The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปรียานุช มโนธรรม_คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การตรวจสอบคุณภาพภาพรังสีทรวงอก พ.ศ.2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MaiYo รุ่น 5/33, 2019-06-16 23:42:55

ปรียานุช มโนธรรม_คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การตรวจสอบคุณภาพภาพรังสีทรวงอก พ.ศ.2559

ปรียานุช มโนธรรม_คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การตรวจสอบคุณภาพภาพรังสีทรวงอก พ.ศ.2559

คู่มือปฏิบัตงิ าน

เรื่อง
การควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ทรวงอก

โดย

นางสาวปรียานุช มโนธรรม
นักรังสีการแพทย์ ระดบั ปฏิบัติการ

สาขารังสีวนิ ิจฉัย ภาควชิ ารังสีวทิ ยา
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล

คำนำ

คู่มือกำรควบคุมคุณภำพภำพเอกซเรยท์ รวงอก จัดทำข้ึนเพ่ือใช้เป็ นเคร่ืองมือปฏิบตั ิงำนของนักรังสี
กำรแพทย์ และนกั ศึกษำรังสีเทคนิคฝึ กปฏิบตั ิงำน ในกำรตรวจสอบและควบคุมคุณภำพภำพเอกซเรยท์ รวงอก
เน่ืองจำกกำรถ่ำยภำพเอกซเรยท์ รวงอก หน่วยรังสีวินิจฉัย ตึกผูป้ ่ วยนอก สำขำรังสีวินิจฉัย ภำควิชำรังสีวิทยำ
โรงพยำบำลศิริรำช เป็ นกำรส่งตรวจที่เป็ นปริมำณมำกกว่ำกำรส่งตรวจเอกซเรย์ส่วนอ่ืนๆ ภำยในคู่มือ
ประกอบดว้ ย วิธีกำรถ่ำยภำพเอกซเรยท์ รวงอก กำรเตรียมตวั ผปู้ ่ วยก่อนกำรถ่ำยภำพเอกซเรย์ กำรต้งั คำ่ ปริมำณ
รังสี (exposure) ท่ีเหมำะสม วิธีกำรใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ในงำนควบคุมคุณภำพภำพเอกซเรย์ ตลอดจจนปัญหำ
สำเหตุ และวธิ ีแกไ้ ขปัญหำท่ีเกิดจำกกำรถ่ำยภำพเอกซเรยท์ รวงอก

ท้งั น้ีผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยำ่ งยงิ่ ว่ำ คู่มือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผทู้ ่ีไดศ้ ึกษำทุกๆท่ำน

นำงสำวปรียำนุช มโธรรม

สารบญั หนา้
1
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความเป็นมา 1
1.2 วตั ถุประสงค์ 2
1.3 ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 2
1.4 ขอบเขตคูม่ ือปฏิบตั ิงาน 3
3
บทที่ 2 บทบำทหน้ำทคี่ วำมรับผดิ ชอบ 3
2.1 บทบาทหนา้ ที่ความรับผิดชอบประจาตาแหน่งนกั รังสีการแพทย์ 4
2.2 ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ
2.3 โครงสร้างการบริหารจดั การ

บทที่ 3 หลกั เกณฑ์กำรปฏิบัติงำน 6
3.1 หลกั เกณฑก์ ารปฏิบตั ิงาน 6
3.2 วธิ ีการปฏิบตั ิ 7
3.3 เง่ือนไขการปฏิบตั ิงาน 7
3.4 กฎ ระเบียบ คาสง่ั ประกาศ ขอ้ บงั คบั มติ เกณฑม์ าตรฐาน 8
11
บทที่ 4 เทคนิคในกำรปฏิบัตงิ ำน 11
4.1 แผนกลยทุ ธ์ในการปฏิบตั ิงาน 11
4.2 ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน 12
4.3 การประสานบริการ 13
4.4 การควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก 23
4.5 เกณฑค์ ุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก 28
29
บทท่ี 5 ปัญหำ อปุ สรรคและแนวทำงแก้ไข 32
5.1 ปัญหาที่เกิดจากผปู้ ่ วย เจา้ หนา้ ท่ีท่ีปฏิบตั ิงานและเครื่องมืออุปกรณ์ทางเอกซเรย์ 36
5.2 ปัญหาที่เกิดในภาพเอกซเรย์
5.3 แนวทางแกไ้ ขและพฒั นางาน

บรรณานุกรม 41

ภำคผนวก

ภาคผนวก ก เคร่ืองถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอล 42

ภาคผนวก ข การจดั ทา่ เอกซเรยท์ รวงอกทา่ อื่นๆ 48

ภาคผนวก ค เอกสารคุณภาพของหน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก สาขารังสีวนิ ิจฉยั ภาควชิ ารังสี

วทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 53

ภาคผนวก ง พระราชบญั ญตั ิ, พระราชกฤษฎีกา , ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข , ประกาศ

กระทรวงสาธารณสุข 64

1

บทท1ี่

บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำ
การถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก (Chest x-ray, CXR) หรือการเอกซเรยป์ อดเป็ นการตรวจทางรังสีวิทยา

อยา่ งหน่ึงของอวยั วะภายในบริเวณทรวงอกเพื่อใชใ้ นการตรวจวินิจฉยั ภาวะต่างๆและการวางแผนการรักษาของ
แพทยใ์ นผูป้ ่ วยโรคที่มีความสัมพนั ธ์กบั อวยั วะในช่องอก นอกจากน้ีการเอกซเรยป์ อดยงั นิยมส่งตรวจในผปู้ ่ วย
ตรวจสุขภาพประจาปี ตรวจสุขภาพก่อนเขา้ ทางาน และศึกษาตอ่ ยงั สถาบนั การศึกษาท้งั ในและนอกประเทศ

การส่งตรวจเอกซเรยท์ รวงอกเป็นการส่งตรวจที่เป็นปริมาณมากที่สุดในการส่งตรวจเอกซเรยท์ ว่ั ไป ท่ีตึก
ผปู้ ่ วยนอก สาขารังสีวินิจฉยั ภาควชิ ารังสีวิทยา โรงพยาบาลศิริราช โดยเฉพาะผปู้ ่ วยที่สามารถเดินมารับบริการ
ได้ มีท้งั ผูป้ ่ วยนอกท่ีแพทยน์ ดั ตรวจตามปกติ เพ่ือติดตามผลการรักษา หรือผูป้ ่ วยที่เพิ่งไดร้ ับการตรวจคร้ังแรก
ผปู้ ่ วยที่มีนดั ผา่ ตดั และผปู้ ่ วยที่ตอ้ งนอนโรงพยาบาล ซ่ึงแพทยจ์ าเป็ นตอ้ งใชผ้ ลการเอกซเรยท์ รวงอกเพ่ือประกอบ
ในการวางแผนการรักษาและการวินิจฉัยโรค ทาให้มีผูม้ ารับบริการประมาณ 200 รายต่อวนั นอกจากจะ
ให้บริการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกแก่ผูป้ ่ วยและบุคลากรภายในโรงพยาบาลแล้ว ยงั เปิ ดให้บริการถ่ายภาพ
เอกซเรยท์ รวงอกในการตรวจสุขภาพประจาปี แก่บุคลากรภายนอกโรงพยาบาลด้วย เช่น การตรวจสุขภาพ
ประจาปี บุคลากรจากมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ซ่ึงจะมีประมาณ 1,000 รายในแต่ละคร้ัง การตรวจสุขภาพ
นกั ศึกษาแพทย์ พยาบาลและผูช้ ่วยพยาบาลท่ีจะเขา้ ทางานภายในโรงพยาบาลศิริราช ทาให้มีจานวนผูม้ ารับ
บริการเพมิ่ มากข้ึน

1.2 วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ ใชเ้ ป็นคูม่ ือปฏิบตั ิงาน ของนกั รังสีการแพทยแ์ ละนกั ศึกษารังสีเทคนิคฝึกปฏิบตั ิงานในการ
ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของภาพเอกซเรยท์ รวงอก ตามใบขอตรวจ
2. เพอ่ื ใหก้ ารถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก สามารถทาไดร้ วดเร็วและมีประสิทธิภาพ
3. เพือ่ ลดการเอกซเรยซ์ ้า และช่วยควบคุมปริมาณรังสีท่ีผปู้ ่ วยจะไดร้ ับ

2

1.3 ผลทค่ี ำดว่ำจะได้รับ
1. นกั รังสีการแพทยท์ ่ีหมุนเวยี นมาปฏิบตั ิงาน สามารถตรวจสอบและควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวง

อกไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
2. นกั รังสีการแพทยท์ ี่หมุนเวยี นมาปฏิบตั ิงานมีความชานาญในการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก

และมีความรอบรู้ในรายละเอียดของภาพเอกซเรยท์ รวงอก
3. นกั รังสีการแพทยส์ ามารถใชค้ ู่มือปฏิบตั ิงานในการแกไ้ ขปัญหาเบ้ืองตน้ ของการควบคุมคุณภาพ

ของภาพเอกซเรยท์ รวงอกตามใบขอตรวจได้
4.นกั ศึกษารังสีเทคนิคฝึกปฏิบตั ิงานไดร้ ับความรู้ และสามารถฝึกปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
5. ผปู้ ่ วยไดร้ ับบริการท่ีดี รวดเร็ว มีประสิทธิภาพและไดร้ ับปริมาณรังสีนอ้ ย
6. แพทยไ์ ดภ้ าพเอกซเรยท์ รวงอกท่ีมีคุณภาพ

1.4 ขอบเขตคู่มือปฏิบตั งิ ำน
นักรังสีการแพทย์ประจาห้องควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ทรวงอก ตึกผูป้ ่ วยนอก ซ่ึงมีขอบเขตความ

รับผดิ ชอบ คือ

1. การควบคุมคุณภาพของภาพเอกซเรยท์ รวงอกตามใบร้องขอตรวจของแพทย์

2. ควบคุมดูแลการใชเ้ ครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกใหท้ างานไดเ้ ตม็ ประสิทธิภาพ

3. พิจารณาการให้ค่าปริมาณรังสี รวมถึงการเลือกโปรแกรมในการถ่ายภาพให้ถูกตอ้ งเหมาะสมเพ่ือให้ได้
ภาพเอกซเรยท์ ่ีมีคุณภาพ ลดการถ่ายภาพเอกซเรยซ์ ้าและช่วยลดปริมาณรังสีแก่ผปู้ ่ วยดว้ ย

4. ใชห้ ลกั การการป้องกนั อนั ตรายจากรังสี ในการปฏิบตั ิงาน

3

บทที่ 2

บทบำทหน้ำทคี่ วำมรับผดิ ชอบ

นกั รังสีการแพทยป์ ระจาห้องควบคุมคุณภาพคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกจะตอ้ งรู้และเขา้ ใจบทบาท
(role) หนา้ ท่ี (duty) ความรับผดิ ชอบ (responsibility) เพ่ือให้การปฏิบตั ิงานเป็ นไปอยา่ งเรียบร้อยครบถว้ นและ
เกิดประสิทธิภาพในการทางาน

2.1 บทบาทหนา้ ที่ความรับผิดชอบประจาตาแหน่งนกั รังสีการแพทย์
นกั รังสีการแพทยม์ ีบทบาทสาคญั ในการปฏิบตั ิงาน ตามมาตรฐานวชิ าชีพรังสีเทคนิคในการใช้รังสีเพ่ือ

การตรวจวนิ ิจฉยั แก่ผปู้ ่ วยโดยจะตอ้ งแสดงบทบาทในทางวิชาการ (Scholar) และการสนบั สนุนการบริการทาง
การแพทย์ (Medical Service) ใหด้ าเนินไปอยา่ งมีมาตรฐานโดยนกั รังสีการแพทยป์ ระจาห้องควบคุมคุณภาพภาพ
เอกซเรยท์ รวงอกจะมีหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ดงั น้ี

2.1.1 หน้ำทคี่ วำมรับผดิ ชอบหลกั (major responsibilities)
นกั รังสีการแพทยป์ ระจาห้องควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกตอ้ งควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์
ทรวงอกตามคาขอของรังสีแพทยอ์ ยา่ งเหมาะสมและมีความรอบรู้ในโรคที่เก่ียวขอ้ งในสาขาน้นั ๆเพ่ือให้สามารถ
ตรวจสอบคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกตรงตามใบขอตรวจ ในระบบฐานขอ้ มูลภาพเอกซเรย์ ( PACS , Picture
Archiving Communication System)ก่อนที่แพทยจ์ ะทาการรายงานผล และการเลือกใช้โปรแกรมการถ่ายภาพ
เอกซเรยท์ ี่เหมาะสมได้

