The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โรงเรียนคุณภาพ

คุณภาพ

1

โครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล
…………………………………………………………………..

หลกั การและเหตุผล

ตามนโยบายของ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี “๑ ตาบล ๑ โรงเรยี น
คุณภาพ” ซ่ึงเป็นนโยบายท่สี อดรบั กบั คากล่าวท่วี ่า “จะไม่ท้งิ ใครไว้ขา้ งหลงั ” โดยมุ่งเน้นการพฒั นา
โ ร ง เ รี ย น
ใหม้ คี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานตามบรบิ ทของตนเอง สรา้ งโอกาสใหน้ กั เรยี นในพน้ื ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาอย่าง
เตม็ ท่ี เกดิ ความเท่าเทยี มและครอบคลุมทวั่ ประเทศ เพ่อื ลดความเหล่อื มล้าดา้ นการจดั การศกึ ษาของ
ประเทศ โดยมโี รงเรยี นเป็นศูนยก์ ลางของชุมชน เป็นตน้ แบบโรงเรยี นทม่ี คี ุณภาพ โดยโรงเรยี นสามารถ
ให้บรกิ ารการศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ มคี วามพร้อมในการจดั การเรยี นการสอน มอี ุปกรณ์และสง่ิ อานวย
ค ว า ม ส ะ ด ว ก ท่ี เ อ้ื อ ต่ อ
การเรยี นรู้ ผบู้ รหิ ารและครมู คี วามพรอ้ มดา้ นสมรรถนะ ศกั ยภาพ และความสามารถในการบรหิ ารจดั การ
ใหม้ คี ณุ ภาพ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนกระบวนการบรหิ าร การจดั การสถานศกึ ษา
ของเอกชน บา้ น วดั รฐั โรงเรยี น เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น ซง่ึ ถอื เป็นหลกั ประกนั กบั ชุมชนวา่ โรงเรยี นคณุ ภาพ
เหล่าน้ีจะสง่ เสรมิ และสนับสนุนให้นกั เรยี นไดร้ บั ความรู้ กระบวนการและทกั ษะทจ่ี าเป็นต่อการธารงตน
ด า ร ง ชี วิ ต
ในการเป็นพลเมอื งทด่ี ขี องประเทศ ตลอดจนเป็นศูนยร์ วมหรอื เป็นแหล่งการเรยี นรูข้ องชุมชน ใหช้ ุมชนมี
สว่ นร่วมและเกดิ ความรสู้ กึ เป็นเจา้ ของ สรา้ งความเช่อื มนั่ และศรทั ธาในการพฒั นาคุณภาพของโรงเรยี น
ในการส่งบุตรหลานเขา้ มาเรยี น นาไปสู่การลดค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง โรงเรยี น และชุมชน ร่วมกนั จดั
กิ จ ก ร ร ม ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
ท่ีเป็ นประโยชน์ เช่ือมโยงความสัมพันธ์กับชุมชนได้อย่างต่อเน่ือง และมีประสิทธิภาพ โดยใน
ปีงบประมาณ 2562 จะเร่ิมดาเนินการขับเคล่ือนในโรงเรียนประถมศึกษา ระดบั ตาบลก่อน และ
ปีงบประมาณ 2563 พฒั นาไปสู่โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา ระดบั อาเภอ โรงเรยี นพน้ื ทพ่ี เิ ศษ (Stand Alone)
ตามลาดบั ซง่ึ ถอื ไดว้ า่ เป็นการพฒั นาการศกึ ษาไทยในเชงิ ระบบอย่างแทจ้ รงิ

โดยสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นหน่วยงานหลกั
ในการจดั การศึกษา ได้รบั มอบหมายนโยบายจากนายกรฐั มนตรีให้ดาเนินการขบั เคล่ือนโครงการ
โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล (1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ) ใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย โดยเร่งดาเนินการ

2

โครงการให้เป็นรูปธรรมและมคี วามยงั่ ยนื สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความ
เ ส ม อ ภ า ค ท า ง สั ง ค ม
เพอ่ื ลดความเหลอ่ื มล้าดา้ นการจดั การศกึ ษาของประเทศต่อไป

