองเลน แมง ู

แมงูเอย กนิ นํา้ บอ ไหน

กินนา้ํ บอทราย ยายไปก็ยายมา

กนิ น้ําบอโศก โยกไปก็โยกมา

กินนา้ํ บอ หิน บนิ ไปก็บนิ มา

กนิ หัวกนิ หาง กินกลางตลอดตัว

๒. นกั เรยี นทองบทรอ งเลน พรอ มกับเคล่ือนไหวรา งกายตามจงั หวะ

๓. นกั เรยี นเลน เกม จดั หมูคําตามพยญั ชนะเชน

ก. ไก กงุ กบ

ถ. ถงุ ถงั ถั่ว

ง. งู งา งอบ

จ. จาน จอบ จมูก

ว. แหวน วาว ว่งิ

๔. นกั เรียนชว ยกันตรวจสอบความถูกตอ งและฝกอา นตามครู

๕. เลอื กวาดภาพใดภาพหนง่ึ จากคําทน่ี ักเรยี นชอบ

สอื่ /แหลงเรยี นรู
๑. บทรอ งเลนแมงู
๒. เกมจบั หมูค าํ

การวัดผลและประเมนิ ผล
๑. วิธีประเมิน
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครอ่ื งมอื ประเมิน
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- การวาดภาพ
๓. เกณฑก ารประเมิน
- นักเรียนผา นเกณฑการสงั เกตพฤตกิ รรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นักเรยี นผา นเกณฑการประเมนิ ผลงานรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๗ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชว่ั โมง
หนวยการเรยี นรู เรื่อง การเตรยี มความพรอ ม เวลา ๑ ช่วั โมง
เรอ่ื ง การอา นและเขียนพยญั ชนะ

สาระสาํ คัญ
การบอกและการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต ไดถ ูกตอ ง มลี ายมือท่ีสวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคาํ และเขา ใจสว นประกอบของคาํ นําไปเขียนส่อื ความหมายและใชในชวี ิตประจําวนั ได

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ิของชาติ

ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๑/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

จุดประสงค
๑. นกั เรียนบอกและออกเสยี งพยัญชนะไดถกู ตอง
๒. นกั เรียนเขียนพยัญชนะไดถูกตอง

สมรรถนะสําคญั ของผูเรยี น
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

คุณลักษณะอนั พึงประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยอู ยา งพอเพียง

สาระการเรยี นรู
๑. การอา นพยัญชนะ
๒. การเขียนพยัญชนะ

กระบวนการจดั การเรยี นรู
๑. นกั เรียนทองคาํ คลองจอง ไก พรอ มกบั ปรบมอื พรอมเปน จงั หวะ
ก.เอย ก. ไก เสียงใสปลกุ เรา
ก.ไกต ืน่ เชา ปลกุ เรา เอก เอก
๒. นักเรยี นอา นคําคลอ งจอง พรอ มกับ เคล่อื นไหวรางกายประกอบจงั หวะ
๓. ครูนําภาพไกประกอบบัตรพยัญชนะ ก.ไก ติดบนกระดาน ใหนักเรียนชวยหา พยัญชนะตัวอื่นท่ีมี

รูปรางคลาย ก จากแผนภูมิพยัญชนะ ครูนําภาพ ถุง ประกอบพยัญชนะ ถ และภาพเรือสําเภา ประกอบ
พยัญชนะ ภ ใหนกั เรยี นบอกความแตกตา ง ของพยญั ชนะท้งั ๓ ตัว

๔. อานออกเสียงพยญั ชนะ ก ถ และ ภ จากบัตรพยญั ชนะ โดยครชู ้ีพยัญชนะ สลบั ไปมา จนคลอง
๕. จําแนกเสียงพยัญชนะโดยครูติดบัตรพยัญชนะบนกระดาน ก ถ ครูออกเสียงพยัญชนะ ๒ คร้ัง ให
นักเรยี นบอกวา เหมือน หรอื ตางกนั
๖. ฝกเขียนพยัญชนะ ก ถ ภ ทีละตัว และเขียนทับเสนประในแบบฝกเตรียมความพรอมที่ ๑ จาก
แบบฝก หัดทักษะภาษาเลม ๑