2.2 ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ (Job Characteristics)
ลกั ษณะงานของนกั รังสีการแพทยป์ ระจาหอ้ งควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก มีดงั น้ี

1. ควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ทรวงอกตามใบขอตรวจในระบบฐานขอ้ มูลภาพรังสี (PACS, Picture
Archiving Communication System) และควบคุมการใชเ้ ครื่องถ่ายภาพเอกซเรยอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

2. ร่วมแผนงานและควบคุมข้นั ตอนการให้บริการผูป้ ่ วยท่ีถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกและการใช้เคร่ือง
ถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอลอยา่ งมีประสิทธิภาพ

3. ช่วยในการดูแลการเตรียมตวั ผปู้ ่ วยและการจดั ทา่ ผปู้ ่ วยใหเ้ หมาะสมสาหรับการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก
แก่นกั รังสีการแพทยป์ ระจาหอ้ งตรวจเอกซเรยท์ รวงอก

4. ควบคุมการปฏิบตั ิงานของนกั รังสีการแพทยป์ ระจาหอ้ งตรวจในการจาแนกผปู้ ่ วย ไดแ้ ก่ การเรียกขอ้ มูล
ผปู้ ่ วยชื่อ-นามสกุล,เลขท่ีทว่ั ไป (H.N.), Accession No. และขอ้ มูลอื่นๆท่ีจาเป็ นเขา้ สู่ระบบขอ้ มูลของ

4

เครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก เพือ่ เขา้ สู่ระบบโปรแกรมการตรวจและการเลือกโปรแกรมการถ่ายภาพ
เอกซเรยท์ ี่เหมาะสม
5. แนะนาการถ่ายภาพเอกซเรย์ โดยเลือกค่าพารามิเตอร์ต่างๆ การต้งั ค่า exposureใหเ้ หมาะสม (mA และ
kVp) ในการถ่ายภาพ เพอื่ ควบคุมปริมาณรังสีที่ใหแ้ ก่ผปู้ ่ วย
6. แนะนาวธิ ีแกไ้ ขกรณีที่ตอ้ งมีการเอกซเรยซ์ ้าและตรวจสอบคุณภาพภาพเอกซเรย์
7. Print Film ในกรณีที่แพทยห์ รือผปู้ ่ วยตอ้ งการ
8. ประสานกบั ทีมวศิ วกรของบริษทั เจา้ ของผลิตภณั ฑ์ เม่ือเคร่ืองถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอลเกิด
ขดั ขอ้ งเพ่อื การซ่อมบารุงต่อไป
2.3 โครงสร้างการบริหารจดั การ

หวั หนา้ ภาควชิ ารังสีวทิ ยา

หวั หนา้ สาขาวชิ ารังสีวนิ ิจฉยั

นกั รังสีการแพทยช์ านาญการพเิ ศษ
หวั หนา้ นกั รังสีการแพทย์

หวั หนา้ หน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก

นกั รังสีการแพทย์ ชานาญการพิเศษ
ผดู้ ูแลหน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก

นกั รังสีการแพทย์
ผคู้ วบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก

นกั รังสีการแพทย์ เวยี นปฏิบตั ิงาน
หอ้ งเอกซเรยท์ รวงอก

5

นกั รังสีการแพทยป์ ระจางานควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ มีกาหนด 3 อตั ราเป็ นอตั รากาลงั ภายใต้
โครงสร้างการบริหารของหน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก สาขารังสีวนิ ิจฉยั ภาควิชารังสีวิทยาโดยมี1 อตั ราตอ้ ง
รับผดิ ชอบการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกและควบคุมการทางานของนกั รังสีการแพทยร์ ะดบั รองลงไป
ท่ีเวยี นข้ึนปฏิบตั ิงานถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกของหน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก

การบงั คบั บญั ชาระดบั สูงข้ึนไป ประกอบดว้ ยการกากบั การปฏิบตั ิงาน(Supervision) ณ ห้องควบคุม
คุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกข้ึนตรงต่อนกั รังสีการแพทยช์ านาญการพเิ ศษผดู้ ูแลหน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก
โดยมีอาจารยแ์ พทยห์ ัวหนา้ หน่วยรังสีวินิจฉัย ตึกผูป้ ่ วยนอกเป็ นผูบ้ งั คบั บญั ชาตามโครงสร้างภายในสาขาวิชา
รังสีวินิจฉัย ซ่ึงมีนกั รังสีการแพทย์ชานาญการพิเศษเป็ นผูค้ วบคุมสูงสุดในสายงานสนบั สนุนการบริการและ
หวั หนา้ สาขาวิชารังสีวินิจฉยั เป็ นผูบ้ งั คบั บญั ชาช้นั ตน้ และหวั หน้าภาควชิ ารังสีวิทยาเป็ นผูบ้ งั คบั บญั ชาระดบั สูง
ข้ึนไป

หน่วยรังสีวินิจฉัย ตึกผูป้ ่ วยนอก เป็ นหน่วยงานท่ีมีหน้าที่หลกั ในดา้ นการศึกษาหลงั ปริญญาสาหรับ
แพทยป์ ระจาบา้ นรังสีวทิ ยาและมีงานบริการดา้ นการตรวจวนิ ิจฉยั

นักรังสี การแพทย์มีหน้าท่ีในการสนับสนุ นการบริ การทางวิชาการใ นด้านการควบคุ มคุ ณภาพภาพ
เอกซเรยท์ รวงอกรวมไปถึงเครื่องมือทางเอกซเรยท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง เช่น เครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอล
และเครื่องเอกซเรยท์ ว่ั ไปซ่ึงใชส้ ร้างภาพทางรังสี

6

บทท่ี 3

หลกั เกณฑ์วิธีปฏบิ ัติงำนและเง่ือนไข

นักรังสีการแพทย์จะสามารถข้ึนปฏิบัติงานเป็ นนักรังสีการแพทยป์ ระจาห้องควบคุมคุณภาพภาพ
เอกซเรยท์ รวงอกไดน้ ้นั ตอ้ งผ่านหลกั เกณฑ์ในการประเมินความสามารถของหน่วยรังสีวินิจฉยั ตึกผูป้ ่ วยนอก
โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

3.1 หลกั เกณฑ์กำรปฏบิ ตั งิ ำน
ในการปฏิบตั ิงานนกั รังสีการแพทยท์ ่ีจะข้ึนปฏิบตั ิงานหอ้ งควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกจะตอ้ ง

ผา่ นการประเมินความสามารถผา่ นการสัมภาษณ์และการสอบปากเปล่า (Subjective evaluation via interview and
oral test) โดยนกั รังสีการแพทยช์ านาญการพิเศษผูด้ ูแลหน่วยรังสีวินิจฉยั ตึกผูป้ ่ วยนอก สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
ภาควชิ ารังสีวทิ ยา ดงั น้ี

1. มีความรู้ความชานาญในการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก
2. สามารถแสดงความชานาญในการพิจารณาปริมาณรังสีแก่ผูป้ ่ วยท่ีเหมาะสม เพื่อคุณภาพที่ดีรวมไปถึง

การป้องกนั อนั ตรายจากรังสีแก่บุคลากรทางการแพทยใ์ นระหวา่ งเอกซเรย์
3. สามารถใหค้ าปรึกษาแนะนาดา้ นการดูแลเครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอลและการควบคุม

คุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกแก่นกั รังสีการแพทยร์ ะดบั รองลงมาท่ีหมุนเวียนมาปฏิบตั ิงานประจาห้อง
ถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก มีความรู้ความชานาญในการเฝ้าระวงั อยา่ งเคร่งครัดในการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
(Control environment) เช่น อุณหภูมิ ความช้ืน เพื่อใหเ้ ครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกอยูใ่ นสภาพการ
บารุงรักษาท่ีดีที่สุดโดยดูแลตรวจสอบความพร้อมของเครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอลและ
อุปกรณ์ต่างๆท่ีใชใ้ นการตรวจทุกเชา้ ควบคุมอุณหภูมิและความช้ืนของหอ้ งตรวจใหอ้ ยใู่ นค่าที่เหมาะสม
เน่ืองจากเครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอลมีผลต่ออุณหภูมิที่สูงและความช้ืน ดงั น้ันจึงมี
ความจาเป็นที่จะตอ้ งตรวจสอบอยเู่ สมอ เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดสาหรับการใชง้ าน
4. สามารถร่วมงานกบั ทีมรังสีแพทยป์ ระจาหน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผปู้ ่ วยนอก
5. มีความรู้ ความสามารถในการทาความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้สามารถใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์
ไดน้ านข้ึน

7

3.2 วธิ ีการปฏิบตั ิ
นกั รังสีการแพทย์จะตอ้ งปฏิบตั ิงานตามวิธีปฏิบตั ิท่ีหน่วยรังสีวินิจฉัย ตึกผูป้ ่ วยนอก สาขาวิชารังสี

วนิ ิจฉยั ภาควชิ ารังสีวทิ ยาไดข้ ้ึนทะเบียนไวก้ บั งานพฒั นาคุณภาพคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ดงั น้ี

ประเภท/เร่ือง รหัสเอกสำร

นโยบาย RD-01-1-001-01
1. การใหบ้ ริการตรวจทางรังสีวินิจฉยั
RD-01-2-014-00
ระเบียบปฏิบตั ิ RD-01-2-023-00
1. การใหบ้ ริการตรวจวินิจฉยั ทางรังสีตึกผปู้ ่ วยนอก
2. การประสานงานเจา้ หนา้ ที่ กรณีผปู้ ่ วยรังสีวนิ ิจฉยั เกิดภาวะ
วกิ ฤติ

3.3 เงื่อนไขกำรปฏิบัตงิ ำน

นกั รังสีการแพทยป์ ระจาห้องควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกมีเง่ือนไขการปฏิบตั ิงานท่ีจะตอ้ ง

ปฏิบตั ิงานตามระบบการทางานของหน่วยรังสีวินิจฉัย ตึกผูป้ ่ วยนอก สาขาวิชารังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา

เพื่อใหก้ ารทางานตามลกั ษณะงานที่ไดร้ ับมอบหมายเกิดประสิทธิภาพ ดงั น้ี

1. เวลา 7.30 น. ควบคุมการเปิ ดเคร่ืองควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก
2. เวลา 7.40 น. ตรวจสอบความเรียบร้อยของหอ้ งตรวจ และเครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอล
3. เวลา 8.00-16.00 น. ตรวจสอบคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก และภาพเอกซเรยท์ วั่ ไป

3.1 อา่ นใบขอตรวจใหล้ ะเอียด
3.2 ทาการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ทรวงอกตามใบขอตรวจในระบบฐานขอ้ มูลภาพเอกซเรย์
(PACS, Picture Archiving Communication System) และ Print film ในกรณีที่แพทยห์ รือผปู้ ่ วยตอ้ งการ
3.3 บนั ทึกเวลาส่งภาพอ่าน (ระบบ Status RIS)
3.4 การตรวจสอบคุณภาพของภาพเอกซเรยท์ รวงอก ตอ่ รายประมาณ 4 นาที
4. เวลา 16.00 น. เมื่อจบการทางานในแต่ละวนั ทาการดูแลการปิ ดเครื่องห้องควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์
ทรวงอก ใหถ้ ูกตอ้ งตามข้นั ตอน
5. ลงบนั ทึกสถิติประจาวนั ไดแ้ ก่จานวนผปู้ ่ วย จานวน study จานวนการเอกซเรยซ์ ้าและจานวนการ Print
film

8

3. 4 กฎระเบียบ คำส่ัง ประกำศ ข้อบงั คับมติ เกณฑ์มำตรฐำน
นกั รังสีการแพทยจ์ ะตอ้ งศึกษาและปฏิบตั ิตามกฎระเบียบคาสั่งประกาศมติมาตรฐานวชิ าชีพ ไดแ้ ก่

พระรำชบญั ญตั ิ
พระราชบญั ญตั ิการประกอบโรคศิลปะพ.ศ.2542
พระราชบญั ญตั ิสถานพยาบาลพ.ศ. 2541
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2550

พระรำชกฤษฎกี ำ
พระราชกฤษฎีกากาหนดให้สาขารังสีเทคนิคเป็ นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบญั ญตั ิการ

ประกอบโรคศิลปะพ.ศ.2542 พ.ศ.2545

ระเบียบกระทรวงสำธำรณสุข
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าดว้ ยการรักษาจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพของผูป้ ระกอบโรคศิลปะสาขา

