The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปพัฒนาสังคม ขยะ.docx ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sodaza718, 2021-09-18 21:21:42

สรุปพัฒนาสังคม ขยะ.docx ม.5

สรุปพัฒนาสังคม ขยะ.docx ม.5

สรปุ ผลการดาเนินงาน

การจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน
เรื่อง การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2564
ณ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ท่ี 5
ตาบลบา้ นตนุ่ อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

จัดทาโดย
นางสาววมิ ลพรรณ จนั ทรข์ าว

ครู กศน.ตาบลบา้ นตุ่น
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งพะเยา
สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พะเยา

สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ



คำนำ

เอกสารฉบบั น้ี จดั ทาขน้ึ เพือ่ สรปุ ผลการดาเนินงานการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม
และชมุ ชน เรื่อง “การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ซ่ึงได้ดาเนินการจัดโครงการ
ในวนั ที่ 27 กรกฎาคม 2564 ณ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 5 ตาบลบ้านตุ่น อาเภอเมอื งพะเยา
จังหวัดพะเยา โดยการจัดกิจกรรมโครงการในรูปแบบของการบรรยายให้ความรู้และฝึกปฎิบัติ
ท้ังน้ีเพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ในการคัดแยกขยะอย่างเป็นระบบเกิดความตระหนักและ
เห็นความสาคัญของการคัดแยกขยะในครัวเรือนความตระหนัก และจิตสานึกในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหาร
จัดการนาและการบริหารจัดการขยะ ในชุมชนอย่างถูกวิธี ชุมชนท่ีมีส่ิงแวดล้อมท่ีดี มีการพัฒนา
พนื ทีส่ ่งิ แวดล้อมใหเ้ ป็นระเบียบและสะอาด เป็นชุมชนทีน่ ่าอยนู่ า่ มอง

กศน.ตาบลบา้ นตุ่น ขอบพระคุณ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา ที่ไดอ้ นมุ ตั ิงบประมาณในการ
ดาเนนิ การจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี ผู้จดั ทาโครงการหวังเปน็ อย่างยง่ิ วา่ สรุปผลการดาเนินงานการจัด
การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน เร่ือง “การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม”
จะเปน็ ประโยชน์ในการดาเนนิ งานในโอกาสตอ่ ไป

นางสาววมิ ลพรรณ จันทร์ขาว
ครู กศน. ตาบลบา้ นตุ่น

สำรบญั ข

คานา หนา้
สารบัญ
บทท่ี 1 บทนา 1
บทที่ 2 เน้อื หาที่เกย่ี วข้อง 3
บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน 6
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 21

ภาคผนวก
* โครงการที่ไดร้ ับอนมุ ัติ
* รายช่อื ผู้ทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการอบรมฯ
* ประมวลภาพการดาเนินกิจกรรม

1

บทที่ 1
บทนา

ความเปน็ มา
ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ 2564 ภารกิจ

ต่อเน่ือง ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ข้อ1.3 การศึกษาต่อเน่ือง 3. จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม
และชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การ
ประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และ
รูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพืนที่ เคารพความคิดของผู้อื่น
ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทังสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัด
กระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้าง
จิตสานึกความเป็นประชาธิปตตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การ
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริการจัดการนา การรับมือกับสาธารณภัย
การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและ
ชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน

ส่ิงแวดล้อมเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าย่ิง ชุมชนท่ีมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการพัฒนาพืนท่ี
ส่ิงแวดล้อมให้เป็นระเบียบ และสะอาดอยู่สม่าเสมอย่อมส่งผลให้ชุมชนดูน่ามอง ทัศนียภาพก็จะดีตปด้วย
การปล่อยปละละเลยให้สงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชนเสื่อมโทรม จะส่งผลกระทบให้คุณภาพชวี ิตของคนในชุมชนนัน
เสื่อมตปด้วย ซงึ่ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นส่ิงสาคญั ทีท่ ุกคนต้องถือปฎิบัติ ทังการ
อนุรักษ์ทรัพยากรนา ทรัพยากรดิน และทรัพยากรป่าตม้ เพราะส่ิงเหล่านีล้วนแต่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อ
การดารงชีวิตของมนุษย์ ทังด้านการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การคมนาคม การผลิตพลังงาน การ
ท่องเที่ยวและกีฬา ฯลฯ รวมถึงมีความสาคัญที่ช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศต่าง ๆ ด้วย แต่
เนื่องจากการเพ่ิมขึนของประชากร ประกอบกับการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจ ทาให้มีความต้องการใช้
ทรัพยากรเพ่ิมมากขึน ในขณะท่ีทรัพยากรทางธรรมชาติก็เร่ิมลดลง ระบบนิเวศกเ็ ริ่มถูกทาลาย สาเหตุหนึง่
จากการถกู ทาลาย เน่อื งจากเกดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ที่เขา้ ตปใชป้ ระโยชน์จากแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
และทาลายสง่ิ แวดล้อมจนทาให้ระบบนิเวศเสียสมดุล เชน่ ปัญหาภาวะโลกรอ้ นท่เี กดิ จากการการเผา ปญั หา
ภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากการเก็บกักนา และการพังทลายของดิน ซึ่งปัญหาเหล่านีส่งผลกระทบต่อความ
เปน็ อยู่ และคณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชน

กศน.ตาบลบ้านตนุ่ ตดเ้ ล็งเห็นถงึ ปัญหาของสภาพแวดล้อมในชุมชนบ้านห้วยหว้ ยลกึ หมทู่ ่ี 5 ตาบล
บ้านตุ่น อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ที่กาลังประสบปัญหาในเร่ืองของการบรหิ ารจัดการนาและการ
กาจัดขยะมูลฝอย ซึง่ ปญั หาดังกล่าวตด้ส่งผลกระทบต่อความเปน็ อยู่ และคณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน ทังนี
สาเหตุเน่ืองจากคนในชุมชนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง ดังนัน กศน.ตาบลบ้านตุ่น จึงตด้จัดโครงการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม ขึน

2

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื สร้างความตระหนกั และปลูกจติ สานกึ ในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. เพ่อื เสริมสร้างความร้แู ละเทคโนโลยกี ารบริหารจัดการนาและการบริหารจัดการขยะ ในชมุ ชน
3. เพื่อฟ้ืนฟแู ละรักษาสิง่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติของชุมชนให้น่าอยู่ น่ามอง
เป้าหมาย (OUTPUT)

เชงิ ปริมาณ ประชาชนตาบลบ้านตนุ่ หม่ทู ี่ 5 จานวน 25 คน
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าอบรมเกิดความตระหนัก และจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การนาและการบริหารจดั การขยะ
ในชุมชนอย่างถูกวิธี ชุมชนที่มีส่ิงแวดล้อมท่ีดี มีการพัฒนาพืนท่ีส่ิงแวดล้อมให้เป็นระเบยี บและสะอาด เป็น
ชมุ ชนท่ีน่าอยู่นา่ มอง

การติดตามประเมนิ ผลโครงการ
- การนิเทศตดิ ตามผล
- การประเมนิ ผลโครงการ
- แบบประเมินความพงึ พอใจ

3

บทที่ 2
วธิ ดี าเนนิ งาน

กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมายและเปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย
1.ประชมุ วางแผนการ -เพือ่ วางแผนการจัดกจิ กรรม ดาเนนิ
ดาเนินกิจกรรม ตามโครงการ
-เพื่อกาหนดผู้รับผิดชอบงาน การ
ตามบทบาทหน้าท่ี
กาหนดรปู แบบวธิ ีการจัด ครู กศน.ตาบล จานวน 3 ที่ทาการ 19 -
กิจกรรม บ้านตนุ่ คน
ผูใ้ หญบ่ า้ น กรกฎาคม
ครอู าสาสมัคร
ผู้ใหญบ่ า้ น ตาบลบา้ น 2564

ตาบลบ้านตุน่ ตุ่น หมทู่ ่ี
หมูท่ ี่ 5
6

จัด โครงการการอนรุ กั ษ์ 1. เพื่อสร้างความตระหนัก - ประชาชน จานวน อาคาร 27
25 คน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ และปลกู จิตสานึกในการ ตาบลบา้ นต่นุ อเนกประ กรกฎาคม 8,025.-
สงค์ หมู่ที่ 2564
ส่งิ แวดลอ้ ม อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ หมทู่ ่ี 5 จานวน 6 ตาบล
และสิง่ แวดลอ้ ม 25 คน
- การบรรยายให้ บ้านตนุ่ ป
ความรู้ เร่ือง การ 2. เพอื่ เสรมิ สร้างความร้แู ละ ร
อนุรกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยกี ารบริหาร ะ
และสิ่งแวดลอ้ ม ช
- การบริหารจัดการนา้ จดั การนาและการบรหิ าร า
ตามแนวพระราชดาริ
- การจัดการทรพั ยากร จดั การขยะ ในชุมชน ช
น้าในชุมชน/ประปา น
ภูเขา 3. เพ่ือฟนื้ ฟูและรกั ษา 2
- การบรหิ ารจัดการนา้
โดยใช้กลไกล สง่ิ แวดล้อมและ
“ธนาคารนา้ ใตด้ นิ ”
- การบริหารจดั การ ทรัพยากรธรรมชาตขิ อง
ขยะมลู ฝอยอย่างเปน็
ระบบ ชุมชนใหน้ ่าอยู่ นา่ มอง
-การกาจัดขยะใน
ครัวเรอื น
- การทาถงั ขยะรักษ์
โลก

