สรปุ ผลการดาเนินงาน
การจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน
โครงการ การสง่ เสรมิ การใช้พลังงานทดแทนเพือ่ ลดรายจา่ ยในครัวเรือน
วนั ที่ 15 กันยายน 2564
ณ อาคารเอนกประสงค์ หม่ทู ่ี 11
ตาบลบา้ นตุน่ อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา
จัดทาโดย
นางสาววมิ ลพรรณ จันทร์ขาว
ครู กศน.ตาบลบ้านตุ่น
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองพะเยา
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดพะเยา
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก
คำนำ
เอกสารฉบบั นี้ จัดทาขึน้ เพ่ือสรุปผลการดาเนินงานการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคม
และชุมชน โครงการสง่ เสริมการใช้พลงั งานทดแทนเพ่อื ลดรายจ่ายในครัวเรอื น ซ่ึงไดด้ าเนินการจดั
โครงการในวันที่ 15 กันยายน 2564 ณ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 11 ตาบลบ้านตุ่น อาเภอ
เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยการจัดกิจกรรมโครงการในรูปแบบของการบรรยายให้ความรู้และ
ฝึกปฎิบัติ เพ่ือประชาชนรู้จักและใช้พลังงานทดแทนและรู้คุณค่าของพลังงานทางธรรมชาติและ
เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานและลดภาวะปัญหาโลกร้อนจากการเผาไหม้ ด้วยการนาวัสดุ
เหลอื ใชท้ าง การเกษตรมาผลิตเปน็ กา๊ ชชีวมวลทดแทนเพอ่ื ลดค่าใช้จ่ายดา้ นพลงั งานของครัวเรือน
กศน.ตาบลบ้านตุ่น ขอบพระคณุ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา ทีไ่ ด้อนุมตั งิ บประมาณในการ
ดาเนนิ การจดั กิจกรรมในคร้ังน้ี ผู้จัดทาโครงการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสรุปผลการดาเนินงานการจัด
การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน เร่ือง “การส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อลดรายจ่าย
ในครัวเรอื น” จะเปน็ ประโยชน์ในการดาเนนิ งานในโอกาสตอ่ ไป
นางสาววิมลพรรณ จันทรข์ าว
ครู กศน. ตาบลบา้ นต่นุ
สำรบญั ข
คานา หนา้
สารบัญ
บทท่ี 1 บทนา 1
บทที่ 2 เนื้อหาที่เกย่ี วข้อง 3
บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ งาน 6
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 21
ภาคผนวก
* โครงการที่ไดร้ ับอนมุ ัติ
* รายช่อื ผู้ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการอบรมฯ
* ประมวลภาพการดาเนินกิจกรรม
1
บทท่ี 1
บทนา
ความเปน็ มา
ประเทศไทยได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาพลังงานทดแทนจากชีวมวล เนื่องจากพลังงานจากชีว
มวลน้ันสอดคล้องกับองค์ประกอบต่างๆ ของไทย ไม่ว่าจะเป็นทางด้านวัตถุดิบซึ่งประเทศไทยมีชีวมวลจาก
เกษตรกรรมจานวนมาก นอกจากนี้ประเทศยังพ่ึงพิงการนาเข้าน้ามันดิบจากต่างประเทศในระดับสูง และ
การพัฒนาพลังงานทดแทนจากชีวมวลจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดการสร้างงานและรายได้ให้กับคนในภาค
เกษตรกรรมและพัฒนาความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ และมุ่งหวังให้การพัฒนาโครงการ
ชีวมวลจะสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนได้อีกด้วย ซึ่งปัจจุบันนโยบายของ
ภาครัฐที่ชัดเจนและมีการส่งเสริมและสนับสนุนพลังงานหมุนเวียนอย่างจริงจังและเป็นประเทศแรกๆของ
เอเชียที่มีนโยบายส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนได้แก่มาตรการแก้ไขหรือปรับปรุงระเบียบให้สอดคล้องกับ
พลังงานหมุนเวียน รวมถึงการกาหนดระเบียบเฉพาะสาหรับพลังงานหมุนเวียน เพื่อให้มีความชัดเจนและ
เป็นไปตามมาตรฐานสากลเร่ือยมา และมาตรการสนับสนุนทางด้านการเงินเพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พลังงาน
หมุนเวียนมากข้ึน โดยลักษณะของมาตรการจูงใจจะอยู่ในระดับท่ีเหมาะสมเอื้อต่อการพัฒนาและเป็นธรรม
ตอ่ ประชาชนทกุ ภาคสว่ น
กศน.ตาบลบ้านตุ่น ได้เล็งเห็นถึงปัญหาของสภาพแวดล้อมในชุมชนในการใช้ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่
มีอยู่อย่างกาจัด ประกอบกับสภาพพ้ืนท่ีบริบทของชุมชนเป็นพื้นที่การเกษตรทาใหม้ ีแหล่งพลังงานเช้ือเพลงิ
มากขึ้น เช่น ไม้ ถ่านไม้ ถ่านหิน แกลบ และข้ีเล่ือย และวัสดุท่ีเหลือใช้ทางการเกษตรท่ีสามารถติดไฟได้ จึง
ได้จัดทาโครงการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน เพื่อเป็นพ้ืนฐานการรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และการใช้พลังงานทดแทนที่สามารถใช้ได้ในครัวเรือนได้อย่าง
เหมาะสม ตอ่ ไป
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือให้ประชาชนรจู้ ักและใชพ้ ลงั งานทดแทนและร้คู ุณค่าของพลังงานทางธรรมชาติ
2. เพ่ือลดปัญหาการขาดแคลนพลงั งานและลดภาวะปญั หาโลกร้อนจากการเผาไหม้ ดว้ ยการนา
วสั ดุเหลอื ใชท้ าง การเกษตรมาผลิตเป็นแก๊สชีวมวลทดแทน
3. เพอ่ื ลดคา่ ใชจ้ า่ ยด้านพลงั งานของครวั เรอื น