รังสีเทคนิค พ.ศ. 2547

ประกำศ
ประกาศคณะกรรมการวิชาชีพรังสีเทคนิคเร่ืองสมรรถนะและมาตรฐานวิชาชีพสาหรับผปู้ ระกอบโรค

ศิลปะสาขารังสีเทคนิคพ.ศ.2551
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเร่ืองกาหนดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางรังสีวทิ ยาพ.ศ.2549
ในมุมมองจริ ยธรรมของวิชาชี พประกาศคณะกรรมการวิชาชี พสาขารั งสี เทคนิ คเรื่ องสมรรถนะและ

มาตรฐานวิชาชีพสาหรับผปู้ ระกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคพ.ศ. 2551 ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 125 ตอนพิเศษ
179 งหนา้ 17-19 เป็ นส่วนที่เกี่ยวเน่ืองดว้ ยหลกั จริยธรรมของการประกอบวิชาชีพมากที่สุดโดยไดร้ ะบุไวใ้ น
มาตรฐาน 1 วา่ ดว้ ยความเป็นวชิ าชีพและความรับผดิ ชอบในขอ้ 3 และ 4 ดงั น้ี

ข้อ 3 ผปู้ ระกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคตอ้ งมีความเป็นวชิ าชีพและตรวจสอบได้ ดงั น้ี
1) ปฏิบตั ิงานภายใตก้ ฎระเบียบและจรรยาบรรณวชิ าชีพ
ก. เขา้ ใจกฎหมายระเบียบประกาศต่างๆที่กาหนดและใหผ้ ูป้ ระกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคถือ
ปฏิบตั ิ
ข. เขา้ ใจถึงขอ้ บงั คบั ระเบียบปฏิบตั ิและขอ้ แนะนาท่ีเป็นสากล
ค. เขา้ ใจในเร่ืองสิทธิของผูป้ ่ วยและศกั ด์ิศรีความเป็ นมนุษยร์ วมถึงบทบาทของตนในการบริการ
ทางรังสีวนิ ิจฉยั รังสีรักษาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์

9

2) ปฏิบตั ิงานโดยเสมอภาคไม่เลือกช้นั วรรณะ
3) รักษาความลบั ของผปู้ ่ วย
4) ร่วมจดั ทาคายนิ ยอมของผปู้ ่ วยก่อนการตรวจทางรังสีที่จาเป็ น
5) รู้ถึงขอ้ จากดั ในการใหบ้ ริการ

 สามารถประเมินสถานการณ์ลกั ษณะและระดบั ความรุนแรงของปัญหาและปรึกษาผูร้ ู้และมี
ประสบการณ์มากกวา่ เพ่ือแกป้ ัญหาน้นั

 สามารถประเมินวธิ ีแกป้ ัญหาตา่ งๆได้
6) สามารถบริหารจดั การภาระงานของตนเองไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
7) ฝึกฝนตนเองใหม้ ีความรู้และทกั ษะอยา่ งสม่าเสมอ
8) เขา้ ใจถึงความจาเป็นในการพฒั นาความกา้ วหนา้ ทางวชิ าชีพ
9) แสดงตนวา่ เป็นผปู้ ระกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคในสถานท่ีปฏิบตั ิงาน

ข้อ4 ผปู้ ระกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิคตอ้ งมีความสัมพนั ธ์และความรับผิดชอบต่อผูร้ ่วมงานและผรู้ ับบริการ
ดงั น้ี

1) รู้ถึงขอบเขตวชิ าชีพและขอบเขตการใหบ้ ริการของตนเอง
2) ปฏิบตั ิงานร่วมกบั ผรู้ ่วมวิชาชีพผปู้ ระกอบวชิ าชีพอื่นท่ีเก่ียวขอ้ งผปู้ ่ วยญาติผปู้ ่ วยและผรู้ ับบริการ
อ่ืนได้

ก. ปฏิบตั ิงานร่วมกบั สาขาวชิ าชีพอยา่ งมีประสิทธิภาพ
ข. แนะนาความเห็นทางวชิ าชีพแก่ผรู้ ่วมงาน
ค. เขา้ ใจถึงความจาเป็นในการนดั หมายการเตรียมผปู้ ่ วยและการใหค้ าแนะนาในการตรวจแก่

ผปู้ ่ วยผรู้ ับบริการและผเู้ กี่ยวขอ้ งเพ่อื การวางแผนประเมินการวนิ ิจฉยั และการรักษา
ง. แปลผลขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากผปู้ ระกอบวชิ าชีพอื่นเพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพการปฏิบตั ิและปรับปริมาณ

รังสีใหน้ อ้ ยที่สุดเท่าท่ีปฏิบตั ิได้
3) แสดงทกั ษะการสื่อสารไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใหข้ อ้ มูลคาแนะนาและ

ขอ้ คิดเห็นดา้ นวชิ าชีพแก่ผรู้ ่วมงานผปู้ ่ วยญาติผปู้ ่ วยและผรู้ ับบริการ
ก. เขา้ ใจถึงทกั ษะการส่ือสารที่มีผลตอ่ การประเมินผปู้ ่ วย และสามารถใชท้ กั ษะ การส่ือสารได้

อยา่ งเหมาะสมตามอายุ การศึกษา และสภาพร่างกายและจิตใจ
ข. เขา้ ใจถึงการแสดงกริยาท่าทางและอ่ืน ๆ ท่ีเป็ นการส่ือสารที่มิใช่การพูดซ่ึงอาจมีผลกระทบทาง
ศาสนา วฒั นธรรม ความเช่ือส่วนบุคคล และเศรษฐสถานะ

10

ค. เขา้ ใจถึงความสาคญั ที่ตอ้ งใหข้ อ้ มูลท่ีจาเป็ นแก่ผูป้ ่ วย และผูร้ ับบริการ เพื่อการตดั สินใจในการรับ
บริการ

4) เขา้ ใจถึงความตอ้ งการการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพตลอดระยะเวลาท่ีใหบ้ ริการดูแลผปู้ ่ วยผรู้ ับบริการ
หรือผใู้ ชบ้ ริการ

11

บทท่ี 4
เทคนิคในกำรปฏบิ ัติงำน

4.1 แผนกลยทุ ธ์ในกำรปฏิบัติงำน
เป้าหมาย : ภาพเอกซเรยท์ รวงอกถูกตอ้ งตามใบขอตรวจโดยมีเป้าหมายรอง คือ เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์

ทรวงอกระบบดิจิตอลขดั ขอ้ งไมเ่ กิน 15 ชม.ตอ่ ปี

4.2 ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน (work flow)

ห้องเอกซเรย์ทรวงอก

Repeat Film ใบ Request
Poor Image

QC

Good Image ZERO ERROR

-PACS
-Print Film/NO Print Film

12

4.3 การประสานบริการ

ห้องเอกซเรย์ทรวงอก

Repeat Film ใบ Request

-PACS ZERO ERROR
-Print Film/NO Print Film
QC

รังสีเทคนิค/พ.เอกซเรย์ ธุรกำร อ่านผล ห้องอ่ำนฟิ ล์ม
-รวมSet(ใบRequest+ซอง -รวมSet(ซอง
ฟิ ล์ม) Report+Film)
-print film

ไมอ่ า่ นผล

จำหน่ำย

13
4.4 การควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก

ในการปฏิบตั ิงานควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก นกั รังสีการแพทย์ที่จะทาการควบคุมคุณภาพ
ภาพเอกซเรยท์ รวงอกจะตอ้ งทาการเปิ ดเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีใชค้ วบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ และทาการปิ ดเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ ดงั น้ี
1. การเปิ ดเครื่องคอมพวิ เตอร์ควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก

1.1 กดสวิทช์ Power ท่ีจอมอนิเตอร์ สังเกตว่าไฟ indicator ติด จากน้ันกดสวิทช์ Power ท่ีเคร่ือง
คอมพวิ เตอร์ รอจนกวา่ คอมพิวเตอร์ loadโปรแกรมเขา้ สู่หนา้ จอ Desktop พร้อมใชง้ าน ดงั รูป

1.2 ดบั เบิล้ คลิกไอคอน Synapse หรือ คลิกขวาที่ไอคอน Synapse แลว้ คลิก Open

14

1.3 เมื่อเขา้ สู่หนา้ ต่าง Synapse แลว้ ดบั เบิล้ คลิกที่ Synapseใต้ Name

1.4 ดบั เบิ้ลคลิกเลือก CR Today หรือ All Studies.
All CR Today
All Studies.

15
1.5 เขา้ สู่โปรแกรมรายช่ือผปู้ ่ วย เลือก study ของผปู้ ่ วยในรายท่ีตอ้ งการตรวจสอบคุณภาพของภาพ

2. การปิ ดเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก
ปิ ดโปรแกรม Dicomโดยคลิกกากบาทมุมขวาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ คลิกป่ ุม start บน desktop แลว้

คลิก shut down และคลิก ok บนหนา้ ต่าง shut down windows ดงั รูป

16

รอจนกว่าหน้าจอคอมพิวเตอร์จะดับ เป็ นอนั สิ้นสุดการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ควบคุมคุณภาพภาพ
เอกซเรยท์ รวงอก

การควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกมี 2 งานหลกั ไดแ้ ก่
1. Patient imaging administration
2. Qualification of image

1. Patient image administration
1.1 ตรวจสอบ ช่ือ – นามสกุล, เลขท่ีทว่ั ไป (H.N.), accession no.ของผปู้ ่ วยในใบขอตรวจ (Request) ท่ี
ส่งมาจากหอ้ งเอกซเรยท์ รวงอก และตรวจสอบรายการที่แพทยข์ อส่งตรวจ ดงั รูป
(1) ช่ือ– นามสกุลและเลขท่ีทว่ั ไป (H.N.) ของผปู้ ่ วย
(2) รายการที่แพทยข์ อส่งตรวจ

17
1.2 ยงิ barcodeในใบส่งตรวจท่ีลงทะเบียนแลว้ ประกอบดว้ ย ชื่อ-นามสกลุ ผปู้ ่ วย, เลขที่ทว่ั ไป ( H.N.)
และ accession no.ดงั รูป จะข้ึนหนา้ จอแสดงขอ้ มูลผปู้ ่ วยท่ีจะทาการตรวจสอบคุณภาพของภาพ

1.3 ดบั เบิล้ คลิกที่แถบขอ้ มูลผปู้ ่ วยหรือคลิกขวา แลว้ คลิก open หรือกด enter เพื่อเขา้ สู่หนา้ จอแสดงภาพ
เอกซเรย์

18

2. Qualification of Image

เป็ นข้นั ตอนของการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ ที่ถูกส่งเขา้ ระบบฐานขอ้ มูลภาพรังสี (PACS,Picture
Archiving Communication System) แลว้ จากหอ้ งเอกซเรยก์ ่อนเขา้ สู่ขบวนการรายงานผลของแพทย์
มีข้นั ตอน ดงั น้ี

2.1 ตรวจสอบรายการที่แพทยส์ ่งตรวจวา่ ถูกตอ้ ง ถูกขา้ ง ถูกอวยั วะ
2.2 การควบคุมคุณคุณภาพภาพเอกซเรย์

 การจดั ทา่ ผปู้ ่ วยสามารถเห็นอวยั วะท่ีตอ้ งการตรวจชดั เจนครบถว้ น
 ตรวจสอบการติด marker บนภาพเอกซเรยถ์ ูกขา้ งหรือไม่
 ตรวจสอบ contrast (ความขาว-ดา) ของภาพ
 ตรวจสอบสิ่งแปลกปลอม (artifact) ท่ีอาจพบในภาพเอกซเรย์ เช่น ตะขอเส้ือช้นั ใน

เคร่ืองมือปรับแต่งภำพ
Window Level ปรับ contrast (ความขาว-ดา) ของภาพ
Scale, Rotate, Flip กลบั ภาพซา้ ย-ขวา, หมุนภาพ
Save image บนั ทึกภาพที่แกไ้ ขเรียบร้อย
Tools เม่ือคลิกไปท่ีTools จะพบcreate shutterใชใ้ นการตดั ภาพใหไ้ ด้
รูปแบบตามตอ้ งการ

19

2.3 ในการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ สามารถทาการเปรียบเทียบภาพเอกซเรยข์ องผปู้ ่ วยในวนั อื่นๆกบั วนั ที่ทา
ในปัจจุบนั ได้ ดงั น้ี