4

กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมายและเปา้ หมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
ดาเนนิ การ
3. สรุปและรายงานผล เพอ่ื ติดตามและตรวจสอบ กลุม่ เปา้ หมาย เป้าหมาย
การดาเนินงาน ความสาเรจ็ ของโครงการเพอ่ื (คณุ ภาพ) กศน. 29 -
สรุปผลการดาเนนิ งาน กศน.อาเภอ อาเภอ กรกฎาคม
เมอื งพะเยา เจ้าหนา้ ท่ี เมอื ง 2564
เกี่ยวขอ้ ง
พะเยา

4. นิเทศ/ติดตามผล/ -เพือ่ ทราบความก้าวหน้า ประชาชนที่เข้า เจา้ หน้าท่ี ตาบลบ้าน 5
รายงานผลการจัด ตุ่น สงิ หาคม
พรอ้ มปรับปรุงพัฒนาผลการ รว่ มโครงการ เก่ียวขอ้ ง
กจิ กรรม/สรุปผลและ 2564
นามาปรบั ปรงุ แกไ้ ข ดาเนินงาน จานวน 25 คน -

5

กาหนดการฝกึ อบรม

โครงการ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ณ อาคารเอนกประสงค์ บ้านหว้ ยหมอ้ หมู่ที่ 5 ตาบลบ้านต่นุ อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา

.......................................................................

วันท่ี 27 กรกฎาคม ๒๕๖4
๐8.0๐ – ๐8.3๐ น. ลงทะเบียนร่วมกจิ กรรม/ตรวจคดั กรองผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมตามมาตรการใน

การปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัส โควดิ - 19
๐8.3๐ - 09.00 น. พธิ ีเปดิ โครงการการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

๐9.0๐ - 10.00 น. บรรยายพิเศษ เรือ่ ง การอนรุ กั ษท์ รัพยากรทางธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
10.0๐ - 12.00 น. อบรมบรรยายให้ความรู้

- การบรหิ ารจัดการนา้ ตามแนวทางพระราชดาริ

- การจดั การทรัพยากรนา้ ในชมุ ชน /การใชน้ ้าจากประปาภเู ขา

- การบริหารจดั การนา้ โดยใช้กลไล “ธนาคารน้าใต้ดนิ ”

โดย นายนนธิวฒั น์ คาโล (นกั พฒั นาชมุ ชนชานาญการ)

๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน

๑๓.๐๐ – 15.๐๐ น. อบรมบรรยายใหค้ วามรู้และฝึกปฏบิ ัติ

- -การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยอยา่ งเป็นระบบ
- แนวทางการกาจดั ขยะในครัวเรอื น
- สาธติ และฝึกปฎิบัตกิ ารทา“ถังขยะรักษโ์ ลก”

โดย นายนนธิวฒั น์ คาโล (นักพัฒนาชมุ ชนชานาญการ)

๑5.๐๐ - 16.0๐ น. สรุปองคค์ วามรู้ โครงการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

๑6.๐๐ - 16.3๐ น. พธิ ีปิดโครงการ


6

เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง

โครงการธนาคารนาใตด้ นิ หรอื Ground water bank เพือ่ การบรหิ ารจดั การนาตว้ใช้ประโยชนด์ า้ น
การเกษตรและการอุปโภคบริโภค ต่อสู้กับปัญหานาท่วมและปัญหาภยั แล้งตดอ้ ยา่ งยั่งยืน ซึ่งแนวคิดการทา
ธนาคารนาใตด้ นิ โดยการขุดบ่อลึกเพือ่ สง่ นากกั เก็บตว้ใต้ดิน เพิ่มปริมาณนาบาดาล เป็นอีกหนึง่ ทางเลือกใน
การแก้ปัญหาภัยแล้งในพืนที่นอกเขตชลประทาน

ธนาคารน้าใต้ดิน คือ การนาน้าไปเก็บท่ีชั้นใต้ดินในชั้นหินอุ้มน้า เหมือนกับเวลาท่ีตด้โบนัสแล้ว
คุณฝากเงินตวก้ บั ธนาคาร วันตหนที่เดือดร้อนเรื่องเงิน คุณก็สามารถนาเงนิ ที่เกบ็ ออมตว้มาใช้ตด้ ซ่ึงธนาคาร
นาใต้ดินก็เหมือนกัน ชว่ งหนา้ ฝนทม่ี นี ามาก ธนาคารนาใตด้ นิ จะชว่ ยดูดซับนาเพอ่ื นาตปกักเก็บตว้ท่ีชันหินอุ้ม
นา เมอื่ ถึงช่วงหน้าแลง้ คุณกส็ ามารถสูบนามาใช้ตด้

ธนาคารนา้ ใต้ดนิ คืออะไร

ธนาคารนาใต้ดินจะมี 2 ประเภท คือธนาคารน้าใต้ดิน ระบบปิด และธนาคารน้าใต้ดิน ระบบเปิดถ้าทา
ธนาคารนาใตด้ นิ ทัง 2 ประเภท ควบค่ตู ปด้วยกนั จะมีประสิทธภิ าพมากท่สี ดุ

ธนาคารน้าใต้ดิน ระบบปิด

7

ใช้หลักการขุดบ่อเพ่ือส่งนาตปเก็บตว้ที่ชันนาบาดาล ขนาดและความลึกของบ่อขึนอยู่กับสภาพ และชันดิน
ของแต่ละพืนท่ี โดยมีขันตอนดังนี

 ขดุ บ่อให้ลึกถงึ ชันหนิ อุ้มนา จากนนั ใส่ยางรถยนต์เพอ่ื ปอ้ งกันขอบบ่อพังทลาย
 จากนนั ใส่วสั ดุท่ีหาไดใ้ นพน้ื ที่ เชน่ ขวดนา ใใสน่ า 1 ใน 3 สว่ น), ท่อนตม้ หรอื เศษปูนให้เต็มช่องว่าง

ด้านนอกยางรถยนต์
 นาท่อ PVC มาวางตรงกลางบ่อเพ่ือเป็นช่องระบายอากาศ นาวัสดุชนิดเดียวกับท่ีใส่ช่องว่างด้าน

นอกมาเตมิ ใสช่ ่องว่างดา้ นในให้เต็ม
 คลุมดว้ ยผา้ ไนลอ่ น แล้วทบั ดว้ ยกอ้ นหิน และตามดว้ ยหนิ ละเอียดอกี ที เพอ่ื เปน็ ตัวกรองให้เศษดิน

หรือขยะตมใ่ ห้เขา้ ตปอดุ ตันในบ่อ เมื่อฝนตกลงมานาจะตหลสู่ชนั ใตด้ นิ โดยตรง ผา่ นธนาคารนาใต้ดิน
ระบบปิดทท่ี าขึนมา

ธนาคารน้าใต้ดิน ระบบเปิด

8

เป็นการเปิดผิวดินเพื่อท่ีจะสามารถใช้นาในระดับผิวดินตด้เลย โดยจะมีการขุดบ่อขนาดใหญ่ แต่ขนาด
เท่าตหรข่ ึนอยูก่ ับความเหมาะสมของพืนท่ี และความต้องการ โดยมีขันตอนดงั นี

 เจาะพื้นบ่อเป็นหลุม 3 หลุมให้ลึกถึงชันหินอุ้มนา เพื่อให้นาตหลลงชันหินอุ้มนาตด้ดี และมีช่อง
สาหรบั ถ่ายเทอากาศจากโพรงใต้ดินเมือ่ ถกู นาเข้าตปแทนท่ี

 โดยนาท่ีนามาเก็บนันมาจากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น นาฝน หรือนาจากการทาธนาคารนาใต้ดิน
ระบบปิด ซึ่งเม่ือนาถูกเติมลงชันใต้หินอุ้มนาปริมาณมากพอ นาจะเอ่อล้นมาที่บ่อโดยอัตโนมัติ ซ่ึง
เกษตรกรสามารถสูบนาจากบ่อนีมาใช้ตด้ทันที วิธีนีจะช่วยให้เกษตรกรตม่ต้องขุดเจาะหาแหลง่ นา
หรือสูบนาจากแหล่งนาตกลๆ ประหยัดพลังงาน แถมช่วยลดค่าใช้จ่ายตด้ปีละหลายล้านบาทเลย
ทเี ดียว