เปา้ หมาย (OUTPUT)
เชงิ ปริมาณ ประชาชนตาบลบ้านตุ่น จานวน 25 คน
เชิงคุณภาพ ประชาชนรู้จักและใชพ้ ลังงานทดแทนและรู้คุณคา่ ของพลังงานทางธรรมชาติและเพื่อลด
ปัญหาการขาดแคลนพลงั งานและลดภาวะปัญหาโลกรอ้ นจากการเผาไหม้ ดว้ ยการนาวสั ดุเหลือใช้ทาง การเกษตร
มาผลติ เปน็ กา๊ ชชีวมวลทดแทนเพอ่ื ลดค่าใช้จ่ายด้านพลงั งานของครวั เรอื น
2
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
- นางสาววิมลพรรณ จนั ทรข์ าว ครู กศน.ตาบลบา้ นต่นุ
- นางกรชนก ตาปญั โญ ครู อาสาสมคั ร
เครอื ขา่ ย
- องคก์ ารบริหารส่วนตาบลบ้านตุน่
โครงการทเี่ กยี่ วข้อง
โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาชมุ ชนและสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนร้จู กั และใช้พลงั งานทดแทนและรู้คุณค่าของพลังงานทางธรรมชาติและเพ่ือลดปัญหาการ
ขาดแคลนพลงั งานและลดภาวะปัญหาโลกรอ้ นจากการเผาไหม้ ดว้ ยการนาวัสดเุ หลือใช้ทาง การเกษตรมาผลติ
เป็นกา๊ ชชีวมวลทดแทนเพื่อลดค่าใชจ้ ่ายดา้ นพลงั งานของครวั เรือน
13. ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จของโครงการ
- รอ้ ยละ 80 ประชาชนท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
- การสงั เกตการมสี ว่ นรว่ ม
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ การตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจสาหรับผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม
3
บทท่ี 2
วธิ ดี าเนินงาน
รปู แบบการจัดกจิ กรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน
โครงการส่งเสรมิ การใชพ้ ลังงานทดแทนเพื่อลดรายจา่ ยในครัวเรอื น วันท่ี 15 กันยายน ๒๕๖4 ณ อาคาร
เอนกประสงค์ หมู่ท่ี 11 ตาบลบ้านตนุ่ อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา มรี ายละเอยี ดดังนี้
กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมายและเปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมา
กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย
1.ประชุมวางแผนการ ดาเนิน ณ
ดาเนนิ กจิ กรรม
การ
-เพอ่ื วางแผนการจดั กจิ กรรม ครู กศน.ตาบล จานวน 2 กศน. 9 -
ตามโครงการ บา้ นตุ่น คน
-เพอ่ื กาหนดผู้รับผิดชอบงาน ตาบลบา้ น กนั ยายน
ตามบทบาทหนา้ ท่ี ครอู าสาสมัคร
กาหนดรปู แบบวธิ กี ารจดั ตนุ่ 2564
กิจกรรม
ดาเนินการจัดโครงการ - ประชาชน จานวน อาคาร 15
25 คน เอนกประ กนั ยายน
สง่ เสรมิ การใช้พลงั งาน 1.เพอ่ื ใหป้ ระชาชนรูจ้ ักและใช้ ตาบลบ้านตุน่ สงค์ หมูท่ ี่ 2564 4,200.-
11
ทดแทนเพ่ือลดรายจา่ ย พลังงานทดแทนและรคู้ ณุ คา่ จานวน 25
ป
ในครัวเรือน ของพลังงานทางธรรมชาติ คน ร
ะ
อบรมบรรยายให้ความรู้ 2.เพื่อลดปัญหาการขาดแคลน ช
า
- ความสาคัญของ พลังงานและลดภาวะปัญหา ช
น
พลงั งาน และวธิ กี าร โลกรอ้ นจากการเผาไหม้ 2
อนรุ กั ษ์พลังงาน ด้วยการนาวสั ดุเหลือใชท้ าง
- ถังหมักก๊าชธรรมชาติ การเกษตรมาผลิตเปน็ แกส๊
จากขยะอนิ ทรีย์ ชวี มวลทดแทน
- ระบบบ่อหมักผลติ ก๊าช 3. เพื่อลดค่าใชจ้ า่ ย
ชีวภาพ ด้านพลงั งานของครวั เรือน
- การใช้พลงั งานทดแทน
- เตาแกลบชวี มวล
- ถา่ นอดั แท่งไร้ควัน
4
กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พื้นทดี่ าเนนิ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม
และเปา้ หมาย การ หลกั
3. สรุปและรายงานผล เพื่อติดตามและตรวจสอบ กศน.อาเภอ เจา้ หนา้ ที่ กศน. 20
เกีย่ วข้อง อาเภอ กันยายน
การดาเนินงาน ความสาเรจ็ ของโครงการเพ่ือ เมอื งพะเยา เมือง 2564 -
พะเยา -
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
4. นิเทศ/ติดตามผล/ -เพอ่ื ทราบความกา้ วหน้า ประชาชนท่เี ข้า เจา้ หนา้ ที่ ตาบลบา้ น 30
รายงานผลการจดั ตนุ่ กันยายน
กจิ กรรม/สรปุ ผลและ พรอ้ มปรับปรงุ พฒั นาผลการ ร่วมโครงการ เก่ยี วข้อง
นามาปรบั ปรงุ แก้ไข 2564
ดาเนนิ งาน จานวน 25 คน
วงเงินงบประมาณทงั้ โครงการ
จากแผนงาน: พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษา
นอกระบบกิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ค่าจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน รหัสงบประมาณ
2000236004000000 จานวนเงนิ 4,200 บาท (สพี่ ันสองร้อยบาทถ้วน) เพอ่ื เป็นคา่ ใช้จ่ายรายละเอียดดังน้ี
1. คา่ อาหารกลางวัน อาหารวา่ งและเครอ่ื งดมื่
- คา่ อาหารกลางวนั จานวน 25 คนx 70 บาท x 1 มื้อ เปน็ เงนิ 1,750 บาท
- ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม จานวน 25 คนx 25 บาท x 2 ม้อื เปน็ เงนิ 1,250 บาท
2. คา่ วทิ ยากร จานวน 1 คน x 4 ช่ัวโมงๆละ 300 บาท เปน็ เงิน 1,200 บาท
รวมเป็นเงินทั้งส้ิน 4,200 บาท
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
กิจกรรมหลัก ต.ค.63 - ธ.ค. ม.ค.64 - ม.ี ค. เม.ย.64 - มิ.ย.64 ก.ค.64 - ก.ย.