- คลิกท่ีไอคอน บน Toolbar

- เลือกรายการหรือวนั ท่ีที่ตอ้ งการเปรียบเทียบ แลว้ คลิกท่ี compare จะไดภ้ าพ 2 ภาพแสดงภาพเอกซเรยป์ ัจจุบนั
กบั ภาพเอกซเรยเ์ ก่า เพือ่ ใชเ้ ปรียบเทียบกนั ในการควบคุมคุณภาพของภาพ ดงั รูป

20

รูปแสดงการเปรียบเทียบภาพเอกซเรยท์ ่ีผปู้ ่ วยเคยเอกซเรยก์ บั ภาพเอกซเรยป์ ัจจุบนั
2.4 ภาพเอกซเรยท์ รวงอกท่ีไม่ผา่ นการควบคุมคุณภาพจะตอ้ งทาการเอกซเรยใ์ หม่ เพ่ือป้องกนั ไมใ่ หแ้ พทยไ์ ดร้ ับ
ภาพเอกซเรยท์ ่ีไม่ถูกตอ้ ง และใหท้ าการปรับแต่งภาพเอกซเรยท์ ่ีไม่ตอ้ งการเพื่อใหห้ ้องตรวจไม่สามารถมองเห็น
ภาพได้ โดยใหป้ รับ Window Level ทาใหภ้ าพดาสนิท แลว้ ทาเครื่องหมายบนภาพเอกซเรย์ โดยเลือก Arrowแลว้
ทาเครื่องหมายขีดทบั บนภาพท่ีทาดาสนิทไวแ้ ลว้ เพอ่ื บง่ ช้ีวา่ ภาพน้นั ใชไ้ ม่ได้ จากน้นั คลิกขวาเลือก Save Image
แลว้ แจง้ เจา้ หนา้ ที่ควบคุมระบบ PACS ทาการลบภาพ ดงั รูป

21
กำร Print film

ในกรณีท่ีแพทยห์ รือผปู้ ่ วยตอ้ งการแผ่นฟิ ล์ม นกั รังสีการแพทยห์ ้องควบคุมคุณภาพจะตอ้ งทาการ print film
ตามคาร้องขอ มีข้นั ตอนดงั น้ี

1. คลิกขวาบนภาพเอกซเรยท์ ่ีตอ้ งการ print แลว้ คลิก print ในกรอบเมนูดา้ นล่างสุด

คลิกลูกศร drop down list box เลือกขนาดฟิ ลม์ ท่ีตอ้ งการ print มีขนาดฟิ ลม์ 14*17 ,11*14 และ8*10

22
2. คลิกที่ properties เพ่ือเลือกรูปแบบของภาพเอกซเรยท์ ่ีตอ้ งการ print เลือกportrait ถา้ ตอ้ งการ print film

แนวต้งั หรือเลือก landscape ถา้ ตอ้ งการ print film แนวนอนแลว้ คลิก OK

- เมนู Print Scoopeในหนา้ print ใหเ้ ลือกช่องใดช่องหน่ึง ดงั น้ี
 All images ตอ้ งการ print ภาพเอกซเรยท์ ้งั หมดใน study ท่ีตอ้ งการ print
 Selected Images เลือกเฉพาะภาพที่ตอ้ งการ print
 Visible Images เลือก print ภาพท่ีแสดงในขณะน้นั

3. คลิกช่อง Attempt True Size แลว้ คลิก OK รอประมาณ 1นาที เครื่อง print film ก็จะทาการ print film
ตามที่ไดก้ าหนดไว้

23

4.5 เกณฑค์ ุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก
ในการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกหรือ Chest x-ray P.A. (Postero-anterior view) ภาพเอกซเรยท์ ่ีมีคุณภาพ

จะตอ้ งแสดงให้เห็นอวยั วะบริเวณทรวงอกและปอดท้งั สองขา้ งได้ดี ควรถ่ายภาพเอกซเรยใ์ นท่ายืน (upright)
เพราะอวยั วะในทรวงอกจะลดต่าลง ทาใหเ้ ห็นสภาพปอดมากข้ึน และในการที่จะทาใหไ้ ดภ้ าพท่ีมีคุณภาพน้นั นกั
รังสีการแพทยจ์ ะตอ้ งมีการเตรียมตวั ผปู้ ่ วยก่อนทาการเอกซเรย์ และจดั ทา่ ผปู้ ่ วยอยา่ งถูกตอ้ ง ดงั น้ี
กำรเตรียมตัวผ้ปู ่ วยก่อนกำรเอกซเรย์ทรวงอก
1. ผปู้ ่ วยหญิงใหถ้ อดเส้ือช้นั นอกและเส้ือช้นั ในออก ใส่เส้ือของโรงพยาบาลท่ีเตรียมจดั ไวใ้ ห้ เพ่ือป้องกนั ส่วน

ท่ีเป็ นโลหะ เช่น กระดุมเส้ือหรือตะขอเส้ือช้นั ในเขา้ ไปบดบงั ภาพ ส่วนผปู้ ่ วยชายถอดเส้ือออกเลยโดยไม่
ตอ้ งใส่เส้ือของโรงพยาบาลกไ็ ด้
2. ใหผ้ ปู้ ่ วยถอดเคร่ืองประดบั ท่ีเป็นโลหะออกจากร่างกาย เช่น สร้อยคอ เพ่ือป้องกนั ส่ิงแปลกปลอมที่เกิดบน
ภาพ
3. ผปู้ ่ วยท่ีมีผมยาว ใหเ้ ก็บผมใหเ้ รียบร้อย เพือ่ ป้องกนั ไม่ใหเ้ งาผมตกลงมาอยใู่ นภาพเอกซเรย์
4. อธิบายข้นั ตอนการตรวจแก่ผปู้ ่ วย
กำรจัดท่ำเอกซเรย์ทรวงอก( P.A.)
1. ผปู้ ่ วยยนื หนั หนา้ เขา้ หา Bucky stand แยกเทา้ ออกเลก็ นอ้ ย เพอ่ื ใหย้ นื มน่ั คง
2. จดั ขอบบนของฟิ ลม์ ใหอ้ ยเู่ หนือหวั ไหล่ ประมาณ 11/2-2 นิ้ว
3. เงยคางข้ึน หลงั มือแตะสะโพก งุม้ ไหล่ไปขา้ งหนา้ ขอ้ ศอกดนั ไปขา้ งหนา้ ใหม้ ากท่ีสุด หนา้ อกแนบชิด

กบั bucky หรือแผน่ ฟิ ลม์
4. จดั ลาตวั ให้ระนาบลาตวั อยู่กึงกลางฟิ ล์ม จดั ศูนยก์ ลางของลารังสี(CP) ที่ T-spine ท่ี 7 และจดั หลอด

เอกซเรยใ์ หต้ ้งั ฉากกบั ฟิ ลม์ (CR) ระยะโฟกสั 72 นิ้ว

ภาพแสดงการจดั ท่า CXR P.A.

24

การต้งั คา่ ปริมาณรังสี (exposure)
การใชร้ ังสีเอกซ์ในการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกมีประโยชนต์ ่อการวนิ ิจฉยั โรคของรังสีแพทยแ์ ละ

แพทยผ์ สู้ ่งตรวจ แต่การที่จะทาใหไ้ ดภ้ าพเอกซเรยท์ รวงอกที่ดีมีคุณภาพเห็นรายละเอียดชดั เจนครบถว้ น เพ่ือรังสี
แพทยจ์ ะสามารถทาการวนิ ิจฉยั โรคไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง นอกจากจะข้ึนอยกู่ บั การจดั ท่าผปู้ ่ วยที่ถูกตอ้ ง การเตรียมตวั
ผปู้ ่ วยก่อนเอกซเรยแ์ ละความร่วมมือของผปู้ ่ วยแลว้ ยงั ข้ึนอยกู่ บั การต้งั ค่าปริมาณรังสีท่ีเหมาะสมในการเอกซเรย์
ดว้ ย ซ่ึงนกั รังสีการแพทยก์ จ็ ะมีวธิ ีการต้งั ค่าปริมาณรังสีที่แตกต่างกนั ไปตามเทคนิคของแต่ละคน โดยต้งั ค่า
ปริมาณรังสีตามความหนา อายแุ ละพยาธิสภาพของผปู้ ่ วย การต้งั คา่ ปริมาณรังสีในการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก
นอกจากตอ้ งการภาพท่ีมีคุณภาพแลว้ นกั รังสีการแพทยย์ งั ตอ้ งตระหนกั ถึงปริมาณรังสีท่ีผปู้ ่ วยจะไดร้ ับในการ
เอกซเรยแ์ ต่ละคร้ังดว้ ย เพื่อใหเ้ ป็นไปตามแนวทางท่ีองคก์ รท่ีทาหนา้ ที่ควบคุมดูแลความปลอดภยั ทางรังสี
(IAEA)ไดก้ าหนดไว้ ซ่ึงคา่ ปริมาณรังสีทรวงอกที่ผปู้ ่ วยไดร้ ับในการถ่ายเอกซเรยท์ รวงอกแต่ละคร้ังเทา่ กบั 0.40
มิลลิเกรย์ ดงั น้นั เทคนิคการต้งั คา่ ปริมาณรังสีที่เหมาะสมสาหรับผปู้ ่ วยถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก ตึกผปู้ ่ วยนอก
แผนกรังสีวทิ ยา สาขารังสีวินิจฉยั โรงพยาบาลศิริราช ระบบ CR(Computor Radiography)ในผปู้ ่ วยท่ีมีความหนา
20 เซนติเมตร ให้ต้งั ค่าปริมาณรังสีที่ 85 kVp, 4 mAsซ่ึงคา่ ปริมาณรังสีท่ีผปู้ ่ วยไดร้ ับมีคา่ เท่ากบั 0.053มิลลิเกรย์
ซ่ึงต่ากวา่ เกณฑม์ าตรฐาน

25

กำรประเมินคุณภำพของภำพเอกซเรย์ทรวงอกในท่ำPA

ภาพเอกซเรยท์ รวงอก แสดงอวยั วะต่างๆที่เห็นไดใ้ นภาพ

1. Trachea 2. Hila 3. Lungs 4. Diaphragm

5. Heart 6. Aortic knuckle 7. Ribs 8. Scapula

9. Breasts 10. Bowel gas

1. Positioningcriteria เป็นเกณฑท์ ี่แสดงใหเ้ ห็นมาตรฐานของการจดั ทา่ ท่ีดี มีรายละเอียด ดงั น้ี

1.1 มีการหายใจเขา้ เตม็ ท่ี ซ่ึงระดบั ปกติเม่ือหายใจเขา้ เตม็ ท่ี diaphragm ควรอยตู่ ่ากวา่ anterior

Ends ของ ribที่6 หรือ posterior endsของ rib ที่10 แต่ในบางคร้ังก็ข้ึนอยกู่ บั รูปร่างของผปู้ ่ วยดว้ ย ซ่ึงผปู้ ่ วยที่มี

รูปร่างอว้ น มกั จะทาการหายใจเขา้ เตม็ ท่ีไดล้ าบาก เพราะผปู้ ่ วยกลุ่มน้ีส่วนใหญ่จะมีอาการหอบเหน่ือยตลอดเวลา

ก่อนทาการเอกซเรยค์ วรมีการซกั ซอ้ ม เพือ่ ใหแ้ น่ใจวา่ ผปู้ ่ วยสามารถปฏิบตั ิได้ ในกรณีที่ทาการเอกซเรยแ์ ลว้ ต้งั แต่

สองคร้ังข้ึนไป แลว้ ผปู้ ่ วยยงั หายใจเขา้ ไดไ้ มเ่ ตม็ ที่ ใหป้ รึกษาแพทยร์ ังสีและอธิบายใหแ้ พทยร์ ังสีทราบ เพือ่

ป้องกนั การไดร้ ับปริมาณรังสีมากเกินไปแก่ผปู้ ่ วยจากการถ่ายภาพเอกซเรยซ์ ้าหลายๆคร้ัง ซ่ึงในกรณีที่ผปู้ ่ วย

หายใจเขา้ ไมเ่ ตม็ ที่หรือหายใจออกในระหวา่ งทาการเอกซเรย์ จะทาใหภ้ าพเอกซเรยท์ ่ีไดม้ ีขนาดเงาของหวั ใจใหญ่

ข้ึนและทาให้ lung markingในบริเวณส่วนล่างดูมากข้ึนดว้ ย

1.2 ตรวจดูลาตวั ของผปู้ ่ วยวา่ ตวั ตรงหรือตวั เอียงหรือไม่ โดยสังเกตจาก medial ends ของ

Clavicle ควรอยหู่ ่างจากระดบั spinous process ของ T4-5 เท่าๆกนั หรือเปิ ด light beam ช่วยในการจดั ท่า