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ต้องมีความเข้มแข็งทางวิชาการ เป็ น

สถานศกึ ษาคุณธรรม มคี วามโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา (ITA ) และเป็นแหล่งเรยี นรดู้ า้ น

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม งานอาชพี และสขุ ภาพอนามยั เป็นโรงเรยี นศูนยร์ วมการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ สามารถ

ใ ห้ บ ริ ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า

แก่นกั เรยี น และชมุ ชน อยา่ งมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

2. เพ่ือให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความพร้อมในทุกด้าน ทงั้

สมรรถนะ ศกั ยภาพ และความสามารถในการบรหิ ารจดั การ มคี วามคดิ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมการบรหิ าร

การจดั การเรยี นการสอน สรา้ งคลงั นวตั กรรมการเรยี นการสอน คลงั ความรอู้ ยา่ งเป็นรปู ธรรมและมคี วาม

ยงั่ ยนื

3. เพ่อื สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาและลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา ให้กบั เยาวชน

ทข่ี าดแคลนไดเ้ ตบิ โตเป็นพลเมอื งดี มที กั ษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะอาชพี

4. เพ่ือให้นักเรียนมีการพัฒนาด้านสติปัญญา (Intelligence Quotient) ความฉลาด

ทางอารมณ์ (Emotional Quotient) มที ศั นคติ (Attitude) มพี ฒั นาการดา้ นร่างกายสมวยั (Physical) และ

มพี ฒั นาทกั ษะชวี ติ ตามกระบวนการลูกเสอื ปฏบิ ตั ติ ามค่านิยม 12 ประการ มคี ุณลกั ษณะตามโรงเรยี น

สุ จ ริ ต

มคี ุณธรรมอตั ลกั ษณ์ตามโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. เพ่อื ปลูกฝังความเป็นพลเมอื งท่ดี ขี องประเทศชาติ

(Moral Quotient) สามารถรู้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงในสังคมโลก ใช้ชีวิตอยู่ในสงั คมได้อย่างมี

ความสุข เม่อื จบการศกึ ษามงี านทา อย่างมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

5. เพ่อื ให้นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรกั หวงแหนและความ

ภูมใิ จในชาติ โดยใชแ้ นวคดิ แบบ STAR STEMS และแนวทางโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. โดยนกั เรยี นเป็น

ค น ดี มี วิ นั ย

มกี ารเรยี นรแู้ บบเสมอื นเหตุการณ์จรงิ โดยใชห้ ลกั เหตุและผล หลกั ภูมปิ ัญญาไทยและศาสตรพ์ ระราชา

หลกั ประสทิ ธภิ าพ ระบบและการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ หลกั พสิ จู น์ดว้ ยหลกั ตรรกะและคุณธรรม และหลกั

ความสอดคล้อง เช่อื มโยงกบั ภูมสิ งั คมในการพฒั นาทกั ษะชวี ติ ตามกระบวนการลูกเสอื รวมถงึ ปฏบิ ตั ิ

ตามค่านยิ ม 12 ประการ เพอ่ื ปลกู ฝังความเป็นพลเมอื งทด่ี ขี องประเทศชาติ (Moral Quotient)

6. เพ่อื สรา้ งความร่วมมอื ระหว่าง เอกชน บ้าน วดั /ศาสนสถานอ่นื ๆ รฐั และโรงเรยี น

อย่างเป็นรปู ธรรมและมคี วามมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

เป้าหมายโครงการ (Outputs)

3

1. โรงเรยี นประจาตาบลอย่างน้อยตาบลละ 1 โรงเรยี น ตอ้ งมคี วามเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ

เป็นสถานศกึ ษาคุณธรรม มคี วามโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา (ITA) และเป็นแหล่งเรยี นรู้

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม งานอาชพี และสุขภาพอนามยั เป็นโรงเรยี นศูนย์รวมการศึกษาท่มี คี ุณภาพ

สามารถใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาแกน่ กั เรยี น และชมุ ชน อย่างมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความพร้อมในทุกด้าน ทงั้ สมรรถนะ