โครงการส่งเสริมการใชพ้ ลงั งานทดแทนเพ่อื 63 64 - 64
ลดรายจ่ายในครวั เรือน
- - 4,200.-
5
กาหนดการฝกึ อบรม
โครงการสง่ เสรมิ การใชพ้ ลังงานทดแทนเพ่ือลดรายจ่ายในครวั เรือน
ณ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 11 ตาบลบา้ นตนุ่ อาเภอเมืองพะเยา จังหวดั พะเยา
.......................................................................
วันท่ี 15 กันยายน ๒๕๖4
๐8.0๐ – ๐8.3๐ น. ลงทะเบียนร่วมกจิ กรรม/ตรวจคัดกรองผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมตามมาตรการใน
การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โควิด - 19
๐8.3๐ - 09.00 น. พธิ เี ปดิ โครงการการจดั กระบวนการเรียนรู้
“โครงการส่งเสริมการใชพ้ ลงั งานทดแทนเพื่อลดรายจา่ ยในครวั เรือน”
(โดย นางจารุณี แก้วประภา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา)
๐9.0๐ - 10.00 น. บรรยายพิเศษ เร่อื ง พลงั งานทดแทนและการหมนุ เวยี นกลับมาใชใ้ หม่
(โดย นายรฐั วุฒิชยั ใจกล้า นายกองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านตุ่น)
10.0๐ - 12.00 น. อบรมบรรยายใหค้ วามรู้
- ความสาคญั ของพลงั งาน และวิธีการอนรุ ักษ์พลังงาน
- ถังหมกั ก๊าชธรรมชาตจิ ากขยะอินทรยี ์
- ระบบบ่อหมักผลติ กา๊ ชชีวภาพ
(โดย นายปรีชา ใจบาล อาสาสมคั รพลังงานชุมชน)
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – 15.๐๐ น. อบรมบรรยายให้ความรู้
- การใชพ้ ลังงานทดแทน
- เตาแกลบชีวมวล
- ถ่านอดั แท่งไร้ควนั
(โดย นายปรีชา ใจบาล อาสาสมัครพลงั งานชุมชน)
๑5.๐๐ - 16.0๐ น. สรปุ องค์ความรู้ โครงการการจดั กระบวนการเรียนรู้
“โครงการสง่ เสริมการใช้พลงั งานทดแทนเพื่อลดรายจา่ ยในครัวเรอื น”
๑6.๐๐ - 16.3๐ น. พธิ ปี ิดโครงการ
6
บทที่ 3
เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง
หนึ่งในปัญหาของโลกเราท่ีดาเนินเกิดขึ้นมาอย่างเนิ่นนาน น่ันก็คือ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหา
ส่ิงแวดล้อมเกิดจากการที่มนุษย์ได้นาทรัพยากรจากธรรมชาติมาใช้ จนเกิดการเผาไหม้ข้ึนไปบนช้ัน
บรรยากาศ หรอื ปัญหาการทิ้งขยะเน่าลงในแมน่ ้าลาคลอง จนนา้ เกิดความเน่าเสยี ทาลายระบบนิเวศในน้า
ก่อให้เกิดก๊าซพิษ เป็นต้น เพราะฉะน้ันมันถึงเวลาแล้วที่เราทุกคนจะต้องหันมาตระหนัก และร่วมมือร่วมใจ
กันเพ่ือชว่ ยอนรุ ักษ์ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมให้คงอยสู่ บื ต่อไป วธิ ีการที่เรายกมาแนะนาให้คุณปฏิบตั ติ ามใน
วันนี้เป็นวธิ ีเรียบง่าย สามารถทาได้ในชีวิตจริงอย่างไม่ลาบาก รวมท้ังคุณสามารถปลูกฝังลูกหลานใหท้ าตาม
ได้อกี ดว้ ย
10 วิธีการช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
1.หม่นั ดแู ลรักษารถยนต์
การดูแลรักษารถยนต์ของคณุ จะต้องทาอย่างสมา่ เสมอ ได้แก่ การเปลยี่ นถ่ายนา้ มนั เคร่ือง ,
เปลี่ยนไสก้ รอง ตามกาหนด การเปลย่ี นไสก้ รอง จะทาให้การไหลของอากาศสะอาดดขี นึ้ แน่นอนวา่ มนั ย่อม
สง่ ผลตอ่ การเผาไหมข้ องเคร่ืองยนตด์ ้วย เปน็ การช่วยรกั ษารถยนต์ ลดมลพษิ ได้อยา่ งดีเยี่ยม
2.ลดการใชไ้ ฟฟา้
เช่นในตอนกลางวนั เราอาจเปิดหน้าตา่ งเพ่ือรับแสงอาทติ ย์เขา้ มาสอ่ งสวา่ งในตัวบ้าน แทนการใช้ไฟ
นอกจากนี้แสงอาทติ ยย์ งั ช่วยฆา่ เชือ้ โรคตา่ งๆ ทเ่ี รามองไม่เห็นไดอ้ ีกด้วย
3.นาถุงพลาสตกิ กลบั มาใชซ้ ้า
ถงุ พลาสติกทเี่ ราได้มาจากเวลาไปตลาด หรือห้างสรรพสินค้าตา่ งๆ นาถุงนน้ั กลบั มาใชซ้ ้าเปน็ ถงุ
ขยะ
7
4.ใชถ้ ุงผ้า
การใช้ถุงผา้ เปน็ เร่ืองรณรงคก์ ันมานานมากแลว้ อย่างตัวผ้เู ขียนเองกช็ อบผบั ถุงผ้าเล็กๆ ใส่ไว้ใน
กระเปา๋ ถือเสมอ เพราะถุงพลาสตกิ ที่บา้ นเกบ็ จนลน้ ตแู้ ลว้ เวลาเราซือ้ อะไรก็ใชถ้ ุงผา้ นีแ่ หละในการชอ็ ปปง้ิ
นอกจากจะเป็นการลดการใชพ้ ลาสตกิ แลว้ เด๋ยี วน้รี ้านค้าบางแหง่ ยังเพ่มิ แต้มในบตั รสะสมคะแนนเม่ือคณุ ไม่
รบั ถงุ อีกด้วย
5. สร้างพ้ืนทส่ี เี ขยี วในบา้ น
รม่ เงาของต้นไม้สามารถช่วยประหยัดพลังงาน ของเคร่ืองปรับอากาศภายในบ้าน ลดลงไดถ้ ึง 50%
นอกจากน้ใี นฤดูร้อนต้นไม้จะทาบ้านรม่ เย็นมากขน้ึ ยิง่ บ้านร่มเยน็ กไ็ มจ่ าเป็นต้องเปดิ แอร์ตลอดเวลา