26

ถา้ ตวั ผปู้ ่ วยไมต่ รงหรือตวั เอียงจะทาใหภ้ าพเอกซเรยท์ ่ีไดม้ ีลกั ษณะของ mediastinum ผดิ ไปและทาใหเ้ น้ือปอดมี
ลกั ษณะของ contrast ผดิ ไป ยกเวน้ กรณีที่ผปู้ ่ วยมีลกั ษณะของลาตวั ที่เป็ น scoliosisอยแู่ ลว้ ก็อาจทาใหล้ าตวั ไมต่ รง
ไดเ้ หมือนกนั

1.3 Medial border ของ scapulaไม่บงั ปอด
1.4 มีรายละเอียดของกระดูกซ่ีโครงอยูเ่ หนือ diaphragm
1.5 กระดูกไหปลาร้า (clavicle) ท้งั สองขา้ งอยใู่ นระดบั เดียวกนั และหวั ไหล่ผปู้ ่ วยไม่ยกข้ึน
2. Image quality เป็นเกณฑ์ที่แสดงใหเ้ ห็นคุณภาพของภาพเอกซเรยท์ ่ีดี มีรายละเอียดดงั น้ี
2.1 ภาพเอกซเรยม์ ีเคร่ืองหมาย(marker) แสดงตาแหน่ง ซา้ ย-ขวา(L,R) ยนื –นอน
(upright,supine) ผู้ ป่ วยถ่ายภาพเอกซเรยใ์ นทา่ AP หรือPA ซ่ึงการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบ digital มี
ความสมั พนั ธ์กบั การเลือกเมนูที่ถ่าย ดงั น้ี
การถ่ายภาพ CXR P.A. ท่ีถูกตอ้ ง ภาพที่ปรากฏบนหนา้ จอขา้ งซา้ ยของผูป้ ่ วยจะอยูท่ างขา้ งขวาของผูด้ ู
ภาพหรือขา้ งขวาของผูป้ ่ วยจะอยทู่ างขา้ งซา้ ยของผูด้ ูภาพเสมอ และ marker เป็ นตวั อกั ษรท่ีอ่านออกแต่กลบั ดา้ น
จากปกติ ดงั รูป

ภาพ CXR P.A.

27

การถ่ายภาพ CXR A.P.ที่ถูกตอ้ ง ภาพที่ปรากฏบนหนา้ จอขา้ งซา้ ยของผปู้ ่ วยจะอยทู่ างขา้ งขวาของผดู้ ู
ภาพหรือขา้ งขวาของผปู้ ่ วยจะอยทู่ างขา้ งซา้ ยของผดู้ ูภาพเสมอ และ marker เป็นตวั อกั ษรท่ีอ่านออกปกติ ดงั รูป

ภาพ CXR A.P.
2.2 ตรวจสอบ ชื่อ-สกุล และเลขทะเบียนผปู้ ่ วย ใหถ้ ูกตอ้ งชดั เจนและถูกคน
2.3 ดูความแตกต่างของความเขม้ ของภาพว่ามี contrast (ความขาว-ดา) ต่างกนั อย่างไร ภาพ
เอกซเรยท์ รวงอกที่ดี จะตอ้ งเห็นกระดูกสันหลงั (disc space) เพียงลางๆ ผา่ นเงาของหวั ใจเท่าน้นั ภาพที่บางหรือ
ขาวมากเกินไป เนื่องจากการใหป้ ริมาณรังสีนอ้ ยเกินไป (อานาจทะลุทะลวงต่าไป,underpenetration) จะทาให้การ
วินิจฉัยโรคผิดพลาดได้ เพราะความผิดปกติน้ัน อาจจะมี density เท่ากบั อวยั วะท่ีอยู่ใกล้เคียงกนั ส่วนภาพ
เอกซเรยท์ ี่ใหป้ ริมาณรังสีมากเกินไป( อานาจทะลุทะลวงสูงไป,overpenetration) จะทาให้บริเวณปอดดา มีผลต่อ
รอยโรคจางๆ เช่น วณั โรค ปอดอกั เสบเพิ่งเร่ิมเป็น อาจถูกบดบงั ได้
2.4 ภาพเอกซเรยจ์ ะตอ้ งให้คลุมต้งั แต่ยอดปอด จนถึงฐานปอด ในภาพเดียวกนั ไม่ขาดส่วนใด
ส่วนหน่ึง
2.5 เห็นรายละเอียด (definition) และรอยต่อของเส้นเลือด รวมท้งั อวยั วะภายในทรวงอกต่างๆ
แยกจากกนั ไดช้ ดั เจน
2.6 ภาพเอกซเรยม์ ีขนาดเท่าของจริง
2.7 ภาพเอกซเรยม์ ีความคมชดั ภาพไม่มวั
2.8 ไม่มีส่ิงแปลกปลอม(artifact) เช่น สร้อยคอ เข็มขดั เข็มกลดั ตะขอเส้ือช้ันในหรือส่ิง
แปลกปลอมอื่นๆ ที่ไม่ไดเ้ กิดข้ึนทางการแพทย์ เช่น arterial line, pace maker ปรากฏบนภาพเอกซเรย์

28

บทท5ี่

ปัญหำ อปุ สรรคและแนวทำงแก้ไข

เน่ืองจากในแต่ละวนั มีผปู้ ่ วยมารับบริการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก ที่หน่วยตรวจเอกซเรยท์ ว่ั ไป ตึกผปู้ ่ วย
นอก สาขารังสีวนิ ิจฉยั ภาควชิ ารังสีวทิ ยา โรงพยาบาลศิริราชเป็นจานวนมาก นกั รังสีการแพทยผ์ ปู้ ฏิบตั ิงานหอ้ ง
เอกซเรยท์ รวงอก อาจเกิดความกดดนั จากจานวนผปู้ ่ วยท่ีมีปริมาณมาก จึงตอ้ งรีบปฏิบตั ิงาน เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ ับ
บริการท่ีรวดเร็ว และสามารถกลบั ไปพบแพทยไ์ ดท้ นั แพทยต์ รวจ ทาใหภ้ าพเอกซเรยท์ ่ีไดไ้ ม่มีคุณภาพ ตอ้ งทา
การเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วยใหม่ เกิดเป็นขอ้ ผิดพลาดในการทางาน ซ่ึงจะมีผลตอ่ การรับบริการของผปู้ ่ วย ทาใหผ้ ปู้ ่ วย
ไดร้ ับการบริการที่ล่าชา้ ข้ึน รอผลการตรวจนาน นอกจากจะทาใหผ้ ปู้ ่ วยตอ้ งเสียเวลาในการถ่ายภาพเอกซเรยใ์ หม่
แลว้ ผปู้ ่ วยยงั ตอ้ งไดร้ ับปริมาณรังสีเพ่ิมข้ึน และนกั รังสีการแพทยผ์ ปู้ ฏิบตั ิงานกต็ อ้ งทางานซ้าๆ ทาใหเ้ สียเวลาใน
การทางานมากข้ึน หรือในบางคร้ังอาจทาใหผ้ ปู้ ่ วยขาดความเช่ือมนั่ ในความสามารถของนกั รังสีการแพทยไ์ ด้ ซ่ึง
ขอ้ ผดิ พลาดจากการทางานท่ีตอ้ งใหบ้ ริการถ่ายภาพเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วยในปริมาณมากมกั เกิดจากสาเหตุต่างๆ ดงั น้ี
การเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วยผดิ คน ผดิ ส่วน การต้งั ค่าปริมาณรังสีที่ไม่เหมาะสม การเตรียมตวั ผูป้ ่ วยนอ้ ยเกินไป การจดั ทา่
ผปู้ ่ วยท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง ความไม่พร้อมใชง้ านของเครื่องมือ หรือผปู้ ่ วยไมใ่ หค้ วามร่วมมือ ซ่ึงในผปู้ ่ วยแต่ละรายจะมี
ขอบเขตความสามารถในการปฏิบตั ิตวั ตามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ท่ีไดไ้ มเ่ ทา่ กนั ปัญหาท้งั หมดที่กล่าวมา อาจ
เกิดจากการปฏิบตั ิงานของนกั รังสีการแพทย์ เกิดจากเคร่ืองมือ หรือเกิดจากตวั ผปู้ ่ วยเองซ่ึงจะทาใหไ้ ดภ้ าพ
เอกซเรยท์ ่ีไม่มีคุณภาพ และภาพเอกซเรยท์ ่ีไม่มีคุณภาพน้นั จะส่งผลใหแ้ พทยไ์ ม่สามารถทาการวนิ ิจฉยั โรคได้
หรือวนิ ิจฉยั โรคผดิ พลาด เนื่องจากความไมช่ ดั เจนของภาพเอกซเรย์ ดงั น้นั ในการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกท่ีจะ
ทาใหไ้ ดภ้ าพท่ีมีคุณภาพ เพ่ือส่งใหแ้ พทยท์ าการรายงานผลและวนิ ิจฉยั โรคไดน้ ้นั ตอ้ งเกิดจากนกั รังสีการแพทย์
ที่มีความรู้ ความชานาญ และมีความสามารถในการบริหารจดั การในการปฏิบตั ิงาน รวมถึงความร่วมมือของ
เจา้ หนา้ ที่ท่ีเก่ียวขอ้ ง ผปู้ ่ วยและความพร้อมใชง้ านของเคร่ืองมือ นอกจากน้ีในหน่วยงานเอกซเรยท์ ว่ั ไป ตึกผปู้ ่ วย
นอก สาขารังสีวนิ ิจฉยั ภาควชิ ารังสีวทิ ยา โรงพยาบาลศิริราช หอ้ งเอกซเรยท์ รวงอกไม่มีเจา้ หนา้ ท่ีประจาหอ้ ง
เอกซเรยจ์ ะเป็นนกั รังสีการแพทยร์ ะบบหมุนเวยี นมาปฏิบตั ิงานและยงั มีนกั ศึกษารังสีเทคนิคจากถาบนั การศึกษา
ตา่ งๆมาฝึกปฏิบตั ิงาน กอ็ าจทาใหเ้ กิดความผดิ พลาดจากการทางานไดเ้ ช่นกนั

ดงั น้นั นกั รังสีการแพทยป์ ระจางานควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก จึงตอ้ งทาหนา้ ที่ในการดูแล
และถ่ายทอดความรู้ใหแ้ ก่นกั รังสีการแพทยท์ ่ีหมุนเวยี นมาปฏิบตั ิงานในหอ้ งเอกซเรยท์ รวงอกและควบคุมดูแล
นกั ศึกษารังสีเทคนิคฝึกปฏิบตั ิงานจากสถาบนั การศึกษาต่างๆ นอกจากน้ีนกั รังสีการแพทยป์ ระจางานควบคุม
คุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก ยงั ตอ้ งเป็ นผทู้ ี่มีความรู้ ความเขา้ ใจถึงปัญหา โดยตอ้ งทาการคน้ หาสาเหตุและหา

29

วธิ ีการแกไ้ ขปัญหาในการดูแลงานควบคุมคุณภาพ เพื่อนามาวเิ คราะห์ปัญหาและหาแนวทางแกไ้ ขในอนาคต
ตอ่ ไป

ในงานถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก มีผูม้ ารับบริการประมาณวนั ละ 200 ราย ในการควบคุมคุณภาพภาพ
เอกซเรยท์ รวงอก พบปัญหา ดงั น้ี

5.1 ปัญหาทเ่ี กดิ จากผ้ปู ่ วย เจ้าหน้าทที่ ปี่ ฏิบตั ิงานและเคร่ืองมืออุปกรณ์ทางเอกซเรย์

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

1. ผู้ที่ ม า รั บ บ ริ ก า ร ถ่ า ย ภ า พ -เปิ ดให้บริ การตรวจสุ ขภาพ - วางแผนการปฏิบัติงานให้

เอกซเรยท์ รวงอก ห้องเอกซเรย์ ประจาปี บุคลากรท้งั ภายในและ สามารถ ให้บริ การผู้ป่ วยท่ีมี

ทรวงอก ตึกผูป้ ่ วยนอก สาขา ภายนอกโรงพยาบาล จานวนมากได้อย่างเพียงพอ

รังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา -การตรวจสุขภาพเพ่ือเขา้ ทางาน และเป็ นระบบ เช่น กระจาย

โรงพยาบาลศิริราช มีจานวน หรือเพื่อเขา้ รับการศึกษา ผูป้ ่ วยเอกซเรย์ทรวงอกไปยงั

มากเกินไป หอ้ งเอกซเรยอ์ ื่นๆ

- ในกรณีที่ห้องตรวจหรื อหอ - ทาการนดั หมายกบั ห้องตรวจ

ผู้ป่ วย มีผู้ป่ วยฉุกเฉินมาที่ตึก หรือหอผูป้ ่ วยในการให้บริการ

แล้วเป็ นผูป้ ่ วยที่มีการตรวจพบ เอกซเรยบ์ ุคลากร เพอ่ื ใหบ้ ริการ

ทางห้องปฏิบตั ิการ หลงั จากได้ ถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอกเป็ น

สัมผสั ผูป้ ่ วยแล้ว พบว่าผูป้ ่ วย เวลาแยกออกจากการให้บริการ

รายน้นั มีอาการป่ วยเก่ียวกบั โรค ผู้ป่ วยท่ัวไป เช่น ให้บริ การ

ปอด เช่น วณั โรค จึงต้องส่ง บุคลากรภายในโรงพยาบาล

บุคลากรประจาห้องตรวจหรือ เวลา 14.00 น. เพราะเป็ น

ตึกผูป้ ่ วยน้นั ๆ มาเอกซเรย์ เพื่อ ช่วงเวลาท่ีจานวนผู้ป่ วยเร่ิ ม

ตรวจหาว่าเจ้าหน้าที่ได้รับเช้ือ นอ้ ยลง หรือ ช่วงเวลา 07.00 น.