ประโยชน์ของธนาคารน้าใต้ดิน
1. ชว่ ยแก้ปญั หาน้าทว่ มตด้ เพราะช่วยใหน้ าซมึ ลงใต้ดินตด้ดีขนึ
2. ช่วยแก้ปัญหาภัยแล้ง เพราะสามารถสูบนาจากธนาคารนาใตด้ ินใชต้ ด้ตลอดเวลา
3. แกป้ ัญหานา้ เคม็ เพราะมวลนาเค็มจะมนี าหนักมากกวา่ นาจดื ฉะนนั นาเค็มจะอยู่ดา้ นล่าง
4. แก้ปัญหาน้าสกปรก เพราะระบบนาแบบปิดจะช่วยกรองนาให้สะอาดขึน

9

วธิ ีแยกขยะในบ้านใหถ้ กู ตอ้ ง พร้อมข้อมลู เกีย่ วกบั ขยะวา่ มกี ป่ี ระเภท ตอ้ งคัดแยก และวิธลี ดขยะ
ในบา้ นต้องทาอย่างไร

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า "ขยะ" เป็นปัญหาหลักของคนท่ัวโลก เพราะนอกจากจะสร้างความสกปรกและ
กลนิ่ เหม็นแล้ว ยังเปน็ แหลง่ เพาะพันธ์ุเช้อื โรค เช่น หนู แมลงวนั แมลงสาบ แถมส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
แม่นา้ ลาคลอง รวมไปถงึ สตั ว์ต่าง ๆ ท่ีเผลอกินเข้าไปอีกตา่ งหาก ฉะนน้ั แล้วเราทกุ คนจึงต้องชว่ ยกนั จัดการ
เรมิ่ จากการแยกขยะกอ่ นท้งิ ให้ถกู ต้อง ซง่ึ ท้ังหมดนส้ี ามารถเร่มิ ตน้ ไดง้ ่าย ๆ ด้วยการแยกขยะในบา้ น
ประเภทของขยะ

ขยะมูลฝอยในประเทศไทยแบง่ ออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ได้แก่
1. ขยะอินทรีย์

ภาพจาก ศูนย์วิทยบริการเพ่อื ส่งเสรมิ การเกษตร
ขยะอินทรีย์หรือขยะย่อยสลาย เป็นขยะที่สามารถย่อยสลายหรือเน่าเสียได้ในระยะเวลาท่ีรวดเรว็

เชน่ เศษอาหาร เศษผกั -ผลไม้ ต้นหญ้า ใบไม้ และภาชนะทยี่ อ่ ยสลายเองได้ โดยเราสามารถนาขยะประเภท
น้ีไปทาเป็นน้าหมักจุลินทรีย์ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ และใช้บารุงดินหรือบารุงต้นไม้ได้ต่อไป ส่วนถังขยะไวท้ ิง้
ขยะย่อยสลาย คือ ถังขยะหรือถุงขยะสีเขียว ท่ีมีสัญลักษณ์สามเหล่ียม มีรูปก้างปลาและเศษอาหารตรง
กลาง

10

2. ขยะรไี ซเคิล

ภาพจาก ศนู ย์วิทยบรกิ ารเพื่อส่งเสริมการเกษตร
ขยะรีไซเคิล เป็นขยะที่สามารถนามาแปรรปู แล้วนาไปใช้ประโยชนใ์ หม่ได้อกี คร้งั ส่วนมากจะเป็น

ส่ิงของเหลือใช้ หรือภาชนะบรรจุของ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก กระป๋อง กล่อง ลัง โลหะ อะลูมิเนียม
และยางรถยนต์ โดยเราสามารถนาขยะเหล่านี้ไปขายเป็นของเก่า ไปประยุกต์เป็นของใช้ท่ีมีประโยชน์
หรือไม่ก็ส่งต่อให้กับโครงการรีไซเคิลต่าง ๆ ได้ ส่วนถังขยะท่ีรองรับขยะรีไซเคิล คือ ถังขยะหรือถุงขยะสี
เหลอื ง ทม่ี สี ัญลักษณ์ลกู ศรหมนุ วนกนั เปน็ ทรงสามเหลย่ี ม

3. ขยะอันตราย

ภาพจาก ศนู ยว์ ิทยบรกิ ารเพอ่ื ส่งเสริมการเกษตร

11

ขยะอันตรายหรือขยะพิษ เป็นขยะท่ีมีวัตถุอันตรายปนเป้ือนหรือประกอบอยู่ เช่น หลอดไฟ
ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่โทรศัพท์ กระป๋องสเปรย์ และภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ซ่ึงเราสามารถสังเกตได้
ไม่ยากจากสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายเตือนที่มักจะติดอยู่บนฉลากว่า สารมีพิษ สารไวไฟ สารกัดกร่อน
อันตราย คาเตือน ข้อควรระวัง ห้ามรับประทาน และห้ามเผา โดยเราสามารถนาขยะประเภทน้ีไปกาจัด
อย่างถูกต้องและปลอดภัยได้ ถ้าหากมีการเก็บแยกอย่างเหมาะสม อีกท้ังยังสามารถนาไปรีไซเคิลได้ด้วย
ส่วนถังขยะที่รองรับขยะอนั ตราย คือ ถังขยะหรอื ถงุ ขยะสีสม้ ที่มีสญั ลักษณว์ งกลม พร้อมรูปลกู ศรสขี าวชี้ลง
และหวั กะโหลกกบั กากบาทดา้ นใน
4. ขยะทว่ั ไป

ภาพจาก ศูนย์วิทยบรกิ ารเพอื่ สง่ เสริมการเกษตร
ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายได้ยาก ไม่เหมาะจะนาไปรไี ซเคิล แต่ก็ไม่ได้เป็นอันตรายเกนิ ไป จึง

เรยี กง่าย ๆ ว่า ขยะทวั่ ไป คือ ขยะท้งั หมดทอ่ี ยู่นอกเหนอื จากขยะยอ่ ยสลาย ขยะรีไซเคลิ และขยะอันตราย
นั่นเอง เช่น โฟม ฟอยล์ ถุงพลาสติก ซองอาหาร กระป๋องสี และแผ่นซีดี ซ่ึงจาเป็นต้องแยกก่อนท้ิง เพ่ือจะ
ได้นาไปกาจัดอย่างถูกต้อง ส่วนถังขยะท่ีรองรับขยะท่ัวไป คือ ถังขยะหรือถุงขยะสีน้าเงนิ ที่มีสัญลักษณ์รปู
คนกาลังทงิ้ ขยะลงในถงั

12

วิธีแยกขยะในบา้ น

ขนั้ ตอนการคดั แยกขยะในบ้าน มีดังต่อไปนี้
1. แยกขยะทง้ั 4 ประเภทออกจากกนั โดยมีรายละเอียด คอื
- ขยะยอ่ ยสลาย : ใหแ้ ยกระหวา่ งเศษอาหารกับเศษใบไม้ เพอื่ การนาไปใชป้ ระโยชนท์ ่ีแตกต่าง โดย
ควรจดั เก็บในภาชนะทีส่ ามารถปดิ ได้
- ขยะรีไซเคิล : ให้แยกขยะรีไซเคิลแต่ละชนิดออกจากกัน เพ่ือความสะดวกในการหยิบใช้ และ
ความงา่ ยในการนาไปขาย โดยขยะรไี ซเคิลมที ั้งหมด 4 ชนิดหลัก ๆ ไดแ้ ก่
• กระดาษ : ควรแยกหนงั สอื พิมพ์ สมุด หนังสอื กลอ่ ง ลัง และเศษกระดาษออกจากกนั แลว้ มัดแต่
ละชนดิ ไวใ้ ห้เรียบร้อย
• แก้ว : กาจัดผลติ ภัณฑ์ที่อยขู่ ้างในออกใหห้ มด จากน้นั ทาความสะอาดให้เอี่ยม แล้วเกบ็ รวมกันไว้
ไดเ้ ลย
• พลาสติก : กาจัดผลติ ภัณฑท์ ี่อยขู่ ้างในออกให้หมด จากนั้นทาความสะอาดใหเ้ อ่ยี ม แล้วทาให้แบน
เพื่อเซฟพน้ื ท่ี สุดท้ายกเ็ กบ็ โดยแยกระหวา่ งพลาสติกขุ่นและพลาสติกใส
• โลหะหรืออโลหะ : กาจัดผลิตภัณฑ์ที่อยู่ข้างในออกให้หมด จากน้ันทาความสะอาดให้เอ่ียม แล้ว
ทาให้แบนเพ่ือเซฟพื้นที่ สุดทา้ ยกเ็ กบ็ รวมกันไว้ได้เลย
- ขยะอนั ตราย : ให้แยกขยะอันตรายออกจากขยะประเภทอนื่ แลว้ ก็แยกชนิดของขยะอันตรายอีกที
ดว้ ย อยา่ เก็บปนกันเด็ดขาด นอกจากนี้ควรใส่ไว้ในภาชนะท่ีแขง็ แรง มดิ ชดิ และไม่รั่วไหลดว้ ย
- ขยะทวั่ ไป : เก็บรวมกนั ไวไ้ ดเ้ ลย
2. นาขยะประเภทต่าง ๆ เก็บไว้ในถงุ ขยะหรือถงั ขยะท่ีแยกตามสีท่ีกาหนดอยา่ งเหมาะสม
3. เก็บถุงขยะหรอื ถังขยะทั้งหมดไวใ้ นบริเวณทส่ี ะอาด สวา่ ง อากาศถ่ายเท ไม่ขวางทางเดนิ และไม่
ใกลแ้ หล่งอาหาร
4. แยกขยะอันตรายออกห่างจากขยะประเภทอ่ืน และควรดูแลการขนย้ายขยะประเภทนม้ี ากเปน็
พเิ ศษ หรอื ทางที่ดจี ะนาไปทง้ิ ในสถานที่ท่ีรับเก็บขยะอันตรายโดยเฉพาะก็ได้
5. อยา่ เก็บขยะท่ีเส่ยี งเปน็ แหล่งเพาะพนั ธุ์ หรือเสยี่ งเกดิ การรัว่ ไหลเอาไว้ใกลต้ วั เปน็ เวลานาน
6. ในกรณีที่ล้างทาความสะอาดขยะประเภทต่าง ๆ แล้วมีไขมันหรือนา้ มนั ปนเป้ือน ควรกรองเศษ
ตะกอนตา่ ง ๆ เพอ่ื ไมใ่ ห้ไหลลงไปอดุ ตนั ในท่อระบายน้าสาธารณะ
7. หลกี เล่ยี งการเผาทาลายขยะโดยไม่จาเปน็ เพือ่ ป้องกันการสง่ ผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ ม