ศกั ยภาพ และความสามารถในการบรหิ ารจดั การ มคี วามคดิ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมการบรหิ ารจดั การเรยี น

การสอน

คลงั นวตั กรรมการเรยี นการสอน

3. นักเรียนทุกคนในตาบลได้รับโอกาสและเข้าถึงการบริการและสวัสดิการทาง

ก า ร ศึ ก ษ า

ทม่ี คี ุณภาพและเป็นธรรม ลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา แก้ปัญหาความเหล่อื มล้าทางเศรษฐกจิ และ

สงั คมในทอ้ งถนิ่ ชนบท

4. นกั เรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา (Intelligence Quotient) ความฉลาดทางอารมณ์

(Emotional Quotient) มีทศั นคติ (Attitude) มพี ฒั นาการด้านร่างกายสมวยั (Physical) และมีพฒั นา

ทกั ษะชวี ติ ตามกระบวนการลูกเสอื ปฏบิ ตั ติ ามค่านิยม 12 ประการ มคี ุณลกั ษณะตามโรงเรยี นสุจรติ มี

ความรกั หวงแหนและความภูมใิ จในชาติ โดยใช้แนวคดิ แบบ STAR STEMS และมคี ุณธรรมอตั

ลักษณ์แนวทางโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เพ่อื ปลูกฝังความเป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ (Moral

Quotient). ส า ม า ร ถ รู้ เ ท่ า ทั น ต่ อ

การเปล่ยี นแปลงในสงั คมโลก ใช้ชวี ติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข เม่อื จบการศึกษามงี านทา อย่าง

มั่ น ค ง

มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

5. ทุกภาคส่วนทงั้ เอกชน บ้าน วดั /ศาสนสถานอ่นื ๆ รฐั และโรงเรียน มสี ่วนร่วมในการ

ขบั เคลอ่ื นและพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล

กล่มุ เป้าหมายโครงการ (Target group)

นักเรยี น ครู ผู้บรหิ าร โรงเรยี นสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ท่ี
เปิดสอนระดบั ประถมศกึ ษา อยา่ งน้อยตาบลละ 1 โรงเรยี น

การพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล (1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ)

ใหก้ ารสนับสนุน งบประมาณ สถานท่ี แหล่งเรยี นรู้ องคค์ วามรู้ บุคลากร จาแนกเป็น 3 ดา้ น
ดงั น้ี

ด้านที่ 1 โครงสรา้ งพน้ื ฐาน

4

1. อาคารเรยี น อาคารประกอบ โรงอาหาร โรงพลศกึ ษา สนามฟุตบอล
2. ระบบคมนาคม เช่น บรกิ ารรถรบั -ส่ง นักเรยี น (รถตู้ หรอื รถบสั ) ถนน ไฟถนน ไฟ
จราจร ป้ายบอกทาง ทางเทา้
3. ระบบไฟฟ้า ระบบพลงั งานทางเลอื ก
4. ระบบประปา น้าด่มื ระบบป้องกนั น้าท่วม ระบบบาบดั น้าเสยี ท่อระบายน้า ระบบการ
สง่ น้า
5. เครอื ข่ายโทรศพั ท์ เครอื ข่ายโทรศพั ท์มอื ถอื สญั ญาณโทรทศั น์ และสญั ญาณวทิ ยุ
เคเบลิ ทวี ี สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ และอุปกรณ์ทร่ี องรบั ระบบ
6. เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรพ์ กพา และอุปกรณ์อน่ื ๆ
7. ระบบบาบดั ขยะ ระบบบาบดั น้าเสยี โรงขยะรไี ซเคลิ และสง่ิ แวดลอ้ มภายใน
โรงเรยี น
8. โภชนาการและสุขภาพของนกั เรยี น ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
และสง่ิ อานวยความสะดวก สาหรบั ผพู้ กิ ารหรอื ผมู้ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ

ด้านท่ี 2 ส่งเสริมการศกึ ษา
1. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการเรยี นการสอนดา้ นภาษาองั กฤษ ภาษาจนี และภาษาทโ่ี รงเรยี น