สอ่ื /แหลงเรียนรู
๑. คําคลอ งจอง ก.ไก
๒. บตั รพยัญชนะ
๓. แบบฝก หดั ทกั ษะภาษาเลม ๑

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑. วิธปี ระเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครอื่ งมือประเมิน
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- แบบฝกหัด
๓. เกณฑการประเมิน
- นักเรียนผานเกณฑการสงั เกตพฤตกิ รรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นกั เรียนผานเกณฑการประเมินผลงานรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๘ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชว่ั โมง
หนวยการเรยี นรู เรื่อง การเตรยี มความพรอ ม เวลา ๑ ช่วั โมง
เรอ่ื ง การอา นและเขียนพยญั ชนะ

สาระสาํ คัญ
การบอกและการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต ไดถ ูกตอ ง มลี ายมือท่ีสวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคาํ และเขา ใจสว นประกอบของคาํ นําไปเขียนส่อื ความหมายและใชในชีวิตประจําวนั ได

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ิของชาติ

ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๑/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

จุดประสงค
๑. นกั เรียนบอกและออกเสยี งพยัญชนะไดถกู ตอง
๒. นกั เรียนเขียนพยัญชนะไดถูกตอง

สมรรถนะสําคญั ของผูเรยี น
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

คุณลักษณะอนั พึงประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยอู ยา งพอเพียง

สาระการเรยี นรู
๑. การอา นพยัญชนะ
๒. การเขียนพยัญชนะ

กระบวนการจดั การเรียนรู
๑. ครูติดบัตรภาพพยัญชนะ งู จาน แหวน บนกระดาน ใหนักเรียนเลือกบัตร พยัญชนะไปติดคูกับ

บัตรภาพ
๒. ฝก ออกเสยี งพยัญชนะ ง จ ว และใสห มายเลข ๑ ที่ ง หมายเลข ๒ ท่ี จ หมายเลข ๓ ท่ี ว
- ครอู อกเสียงพยญั ชนะครัง้ ละตวั ใหน กั เรยี นบอกวา ครอู อกเสียงหมายเลขใด
- ครูออกเสยี งพยญั ชนะครงั้ ละ ๒ ตัว
- ครูออกเสยี งพยญั ชนะครั้งละ ๓ ตัว
ตอ ไปใชเสยี งปรบมือแทนหมายเลข
๓. ฝกเขยี นพยญั ชนะ ง จ ว ในอากาศทลี ะตวั
๔. จบั คกู ับเพอ่ื น ชวยกนั เรียงวสั ดุ เปน ตัวพยัญชนะ ง จ ว
๕. ใชด นิ สอเขียนพยญั ชนะ ง จ ว ทบั ตวั พยญั ชนะ ตามลูกศรเบาๆ และเขียนตามเสน ประ
๖. ฝก เขียนพยญั ชนะ ก ถ ภ ง จ ว ในแบบฝก เตรียมความพรอ มที่ ๑ จากแบบฝก หดั ทักษะภาษาเลม ๑

สื่อ/แหลงเรยี นรู
๑. บตั รพยญั ชนะ
๒. แบบฝกหดั ทกั ษะภาษาเลม ๑

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑. วิธปี ระเมิน
- สงั เกตพฤติกรรม
- ตรวจผลงาน
๒. เคร่อื งมอื ประเมนิ
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- แบบฝกหัด
๓. เกณฑการประเมิน
- นกั เรยี นผา นเกณฑก ารสงั เกตพฤติกรรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นักเรยี นผา นเกณฑการประเมนิ ผลงานรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๙ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชว่ั โมง
หนวยการเรยี นรู เรื่อง การเตรยี มความพรอ ม เวลา ๑ ช่วั โมง
เรอ่ื ง การอา นและเขียนพยญั ชนะ