13

วิธลี ดขยะในบ้าน
เราทุกคนสามารถลดปริมาณขยะในบ้านได้ง่าย ๆ ด้วยการปรับเปล่ียนพฤติกรรมชีวติ ให้สอดคล้อง

ตามหลกั 5R ซ่ึงประกอบไปดว้ ย
R1 : Reduce
Reduce คอื การคิดกอ่ นใชห้ รอื การลดปรมิ าณขยะท่ีกาลังจะเกิดข้ึน ตวั อยา่ งเชน่ การใช้ถงุ ผ้าแทน

ถุงพลาสติก การใช้กล่องข้าวแทนกล่องโฟม การใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือผ้าเช็ดโต๊ะแทนกระดาษทิชชู การกิน
อาหารที่ร้านแทนการห่อกลับ รวมถึงการหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ได้คร้ังเดียว เช่น จานกระดาษ แก้ว
พลาสติก การหลีกเลี่ยงสารเคมีท่ีจะก่อให้เกิดขยะอันตราย การเลือกสินค้าที่บรรจุภัณฑ์เป็นมิตรต่อ
สิง่ แวดล้อม การไมร่ ับถุงเมื่อซ้อื ของเพยี งไมก่ ชี่ ้ิน และการใชผ้ ลติ ภัณฑช์ นิดเติมแทนการซอื้ ใหม่ดว้ ย

R2 : Reuse
Reuse คือ การนาของที่ใชแ้ ล้วกลบั มาใชซ้ า้ ให้คุ้มค่า ตวั อยา่ งเช่น การนาถุงพลาสติกไปใสข่ ยะ การ
นาขวดพลาสติกไปทาเป็นแจกัน การนาขวดแก้วเกา่ ไปใส่ของอยางอื่น การนาเศษผ้ามาเย็บรวมกันเปน็ ชิน้
การใช้กระดาษให้ครบทัง้ สองหน้า การใชภ้ าชนะทสี่ ามารถใช้ซา้ ได้ การใชถ้ า่ นท่สี ามารถชาร์จได้ รวมถงึ การ
ใชข้ องมือสองดว้ ย
R3 : Repair
Repair คือ การซ่อมของที่พังแล้วให้กลับมาใช้ได้อีกครั้ง แทนท่ีจะท้ิงเป็นขยะอย่างเปล่าประโยชน์
ซึ่งส่วนใหญจ่ ะเป็นพวกเคร่ืองใช้ไฟฟ้า โทรทัศน์ พัดลมต่าง ๆ หรือไม่เช่นน้ัน พวกเฟอร์นิเจอรท์ ่ีชารดุ ทรุด
โทรม ก็สามารถตกแต่งใหม่ และนากลบั มาใช้ได้อีกครงั้ เหมือนกัน
R4 : Recycle
Recycle คือ การแปรรูปส่ิงของต่าง ๆ ให้กลับมาใช้ประโยชนใ์ หม่ได้อย่างสร้างสรรค์ โดยหลักการ
ง่าย ๆ ให้เราเลอื กใช้แต่ผลิตภัณฑ์ที่สามารถรไี ซเคิลได้ เชน่ แกว้ กระดาษ พลาสตกิ โลหะ และอะลมู ิเนียม
จากนน้ั เวลาเกบ็ ทิ้งก็คดั แยกออกต่างหาก แลว้ นาไปขายหรอื บรจิ าค เพือ่ นาเข้าสูก่ ระบวนการรีไซเคลิ ตอ่ ไป
R5 : Reject
Reject คือ การงดใช้ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายยาก ทาลายยาก นาไปรีไซเคิลยาก หรือพวกผลิตภัณฑ์
ใชไ้ ด้แค่ครงั้ เดยี ว เชน่ โฟม แก้วพลาสตกิ แก้วกระดาษ เป็นตน้

14

ถังขยะรักษ์โลก…เปลี่ยนขยะให้เปน็ ประโยชน์
ปัจจุบันปัญหาขยะเป็นเรื่องท่ีถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงกันมาก รวมไปถึงวิธีการจัดการแก้ไขปัญหา

ขยะแต่ละประเภท ซ่ึงส่วนใหญ่เรามักจะพดู ถึงปัญหาและการจัดการขยะพลาสติก ซ่ึงเป็นขยะท่ีย่อยสลาย
ยาก แต่ความจริงแล้วกว่าร้อยละ 50 ของขยะมูลฝอยทั้งหมด เป็นขยะมูลฝอยประเภทสารอินทรีย์ เช่น
เศษอาหาร เศษผกั ผลไม้ ทีแ่ มจ้ ะสามารถย่อยสลายได้เอง แต่กต็ ้องใช้เวลา และต้องมีวธิ ีจดั การที่เหมาะสม
ไม่เช่นนั้นก็จะกลายเป็นแหล่งรวมเชื้อโรค ส่งกลิ่นเหม็น เกิดปัญหาต่อสังคมและสภาพแวดล้อมตามมาอีก
มาก

ถังขยะรักษ์โลก (Green Cone) นับเป็นทางเลือกใหม่ของการกาจัดของเสียที่แหล่งกาเนิด ถูก
คิดค้นขึ้นครั้งแรกในประเทศแคนาดา โดยมีวัตถุประสงค์ในการออกแบบและสร้างข้ึนเพ่ือจัดการกับขยะ
อินทรีย์ท่ีเหลือจากครัวเรือน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเชื้อโรคหรือไปปนเป้ือนกับขยะอื่นๆ ท่ีสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ต่อได้ อีกท้งั ยงั ไดป้ ระโยชนใ์ นเรือ่ งของธาตอุ าหารทเี่ ปน็ ผลพลอยได้ใช้ในการปรับปรุงดนิ ทาให้ดิน
มีความเหมาะสมตอ่ การเจริญเติบโตของพชื ที่ได้ช่ือว่า Green Cone เนื่องจากในต่างประเทศถังต้นแบบท่ี
จดั ทาออกจาหน่ายมสี ีเขียว และรูปร่างลกั ษณะของถังดงั กล่าวจะมีลักษณะคล้ายทรงกรวยของโคนไอศครีม
แตอ่ ีกนัยหนึง่ แมไ้ ม่ใช่ถังสีเขียวแตม่ ันก็ถูกออกแบบมาในการลดขยะอินทรยี ์ในแนวกรนี ๆ เชน่ กัน

กระบวนการทางานของถังขยะรักษ์โลกทีถ่ ูกต้องตามหลักวชิ าการ
วัสดทุ ่ีใชใ้ นการทาถงั ขยะรกั ษ์โลก จะประกอบด้วย
1. ตะกรา้ 1 ใบ
2. ถังพลาสตกิ 2 ใบ (ขนาดเลก็ 1 ใบ และขนาดใหญ่ 1 ใบ)

15

วธิ ีการทาถังหมักรักษ์โลก
1. ควา่ ถังพลาสติกขนาดเล็กลงในตะกรา้ โดยให้มีความลกึ ลงไปจากปากตะกรา้ ประมาณ 5 -10

เซนตเิ มตรโดยจะต้องเหลือช่องของตะกรา้ ขึน้ มาจากปากถังท่คี ว่าลงไป ประมาณ 2 ชอ่ ง จากนน้ั ทาการตดั
กน้ ถังพลาสตกิ ใบเลก็ ออก