เลอื ก
2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
3. สง่ เสรมิ ดา้ นอาชพี สรา้ งลกั ษณะเฉพาะของการเป็นผปู้ ระกอบการ
4. ใหก้ ารสนบั สนุนคา่ วสั ดรุ ายหวั ของนกั เรยี น
5. ใหก้ ารสนบั สนุนวสั ดุ อุปกรณ์เคร่อื งมอื ต่างๆทส่ี ง่ เสรมิ การเรยี นการสอนและทกั ษะดา้ น
อาชพี
6. ให้การสนับสนุนองคค์ วามรู้ วสั ดุอุปกรณ์ และร่วมพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ

ใหเ้ ช่อื มโยงเครอื ขา่ ยหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
7. ใหก้ ารสนบั สนุนโรงเรยี นเขา้ ถงึ เขา้ ใชแ้ หลง่ เรยี นรขู้ ององคก์ รได้
8. ส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ บู้ รหิ ารของโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบลใหไ้ ดร้ บั การพฒั นา

ทกั ษะ ทส่ี าคญั และจาเป็นทเ่ี ออ้ื ต่อการเปลย่ี นแปลงของสถานการณ์ปัจจุบนั
9. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรยี นคุณภาพประจา

ตาบล

5

ให้ได้รบั การพฒั นาทกั ษะการจดั กระบวนการเรยี นรูท้ ่มี ุ่งผูเ้ รยี นเป็นสาคญั และเอ้อื ต่อการสร้างทกั ษะ
ชวี ติ และทกั ษะวชิ าชพี ต่อผเู้ รยี น

10. ส่งเสรมิ สนับสนุนการสร้างส่อื และนวตั กรรมด้านการบรหิ ารและด้านการจดั การ
เรยี นรู้ เพอ่ื เป็นคลงั ความรใู้ หก้ บั โรงเรยี น

11. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผู้บรหิ ารของโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบลได้รบั การพฒั นา
ทั ก ษ ะ
ทส่ี าคญั และจาเป็นทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสถานการณ์ปัจจุบนั

12. ถอดบทเรยี นการพฒั นาโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบลทป่ี ระสบความสาเรจ็
13. สรา้ งเวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรดู้ า้ นแนวทางการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล

ด้านท่ี 3 การสรา้ งเครือข่ายและการมสี ่วนรว่ ม
1. สรา้ งเครอื ข่ายการพฒั นาโดยเปิดโอกาสให้หน่วยงานในทอ้ งถนิ่ ได้มสี ่วนร่วมในการ

พฒั นาโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ผา่ นความร่วมมอื กบั ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
2. สนับสนุนความร่วมมอื ระหว่างสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สานักงานเขตพ้นื ท่ี

การศกึ ษา โรงเรยี นและชมุ ชนในการพฒั นาคณุ ภาพโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล
3. ส่งเสรมิ ทกั ษะการส่อื สารและความร่วมมอื ให้กบั ผูบ้ รหิ ารและครู เพ่อื ต่อยอดการ

พฒั นา ทงั้ ดา้ นกายภาพ การบรหิ ารจดั การ และการจดั กระบวนการเรยี นรใู้ ห้กบั โรงเรยี นคุณภาพ
ประจาตาบล

4. สง่ เสรมิ การเขยี นแผนพฒั นาระดบั โรงเรยี น เพอ่ื ขอรบั งบประมาณสนบั สนุนจากทงั้
ภาครฐั และภาคเอกชน

5. ส่งเสรมิ ความร่วมมอื ระหว่างโรงเรยี นและหน่วยงานในท้องถ่ิน เพ่อื พฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษา

6. พฒั นาคณะกรรมการสถานศกึ ษาเพอ่ื รว่ มกนั พฒั นาโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล

ดชั นีชี้วดั ความสาเรจ็ (KPIs)

เชิงปริมาณ
1. จานวนโรงเรยี นประจาตาบล อยา่ งน้อยตาบลละ 1 โรงเรยี น
2. จานวนโรงเรยี นประจาอาเภอ อยา่ งน้อยอาเภอละ 1 โรงเรยี น