6.เลอื กหลอดประหยดั พลังงานไฟฟา้
การใชห้ ลอดประหยัดพลังงานไฟฟา้ ใน 1 หลอด เม่ือเทียบกบั หลอดพลังงานไฟฟา้ แบบฟูลออเรส
เซนต์ สามารถช่วยประหยัดถ่านหนิ หนกั ไปไดม้ ากถึง 272 กิโลกรัม ตลอดอายขุ องหลอดไฟนน้ั
7.อยา่ เผาเศษใบไม้
ในเศษใบไม้ของ 1 ต้น ถา้ คุณเลือกเผากจ็ ะทาให้ เกดิ กา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ ถงึ 80 กิโลกรมั ฝุ่น
18 กิโลกรัม เพราะฉะนั้นเศษใบไม้ท่ีกวาดแล้ว ใหใ้ ชท้ าปุ๋ยหมกั หรือนาไปสุมไว้บรเิ วณโคนตน้ ไม้ จะได้
กลายเปน็ ปุ๋ยสืบต่อไป
8.ไปทางานด้วยจักรยาน
สาหรับคนทบ่ี ้านใกล้อย่ทู ่ีทางาน อยากให้ลองเปล่ียนมาใช้จกั รยานเปน็ พาหนะดู นอกจากจะช่วย
ประหยดั ค่ารถแล้ว ยงั เป็นการออกกาลังกายไปในตัวอีกด้วย
9.ใช้ผา้ แทนทิชชู่
ผ้าเปยี กนามาเช็ดคราบสกปรกบางอย่างแทนกระดาษทิชชู่ เชน่ คราบอาหารบนโตะ๊ , น้าหกลงพื้น
ลดการใช้ต้นไม้มาทากรดาษ
10.แยกขยะ
ผลิตภัณฑบ์ างประเภทสามารถนากลบั มาใชใ้ หม่ได้ คณุ ควรแยกเอาไว้ตา่ งหาก เพ่ือความสะอาด
และเปน็ ระเบยี บนอกจากน้ีคุณยังขายพวกมันเปลีย่ นเป็นเงินได้อีกตา่ งหาก เชน่ ขวดน้าพลาสติก ,
หนังสือพิมพ์ , ขวดแกว้ เปน็ ต้น
8
การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งปัจจุบันได้มีการคิดค้นเทคโนโลยี และถูก
นามาใช้อย่างแพรห่ ลาย
การผลิตก๊าซชีวภาพส่วนใหญ่จะแยกตามแหล่งที่มาของน้าเสีย ได้แก่ ฟาร์มเล้ียงสัตว์ (Farm/manure
waste) ของเสียจากอุตสาหกรรม (Industrial waste) ขยะมูลฝอยและครัวเรือน (Municipal Solid
Waste, MSW/Household) ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจะใช้กระบวนการย่อยสลายทาง
ชีววิทยาแบบไม่ใช้อากาศ (Anaerobic process) ภายในบ่อหมัก โดยแบ่งตามอัตราการย่อยสลายอินทรีย์
ได้ 2 ระดบั คอื อัตราการย่อยสลายอนิ ทรียต์ า่ (Low rate) และสูง (High rate) สาหรับมลู สัตว์ ดงั นี้
1.บ่อหมักไร้ออกซิเจนแบบช้า (Low rate anaerobic reactor) มีอยู่ด้วยกัน 3 รูปแบบ คือ แบบโดมคงท่ี
(Fixed dome digester) แบบฝาครอบลอย (Floating drum digester) และแบบรางขนาน (Plug flow
digester) ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ แบบพลาสติกคลุมบ่อดิน (Cover lagoon) และแบบพลาสติกคลุมราง บ่อ
หมักไรอ้ อกซเิ จนแบบชา้ จะต้องใชพ้ ืน้ ทีใ่ นการติดตงั้ อปุ กรณ์มาก เพราะต้องใชเ้ วลาในการกกั เก็บนา้ สูง
1.1 แบบโดมคงท่ี (Fixed dome digester) จะสร้างด้วยคอนกรีตฝังอยู่ในดิน มีท่อเพื่อเติมมูลสัตว์และท่อ
ให้มูลสัตว์ไหลออก ส่วนเก็บก๊าซสร้างด้วยคอนกรีตติดกับบ่อหมัก ซึ่งแรงดันของก๊าซไม่คงท่ี ขึ้นอยู่กับ
ปริมาตรของกา๊ ซภายในบ่อ
1.2 แบบฝาครอบลอย (Floating drum digester) ใช้ในการจัดมูลของสัตว์เลี้ยงที่กองอยู่ใต้ถุนบ้าน และ
แก้ปญั หาดา้ นสขุ อนามัยกาจัดแหล่งเพาะพนั ธ์เุ ชื้อโรค กา๊ ซชวี ภาพทเี่ กิดขึน้ ถอื วา่ เป็นเพียงผลพลอยได้
9
การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์มีหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงปัจจุบันได้มีการคิดค้นเทคโนโลยี และถูก
นามาใช้อยา่ งแพร่หลาย
การผลิตก๊าซชีวภาพส่วนใหญ่จะแยกตามแหล่งที่มาของน้าเสีย ได้แก่ ฟาร์มเล้ียงสัตว์ (Farm/manure
waste) ของเสียจากอุตสาหกรรม (Industrial waste) ขยะมูลฝอยและครัวเรือน (Municipal Solid
Waste, MSW/Household) ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจะใช้กระบวนการย่อยสลายทาง
ชีววิทยาแบบไม่ใช้อากาศ (Anaerobic process) ภายในบ่อหมัก โดยแบ่งตามอัตราการย่อยสลายอินทรีย์
ได้ 2 ระดบั คอื อัตราการย่อยสลายอินทรีย์ตา่ (Low rate) และสงู (High rate) สาหรบั มูลสัตว์ ดงั นี้
1.บ่อหมักไร้ออกซิเจนแบบช้า (Low rate anaerobic reactor) มีอยู่ด้วยกัน 3 รูปแบบ คือ แบบโดมคงท่ี
(Fixed dome digester) แบบฝาครอบลอย (Floating drum digester) และแบบรางขนาน (Plug flow
digester) ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ แบบพลาสติกคลุมบ่อดิน (Cover lagoon) และแบบพลาสติกคลุมราง บ่อ
หมักไร้ออกซิเจนแบบช้าจะตอ้ งใช้พืน้ ทใ่ี นการติดต้งั อปุ กรณ์มาก เพราะตอ้ งใช้เวลาในการกักเกบ็ นา้ สูง