สาระสาํ คัญ
การบอกและการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต ไดถ ูกตอ ง มลี ายมือท่ีสวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคาํ และเขา ใจสว นประกอบของคาํ นําไปเขียนส่อื ความหมายและใชในชวี ิตประจําวนั ได

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ิของชาติ

ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๑/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

จุดประสงค
๑. นกั เรียนบอกและออกเสยี งพยัญชนะไดถกู ตอง
๒. นกั เรียนเขียนพยัญชนะไดถูกตอง

สมรรถนะสําคญั ของผูเรยี น
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

คุณลักษณะอนั พึงประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยอู ยา งพอเพียง

สาระการเรยี นรู
๑. การอา นพยัญชนะ
๒. การเขียนพยัญชนะ

กระบวนการจดั การเรยี นรู
๑. นักเรยี นอานบทรอยกรอง ระฆัง ตามครูทีละวรรค และอา นพรอมกัน
บทรอยกรอง ระฆงั
ระฆังดงั หงา ง หงาง
ฆอ งใหญก วา งดังคราง หงึ่ ห่ึง
กลองหนงั ดงั ตึง ตงึ
ตีกระดงึ ดงั กรงิ่ กรงิ่
(ตดั ตอนจาก ประถม ก กา ฉบับ หอสมดุ แหง ชาต)ิ
๒. นักเรียนบอกช่ือ สิ่งท่ีทําใหเกิดเสียงในคําคลองจอง ครูอธิบายโดยใชภาพประกอบ ระฆัง ฆอง

กลองหนงั กระดงึ
๓. ครตู ดิ ภาพพยญั ชนะ ฆ ธ ร อา นออกเสยี งทีละตัว
๔. ฝกเขยี นพยญั ชนะตามลูกศรในอากาศ และคดั ตามเสนประ
๕. ฝกสงั เกตพยัญชนะทคี่ ลายกัน ผ ฝ พ และ ฟ ใหน กั เรียนบอกสว นที่ตางกนั
๖. ฝก คดั พยญั ชนะ ค ด ต ฆ ธ ร ผ ฝ พ ฟ

ส่ือ/แหลง เรียนรู
๑. บทรอยกรอง ระฆัง
๒. บัตรพยัญชนะ
๓. แบบฝกหดั ทักษะภาษา เลม ๑

การวดั ผลและประเมินผล
๑. วิธปี ระเมนิ
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครือ่ งมอื ประเมิน
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบฝก หัด
๓. เกณฑก ารประเมนิ
- นักเรียนผา นเกณฑก ารสังเกตพฤตกิ รรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นกั เรียนผา นเกณฑการประเมนิ ผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๐ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑
กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชว่ั โมง
หนว ยการเรียนรู เรอื่ ง การเตรยี มความพรอ ม เวลา ๑ ชัว่ โมง
เรอื่ ง การอา นและเขียนพยัญชนะ

สาระสาํ คญั
การบอกและการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต ไดถ กู ตอง มีลายมือที่สวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคํา และเขา ใจสวนประกอบของคาํ นาํ ไปเขียนส่อื ความหมายและใชในชวี ติ ประจาํ วันได

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติ

ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๑/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกและออกเสยี งพยญั ชนะไดถ ูกตอง
๒. นักเรยี นเขียนพยญั ชนะไดถกู ตอง

สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มีวนิ ัย
๕. อยูอยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
๑. การอา นพยัญชนะ
๒. การเขียนพยัญชนะ

กระบวนการจัดการเรยี นรู
๑. สนทนาเกย่ี วกับรถไฟจากประสบการณของนักเรยี น
- ใครเคยเห็นรถไฟบาง
- ลักษณะรถไฟเปน อยางไร
- ใครเคยข้ึนรถไฟบา ง รูสกึ อยา งไร
- เวลารถไฟจอด เสียงดังอยา งไร
- ทสี่ ถานรี ถไฟ มอี ะไรบาง
๓. แสดงบทบาทสมมตุ ิ เหตุการณบรเิ วณสถานีรถไฟ
๔. สนทนาเกย่ี วกับยานพาหนะในแบบฝกเตรียมความพรอมที่ ๓ จากแบบฝกหดั ทักษะภาษา เลม ๑
๕. สังเกตพยัญชนะทค่ี ลา ยกัน คอื บ ป ญ ฌ น
๖. คดั พยญั ชนะ บ ป ญ ฌ น ตามแบบ