2. ควา่ ถงั พลาสติกขนาดใหญล่ งบนปากตะกร้าให้พอดี จากนั้นนาเชือกมาผกู มดั ให้ตดิ กนั ตัดก้นถงั
ใบใหญอ่ อกและส่วนท่ีตัดออกนามาทาเปน็ ฝาปิด

การตดิ ตงั้ ถังขยะรักษโ์ ลก

1. เลือกพืน้ ทต่ี ิดตง้ั ถงั หมกั รกั ษ์โลก โดยเลือกพ้นื ทท่ี ม่ี ีแสงแดดสอ่ งถึงตลอดเวลา ไมค่ วรอย่ใู ตร้ ่มเงา
ไม้ หรอื แสงแดดราไร

2. ขุดหลุมให้มีขนาดใหญก่ ว่าตะกร้า และมีความลึกมากกว่ารอยต่อของตะกร้าและถังพลาสติกใบ
ใหญ่เม่อื วางลงไป

3. นาถังหมกั รักษโ์ ลกทที่ าการประกอบเสร็จเรยี บรอ้ ยวางลงไปกลางหลมุ ทข่ี ดุ ไว้ และกลบดว้ ยดนิ ที่
ขดุ ข้ึนมา โดยการกลบจะต้องกลบแบบหลวมๆ ไม่อดั ดนิ ให้แน่น

4. จากน้นั ก็นาเศษอาหารท่ีเหลือจากครวั เรอื นมาเทท้ิงใส่ถัง โดยระมดั ระวงั ไม่ให้เศษอาหารตกเข้า
ไปในช่องระหว่างถังพลาสตกิ ใบเลก็ และถงั พลาสตกิ ใบใหญ่

16

หลกั การทางานของถงั ขยะรกั ษโ์ ลก
ถังขยะรักษโ์ ลกเป็นการใช้ประโยชนจ์ ากกลุ่มจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ภายในดินที่มีอยู่เดิม มาทาหน้าท่ี

ย่อยสลายสารอินทรีย์ แต่หากบริเวณใดเป็นดินเส่ือมโทรมมีจุลินทรีย์ตามธรรมชาติอยู่น้อย ก็อาจจะเพ่ิม
จลุ นิ ทรยี ์ได้โดยการเตมิ ขวี้ ัว หรอื เตมิ น้าหมกั ชีวภาพเข้าไปรองพืน้ ตระกรา้ กอ่ นเทเศษอาหารได้

หลักการหมักจะเป็นการหมักโดยกระบวนการของจุลินทรีย์แบบใช้ก๊าซออกซิเจนซึ่งจะทาให้เกิด
กล่ินเหม็นน้อยมากเมอ่ื เทียบกับการหมักแบบอื่นๆ ดังน้ัน ก๊าซออกซิเจนจึงเป็นปัจจัยสาคัญท่ีสุดสาหรับถงั
หมักรักษ์โลก โดยการออกแบบถงั จะมุ่งเน้นให้เกิดการหมนุ เวยี นถ่ายเทของอากาศเพื่อให้กา๊ ซออกซิเจนเดิน
ทางเข้าสู่วัสดุหมักได้อย่างทั่วถึง โดยก๊าซออกซิเจนจะเข้าสู่ถังหมักได้ 2 ช่องทาง คือ ผ่านช่องว่างของเม็ด
ดินที่กลบลงไปอย่างหลวมๆ รอบถังและรอดรขู องตระกรา้ เข้าสวู่ สั ดุหมักด้านลา่ ง และทางฝาปดิ ดา้ นบนผ่าน
เข้าไปในช่องว่างระหว่างถังเล็กและถังใหญ่ เมื่อแสงแดดส่องลงมาจะทาให้อุณหภูมิของอากาศภายในถัง
สูงข้ึน อากาศที่ถังด้านล่างจะยกตัวลอยสูงขึ้นด้านบน เกิดการดูดหมุนเวียนอากาศใหม่จากภายนอกเข้ามา
แทนท่ี ตัวถงั จงึ มอี อกซิเจนหมุนเวียนตลอดเวลา อกี ทง้ั ชอ่ งว่างระหว่างถงั ทัง้ 2 ใบเป็นฉนวนอากาศป้องกัน

17

ความร้อนได้ดีช่วยให้อุณหภูมิภายในถังหมักไม่สูงจนเกินไป ทาให้จุลินทีย์ที่ทาหน้าที่ในกระบวนการหมัก
ยังคงมีชีวติ อยู่ได้

นอกจากนี้สัตว์ที่เป็นผู้ย่อยสลายขนาดเล็ก เช่น ก้ิงกือ และไส้เดือนดินยังสามารถเคลื่อนท่ีผ่านรู
ตะแกรงของตระกร้า เพอื่ เข้าไปยอ่ ยสลายเศษอาหารได้อกี ทางหนง่ึ ด้วย ผลผลิตท่ไี ด้จากถังหมักรกั ษโ์ ลก คอื
ธาตอุ าหารต่างๆ ท่ีเกิดจากกระบวนการย่อยสลายของจุลินทรียแ์ ละสัตว์ในชนั้ ดินชนิดตา่ งๆ จะกระจายแพร่
ลงสู่ดินบริเวณรอบๆ ถังหมัก ทาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นการ
ปลูกผักบริเวณรอบๆ ถังหมักรักษ์โลก จงึ เป็นการปลูกตน้ ไม้โดยทไ่ี มต่ ้องใส่ป๋ยุ อีก เพียงแค่เรานาเศษอาหาร
เทเข้าไปในถังหมัก อาหารเหล่าน้ันก็จะเกิดกระบวนการหมัก และเติมธาตุอาหารเข้าไปในดินโดยอัตโนมตั ิ
ซึ่งปัจจุบันหลายหน่วยงานได้ส่งเสริมการใช้ถังขยะรักษ์โลกอย่างแพร่หลาย แต่หลายแห่งยังไม่เข้าใจใน
หลักการทางานทถี่ กู ต้องทาให้ถงั ที่ประดิษฐ์ขน้ึ ทางานไดไ้ ม่เตม็ ประสิทธิภาพ ซึง่ ปัจจุบันศนู ยฯ์ สริ ินาถราชินี
ไดจ้ ัดทาจดุ สาธิตถังขยะรักษ์โลกตน้ แบบท่ีถูกต้องตามหลกั วิชาการไว้ในพื้นทแี่ ละได้ทดลองใช้งานจริงอยู่ใน
ปัจจุบนั โดยผทู้ ส่ี นใจสามารถเข้ามาเรียนรู้หรือขอดตู น้ แบบถังขยะรกั ษ์โลกชดุ นีไ้ ด้

จะเห็นได้วา่ การทางานของถังขยะรักษ์โลก เป็นการเปลี่ยนภาระใหเ้ ป็นมูลค่า รวมท้ังสามารถช่วย
ลดปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนในระบบการจดั การขยะมูลฝอย ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ การจัดการขยะมลู ฝอย และลด
ปริมาณขยะมูลฝอยทต่ี อ้ งนาไปกาจัดลง ทาให้มกี ารใชพ้ นื้ ทฝี่ งั กลบซงึ่ เป็นสถานทส่ี ุดทา้ ยในการกาจัดมูลฝอย
น้อยลง และสามารถลดปัญหาสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่ตามมาไดอ้ ีกมาก แต่ไม่ว่าจะเป็นการใชถ้ งั
หมักรักษโ์ ลก หรอื ใชว้ ธิ กี ารกาจดั ขยะแบบใดๆ กต็ าม จะไม่สามารถทาไดส้ าเร็จเลย หากไมเ่ ริ่มตง้ั แต่ต้นทาง
ฉะน้ัน ส่ิงแรกที่ควรร่วมมือร่วมใจกันทาให้ได้ คือ การแยกขยะจากครัวเรือนของทุกบ้านให้ได้เสียก่อน ซึ่ง
เชอ่ื ว่าหากทุกคนเห็นความสาคญั ของปัญหาท่ีเกิดขึ้น และร่วมมือกันเรมิ่ จากตัวเองกอ่ น แลว้ ปลายทางก็จะ
จัดการปญั หาไดไ้ ม่ยากเลย

18

บทท่ี 3
ผลการประเมนิ

จากการจัดกิจกรรมโครงการ นั้น สามารถประเมินผลความสาเร็จของโครงการจัดกระบวนการ
เรยี นรเู้ พื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มให้แก่ประชาชน

ในพื้นที่ ตาบลบ้านตนุ่ ปงี บประมาณ 2564 วันท่ี 27 กรกฎาคม 2564 ณ อาคารเอนกประสงค์ หม่ทู ี่
5 ตาบลบา้ นตุ่น อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

1. ประเมินผลจากการมีสว่ นร่วมในการเข้าร่วมจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
2. ประเมนิ จากแบบประเมินความพงึ พอใจ
3. ประเมินจากจานวนกลมุ่ เป้าหมาย
ผลการดาเนินงานจากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาสังคม
และชุมชน โครงการการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ใหแ้ กป่ ระชาชนในพ้นื ท่ี ตาบลบ้านตุ่น