1.1 แบบโดมคงที่ (Fixed dome digester) จะสร้างด้วยคอนกรีตฝังอยู่ในดิน มีท่อเพื่อเติมมูลสัตว์และท่อ
ให้มูลสัตว์ไหลออก ส่วนเก็บก๊าซสร้างด้วยคอนกรีตติดกับบ่อหมัก ซึ่งแรงดันของก๊าซไม่คงท่ี ข้ึนอยู่กับ
ปริมาตรของกา๊ ซภายในบ่อ
10
1.2 แบบฝาครอบลอย (Floating drum digester) ใช้ในการจัดมูลของสัตว์เลี้ยงท่ีกองอยู่ใต้ถุนบ้าน และ
แกป้ ัญหาด้านสุขอนามยั กาจดั แหลง่ เพาะพันธ์ุเช้อื โรค ก๊าซชีวภาพที่เกิดขึน้ ถือว่าเปน็ เพยี งผลพลอยได้
การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์มีหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงปัจจุบันได้มีการคิดค้นเทคโนโลยี และถูก
นามาใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย
การผลิตก๊าซชีวภาพส่วนใหญ่จะแยกตามแหล่งท่ีมาของน้าเสีย ได้แก่ ฟาร์มเล้ียงสัตว์ (Farm/manure
waste) ของเสียจากอุตสาหกรรม (Industrial waste) ขยะมูลฝอยและครัวเรือน (Municipal Solid
Waste, MSW/Household) ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจะใช้กระบวนการย่อยสลายทาง
ชีววิทยาแบบไม่ใช้อากาศ (Anaerobic process) ภายในบ่อหมัก โดยแบ่งตามอัตราการย่อยสลายอินทรีย์
ได้ 2 ระดับ คอื อัตราการยอ่ ยสลายอนิ ทรยี ์ต่า (Low rate) และสงู (High rate) สาหรบั มลู สัตว์ ดงั น้ี
1.บ่อหมักไร้ออกซิเจนแบบช้า (Low rate anaerobic reactor) มีอยู่ด้วยกัน 3 รูปแบบ คือ แบบโดมคงท่ี
(Fixed dome digester) แบบฝาครอบลอย (Floating drum digester) และแบบรางขนาน (Plug flow
digester) ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ แบบพลาสติกคลุมบ่อดิน (Cover lagoon) และแบบพลาสติกคลุมราง บ่อ
หมักไร้ออกซเิ จนแบบชา้ จะตอ้ งใชพ้ น้ื ทีใ่ นการติดตงั้ อปุ กรณ์มาก เพราะตอ้ งใชเ้ วลาในการกกั เกบ็ นา้ สงู
1.1 แบบโดมคงที่ (Fixed dome digester) จะสร้างด้วยคอนกรีตฝังอยู่ในดิน มีท่อเพื่อเติมมูลสัตว์และท่อ
ให้มูลสัตว์ไหลออก ส่วนเก็บก๊าซสร้างด้วยคอนกรีตติดกับบ่อหมัก ซึ่งแรงดันของก๊าซไม่คงท่ี ข้ึนอยู่กับ
ปริมาตรของกา๊ ซภายในบ่อ
11
1.2 แบบฝาครอบลอย (Floating drum digester) ใช้ในการจัดมูลของสัตว์เล้ียงท่ีกองอยู่ใต้ถุนบ้าน และ
แก้ปัญหาด้านสุขอนามัยกาจัดแหลง่ เพาะพนั ธุ์เชอื้ โรค กา๊ ซชีวภาพทเ่ี กดิ ขึ้นถอื ว่าเปน็ เพียงผลพลอยได้
1.3 แบบรางขนาน (Plug flow digester) ประกอบด้วย แบบพลาสติกคลุมบ่อดิน (Cover lagoon) มีการ
นาถุงยางเก็บก๊าซมาสร้างครอบไปบนบ่อรวบรวมมูลสัตว์ท่ีมีอยู่แล้ว ซ่ึงอาจเป็นบ่อคอนกรีตหรือดินขุดก็ได้
ในกรณที ีเ่ ป็นบอ่ ดนิ ขดุ อาจปแู ผน่ ยางท่ใี ชป้ สู ระเกบ็ นา้ มาปทู ับ เพอื่ มิให้เกดิ การรวั่ ซึมของของเสยี ลงใตด้ ิน
แบบพลาสตกิ คลุมราง (Channel digester)
เป็นบ่อคอนกรีตท่ีมีรูปร่างยาวคล้ายรางหรือคลองส่งน้า บนบ่อหมักมีพลาสติกคลุมเพื่อใช้เก็บก๊าซชีวภาพ
ตัวบ่อหมักจะถูกฝังอยู่ในดิน มีท่อเติมมูล และท่อเติมมูลและท่อนามูลออกอยู่ทางหัวและท้ายบ่อ เน่ืองจาก
ใช้พลาสติกเป็นตวั เกบ็ กา๊ ซ ดังนน้ั จึงมแี รงดันกา๊ ซค่อนขา้ งตา่ จาเป็นตอ้ งมีอุปกรณเ์ พ่ิมแรงดันเพื่อนาก๊าซไป
ใชง้ าน
12
2.บ่อหมักไร้ออกซิเจนแบบเร็ว (High rate anaerobic reactor) มีอัตราการย่อยสลายเกิดข้ึนรวดเร็ว
เพราะในระบบมีการกวนผสม การกักเก็บและรักษาตะกอนแบคทีเรียท่ีมีคุณภาพให้อยู่ในระบบเป็น
เวลานาน โดยออกแบบให้ตะกอนถูกยึดตรึงไวก้ ับตัวกลาง หรือการทาให้ตะกอนรวมตัวกันเป็นก้อน และยัง
มีการนาตะกอนทห่ี ลดุ ไปกับน้าล้นกลบั มาในระบบ บอ่ หมักมีขนาดเลก็ สามารถรบั ปริมาณของเสยี ได้มาก
ซ่ึงบอ่ หมกั แบบนี้ เหมาะสมท่จี ะนามาประยุกต์ใช้กับนา้ เสยี อุตสาหกรรมทีม่ ีปริมาณความเขม้ ขน้ สารอินทรีย์
สูง และก๊าซชีวภาพท่ีผลิตได้สามารถนาไปใช้ทดแทนเชื้อเพลิงที่ใช้ในกระบวนการผลิต ทาให้ลดค่าใช้จ่าย
การบาบัดให้ต่าลง ช่วยลดการใช้เช้อื เพลิง และนา้ เสียทีบ่ าบดั แล้วจะเป็นไปตามมาตรฐานน้าทงิ้
บ่อหมักแบบไร้ออกซิเจนแบบเร็ว จะแบ่งออกเป็น 2.1 แบบ Up-Flow Anaerobic Sludge Blanket
(UASB) น้าเสียจะถูกสูบเข้าก้นถังท่ีแบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นล่าง (Sludge bed) เป็นตะกอนเม็ด (granular