สอื่ /แหลง เรียนรู
๑. บตั รพยัญชนะ
๒. แบบฝก หดั ทักษะภาษา เลม ๑

การวัดผลและประเมินผล
๑. วธิ ีประเมิน
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครอ่ื งมอื ประเมิน
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบฝก หดั
๓. เกณฑก ารประเมนิ
- นกั เรยี นผา นเกณฑก ารสังเกตพฤติกรรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นักเรียนผา นเกณฑการประเมินผลงานรอยละ ๗๕-๘๐

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๑๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑
กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ชวั่ โมง
หนว ยการเรียนรู เร่ือง การเตรียมความพรอ ม เวลา ๑ ช่วั โมง
เรอื่ ง การอา นและเขียนพยญั ชนะ

สาระสาํ คญั
การบอกและการเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต ไดถูกตอ ง มีลายมือที่สวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคํา และเขา ใจสว นประกอบของคํา นําไปเขยี นส่ือความหมายและใชใ นชีวติ ประจําวันได

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ

ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกและออกเสยี งพยญั ชนะไดถ กู ตอง
๒. นักเรยี นเขียนพยัญชนะไดถ ูกตอ ง

สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
๑. การอานพยญั ชนะ
๒. การเขยี นพยญั ชนะ

กระบวนการจดั การเรยี นรู
๑. รอ งเพลง หนูกลอย แลว สนทนาเก่ยี วกบั เนอ้ื เพลง
เพลงหนกู ลอย
หนกู ลอยนัน้ กิรยิ านา รัก
พบคนรจู กั กท็ กั ทายปราศรยั
ผใู หญกวา ก็พนมมือไหว
เพื่อนกันกย็ มิ้ ใหแ ลว กลา วคําสวสั ดี
สวัสดี สวสั ดี สวัสดี สวัสดี
๒. ฝกเขียนเสนโคงรูปครง่ึ วงกลมตามลกู ศร
๓. ซักถามจนิ ตนาการของนักเรียนวา เสนโคงน้ลี ักษณะเหมือนอะไรเชน กบกระโดด จิงโจก ระโดด
๔. สนทนาเกย่ี วกับภาพตลาด ในแบบฝก เตรยี มความพรอ มที่ ๔ จากแบบฝกหัดทักษะภาษา เลม ๑
- ในภาพมีรานขายของกีร่ า น
- รา นไหนขายผกั
- รานไหนขายผลไม
- นดั เรยี นเคยไปตลาดหรอื ไม กับ ใคร
- ตลาดที่นักเรยี นเคยไปมขี องขายอยางอนื่ นอกเหนอื จากในภาพหรอื ไม อะไรบา ง
- ระบายสภี าพตลาด
๕. ฝก อานและเขียนพยัญชนะในแบบฝก เตรยี มความพรอม ๔ จากแบบฝก หดั ทกั ษะภาษา เลม ๑

สื่อ/แหลงเรียนรู
๑. เพลง หนูกลอย
๒. บัตรพยญั ชนะ
๓. แบบฝก หัดทกั ษะภาษา เลม ๑

การวัดผลและประเมนิ ผล
๑. วธิ ีประเมิน
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครื่องมอื ประเมนิ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- แบบฝกหดั
๓. เกณฑการประเมิน
- นกั เรียนผานเกณฑการสังเกตพฤติกรรมรอ ยละ ๗๕-๘๐
- นักเรยี นผา นเกณฑก ารประเมนิ ผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๑๒ ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๑
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ช่ัวโมง
หนว ยการเรียนรู เรือ่ ง การเตรยี มความพรอม เวลา ๑ ชั่วโมง
เรอื่ ง การอา นและเขยี นพยัญชนะ