ปีงบประมาณ 2564 วันที่ 27 กรกฎาคม 2564 ณ อาคารเอนกประสงค์ หมทู่ ี่ 5 ตาบลบ้านตนุ่ อาเภอ
เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 25 คน มีความรู้ ในการคัดแยกขยะอย่างเป็น

ระบบตระหนักและเห็นความสาคัญของการคัดแยกขยะในครัวเรือนสามารถรณรงค์ขยายผลการจัด
กระบวนการเรยี นรใู้ นการรกั ษาดแู ลส่งิ แวดลอ้ มใหน้ า่ อยู่

ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถามจากผู้เข้ารบั การอบรม จานวนทง้ั สนิ้ 25 คน

ตารางท่ี 1 ผู้เข้ารบั การอบรม จาแนกตามเพศ รอ้ ยละ
เพศ จานวน (คน) 40
ชาย 10 60
หญิง 15 100
รวม 25

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้เข้ารบั การอบรมส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ มากทสี่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 60 ของ
จานวนผ้เู ขา้ รบั การอบรม

ตารางท่ี 2 ผู้เข้ารบั การอบรม จาแนกตามอายุ จานวน ร้อยละ
อายุ - -
-
15-29 ปี 7 28
30-39 ปี 8 32
40-49 ปี 10 40
50-59 ปี 25 100.00
60 ปีขนึ้ ไป

รวม

จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40
ของจานวนผูเ้ ขา้ รบั การอบรม

19

ตารางท่ี 3 ผเู้ ขา้ รบั การอบรม จาแนกตามอาชีพ

อาชพี จานวน ร้อยละ
-
รับจ้าง - -

ค้าขาย - 100
-
เกษตรกรรม 25 -

รับราชการ - 100.00

อ่ืนๆ (แมบ่ า้ น) -

รวม 25

จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีอาชีพ เกษตรกรรมมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 100 ของ
จานวนผู้เข้ารับการอบรม

ตอนที่ 1 แบบประเมินความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นผู้รบั บรกิ ารผปู้ ระเมนิ ไดแ้ ก่ ผเู้ ข้าร่วมโครงการทกุ คน

ตารางที่ 1 ด้านความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม กศน.

ดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมและความพึงพอใจของผเู้ รียน/ผรู้ ับบรกิ าร

แบ่งออกเป็น 2 ตอน

1. แบบทดสอบความรู้กอ่ นและหลงั การอบรมเป็นแบบปรนยั จานวน 10 ข้อ

ตารางเปรยี บเทยี บผลคะแนนจากการทาแบบทดสอบความรกู้ ่อนและหลงั การอบรมของผ้เู ข้ารับการอบรม

ขอ้ ท่ี แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น หมายเหตุ

ตอบถกู (คน)/ ตอบผิด(คน)/ ตอบถกู (คน)/ ตอบผดิ (คน)/

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

1. ขอ้ ใดเปน็ สาเหตทุ ี่สาคัญท่ีสุด 23 2 25 เพิ่มขึ้น

ของการเกิดปัญหาขยะมูลฝอย 92 8 100 2
8

2. ข้อใดเปน็ วธิ ที ่กี าจัดขยะได้ 22 3 25 เพม่ิ ข้นึ

ประโยชนม์ ากท่สี ดุ 88 12 100 3

12

3. เศษอาหารจัดเป็นขยะมูล 19 6 25 เพมิ่ ข้ึน

ฝอยประเภทใด 76 24 100 6

24

4. ข้อใดคอื ประโยชน์จากการทา 21 4 25 เพิม่ ขึ้น

ขยะอินทรีย์ 84 16 100 4

16

5. ถงั ขยะสใี ดทขี่ ยะสามารถ 19 6 25 เพ่ิมขน้ึ

นามารีไซเคิลได้ 76 24 100 6

24

6. ขอ้ ใดบอกความหมายของขยะ 20 5 25 เพมิ่ ขึ้น

อินทรีย์ ได้ถกู ต้อง 80 20 100 5

20

20

7. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของขยะ 21 4 25 เพ่มิ ขึ้น

อินทรยี ์ 84 16 100 4

16

8. ถังขยะ สเี หลอื ง หมายถึง 19 6 25 เพ่ิมขน้ึ

อะไร 76 24 100 6

24

9. ขยะอนั ตราย คือขยะประเภท 20 5 25 เพมิ่ ข้ึน

ใด 80 20 100 5

20

10. สารใดช่วยในการยอ่ ยสลาย 20 5 25 เพิม่ ขน้ึ

ขยะอนิ ทรีย์ 80 20 100 5

20

สรุป

ตอนที่ 1. แบบทดสอบความรู้กอ่ นและหลังการอบรมเป็นแบบปรนัย ทาเครอื่ งหมายกากบาทขอ้ ทถ่ี กู

จานวน 10 ขอ้

จากตาราง ผทู้ เี่ ขา้ รบั การอบรมมีคะแนนเพ่มิ ข้ึนจากก่อนการอบรม จานวน 10 ขอ้ คิดเป็นร้อยละ

100 ผ้เู ข้าอบรมมคี ะแนนมากทสี่ ุด คือขอ้ ท่ี 1 ข้อใดเปน็ สาเหตุท่ีสาคัญท่ีสุดของการเกิดปญั หาขยะมูลฝอย

จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 92 รองลงมา คือข้อที่ 2. ข้อใดเป็นวิธีท่ีกาจัดขยะได้ประโยชน์มากที่สดุ

จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 88 และข้อที่ 4. ข้อใดคือประโยชน์จากการทาขยะอินทรีย์ จานวน 21

คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 84 ตามลาดบั

ตอนท่ี 2 แบบประเมินความพึงพอใจของผเู้ รียนผู้รบั บรกิ ารผ้ปู ระเมนิ ไดแ้ ก่ ผ้เู ข้าร่วมโครงการทุกคน

ตารางที่ 1 ดา้ นความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม กศน.

ด้านกระบวนการจดั กิจกรรมและความพึงพอใจของผเู้ รยี น/ผู้รับบรกิ าร

คาชแ้ี จง 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 4 ตอน

2. โปรดแสดงเครื่องหมาย √ ในชอ่ งวา่ งระดบั ความพึงพอใจตามความคิดเหน็ ของทา่ น

ตอนท่ี ๒ ตารางแจกแจงแบบประเมินความพงึ พอใจตอ่ การจัดกจิ กรรม (ร้อยละของผเู้ ข้ารบั การอบรม)

ระดบั ความพึงพอใจ

ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ หมายเหตุ

มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สุด

ตอนที่ ๑ ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา

1 เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ 23/92 2/8

2 เนือ้ หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 21/84 4/16

3 เนอื้ หาปจั จุบันทันสมัย 20/80 5/20

4 เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพฒั นา 24/96 1/4

คณุ ภาพชีวติ

รอ้ ยละเฉลย่ี 88 12

21

ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 23/92 2/8
3/12
6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 22/88 5/20
3/12
7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 20/80 3/12
12.80
8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 22/88
1/4
9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 22/88 3/12
2/8
ร้อยละเฉลยี่ 87.20
8
ตอนที่ ๓ ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร
3/12
10 วิทยากรมีความรูค้ วามสามารถในเร่ืองทถ่ี า่ ยทอด 24/96 4/16
2/8
11 วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม 22/88
12
12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม 23/92

ร้อยละเฉล่ีย 92

ตอนท่ี ๔ ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก

13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก 22/88

14 การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ 21/84

15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 23/92

รอ้ ยละเฉลี่ย 88

22

บทท่ี 4
สรุปผลการประเมนิ

ตอนท่ี 1 แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลงั การอบรมเป็นแบบปรนัย ทาเครอื่ งหมายกากบาทขอ้ ท่ถี ูก
จานวน 10 ขอ้

จากตาราง ผ้ทู ่ีเข้ารับการอบรมมีคะแนนเพิ่มขึ้นจากก่อนการอบรม จานวน 10 ขอ้ คิดเป็นร้อยละ
100 ผเู้ ข้าอบรมมีคะแนนมากทส่ี ดุ คือขอ้ ท่ี 9. ขยะอนั ตราย คอื ขยะประเภทใด จานวน 23 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 92 รองลงมา คือข้อท่ี 2. ข้อใดเป็นวิธีท่ีกาจัดขยะได้ประโยชนม์ ากท่ีสุด จานวน 22 คน คิดเป็น

รอ้ ยละ 88

ตอนท่ี 2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการทุกคน

ผลการประเมนิ จากกลมุ่ เป้าหมายผเู้ ขา้ รว่ มอบรม จานวน 25 คน สรปุ ได้ดังน้ี

ผูเ้ ขา้ รว่ มอบรมสามารถนากระบวนการเรยี นร้เู พ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน เร่ือง “การอนุรกั ษ์

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม” ไปพฒั นาปรับปรุงชีวติ ความเปน็ อย่แู ละเพม่ิ รายได้ของครอบครัวใหด้ ี