วณั โรคหรื อไม่ จะได้ทาการ สาหรับบุคลากรจากภายนอก

รักษาไดท้ นั โรงพยาบาล โดยจดั เจา้ หน้าที่

- ผูป้ ่ วยท่ีมาตามแพทยน์ ัด หรือ ข้ึ น ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ น เ ว ล า

ผู้ป่ วยที่มาใหม่ แล้วแพทย์ส่ง ปฏิบตั ิงานในเวลาราชการ

ตรวจเอกซเรยท์ รวงอก

- ผปู้ ่ วยที่มีความจาเป็ นตอ้ งนอน

โรงพยาบาล เพ่ือทาการผ่าตัด

หรือรอดูอาการ

- ผปู้ ่ วยมีความเช่ือมน่ั ในความ

30

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

สามารถของแพทยอ์ ุปกรณ์และ

เครื่องมือที่มีความทนั สมยั และ

ค ว า ม มี ช่ื อ เ สี ย ง ข อ ง

โรงพยาบาลศิริ ราช ทาให้มี

ผู้ป่ วยเข้ามารับการตรวจและ

รักษาที่โรงพยาบาลศิริ ราชมาก

ข้ึน

2. เครื่องเอกซเรยแ์ ละอุปกรณ์ - เครื่ องเอกซเรย์และอุปกรณ์ - จัดให้มีการตรวจสอบ

ประกอบการถ่ายภาพเอกซเรย์ ประกอบการถ่ายภาพเอกซเรยม์ ี มา ต ร ฐ าน แ ล ะ ส อ บ เ ที ย บ

ขดั ขอ้ ง ชารุดหรือเสียหาย ใช้ อายกุ ารใชง้ านนานเกินไป เ ค ร่ื อ ง มื อ เ อ ก ซ เ ร ย์ โ ด ย

งานไม่ได้ ก ร ม วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร แ พ ท ย์

เป็ นประจา

- ติดต่อประสานงานกับทีม

วิศ ว ก ร ข อ ง บ ริ ษัท เ จ้า ข อ ง

ผลิตภณั ฑเ์ พอื่ การซ่อมบารุง

-เจา้ หน้าที่ประจาห้องเอกซเรย์ - ท า ก า ร ต ร ว จ ส อ บ

ไม่มีการตรวจเช็คความพร้อมใช้ เคร่ืองเอกซเรย์ (warm up) ก่อน

ง า น ข อ ง เ ค รื่ อ ง เ อ ก ซ เ ร ย์ ปฏิบตั ิงานทุกคร้ัง

ประจาวนั - จดั ทาระบบ chek list ใน

เคร่ื องมื อแล ะอุ ปกรณ์ ทาง

เอกซเรย์ประจาทุกวัน เช่น

เคร่ืองเอกซเรย์

3. -เครื่องเอกซเรยด์ บั ขณะกาลงั ทา - ระบบระบายความร้อนหรื อ -ติดต่อช่างท่ีดูแล

การเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วย เครื่องควบคุมอุณหภูมิขัดข้อง เคร่ืองปรับอากาศ เพ่ือทาการ

ทาให้มีผลต่อการทางานของ ซ่อมแซมเครื่องปรับอากาศหรือ

เครื่องเอกซเรย์ เคร่ืองระบายความร้อนให้

พร้อมใชง้ าน

-ทาการเปิ ด-ปิ ด(restart)

เคร่ืองเอกซเรยใ์ หม่

-เจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานประจา -เจา้ หนา้ ที่ที่ปฏิบตั ิงานประจา

หอ้ งเอกซเรยไ์ มไ่ ดป้ ิ ด

31

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

เ ค รื่ อ ง เ อ ก ซ เ ร ย์ ห ลั ง เ ลิ ก ห้องเอกซเรย์ ต้องดูแลและ

ปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบความเรี ยบร้อยของ

เคร่ืองเอกซเรยอ์ ยูเ่ สมอ และทา

กา รปิ ดเ ครื่ อง เอ กซ เร ย์ใ ห้

ถู ก ต้อ ง ต า ม ข้ ัน ต อ น ห ลัง เ ลิ ก

ปฏิบตั ิงาน

-แจง้ หวั หนา้ หน่วยใหท้ ราบ

ปัญหาท่ีเกิดข้ึน ทาการบนั ทึก

ปัญหาและวธิ ีการแกไ้ ข

4. -เจ้าหน้าท่ีถ่ายภาพเอกซเรย์ - ผูป้ ่ วยที่มารับบริการมีจานวน - กระจายผูป้ ่ วยไปยงั ห้อง

ผู้ป่ วยผิดคน ผิดส่ วน หรื อ มากเกินไป ทาให้เจา้ หน้าท่ีตอ้ ง เอกซเรย์อื่นๆ ในช่วงเวลาที่มี

ถ่ายภาพเอกซเรยส์ ่วนท่ีตอ้ งการ ท า ง า น อ ย่ า ง เ ร่ ง รี บ เ พื่ อ ผู้ป่ วยมาเอกซเรย์ทรวงอก

ไม่ครบตามใบขอตรวจ ให้บริ การผู้ป่ วยได้ทันเวลา จานวนมาก

แพทยต์ รวจ

-เจา้ หน้าท่ีอ่านใบขอตรวจของ - เจา้ หนา้ ที่อ่านใบขอตรวจของ

แพทยไ์ ม่ละเอียด แพทย์ให้ละเอียด ก่อนทาการ

ถ่ายภาพเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วย

-แพทย์เลือกส่วนที่ขอตรวจใน - ประสานงานกับห้องตรวจ

ใบขอตรวจไมช่ ดั เจน หรือแพทยผ์ สู้ ่งตรวจ ในส่วนท่ี

ต้องการตรวจที่ไม่ชัดเจน ว่า

ตอ้ งการส่งตรวจเอกซเรยส์ ่วน

ใด

- เจ้าหน้าท่ีมีการสื่ อสารกับ - เจ้าหน้าท่ีเพ่ิมการสื่อสารกับ

ผปู้ ่ วยนอ้ ยเกินไป เช่น การเรียก ผู้ป่ วยให้มากข้ึน เรี ยกช่ือ –

ผูป้ ่ วยเข้าเอกซเรย์ เรียกแต่ช่ือ นามสกุล ผูป้ ่ วยทุกคร้ังและทา

แต่ไม่เรียกนามสกุล การทบทวนอีกคร้ังก่อนทาการ

ซ่ึงอาจมีผปู้ ่ วยช่ือเดียวกนั ในการ ถ่ายภาพเอกซเรย์

ตรวจเวลาน้นั ได้ ทาใหเ้ อกซเรย์

ผดิ คน

-ผูป้ ่ วยเกิดความสับสนหรือกลวั -ทาการถ่ายภาพเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วย

จะไม่ไดเ้ อกซเรย์ เม่ือไดย้ นิ ใหม่ ในกรณีที่ถ่าย

32

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

เจา้ หน้าท่ีเรียกช่ือก็ไม่ได้สนใจ เอกซเรยผ์ ดิ คนหรือผดิ ส่วน

ว่าเป็ นชื่อของตัวเองหรื อไม่

แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ท่ี ก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ก า ร

ทบทวนช่ือ-นามสกุล ผูป้ ่ วยอีก

คร้ัง ก่อนทาการเอกซเรย์

-เจา้ หนา้ ที่ขาดความรอบคอบใน - เจา้ หนา้ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิงานดว้ ย

การปฏิบตั ิงาน ความระมดั ระวงั และเอาใจใส่

ในการทางานใหม้ ากข้ึน

5.2 ปัญหาทเ่ี กดิ ในภาพเอกซเรย์ สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข
1. การจดั ทา่ ผปู้ ่ วย

ขอ้ ปัญหา

1. เงาของ scapula บงั ปอด -ผู้ป่ วย ไม่ส ามาร ถ ให้ควา ม -ผปู้ ่ วยท่ีไม่สามารถปฏิบตั ิตาม

ร่ วมมือได้ เช่น ผู้สู งอายุหรื อ หลักการจัดท่าได้สามารถ

ผปู้ ่ วยเจบ็ บริเวณหวั ไหล่ เปลี่ยนให้ผูป้ ่ วยกอดฟิ ล์ม และ

-เจา้ หน้าที่ขาดความระมดั ระวงั ใหก้ างหวั ไหล่ใหม้ ากที่สุด

หรือเร่งรีบมากเกินไปในการจดั -เ จ้า ห น้ า ท่ี ต้อ ง เ พ่ิ ม ค ว า ม

ทา่ ผปู้ ่ วย ระมัดระวงั และรอบคอบใน

การจัดท่าผู้ป่ วยให้มีความ

ถูกตอ้ งตามมาตรฐาน

- ผู้ป่ วยไม่ปฏิบัติตาม -อธิบายวิธีการจดั ท่าท่ีถูกตอ้ ง

คาแนะนาของเจา้ หนา้ ท่ี และประโยชน์ของการปฏิบตั ิ

ตามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ท่ีให้

ผู้ป่ ว ย เ ข้า ใ จ ก่ อ น ท า ก า ร

เอกซเรย์

33

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

2. ยอดปอดหรือชายปอดตกฟิ ลม์ -ใชข้ นาดฟิ ลม์ ไมถ่ ูกตอ้ ง -เ ลื อ ก ใ ช้ ข น า ด ฟิ ล์ ม ใ ห้

เหมาะ สมกับผู้ป่ วย ได้แก่

ผู้ป่ วยชายให้ใช้ขนาดฟิ ล์ม

14x17 นิ้ว ผู้ป่ วยหญิงให้ใช้

ขนาดฟิ ลม์ 14x14 นิ้ว

-จดั ขอบบนของฟิ ลม์ สูงเกินไป -จัดขอบบนของฟิ ล์มให้อยู่

เหนือหัวไหล่ประมาณ 11/2-2

นิ้ว

3. มีนิ้วมือผู้ป่ วยเข้ามาในภาพ -เจา้ หนา้ ที่จดั ท่าผปู้ ่ วยโดยให้มือ - จดั ท่าผูป้ ่ วยให้หลงั มือแตะ

เอกซย์ อยสู่ ูงเกิน ที่สะโพก

2. การเตรียมตวั ผปู้ ่ วย

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

1. มีสิ่ งแปลกปลอม(artifact)ใน -ผูป้ ่ วยไม่ได้ถอดครื่องประดับ -อธิบายให้ผูป้ ่ วยมีการเตรียม
ภาพเอกซเรย์ ได้แก่ สร้อยคอ และโลหะต่างๆ ออกจากร่างกาย ตวั ก่อนถ่ายภาพเอกซเรย์ ถอด

เขม็ ขดั ตะขอเส้ือช้นั ใน อาจเกิดเน่ืองมาจากการส่ือสาร เครื่องประดบั และโลหะต่างๆ
ระหว่างเจ้าหน้าท่ีกับผู้ป่ วยไม่ ออกจากร่างกาย