สาระสาํ คญั
การบอกและการเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต ไดถกู ตอ ง มีลายมือที่สวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคํา และเขา ใจสวนประกอบของคาํ นาํ ไปเขยี นสื่อความหมายและใชใ นชวี ิตประจําวันได

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ิของชาติ

ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต และเลขไทย

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกและออกเสียงพยัญชนะไดถกู ตอง
๒. นักเรียนเขยี นพยัญชนะไดถ ูกตอ ง

สมรรถนะสําคญั ของผูเ รียน
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มจี ิตสาธารณะ
๔. มีวนิ ยั
๕. อยูอ ยา งพอเพียง

สาระการเรยี นรู
๑. การอา นพยญั ชนะ
๒. การเขียนพยัญชนะ

กระบวนการจดั การเรยี นรู
๑. ครูเลา นิทานเรื่องกระตา ยกบั เตา และสนทนาเกยี่ วกับนทิ านทีฟ่ ง
- เร่ืองนกี้ ลา วถงึ สัตวอ ะไร
- ใครเปนผหู ัวเราะเยาะวา เตาขาสั้น
- ใครไปถงึ หลักชัยกอน
- ใครเปน ผมู ีความพยายาม
- นิทานเรือ่ งนีส้ อนอะไรแกเ รา
๒. รอ งเพลงเตาและกระตาย พรอ มทําทา ทางประกอบเพลง
เพลงกระตา ย
ฉันเปนกระตายกายสขี าว
ลกู ตาวาวสแี ดงแสงฉาบฉาย
อาศัยอยใู นปา ละเมาะเหมาะสบาย
ยามเดือนหงายวงิ่ เลนเย็นใจเอย
(จากหนงั สอื ขับขานบทเพลง บรรเลงบทกลอน)
๓. ใหนักเรยี นบอกช่อื สง่ิ ของทเ่ี ปน รูปวงกลม เชน ลกู บอล นาฬกิ า ลอ รถ ฯลฯ
๔. เขียนวงกลมตามลูกศรในอากาศ และเขียนใน แบบฝกเตรียมความพรอม ๕ จากแบบฝกหัดทักษะ

ภาษา เลม ๑
๕. ฝก อานและเขียนพยัญชนะ ย ฅ น ม ห

สือ่ /แหลง เรยี นรู
๑. นิทาน กระตายกับเตา
๒. บัตรพยัญชนะ
๓. แบบฝกหัดทกั ษะภาษา เลม ๑

การวดั ผลและประเมินผล
๑. วธิ ีประเมิน
- สงั เกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครือ่ งมือประเมนิ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- แบบฝกหดั
๓. เกณฑก ารประเมนิ
- นกั เรยี นผานเกณฑการสงั เกตพฤตกิ รรมรอ ยละ ๗๕-๘๐
- นกั เรียนผานเกณฑการประเมินผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๑๓ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๑
กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย เวลา ๑๕ ชวั่ โมง
หนว ยการเรียนรู เรอื่ ง การเตรียมความพรอม เวลา ๑ ชัว่ โมง
เร่อื ง การอานและเขียนพยัญชนะสระ

สาระสําคญั
การบอกและการเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต ไดถกู ตอง มลี ายมือท่ีสวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขียนคาํ และเขา ใจสวนประกอบของคาํ นําไปเขยี นสื่อความหมายและใชใ นชีวติ ประจําวันได

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ขิ องชาติ

ตวั ชวี้ ดั
ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต และเลขไทย

จุดประสงค
๑. นกั เรยี นบอกและออกเสยี งพยัญชนะ สระ ไดถ ูกตอ ง
๒. นกั เรยี นเขียนพยญั ชนะ สระ ไดถูกตอง

สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญ หา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มวี นิ ัย
๕. อยอู ยา งพอเพียง