ขน้ึ ได้

ระดับดีมาก จานวน 25 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00

ระดับดี จานวน -- คะแนน คดิ เป็นร้อยละ --

สรปุ ผเู้ ข้าร่วมอบรมสามารถนากระบวนการเรียนรู้เพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน เรอื่ ง “คิดกอ่ นท้ิง

รักษโ์ ลก ลดขยะ รกั ษาสิง่ แวดล้อม” นาไปพัฒนาปรบั ปรงุ ชีวิตความเปน็ อยู่และเพิ่มรายไดข้ องครอบครัวให้

ดขี ึ้นได้ จานวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 อยใู่ นระดบั ดีมาก แสดงวา่ ผู้เขา้ ร่วมอบรมสามารถนาความรู้

ไปปรบั ใชไ้ ด้

ผลการประเมินจากการกลุ่มเป้าหมายผู้อบรม จานวน 25 คน สรปุ ไดด้ งั น้ี

ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา
1. เนือ้ หาตรงตามความต้องการ

ระดบั มากทส่ี ดุ จานวน 23 คน คิดเปน็ ร้อยละ 92
ระดบั มาก จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดับน้อยทส่ี ดุ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรุป เนือ้ หาวิชาทีจ่ ัดการเรยี นรู้ตรงตามความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม อยใู่ นระดับมากที่สุด
จานวน 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92 แสดงว่าเนอื้ หาวิชาที่จดั การเรยี นรู้ตรงตามความตอ้ งการของผเู้ ข้ารับ
การอบรม

23

2. เนอ้ื หาเพียงพอต่อความตอ้ งการ

ระดับมากที่สดุ จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 84

ระดบั มาก จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ

ระดบั น้อยที่สุด จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรปุ เนอ้ื หาวิชาท่จี ดั เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของผู้เขา้ รับการอบรม อยูใ่ นระดับมากที่สดุ จานวน

21 คน คิดเป็นร้อยละ 84 แสดงว่าเน้ือหาวชิ าท่ีจัดการเรียนรู้เพยี งพอต่อความต้องการของผู้เข้ารบั การ
อบรม

3. เนื้อหาเป็นปจั จุบันทันสมัย

ระดบั มากทสี่ ดุ จานวน 20 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 80
ระดบั มาก จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20

ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ

ระดบั น้อยทส่ี ดุ จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
สรุป เนื้อหาวิชาท่ีจัดเป็นปัจจุบันทันสมัย อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ

80 แสดงว่าเนอ้ื หาวิชาที่จดั การเรียนรู้เปน็ ปจั จุบนั ทนั สมยั

4. เนอื้ หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

ระดบั มากที่สดุ จานวน 24 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 96
ระดบั มาก จานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดับนอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดับน้อยท่สี ุด จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรุป เน้ือหาวิชาที่จัดมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในระดับมากท่ีสุด
จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 96 แสดงวา่ เนอื้ หาวิชาทจี่ ัดการเรียนรู้มปี ระโยชนต์ ่อการนาไปใช้ในการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ

ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม
5. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม

ระดับมากที่สดุ จานวน 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92
ระดับมาก จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อยท่ีสดุ จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
สรปุ การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม อยู่ในระดับมากทสี่ ุด จานวน 23 คน คดิ เป็นร้อยละ 92
แสดงวา่ มกี ารเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม

24

6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์

ระดับมากที่สุด จานวน 22 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88

ระดบั มาก จานวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

ระดับน้อยทส่ี ดุ จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
สรุป การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 22 คน คิด

เป็นร้อยละ 88 แสดงวา่ การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์

7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา

ระดบั มากทสี่ ุด จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 80

ระดับมาก จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ

ระดับน้อย จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อยทสี่ ดุ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรุป การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ

80 แสดงวา่ การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา

8. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

ระดบั มากทีส่ ดุ จานวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 88
ระดบั มาก จานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ระดับนอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

ระดับน้อยท่ีสดุ จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ

สรุป การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดบั มากท่ีสุด จานวน 22 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 88 แสดงวา่ การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย

9. วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์

ระดบั มากท่ีสดุ จานวน 22 คน คิดเปน็ ร้อยละ 88
ระดบั มาก จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 12

ระดับปานกลาง จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ

ระดับนอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดบั นอ้ ยที่สดุ จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
สรุป วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 22 คน

คิดเป็นรอ้ ยละ 88 แสดงว่าการจดั กิจกรรมมีวธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์

25

ความพงึ พอใจต่อวิทยากร

10. วิทยากรมีความรูค้ วามสามารถในเรอื่ งทถ่ี า่ ยทอด

ระดบั มากทีส่ ุด จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 96

ระดับมาก จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ

ระดับน้อยที่สดุ จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
สรุป วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 24 คน

คดิ เป็นร้อยละ 96 แสดงวา่ วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเร่อื งท่ถี า่ ยทอด

11. วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม

ระดบั มากท่สี ุด จานวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 88
ระดบั มาก จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 12

ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ

ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ

ระดบั น้อยท่สี ุด จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
สรุป วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 22 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 88 แสดงว่าวทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม

12. วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซกั ถาม

ระดับมากทีส่ ดุ จานวน 23 คน คิดเปน็ ร้อยละ 92
ระดบั มาก จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดับน้อยที่สุด จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ

สรุป วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถาม อยใู่ นระดับมากท่ีสุด จานวน 23 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 92 แสดงว่าวทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซักถาม

ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก

13. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก

ระดบั มากที่สดุ จานวน 22 คน คิดเปน็ ร้อยละ 88
ระดับมาก จานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12

ระดับปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดบั น้อยท่สี ดุ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรุป สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 22 คน
คิดเป็นร้อยละ 88 แสดงว่าสถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และส่งิ อานวยความสะดวกมีความเหมาะสม

26

14. การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้

ระดับมากทส่ี ดุ จานวน 21 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 84

ระดบั มาก จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ

ระดับนอ้ ยทสี่ ุด จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรปุ การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ ให้เกิดการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ จานวน 21 คน

คดิ เป็นร้อยละ 84 แสดงว่าการจดั กิจกรรมมีการสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้

15. การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา

ระดับมากทส่ี ุด จานวน 23 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 92

ระดบั มาก จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ

ระดบั น้อย จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดับน้อยทสี่ ุด จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
สรปุ การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ จานวน 23 คน คดิ เป็น

ร้อยละ 92 แสดงวา่ การจดั กจิ กรรมมีการบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปญั หา

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ

-

ความคิดเหน็ เพม่ิ เติม
1. สง่ิ ดๆี / ความประทับใจดีๆ ท่ีไดร้ บั จากการไดเ้ ข้าร่วมกิจกรรม กศน.
ขอบคณุ กศน. อาเภอเมืองพะเยาและ กศน. ตาบลบา้ นตุน่ ที่จัดใหม้ ีการอบรมใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั

การส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง การบริหารจดั การขยะในชมุ ชน และการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม สามารถนาความรู้
ทไี่ ด้ปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวันไดจ้ รงิ

2. ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาปรับปรงุ การจดั กิจกรรม กศน.
ปญั หา
-
อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
อยากให้ กศน. มกี ารจัดฝกึ อบรม ทหี่ ลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสในการฝึกทกั ษะต่าง ๆ เป็นการ

พฒั นาการเรยี นรูท้ ต่ี อ่ เน่ือง

27

บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

กศน. ตาบลบ้านตนุ่ ได้จัดโครงการจัดกระบวนการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน เร่อื ง “การ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรทชาติและส่ิงแวดล้อม” ให้แก่ประชาชนตาบลบ้านตุ่น วันที่ 27 เดือน สิงหาคม พ.ศ.
2564 ณ อาคารเอนกประสงค์หมู่ท่ี 5 ตาบลบ้านตุ่น อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยมีผู้เข้ารับการ
อบรม จานวน 25 คน เกดิ ความตระหนัก และจติ สานึกในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม มี
ความรคู้ วามเขา้ ใจในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบรหิ ารจัดการนาและการบริหารจัดการขยะ ในชมุ ชนอย่าง
ถกู วิธี ชมุ ชนทมี่ ีสิ่งแวดล้อมท่ีดี มีการพฒั นาพนื ทส่ี ่งิ แวดล้อมให้เปน็ ระเบียบและสะอาด เป็นชมุ ชนทน่ี า่ อยู่น่า
มอง

จึงได้ทาการประเมินผลโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน เรื่อง “การ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม” โดยใช้แบบประเมินระดับความรู้และความพึงพอใจ โดยใช้
วิธกี ารเกบ็ ขอ้ มูลจากผูต้ อบแบบประเมิน จานวน 25 ชดุ จากผู้เข้าร่วมโครงการจานวน 25 คน คิดเป็นร้อย
ละ 100 ซ่ึงสามารถจาแนกได้ดังนี้

ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนากระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เรื่อง “การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม” มีความรู้ ในการคัดแยกขยะอย่างเป็นระบบเกิดความตระหนัก และ
จิตสานึกในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความร้คู วามเข้าใจในการนาเทคโนโลยีมาใชใ้ น
การบริหารจัดการนาและการบริหารจัดการขยะ ในชุมชนอย่างถูกวิธี ชุมชนที่มีส่ิงแวดล้อมท่ีดี มีการพัฒนา
พนื ที่ส่งิ แวดลอ้ มให้เป็นระเบียบและสะอาด เป็นชุมชนท่ีนา่ อยนู่ า่ มองจานวน 27 คน คิดเป็นรอ้ ยละ100

ผู้เข้ารบั การอบรมส่วนใหญ่ เปน็ เพศหญิง จานวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 60
ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ จานวน 10 คน อยู่ในช่วงอายุ 60 ปขี ้ึนไป ปมี ากที่สดุ คิดเปน็ ร้อยละ
40 แสดงว่าส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีความสนใจในกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้
เพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชน
ผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด 25 คน มีอาชีพเกษตรกรรม 25 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่า
ส่วนใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรม

แบบทดสอบความรูก้ ่อนและหลังการอบรมเป็นแบบปรนัย ทาเครื่องกากบาทหมายขอ้ ท่ถี ูก จานวน 10 ข้อ

จากตาราง ผทู้ ่ีเขา้ รับการอบรมมีคะแนนเพมิ่ ขึ้นจากก่อนการอบรม จานวน 10 ข้อ คดิ เป็นรอ้ ยละ
100 ผเู้ ขา้ อบรมมคี ะแนนมากที่สุด คือขอ้ ที่ 1 ข้อใดเปน็ สาเหตทุ ่ีสาคัญที่สุดของการเกิดปัญหาขยะมูลฝอย
จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 92 รองลงมา คือข้อท่ี 2. ข้อใดเป็นวิธีท่ีกาจัดขยะได้ประโยชน์มากทสี่ ดุ
จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 88 และข้อท่ี 4. ข้อใดคือประโยชน์จากการทาขยะอินทรีย์ จานวน 21
คน คดิ เปน็ ร้อยละ 84 ตามลาดบั

28

สรปุ ผลดังนี้

ผเู้ ข้ารบั การอบรมไดร้ ับความรู้เพือ่ นาไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ตลอดจนตระหนักถึงความสาคัญ
เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะในครัวเรอื น การคัดแยกขยะจากต้น
ทางอย่างจริงจัง โดยการอบรมให้ความรู้ เพ่ือให้เกิดรูปแบบการจัดการด้านขยะมูลฝอยท่ีมีประสิทธิภาพ
ยัง่ ยืน และเป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม และเพื่อใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมอบรมไดน้ าความรู้ไปใช้ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ต่อไป

แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการทุกคน จานวน 25 คน
1. การประเมนิ ดา้ นเนือ้ หา (จานวน 4 ข้อ)

ระดบั มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละเฉลี่ย 88
ระดับมาก คิดเปน็ รอ้ ยละเฉลยี่ 12
ระดับปานกลาง คิดเปน็ ร้อยละเฉลย่ี 0
ระดบั นอ้ ย คดิ เป็นร้อยละเฉลย่ี 0
ระดบั น้อยทส่ี ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละเฉล่ยี 0
สรปุ ผเู้ ขา้ รับการอบรมประเมินด้านการนาเนื้อหามาใชอ้ ยู่ในระดับมากถงึ มากที่สดุ คดิ เป็นร้อยละเฉล่ีย
88สงู กวา่ ดชั นีช้ีวัดความสาเรจ็ ทีต่ ้งั ไว้ แสดงวา่ ผู้เข้ารับการอบรมมีสว่ นร่วมในการนาหลักสูตรมาใชแ้ ละพึง
พอใจในการใช้เนอ้ื หาการอบรม

2. ด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม (จานวน 5 ข้อ)
ระดบั มากที่สดุ คิดเปน็ ร้อยละเฉลย่ี 87.20
ระดับมาก คิดเปน็ รอ้ ยละเฉลย่ี 12.80
ระดบั ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละเฉลีย่ 0
ระดบั นอ้ ย คิดเปน็ รอ้ ยละเฉลย่ี 0
ระดบั น้อยทสี่ ุด คดิ เปน็ ร้อยละเฉล่ยี 0

สรปุ ผู้เข้ารับการอบรมประเมนิ ดา้ นการจดั กระบวนการเรียนรอู้ ยู่ในระดบั มากถึงมากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อย
ละเฉลย่ี 87.20 สงู กวา่ ดชั นชี วี้ ัดความสาเรจ็ ท่ตี ้ังไว้ แสดงว่าผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามพงึ พอใจในการจดั
กระบวน การเรียนรใู้ นการอบรม

3. ดา้ นวิทยากรผู้ทาการอบรม (จานวน 3 ขอ้ )
ระดับมากที่สดุ คดิ เป็นร้อยละเฉล่ยี 92
ระดบั มาก คดิ เป็นร้อยละเฉลี่ย 8
ระดับปานกลาง คดิ เปน็ รอ้ ยละเฉลี่ย 0
ระดบั น้อย คิดเปน็ รอ้ ยละเฉล่ีย 0
ระดับนอ้ ยที่สดุ คิดเป็นรอ้ ยละเฉลี่ย 0

สรุป ผเู้ ขา้ รับการอบรมประเมนิ ดา้ นวิทยากร ผู้ทาการอบรมอยใู่ นระดับมากถงึ มากท่ีสดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ
เฉล่ียสงู กว่า 92 ดัชนชี ีว้ ดั ความสาเร็จท่ีตั้งไว้ แสดงว่า ผู้เข้ารบั การอบรมมีความพงึ พอใจในการดาเนนิ การ
อบรมใหค้ วามรู้ของวทิ ยากร

29

4. ด้านการอานวยความสะดวก (จานวน 3 ข้อ)
ระดับมากทส่ี ุด คิดเปน็ ร้อยละเฉลย่ี 88
ระดับมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละเฉล่ีย 12
ระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละเฉล่ยี 0
ระดบั นอ้ ย คิดเป็นร้อยละเฉลย่ี 0
ระดับน้อยทีส่ ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละเฉลี่ย 0

สรปุ ผ้เู ขา้ รบั การอบรมประเมินดา้ นการอานวยความสะดวก อยูใ่ นระดบั มากถงึ มากที่สดุ คดิ เป็นรอ้ ย
ละเฉล่ยี 88 สูงกว่าดัชนีช้วี ดั ความสาเร็จท่ีต้งั ไว้ แสดงว่า ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความพงึ พอใจในการอบรม มี
ความรคู้ วามเข้าใจในการจัดกิจกรรมอบรมครง้ั น้ี

แนวทางการดาเนินงานครั้งต่อไป
ดา้ นครผู สู้ อน/วทิ ยากรผจู้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ควรจัดกิจกรรมกระบวนการที่หลากหลายและน่าสนใจ เพ่ือสร้างบรรยายในการจัด
กจิ กรรมขนั้ ตอนกระบวนการจัดกิจกรรม
- มี สื่อ อปุ กรณ์ ทเ่ี อ้ือประโยชน์และสนบั สนุนการเรยี นรูข้ องผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมทหี่ ลากหลาย
- การอานวยความสะดวกในดา้ นอาคารและสถานท่ี

ปัญหาและอปุ สรรค
1. ผู้เข้ารว่ มอบรมมเี วลาในการเข้าร่วมกจิ กรรมนอ้ ย
2. มีความรเู้ กีย่ วกบั การคัดแยกขยะท่แี ตกต่างกนั

แนวทางการแก้ไขปญั หา
1. ในการอบรมครัง้ ตอ่ ไปตอ้ งปรบั ทศั นคติและเตรยี มความพร้อมในการเขา้ รับการอบรม

ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาโครงการ
1. เน้นกจิ กรรมกลุม่ แบบมสี ่วนรว่ ม
2. เน้นกิจกรรมโดยให้ประชาชนไดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ ตามสถานการณ์

ภาคผนวก

กจิ กรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาสังคมและชมุ ชน
“การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม”
ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 5 ตาบลบ้านต่นุ อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา







คณะผ้จู ัดทา

ทปี่ รกึ ษา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา
ครู ผู้ชว่ ย
1. นางจารณุ ี แก้วประภา บรรณารกั ษ์ชานาญการ
2. นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสงั ข์
3. นางสาวเมธาพร ฝอยทอง ครูอาสาสมัครฯ
ครู กศน.ตาบลบ้านตุ่น
คณะทางาน
ครู กศน.ตาบลบ้านตุ่น
1. กศน.อาเภอเมืองพะเยา
2. นางกรชนก ตาปัญโญ
3. นางสาววมิ ลพรรณ จนั ทร์ขาว

ผู้พมิ พ/์ ออกแบบรปู เลม่

นางสาววิมลพรรณ จนั ทร์ขาว


Click to View FlipBook Version