bacteria) ขนาด 2 – 5 มม. เป็นแบคทีเรียใยขาว เกาะกันมีความหนาแน่นสูง ส่วนชั้นบนเรียกว่า Sludge
blanket ทางด้านบนของบ่อหมัก UASB จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Gas Solid Separator ทาหน้าที่แยกก๊าซ
และป้องกนั มิให้ตะกอนแบคทีเรียหลดุ ออกไปกบั น้าเสีย
2.2 แบบ High suspension solid Up-Flow Anaerobic Sludge Blanket (H-UASB) พัฒนาจากระบบ
UASB เพื่อแก้ไขปัญหาการอดุ ตนั ของระบบหวั จา่ ยนา้ เน่ืองจากตะกอนของมลู สตั ว์ มี buffer tank ทาหนา้ ที่
แยกตะกอนแขวนออกจากนา้ เสียและมลู สตั วใ์ ห้มปี ริมาณนอ้ ยทสี่ ดุ
13
พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานท่ีนามาใช้แทนน้ามันเช้ือเพลิง สามารถแบ่งตามแหล่งท่ีได้มาก
เป็น 2 ประเภท คือ พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป อาจเรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่ ถ่าน
หิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ หินน้ามัน และทรายน้ามัน เป็นต้นและพลังงานทดแทนอีกประเภทหน่ึงเป็น
แหล่งพลังงานท่ีใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีก เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีว
มวล นา้ และไฮโดรเจน เป็นตน้ ซงึ่ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะศักยภาพ และสถานภาพการใชป้ ระโยชน์ของ
พลังงานทดแทน
การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจน
ส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่ง
พลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวลและอ่ืนๆ เพ่ือให้มีการผลิต และการใช้
ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมท้ังทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจและสังคม
สาหรับผู้ใช้ในเมือง และชนบท ซ่ึงในการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาพลังงานทดแทนดังกล่าวยังรวมถึงการ
พัฒนาเคร่ืองมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์เพื่อการใช้งานมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วย งานศึกษา และพัฒนา
พลังงานทดแทน เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานพัฒนาพลังงานทดแทน ซ่ึงมีโครงการท่ีเก่ียวข้องโดยตรงภายใต้
แผนงานน้ีคือ โครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงาน และมีความเช่ือมโยงกับแผนงานพัฒนาชนบทในโครงการ
จดั ต้งั ระบบผลติ ไฟฟา้ ประจแุ บตเตอร่ีดว้ ยเซลล์แสงอาทติ ยส์ าหรบั หม่บู ้านชนบทท่ีไม่มีไฟฟา้ โดยงานศึกษา
และพัฒนาพลังงานทดแทนจะเป็นงานประจาที่มีลักษณะการดาเนินงานของกิจกรรมต่างๆ ในเชิงกว้างเพื่อ
สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน ท้ังในด้านวิชาการเชิงทฤษฎี และอุปกรณ์เคร่ืองมือทดลอง
และการทดสอบ รวมถึงการส่งเสริมและเผยแพร่ ซ่ึงจะเป็นการสนับสนุน และรองรับความพร้อมในการ
จัดต้ังโครงการใหม่ๆ ในโครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงานและโครงการอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น การศึกษา
ค้นคว้าเบ้ืองต้น การติดตามความก้าวหน้าและร่วมมือประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องในการพฒั นาต้น
แบบทดสอบ วเิ คราะห์ และประเมินความเหมาะสมเบ้ืองต้นและเป็นงานส่งเสริมการพัฒนาโครงการที่กาลัง
ดาเนินการให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้นตลอดจนสนับสนุนให้โครงการท่ีเสร็จสิ้นแล้วได้นาผลไปดาเนินการ
สง่ เสริมและเผยแพรแ่ ละการใชป้ ระโยชน์อย่างเหมาะสมต่อไป
14
พลังงานชีวมวล
การสันดาป (Combustion Technology) การสันดาปเป็นปฏกิ ริ ิยา การรวมตวั กนั ของเชื้อเพลิง
กับออกซิเจนอย่างรวดเร็วพร้อมเกิดการลุกไหม้และ คายความร้อน ในการเผาไหม้ส่วนใหญ่จะไม่ใช้
ออกซิเจนล้วนๆ แต่จะใช้อากาศแทนเน่ืองจากอากาศมีออกซิเจนอยู่ 21% โดยปริมาณ หรือ 23% โดย
นา้ หนกั การผลติ เช้ือเพลิงเหลว (Liquidification Technology)
การผลติ ก๊าซเชอ้ื เพลิง (Gasification Technology)
กระบวนการ Gasification เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงพลังงานที่มีอยู่ในชีวมวลที่สาคัญ