สาระการเรยี นรู
๑. การอานพยัญชนะและสระ
๒. การเขยี นพยญั ชนะและสระ

กระบวนการจดั การเรยี นรู
๑. รอ งเพลงสระ อะ อา อิ อี อึ ออื อุ อู
๒. สงั เกตรูปสระแตล ะตวั และการวางตําแหนงของสระจากบัตรคําโดยใชสีสระคนละสีกับพยัญชนะ
๓. ฝก อานและเขียนสระ อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อูตามลูกศร
๔. ฝกเติมสระตามตาํ แหนง ในคํา และหัดอา นสะกดคาํ
๕. นักเรยี นทายปริศนา
- อะไรเอย ชอบรองเสยี งดงั หลงั ฝนตก ไมคางคก ชอื่ มี อ สองตัว ( องึ่ อา ง)
- อะไรเอยมสี องขา ง ชางมีประโยชนห ยิบจับสิ่งของลองโบกไปมา (มือ)
- อะไรเอย แหวนกับแหวนชนกันทหี่ ันอากาศ เกิดเปนสตั วป ระหลาดชอบกินหญา (ววั )
๖. ครเุ ขียนคาํ เฉลยบนกระดาน นกั เรียนบอกสระในแตล ะคาํ
๗. ฝกเขียน โ ไ ใ ในอากาศตามลูกศร และเขียนสระ โ ไ ใ ตามเสนประในแบบฝกเตรียมความพรอม

ท่ี ๖ จากแบบฝกหดั ทักษะภาษา เลม ๑

สอื่ /แหลงเรยี นรู
๑. เพลง สระ
๒. บตั รสระ
๓. แบบฝกหดั ทกั ษะภาษา เลม ๑

การวัดผลและประเมินผล
๑. วิธปี ระเมิน
- สงั เกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครอ่ื งมือประเมิน
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบฝก หัด
๓. เกณฑการประเมิน
- นกั เรียนผานเกณฑก ารสงั เกตพฤตกิ รรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นักเรียนผานเกณฑก ารประเมินผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๑๔ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย เวลา ๑๕ ช่ัวโมง
หนวยการเรียนรู เรอ่ื ง การเตรียมความพรอม เวลา ๑ ช่วั โมง
เรอ่ื ง การผนั วรรณยกุ ต

สาระสําคญั
การบอกและการเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต ไดถกู ตอ ง มีลายมือท่ีสวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขียนคาํ และเขา ใจสว นประกอบของคํา นําไปเขียนส่อื ความหมายและใชในชวี ติ ประจาํ วนั ได

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติ

ตัวช้วี ดั
ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต และเลขไทย

จดุ ประสงค
๑. นกั เรยี นบอกและออกเสียงวรรณยกุ ตไ ดถ ูกตอ ง
๒. นักเรยี นเขียนวรรณยกุ ตไ ดถ กู ตอง

สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รกั ความเปนไทย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มีวนิ ยั
๕. อยูอยา งพอเพียง

สาระการเรียนรู
๑. การอา นและผันวรรณยุกต
๒. การเขียนวรรณยกุ ต

กระบวนการจดั การเรียนรู
๑. ครูเขียนคําวา ปา ปา ปา ปา ปา บนกระดานใหนักเรียนอานคําทั้ง ๕ คํา ครูถามนักเรียนวา

ออกเสียงเหมือนกันหรือไม ตอไปครเู ติมวรรณยกุ ต เอก ทคี่ าํ ท่ี ๒ วรรณยกุ ต โท ที่คําที่ ๓ วรรณยกุ ต ตรี ทีค่ ําท่ี ๔
และ วรรณยุกตจัตวา ท่ีคําท่ี ๕ ใหนักเรียนออกเสียงใหมตามครูทีละคํา ถามนักเรียนวาเสียงของคําเหมือนเดิม
หรอื ไม

๒. ครอู ธบิ ายเพิม่ เตมิ วา เคร่อื งหมายทที่ าํ ใหเสียงสูง สงู ต่ํา ต่าํ เรียกวา วรรณยุกต นอกจากทําใหเสียง
ของคําเปลย่ี นแลวความหมายก็เปลย่ี นไปดว ย ใหนกั เรยี นบอกความหมายของคํา ปา ปา ปา ปาปา