ตรงกัน ทาให้ผู้ป่ วยเกิดความ -ให้ผู้ป่ วยเปลี่ยนเส้ือ โดยใช้

สับสน เส้ือท่ีโรงพยาบาลจดั เตรียมไว้
ให้ ก่อนถ่ายภาพเอกซเรย์ทุก

-ผปู้ ่ วยลืม คร้ัง
-เจา้ หนา้ ที่ตอ้ งคอยสังเกตใน

ตวั ผปู้ ่ วยวา่ ลืมถอดครื่อง

ประดบั

34

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

ออกจากร่างกายหรือไม่ หรือ

ใชป้ ลายนิ้วมือแตะกลางหลงั

ผปู้ ่ วยเพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ ผปู้ ่ วย

ถอดเส้ือช้นั ในออกแลว้

-ผปู้ ่ วยกลวั ทรัพยส์ ินสูญหาย -แ น ะ น า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ถื อ

เครื่องประดบั ไว้ หรือถา้ มีญาติ

มาดว้ ยใหฝ้ ากญาติไว้

2. มีเงาผมบดบงั ในภาพเอกซเรย์ -ผู้ป่ วยที่มีผมยาวไม่ได้เก็บผม -เจา้ หนา้ ท่ีแนะนาให้ผูป้ ่ วยเก็บ

ข้ึนใหเ้ รียบร้อย รัดผมให้เรียบร้อย หรือจดั หา

ห นั ง ย า ง รั ด ผ ม ห รื อ กิ๊ บ ท่ี

สามารถรวบผมได้ให้ผู้ป่ วย

และให้รวบผมข้ึนสู งเหนือ

ศีรษะเวลาจดั ท่า กอ้ นผมจะได้

ไมห่ ล่นลงมาในภาพเอกซเรย์

-ผปู้ ่ วยใส่วกิ ผม -ใหผ้ ปู้ ่ วยถอดวกิ ผม

35

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข

3. ผปู้ ่ วยไมใ่ หค้ วามร่วมมือ หายใจ -ผปู้ ่ วยหายใจเขา้ ไม่เตม็ ท่ีขณะทา -เจ้าหน้าที่อธิบายและแนะนา

ได้ไม่ลึก ทาให้เห็นพ้ืนที่ของ การเอกซเรย์ วิธีการหายใจให้ผูป้ ่ วยอยา่ งถูก

ปอดน้อย ขนาดของหัวใจโต วธิ ีและถูกตอ้ ง ก่อนเอกซเรย์

ผดิ ปกติ - เจ้าหน้าที่มีการซักซ้อม

วิธี ก า รห า ย ใ จ เข้า ใ ห้เ ต็ม ที่ แ ก่

ผปู้ ่ วยก่อนเอกซเรย์

-เจา้ หนา้ ที่ทาการปล่อยเอกซเรย์ -เจ้าหน้าท่ีรอให้ผูป้ ่ วยหายใจ

เร็วเกินไป ไม่รอใหผ้ ูป้ ่ วยหายใจ เขา้ เต็มท่ีและกล้นั หายใจก่อน

เขา้ และกล้นั หายใจ แลว้ จึงค่อยทาการเอกซเรย์

3. การต้งั ค่าปริมาณรังสี (exposure) สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข
ขอ้ ปัญหา

1 ความดาของภาพนอ้ ยเกินไป - ต้งั คา่ ปริมาณรังสีนอ้ ยเกินไป - ต้ังค่าปริ มาณรังสี ให้

(under exposure) เหมาะสมกับตัวผู้ป่ วยและมี

การจัดทา exposure chartที่

เหมาะ ส มใ นก าร ถ่ าย ภา พ

เ อ ก ซ เ ร ย์ ท ร ว ง อ ก ป ร ะ จ า

เครื่องเอกซเรย์

36

ขอ้ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข
2 ความดาของภาพมากเกินไป - ต้งั ค่าปริมาณรังสีมากเกินไป - ต้ังค่าปริ มาณรังสี ให้
เหมาะสมกับตัวผู้ป่ วยและมี
(over exposure) การจดั ทา exposure chart ท่ี
เหมา ะ ส ม ใ นก า รถ่ า ย ภา พ
เ อ ก ซ เ ร ย์ ท ร ว ง อ ก ป ร ะ จ า
เคร่ืองเอกซเรย์

5.3 แนวทางแก้ไขและพฒั นางาน
การควบคุมคุณภาพของภาพเอกซเรยท์ รวงอก พบปัญหา เนื่องจากจานวนผูป้ ่ วยที่มารับบริการถ่ายภาพ

เอกซเรยท์ รวงอก ตึกผปู้ ่ วยนอก หอ้ งเอกซเรยท์ รวงอก สาขารังสีวนิ ิจฉยั ภาควิชารังสีวิทยาในแต่ละวนั มีจานวน
มาก ซ่ึงในการทางานโดยปกติมีความผิดพลาดอยูแ่ ลว้ ถา้ มีความผิดพลาดจากการถ่ายภาพเอกซเรย์ ทาให้ได้
ภาพรังสีท่ีไดไ้ ม่มีคุณภาพตอ้ งทาการถ่ายภาพเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วยซ้า จะทาใหผ้ ูป้ ่ วยไดร้ ับปริมารรังสีมากข้ึนโดยไม่
จาเป็น และปัจจยั ที่มีผลต่อการเอกซเรยซ์ ้าท่ีทาให้ไดภ้ าพที่ไม่มีคุณภาพ เกิดไดจ้ ากหลายสาเหตุ ไดแ้ ก่ การจดั ท่า
ผูป้ ่ วย การให้ปริมาณรังสีไม่เหมาะสม ผูป้ ่ วยไม่ให้ความร่วมมือ ส่ิงแปลกปลอม การถ่ายเอกซเรยผ์ ิดตาแหน่ง
ผิดคน ประกอบกบั นกั รังสีการแพทยท์ ี่หมุนเวยี นมาปฏิบตั ิงานในห้องเอกซเรยแ์ ละในงานควบคุมคุณภาพภาพ
เอกซเรย์ทรวงอกขาดทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน การค้นหาปัญหาโดยค้นหาสาเหตุและวิธีการแก้ไข รวมถึง
อุปสรรคต่างๆ จึงเป็นสิ่งสาคญั ดงั น้นั นกั รังสีการแพทยป์ ระจางานควบคุมคุณภาพของภาพเอกซเรยท์ รวงอกตอ้ ง
มีความรู้ ความเขา้ ใจถึงปัญหาในการดูแลงานควบคุมคุณภาพ เพื่อให้สามารถไดภ้ าพเอกซเรยท์ ี่มีคุณภาพในการ
ถ่ายภาพเอกซเรยเ์ พียงคร้ังเดียว ด้วยจุดประสงค์ดา้ นคุณภาพการให้บริการทางรังสีเช่นน้ี จึงนาไปสู่โครงการ
วเิ คราะห์ปัญหาและหาแนวทางแกไ้ ขเพื่อเกิดประสิทธิภาพในการทางาน และเป็ นการสร้างความตระหนกั ดา้ น
คุณภาพในการถ่ายภาพเอกซเรยผ์ ปู้ ่ วยแก่นกั รังสีการแพทย์ รวมถึงความสาคญั ของการถ่ายภาพเอกซเรยซ์ ้าดว้ ย

วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ ควบคุมการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกซ้า
2. เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นางานในการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกซ้า

37

วธิ ีการศึกษาและสถิติ
ถา้ พิจารณาสิ่งที่เกิดข้ึนจากการทางาน ผเู้ ขียนไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอก ตึก

ผูป้ ่ วยนอก ห้องเอกซเรยท์ รวงอก สาขารังสีวินิจฉยั ภาควิชารังสีวิทยา โรงพยาบาลศิริราช เป็ นเวลา 12 เดือน
ต้งั แต่เดือนมกราคม 2557 ถึงธนั วาคม2557 โดยบนั ทึกเป็ นจานวน Image ท้งั หมดของหอ้ งเอกซเรยท์ รวงอกและ
จานวนการ Repeat image เพื่อใชใ้ นการศึกษาแนวโนม้ ของการเอกซเรยซ์ ้าในแต่ละเดือน ซ่ึงหอ้ งเอกซเรยท์ รวง
อก ตึกผปู้ ่ วยนอก สาขารังสีวินิจฉยั ภาควิชารังสีวิทยา โรงพยาบาลศิริราช ไดต้ ้งั เป้าหมายการเอกซเรยซ์ ้าไวท้ ่ี 6
% โดยคานวณไดจ้ ากสูตร

% การถ่ายเอกซเรยซ์ ้า = จานวน x100
จานวน

38

ผลการศึกษา

ปัญหา(Repeat image / % Repeat image)

เดือน All Repeat image / ปริมาณ จดั ท่า ผดิ ผปู้ ่ วย Artifact ผดิ คน อ่ืนๆ
Image % Repeat image รังสี ตาแหน่ง ไม่
ร่วมมือ

มกราคม 5650 370 8 77 - 197 73 4 11

(6.5%) (2.2%) (20.8%) (53%) (19.7%) (1%) (3%)

กมุ ภาพนั ธ์ 4470 300 - 65 - 210 20 - 5
(6.7%)
(21.7%) (70%) (6.7%) (1.7%)

มีนาคม 6450 390 8 84 - 236 52 2 8

(6.7%) (2.2%) (21.5%) (60.5%) (13.3%) (0.5%) (2%)

เมษายน 4110 353 4 85 - 211 47 3 3

(8.6%) (1.1%) (24%) (59.8%) (13.3%) (0.8%) (0.8%)

พฤษภาคม 4746 360 - 81 - 228 49 2 -
(7.6%)
(22.5%) (63.3%) (13.6%) (0.6%)

มิถนุ ายน 4242 727 5 123 3 572 16 1 7
(8.8%) (0.7%) (17%) (0.4%) (78.7%) (2.2%) (0.1%) (0.9%)

กรกฎาคม 5030 556 - 135 - 396 13 3 9
(11%)
(24.3%) (71.2%) (2.3%) (0.05%) (1.6%)

สิงหาคม 5047 478 - 102 - 347 18 3 8
(9.5%) (21.3%) (72.6%) (3.7%) (0.6%) (1.7%)

กนั ยายน 4882 560 8 137 - 363 35 4 13
(11.5%) (1.4%) (24.5%) (65%) (6.3%) (0.7%) (2.3%)

ตุลาคม 6176 716 - 160 3 490 29 - 34
(11.6%) (22.3%) (0.4%) (68.4%) (4%) (4.7%)

พฤศจิกายน 4913 673 7 167 - 374 79 4 42
(7.3%)
(1%) (24.8%) (55.6%) (11.7%) (0.6%) (6.2%)

ธนั วาคม 3424 313 11 158 - 117 27 - -

(9%) (3.5%) (50.5%) (37.4%) (8.6%)

ตารางท่ี 1 แสดงสถิตกิ ารเอกซเรย์ซ้าของผ้ปู ่ วยเอกซเรย์ทรวงอก ตึกผู้ป่ วยนอก สาขารังสีวนิ ิจฉัยภาควชิ ารังสี

วทิ ยา โรงพยาบาลศิริราช

39

กราฟท่ี 1 แสดงแนวโน้มเปอร์เซนต์การถ่ายเอกซเรย์ซ้า
จากตารางเป็ นการรวบรวมขอ้ มูลการถ่ายภาพเอกซเรย์ ห้องเอกซเรยท์ รวงอก ต้งั แต่เดือนมกราคม 2557
ถึงธนั วาคม2557 พบวา่ อตั ราการเอกซเรยซ์ ้าสูงกวา่ เป้าหมายท่ีร้อยละ 6 ทุกเดือน ปัจจยั สาคญั ที่ทาใหเ้ กิดปัญหา
มากไดแ้ ก่ ผปู้ ่ วยไม่ใหค้ วามร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 63 การจดั ทา่ ผปู้ ่ วย คิดเป็นร้อยละ25 สิ่งแปลกปลอม(artifacts)
คิดเป็ นร้อยละ9 ท่ีเหลือเป็ นปัญหาจากการต้งั ค่าปริมาณรังสีไม่เหมาะสม การถ่ายเอกซเรยผ์ ิดคน/ผิดส่วนและ
อ่ืนๆ

จากผลการศึกษาทาใหท้ ราบสาเหตุท่ีมีผลต่อการเอกซเรยซ์ ้าและหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาเพอื่ ใหก้ าร
ทางานมีการพฒั นาและปรับปรุงการถ่ายภาพเอกซเรยซ์ ้า จึงกาหนดเป้าหมายการเอกซเรยซ์ ้าลงคร่ึงหน่ึงคือไวท้ ่ี
3% เพอ่ื ใหน้ กั รังสีการแพทยม์ ีความต้งั ใจในการทางานและใหเ้ กิดความผดิ พลาดนอ้ ยที่สุด ซ่ึงในการท่ีจะทาให้
ไดต้ ามเป้าหมายที่กาหนดจึงมีการจดั ทาแผนการปฏิบตั ิงาน ดงั น้ี