เชิงคณุ ภาพ
1. รอ้ ยละ 80 ของโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล และโรงเรยี นประจาอาเภอ ต้องมคี วาม

เขม้ แขง็ ทางวชิ าการ เป็นสถานศกึ ษาคุณธรรม มคี วามโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา (ITA) และ

6

เป็นแหล่งเรยี นรดู้ า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม งานอาชพี และสุขภาพอนามยั เป็นโรงเรยี นศูนยร์ วมการศกึ ษาท่มี ี
คณุ ภาพ สามารถใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาแก่นกั เรยี น และชุมชน อยา่ งมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

2. ร้อยละ 80 ของผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มคี วามพร้อมในทุกด้าน ทงั้
สมรรถนะ ศกั ยภาพ และความสามารถในการบรหิ ารจดั การ มคี วามคดิ สร้างสรรค์นวตั กรรมการบริหาร
จดั การเรยี นการสอน คลงั นวตั กรรมการเรยี นการสอน

3. รอ้ ยละ 80 ของนักเรยี นไดร้ บั โอกาสและเขา้ ถงึ การบรกิ ารและสวสั ดกิ ารทางการศกึ ษาท่ี
มคี ุณภาพและเป็นธรรม

4. รอ้ ยละ 80 ของนักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา (Intelligence Quotient) ความฉลาด
ทางอารมณ์ (Emotional Quotient) มีทัศนคติ (Attitude) มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวยั (Physical) และ
มพี ฒั นาทกั ษะชวี ติ ตามกระบวนการลูกเสอื ปฏบิ ตั ติ ามค่านิยม 12 ประการ มคี ณุ ลกั ษณะตามโรงเรยี นสุจรติ
มคี วามรกั หวงแหนและความภูมใิ จในชาติ โดยใช้แนวคดิ แบบ STAR STEMS และมคี ุณธรรมอตั ลกั ษณ์
แนวทางโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เพ่อื ปลูกฝังความเป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ (Moral Quotient)
สามารถรูเ้ ท่าทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงในสงั คมโลก ใชช้ วี ติ อย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข เม่อื จบการศึกษามี
งานทา อย่างมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

5. รอ้ ยละ 80 ได้รบั ความร่วมมอื ในการส่งเสรมิ สนบั สนุนจากทุกภาคสว่ นทงั้ เอกชน บา้ น
วดั /ศาสนสถานอ่นื ๆ รฐั และโรงเรยี น ในการขบั เคล่อื นและพฒั นาโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล และโรงเรยี น
คณุ ภาพประจาอาเภอ

ผลที่คาดวา่ จะได้รบั

ความสาเร็จของโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล คอื เป็นโรงเรยี นท่ใี ห้โอกาสทางการ
ศึ ก ษ า
ท่เี ท่าเทยี มกนั อย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเขม้ แขง็ ทงั้ ด้านวชิ าการ สมรรถนะสาคญั และ
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ
ท่ีพึงประสงค์ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ดนตรี กีฬา ศิลปะ และจิตสาธารณะตามหลักสูตรแกนกลาง
ก า ร ศึ ก ษ า
ขนั้ พน้ื ฐาน มคี วามพรอ้ มดา้ นกายภาพ สงิ่ อานวยความสะดวก วสั ดุครุภณั ฑ์ สะอาด ร่มร่นื ปลอดภยั เป็น
โ ร ง เ รี ย น
ทเ่ี น้นการพฒั นาพ้นื ฐานดา้ นอาชพี และการเป็น “โรงเรยี นของชุมชน” ทม่ี คี วามร่วมมอื กบั ทอ้ งถนิ่ และ
บรกิ ารโรงเรยี นเครอื ขา่ ยและชุมชนอย่างเขม้ แขง็ ซง่ึ ภาพความสาเรจ็ ของโรงเรยี นดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี

1. นักเรียน เขา้ ถึงการบรกิ ารและสวสั ดิการทางการศึกษาท่ีมคี ุณภาพและเป็นธรรม มี
สติปัญญา (Intelligence Quotient) สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ความฉลาดทางอารมณ์
(Emotional Quotient) ทศั นคตทิ ด่ี ี (Attitude) พฒั นาการด้านร่างกายสมวยั (Physical) ทกั ษะชวี ติ ตาม
กระบวนการลูกเสือ และปฏิบัติตามค่านิยม 12 ประการ เพ่ือปลูกฝังความเป็นพลเมืองท่ีดีของ
ประเทศชาติ (Moral Quotient) มที กั ษะดา้ นเทคโนโลยี การคดิ วเิ คราะห์ มที กั ษะดา้ นภาษา 4 ภาษา มี

7

ส ม ร ร ถ น ะ ท่ี ส า คั ญ
มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และทกั ษะอาชพี มุ่งสกู่ ารมงี านทา อย่างมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื

2. ครู มคี วามพรอ้ มในทุกดา้ น ทงั้ สมรรถนะ ศกั ยภาพ และความสามารถในการบรหิ าร
จดั การ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน คลงั นวตั กรรมการเรยี นการสอน
มจี รรยาบรรณ มที กั ษะวชิ าชพี ในการพฒั นาหลกั สตู ร และการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี าร
ใช้วสั ดุ ส่อื อุปกรณ์ นวตั กรรมและเทคโนโลยที นั สมยั ส่งเสรมิ ความกระตอื รอื ร้นใฝ่เรยี นรู้ของผูเ้ รยี น มี
เจตคตทิ ด่ี ตี ่อวชิ าชพี เอาใจใสด่ แู ลช่วยเหลอื ผเู้ รยี น มกี ารพฒั นาตนเองแบบชุมชนแห่งการเรยี นรูเ้ พอ่ื พฒั นา
วชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) อยา่ งต่อเน่อื ง

3. ผ้บู ริหาร มคี วามพรอ้ มในทุกด้าน ทงั้ สมรรถนะ ศกั ยภาพ และความสามารถในการ
บรหิ ารจดั การ มภี าวะผูน้ า ยอมรบั การเปล่ยี นแปลง มที กั ษะการบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนร่วมโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ปัญหาการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ เกิด
ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลสงู สดุ ตอ่ คณุ ภาพผเู้ รยี น

4. โรงเรียน มโี ครงสร้างพ้นื ฐานด้านกายภาพ สง่ิ อานวยความสะดวก มคี ุณภาพด้าน
สภาพแวดลอ้ ม แหล่งเรยี นรู้ มบี รรยากาศอบอุ่น ปลอดภยั ทนั สมยั และมมี าตรการอนุรกั ษ์พลงั งานและ
สงิ่ แวดลอ้ มเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ สรา้ งโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ สามารถใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาแก่นกั เรยี นและ
ชุมชน มคี วามโดดเด่นในการเป็นโรงเรยี นหลกั ทส่ี ามารถในการใหบ้ รกิ ารโรงเรยี นในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง มี
ความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการและมคี วามพรอ้ มในการพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม งานอาชพี และสุขภาพ
อ น า มั ย
เป็นโรงเรยี นทม่ี คี ุณภาพ ผ่านการมสี ่วนร่วม ทงั้ ร่วมคดิ ร่วมทา ร่วมพฒั นา ร่วมสนับสนุนจากทุกภาค
สว่ น

5. การมีส่วนร่วมในการพฒั นา ทุกภาคส่วนทงั้ เอกชน บา้ น วดั /ศาสนสถานอ่นื ๆ รฐั
และโรงเรยี น ให้การยอมรบั เช่อื ถือต่อคุณภาพของโรงเรยี น ครู และผู้บรหิ าร และมสี ่วนร่วมในการ
ขบั เคล่อื นและพฒั นาโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ใหค้ วามสนใจต่อการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น มี
ความต้องการใหบ้ ุตรหลานเขา้ รบั การศกึ ษาและใหค้ วามร่วมมอื ในการสนับสนุนการดาเนินงานการจดั
การศกึ ษาเสมอื นเป็นเจา้ ของโรงเรยี น


Click to View FlipBook Version