๓. นักเรยี นฝกเขยี นวรรณยุกตบนคาํ ตางๆ

ส่อื /แหลง เรียนรู
๑. บัตรวรรณยกุ ต
๒. บัตรคาํ
๓. แบบฝกหัดทักษะภาษาเลม ๑

การวดั ผลและประเมินผล
๑. วิธีประเมิน
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครอ่ื งมอื ประเมิน
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบฝกหดั
๓. เกณฑก ารประเมิน
- นักเรยี นผานเกณฑก ารสงั เกตพฤติกรรมรอ ยละ ๗๕-๘๐
- นกั เรียนผานเกณฑการประเมินผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๑๕ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย เวลา ๑๕ ช่วั โมง
หนวยการเรยี นรู เรือ่ ง การเตรียมความพรอ ม เวลา ๑ ช่วั โมง
เร่ือง การเขยี นเลขไทย

สาระสําคัญ
การบอกและการเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต ไดถกู ตอง มีลายมือที่สวยงามจะชวยใหผูเรียนสามารถ

เขยี นคํา และเขาใจสวนประกอบของคาํ นาํ ไปเขยี นสื่อความหมายและใชใ นชีวติ ประจาํ วันได

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปน สมบัตขิ องชาติ

ตวั ชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกตวั เลขไทยไดถ กู ตอ ง
๒. นกั เรียนอา นเลขไทยไดถ กู ตอง
๓. นกั เรยี นเขียนเลขไทยไดถูกตอง

สมรรถนะสําคัญของผเู รียน
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มีวินยั
๕. อยูอยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- การอานและเขียนเลขไทย

กระบวนการจดั การเรียนรู
๑. นกั เรียนอา นบทรอยกรองตามครู
หนึ่งสอง มือตกี ลอง ตะลอ็ ก ปอ กแปก
สามสด่ี ใู หดี หา หก สอ งกระจก
เจ็ดแปดถอื ปน แฝด
เกาสบิ กนิ กลว ยดบิ
ปวดทองรองโอย
ครูตดิ ตวั เลขอารบกิ 1 2 3 4 5 บนกระดาน
๒. ครูบอกนกั เรียนวา ตัวเลขนี้เปนของชาติอื่น ประเทศไทยมีตัวอักษรเปนของเราเองและมีตัวเลขไทย

ดวย ครตู ดิ บัตรเลขไทย ใตเ ลขอารบกิ และอา นตวั เลขพรอมกัน
๓. ฝกเขียนตวั เลขไทยตามลูกศรและเสนประ
๔. ครบู อกตัวเลขใหน ักเรยี นแขงขนั ออกไปชตี้ ัวเลขไทย ๑-๕
๕. ครเู ขยี นตัวเลขไทย ๕ บรรทัด ซงึ่ อาจมตี วั เขซ้ํากันบางใหนักเรียนอานตามท่ีครูช้ี เพ่ือฝกการเคล่ือน

สายตา ซายไปขวา เมอ่ื อานไดแลว จงึ เปลย่ี นเปนตัวพยัญชนะ สระ หรือ คาํ งายๆ

สือ่ /แหลง เรยี นรู
๑. บัตรตัวเลขไทย
๒. แบบฝกหดั ทกั ษะภาษา เลม ๑

การวดั ผลและประเมินผล
๑. วิธปี ระเมนิ
- สงั เกตพฤตกิ รรม
- ตรวจผลงาน
๒. เครื่องมอื ประเมนิ
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- แบบฝกหัด
๓. เกณฑก ารประเมนิ
- นกั เรยี นผา นเกณฑก ารสงั เกตพฤตกิ รรมรอ ยละ ๗๕-๘๐
- นักเรียนผานเกณฑก ารประเมินผลงานรอยละ ๗๕-๘๐


Click to View FlipBook Version