5.3.1 จดั ทาคู่มือการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอก ภายในคู่มือประกอบดว้ ย การจดั ท่าที่ถูกตอ้ ง
การเตรียมตวั ผปู้ ่ วยการ ต้งั ค่าปริมาณรังสีที่เหมาะสม และภาพเอกซเรยท์ รวงอกท่ีมีคุณภาพตอ้ งแสดงใหเ้ ห็น
อะไรบา้ ง

5.3.2 จดั ใหม้ ีการฝึกอบรม ใหค้ วามรู้เพิ่มเติมและเสริมทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน ใหแ้ ก่ผปู้ ฏิบตั ิงานในหอ้ ง
เอกซเรยท์ รวงอกในลกั ษณะพส่ี อนนอ้ งหรือสอนในขณะปฏิบตั ิงานใหก้ บั นกั รังสีการแพทยท์ ่ีเขา้ ปฏิบตั ิงานใหม่

5.3.3 การบริหารจดั การนกั รังสีการแพทยป์ ระจาหอ้ งเอกซเรย์ โดยจดั นกั รังสีการแพทยร์ ุ่นพ่ีประกบนกั
รังสีการแพทยท์ ี่เขา้ ปฏิบตั ิงานใหม่

5.3.4 จดั การทางานที่มีประสิทธิภาพโดยเน้นการให้บริการผูป้ ่ วยท่ีรวดเร็วแต่มีความถูกตอ้ ง เพื่อให้
ผปู้ ่ วยไม่ตอ้ งรอท่ีแผนกรังสีวทิ ยานานและไดร้ ับผลการตรวจกลบั ไปหอ้ งตรวจเร็ว สามารถทาได้ ดงั น้ี

40

- การจดั คิวผปู้ ่ วย ให้เรียกผปู้ ่ วยเขา้ หอ้ งเอกซเรย์ ตามลาดบั หมายเลขที่ไดร้ ับจากเคาน์เตอร์ลงทะเบียน
และเรียกคิวเขา้ มาในห้องเอกซเรยค์ ร้ังละ 5-10 คน ซ่ึงภายในห้องเอกซเรยม์ ีการใช้ฉากตะกว่ั กาบงั รังสีให้แก่
ผปู้ ่ วยที่ถูกเรียกเขา้ มารอในหอ้ งเอกซเรย์

- ให้ผปู้ ่ วยท่ีรอตรวจท่ีห้องเอกซเรยท์ รวงอกเปล่ียนเส้ือผา้ ถอดเคร่ืองประดบั ระหวา่ งที่ยืนรอเจา้ หนา้ ท่ี
เรียกช่ือเขา้ หอ้ งตรวจ

- ในการเรียกคิวผปู้ ่ วยเขา้ หอ้ งเอกซเรย์ นอกจากจะเรียงตามหมายเลขแลว้ ในบางคร้ังอาจจะตอ้ งพิจารณา
ความเหมาะสมดว้ ย เช่น ความยาก- ง่ายในการจดั ท่า อายุผปู้ ่ วย (วยั รุ่น/ คนชรา) และความเร่งด่วนโดยอาจจะมี
การจดั คิวสลบั กนั บา้ ง เพื่อใหก้ ารปฏิบตั ิงานรวดเร็วข้ึน

5.3.5 จดั ใหม้ ีเจา้ หนา้ ที่หอ้ งเอกซเรยท์ รวงอกอธิบายข้นั ตอนการตรวจและวิธีการเตรียมตวั ตรวจแก่ผปู้ ่ วย
ในระหว่างรอเอกซเรย์ จดั ให้มีวิดีทศั น์หรือแผ่นพบั ให้ความรู้แก่ผูป้ ่ วยในการเอกซเรยท์ รวงอก ระหว่างนง่ั รอ
เพื่อใหผ้ ปู้ ่ วยปฏิบตั ิตวั ไดถ้ ูกตอ้ ง

5.3.6 สร้างจิตสานึกในการปฎิบัติงานให้แก่นกั รังสีการแพทยแ์ ละ เจา้ หน้าที่ที่เกี่ยวขอ้ ง โดยการจดั
ประชุม เพื่อทราบปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รวมถึงร่วมมือหาแนวทางแกไ้ ข โดยให้ทุกคนไดม้ ีส่วนร่วม อาจมี
การใหร้ างวลั หรือใหค้ าชมเชย เมื่อมีสถิติผปู้ ่ วยเอกซเรยซ์ ้าลดลงในเดือนน้นั ๆ เพื่อเป็ นขวญั และกาลงั ใจในการ
ปฏิบตั ิงาน

ในการติดตามผลการปฏิบตั ิงานตามโครงการท่ีจดั ทาข้ึนน้ี แนะนาใหม้ ีการติดตามผลทุกๆ 3 เดือน เพื่อดู
วา่ มีการพฒั นางานบรรลุเป้าหมายหรือไม่

โดยสรุป ในการปฏิบตั ิงาน ถา้ ภาพเอกซเรยไ์ ม่มีคุณภาพ มีผลต่อการวินิจฉยั ของแพทย์ และทาให้ผปู้ ่ วย
ตอ้ งถูกเอกซเรยซ์ ้า จะดว้ ยสาเหตุใดก็ตาม มีผลทาให้ผูป้ ่ วยไดร้ ับปริมาณรังสีเพิ่มข้ึน และเสียเวลาในการรับ
บริการนานข้ึน นกั รังสีการแพทยท์ ี่ดูแลงานควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ ตอ้ งให้ความรู้แก่นกั รังสีการแพทยท์ ่ี
หมุนเวียนมาปฏิบตั ิงานในห้องเอกซเรย์ โดยให้ตระหนกั ถึงปริมาณรังสีท่ีเกินจาเป็ น ที่ผูป้ ่ วยจะได้รับจากการ
เอกซเรยซ์ ้า ซ่ึงนกั รังสีการแพทยท์ ี่ดูแลงานควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรย์ ตอ้ งรู้สาเหตุ และหาวธิ ีแกไ้ ข รวมท้งั หา
แนวทางในการลดการเอกซเรยซ์ ้าร่วมกบั นกั รังสีการแพทยท์ ่ีหมุนเวียนมาปฏิบตั ิงาน รวมถึงพิจารณาการปรับลด
ปริมาณรังสีในการเอกซเรย์ เพื่อลดปริมาณรังสีให้แก่ผูป้ ่ วย ซ่ึงเป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ ในการป้องกนั
อนั ตรายจากรังสี

41

บรรณำนุกรม

1. คณาจารยส์ าขารังสีวนิ ิจฉยั ภาควชิ ารังสีวทิ ยา ตณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. รังสีวนิ ิจฉัย DIAGNOSTIC
RADIOLOGY, 2546.

2. Kanitta Choochawna. Chest ใครว่ำถ่ำยภำพง่ำย .Retrived February, 8, from
htt://www.gotoknow.org/posts/299315.

3. Puntharika Buasang, Pharadorn Chumpia, Supawan Jivapong, TrongtumTongdee. Image Quality and
Optimization Dose for Chest Examination in Computed Radiography and Digital Radiography.
SirirajRadiology, J. Vol.1(2), 2014.

4. Smithuis, R., Delden. V. Otto. (2013, Feb18).Chest X-Ray-Basic INTERPRETATION.
Retrived January, 2, 2014, from htt://www.radiologyassistant. nl/en/p497b2a265d96d/chest-x-ray-basic-
interpretation.html.

5. Philip, W. Ballinger. MERRILL’S ATLAS of RADIOGRAPHIC POSITIONS and RADIOLOGIC
PROCEDURES, Vol1(442-476).

6. _______.(n.d.).Plain film.Retrived January, 2, 2014, from
htt://www.med.cmu.ac.th/dept/radiology/Protocol/Plain film.pdf.

7. _______.(n.d.). How to Read a Chest X Ray.Retrived February, 8, from
htt://www.wikihow.com/Read-a-Chest-X-Ray.

8. _______.FUJIFILM.CR Console Operation Manual 2nd Edition 2004. 2-2- 2-6
9. _______.Quantum MEDICAL IMAGING.Operation Manual controls and indicators. 18-20
10. _______.X-ray Tube Stand – Operator’sManual. 10-11 , 18-19
11. รูปที่ใชป้ ระกอบเป็นคูม่ ือการควบคุมคุณภาพภาพเอกซเรยท์ รวงอกท้งั หมดผูจ้ ดั ทาไดท้ าการถ่ายภาพเองจาก

ภายในหน่วยงาน

42
ภำคผนวก ก
เครื่องถ่ายภาพรังสีทรวงอกระบบดจิ ิตอล
เครื่องถ่ายภาพเอกซเรยท์ รวงอกระบบดิจิตอลใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั คือ Quantamimaging รุ่น QS-550

ภาพแสดงเคร่ืองเอกซเรยท์ รวงอก ณ หน่วยรังสีวนิ ิจฉยั ตึกผูป้ ่ วยนอก โรงพยาบาลศิริราช
Unit Functional Components
Model QS-550Tube Stand Contains

ส่วนประกอบหลกั ของเครื่อง ไดแ้ ก่
1. X-ray Tube 2. Handgrips 3. Collimator 4. Floor Track 5. Base Assembly
6. Serialization Label 7. Vertical Column 8.Transverse Arm/Vertical Trolley

ท่ีมา: X-ray Tube Stand-Operator’s Manual Quantum Medical Imaging, LLC (2-2)

43

Controls and indicators (Model QS-550 handgrips)

Bucky stand Quantamimaging QS-550

44

Unit Control Panel

45

Item Function Type Description
Enable manual selection of kVp,mA,mAs,
1 Manual Mode of Control Push button and time setting for exposure
System automatically set required mAs for
operation achieving proper optical density with com-
pensation for programmable film/screen
2 Automatic Exposure Control push button speed.

Control- Enable technique selection from
preprogramed anatomical regions and
mode of radiographic projections.
Displays various system screen, menus and
operation.(Only messages. The LCD screen viewing angle
is adjustable for maximum visibility.
functional if AEC The functions activated by the Display
Function buttons depend on the information
option is installed.) displayed on the LCD. Some fields are
toggle fields(i.e., there are only two
3 anatomical Control push button choices, such as Yes/No).
Adjust the tube voltage(kVp)value from
programed Regions minimum of 40 kVp, to maximum of 125
kVp, in 1 kVp increments (150 kVp
mode of operation maximum available in system equipped
with 150 kVp option).
4 LCD screen Indicator Set the tube current (mA) value; mA
stations that are available for selection are
5 the field adjacent to Control Push button model dependent.
the Display Function Adjust the exposure time or current
button pressed time(mAs) value.

6 kVp Control Push button

increment/decrement

7 mA increment/ Control Push button
decrement

8 mAs/Time Control Push button

increment/Decrement

9 wall receptor Control Push button Use for examinations where patient is
standing or sitting in front of wall receptor.

46

Item Function Type Description
Pressing this button will toggle between
WALL40” and WALL 72” setting

10 Disables wall and Control Push button Use for examinations where no image

table receptor receptor is required, such as table top and

off table techniques.

11 table receptor Control Push button Use for examinations where patient is

resting on tabletop.

12 N/A N/A N/A

13 top left ion chamber Control Push button Turn on/off ion chamber’s top left detector

detector location for AEC exposures.

14 middle ion chamber Control Push button Turn on/off ion chamber’s middle detector

detector location for AEC exposures.

15 right ion chamber Control Push button Turn on/off ion chamber’s top right detector

detector location for AEC exposures.

16 Exposure ready Indicator When lit, indicates generator is ready for

exposure. When blinking, indicates one of

the following condition:

 Tube heat limit will be

exceeded by the next exposure

 On stored energy system, the

batteries are recharging,

blinking stop when fully

charged.

 On non-stored energy system,
400V capacitors are re-

charging

17 PREP Ready Indicator When lit,indicates tube rotor and filament

are prepared for exposure.

18 PREP button Control Push button When pressed, initiates rotor acceleration

prepares generator for and x-ray tube filament pre heating. The

47

Item Function Type Description
exposure; release to LED will illuminate when preparation cycle
inhibit exposure Indicator is complete.
Control Push button During the production of x-rays, the
19 Exposure On EXPOSE LED is illuminated.
“Dead-man” type switch (i.e., requires
20 EXPOSE button continuous switch activation throughout
initiates exposure entire exposure cycle). Initiates the
exposure. If preparation cycle (PREP) is not
complete, initiates preparation cycle.

X-ray Remote Control


Click to View FlipBook Version