กระบวนการหนึ่ง ของการเปล่ียนแปลงแบบ Thermal Conversion โดยมีส่วนประกอบของ Producer
gas ทีส่ าคญั ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ไฮโดรเจน (H2) และมเี ทน (CH4)
การผลิตกา๊ ซโดยการหมัก (Anaerobic Digestion Technology)
การผลิตก๊าซจากชีวมวลทางเคมี ด้วยการย่อยสลายสารอินทรีย์ในที่ไม่มีอากาศหรือไม่มีออกซิเจน
ซ่ึงเรียกว่า กา๊ ซชีวภาพ (Biogas) ไดก้ า๊ ซมีเทน (CH4) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นหลัก
การผลติ ไฟฟา้ โดย ใช้ชวี มวลเป็นเชือ้ เพลิง
เตาแก๊สชีวมวลเป็นเตาที่จัดสร้างขึ้นเพ่ือใช้สาหรับการหุงต้มอาหารในครัว เรือน โดยใช้เศษไม้และ
เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นเชื้อเพลิง โดยมีหลักการทางานแบบการผลิตแก๊สเช้ือเพลิงจากชีวมวล
(Gasifier) แบบอากาศไหลขน้ึ (Updraf Gasifier) เป็นการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลิงในท่ีทจี่ ากัดปรมิ าณอากาศให้เกิด
ความร้อนบางส่วน แล้วไปเร่งปฏิกริยาต่อเนื่องอื่นๆ เพื่อเปลี่ยนเชื้อเพลิงแข็งให้กลายเป็นแก๊สเช้ือเพลิง ท่ี
สามารถตดิ ไฟได้ ไดแ้ ก่ แก๊สคารบ์ อนมอนอกไซด์ (CO) แก๊สไฮโดรเจน (H2) และแก๊สมีเธน (CH2) เปน็ ต้น
15
บทที่ 3
ผลการประเมนิ
จากการจดั กจิ กรรมโครงการ น้นั สามารถประเมนิ ผลความสาเรจ็ ของโครงการจดั กระบวนการเรยี นรูเ้ พ่ือ
พัฒนาสังคมและโครงการสง่ เสรมิ การใช้พลงั งานทดแทนเพ่ือลดรายจ่ายในครัวเรือนให้แกป่ ระชาชนในพ้นื ท่ี ตาบล
บ้านตุ่น ปีงบประมาณ 2564 วันที่ 15 กันยายน 2564 ณ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ท่ี 11 ตาบลบา้ นตุน่
อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
1. ประเมนิ ผลจากการมีส่วนร่วมในการเข้ารว่ มจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
2. ประเมนิ จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
3. ประเมินจากจานวนกลุ่มเปา้ หมาย
ผลการดาเนินงานจากแบบประเมินความพึงพอใจ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคม
และชมุ ชน โครงการส่งเสริมการใชพ้ ลงั งานทดแทนเพอื่ ลดรายจ่ายในครวั เรอื น ใหแ้ ก่ประชาชนในพน้ื ท่ี ตาบลบา้ น
ตุ่น ปีงบประมาณ 2564 วันที่ 15 กันยายน 2564 ณ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ท่ี 11 ตาบลบ้านตุ่น อาเภอ
เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 25 คน ประชาชนรู้จักและใช้พลังงานทดแทนและรู้
คุณค่าของพลังงานทางธรรมชาติและเพ่ือลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานและลดภาวะปัญหาโลกร้อนจากการเผา
ไหม้ ด้วยการนาวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตรมาผลิตเป็นก๊าชชีวมวลทดแทนเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของ
ครัวเรอื น
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามจากผู้เข้ารับการอบรม จานวนท้ังสนิ้ 25 คน
ตารางที่ 1 ผเู้ ข้ารับการอบรม จาแนกตามเพศ รอ้ ยละ
เพศ จานวน (คน) 20
ชาย 5 80
หญิง 20 100
รวม 25
จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60 ของ
จานวนผเู้ ข้ารบั การอบรม
ตารางที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรม จาแนกตามอายุ จานวน รอ้ ยละ
อายุ - -
-
15-29 ปี 7 28
30-39 ปี 8 32
40-49 ปี 10 40
50-59 ปี 25 100.00
60 ปขี ้นึ ไป
รวม
จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40
ของจานวนผูเ้ ขา้ รับการอบรม
19
ตารางท่ี 3 ผูเ้ ขา้ รับการอบรม จาแนกตามอาชีพ
อาชีพ จานวน รอ้ ยละ
-
รบั จ้าง - -
คา้ ขาย - 100
-
เกษตรกรรม 25 -
รบั ราชการ - 100.00
อื่นๆ (แมบ่ า้ น) -
รวม 25
จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีอาชีพ เกษตรกรรมมากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 100 ของ
จานวนผูเ้ ขา้ รบั การอบรม
ตอนที่ 1 แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู้ รียนผู้รับบริการผู้ประเมนิ ไดแ้ ก่ ผเู้ ข้าร่วมโครงการทกุ คน
ตารางที่ 1 ด้านความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม กศน.
ด้านกระบวนการจดั กิจกรรมและความพึงพอใจของผ้เู รยี น/ผู้รับบรกิ าร
คาชแี้ จง 1. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มี 4 ตอน
2. โปรดแสดงเครอ่ื งหมาย √ ในชอ่ งว่างระดับความพึงพอใจตามความคดิ เห็นของท่าน
ตอนท่ี ๒ ตารางแจกแจงแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม (ร้อยละของผู้เข้ารบั การอบรม)
ระดับความพึงพอใจ
ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ หมายเหตุ
มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ุด
ตอนท่ี ๑ ความพงึ พอใจดา้ นเน้ือหา
1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 23/92 2/8
2 เนือ้ หาเพียงพอต่อความต้องการ 21/84 4/16
3 เนอ้ื หาปจั จบุ ันทนั สมัย 20/80 5/20
4 เนอ้ื หามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพฒั นา 24/96 1/4
คณุ ภาพชีวิต
ร้อยละเฉล่ีย 88 12
ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม
5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 23/92 2/8
6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 22/88 3/12
7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 20/80 5/20
8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย 22/88 3/12
9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 22/88 3/12
รอ้ ยละเฉลี่ย 87.20 12.80
ตอนท่ี ๓ ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร
10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่อื งทถ่ี ่ายทอด 24/96 1/4
20
11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ่อื เหมาะสม 22/88 3/12
12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนรว่ มและซกั ถาม 23/92 2/8
8
รอ้ ยละเฉล่ีย 92
ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 3/12
13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก 22/88 4/16
14 การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 21/84 2/8
15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 23/92
12
รอ้ ยละเฉลี่ย 88
21
บทที่ 4
สรุปผลการประเมิน
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการทุกคน
ผลการประเมินจากกลุ่มเปา้ หมายผ้เู ข้าร่วมอบรม จานวน 25 คน สรปุ ได้ดงั นี้
ผูเ้ ข้าร่วมอบรมสามารถนากระบวนการเรียนร้เู พื่อพฒั นาสังคมและชุมชน โครงการส่งเสรมิ การใช้
พลังงานทดแทนเพอ่ื ลดรายจ่ายในครวั เรือน ไปพัฒนาปรับปรุงชวี ิตความเป็นอยูแ่ ละเพิ่มรายไดข้ อง
ครอบครวั ให้ดีข้ึนได้
ระดับดีมาก จานวน 25 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00
ระดับดี จานวน -- คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ --
สรุป ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนากระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการส่งเสริม
การใช้พลังงานทดแทนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน นาไปพัฒนาปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่และเพิ่มรายได้
ของครอบครัวให้ดีขึ้นได้ จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 100 อยู่ในระดับดีมาก แสดงว่า ผู้เข้าร่วมอบรม
สามารถนาความรู้ไปปรับใชไ้ ด้
ผลการประเมนิ จากการกลุ่มเป้าหมายผอู้ บรม จานวน 25 คน สรุปไดด้ ังน้ี
ความพึงพอใจดา้ นเน้ือหา
1. เนื้อหาตรงตามความต้องการ
ระดบั มากที่สุด จานวน 23 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 92
ระดับมาก จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดับนอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ระดบั น้อยท่สี ดุ จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
สรุป เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรูต้ รงตามความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม อยู่ในระดับมากที่สดุ
จานวน 23 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 92 แสดงว่าเนือ้ หาวชิ าท่จี ดั การเรียนร้ตู รงตามความตอ้ งการของผเู้ ข้ารับ
การอบรม
2. เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ
ระดบั มากทส่ี ดุ จานวน 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 84
ระดับมาก จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดับน้อยที่สุด จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรปุ เนอื้ หาวิชาท่จี ดั เพยี งพอต่อความต้องการของผูเ้ ขา้ รับการอบรม อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด จานวน
21 คน คิดเป็นร้อยละ 84 แสดงว่าเน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้เพียงพอต่อความต้องการของผู้เข้ารับการ
อบรม
22
3. เนื้อหาเป็นปจั จบุ ันทันสมยั
ระดบั มากทส่ี ุด จานวน 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80
ระดบั มาก จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 20
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดับนอ้ ยที่สดุ จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
สรุป เน้ือหาวิชาท่ีจัดเป็นปัจจุบันทันสมัย อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ
80 แสดงว่าเนื้อหาวิชาทจี่ ัดการเรียนรู้เป็นปจั จบุ ันทนั สมัย
4. เน้อื หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ระดบั มากที่สดุ จานวน 24 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96
ระดับมาก จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อยทส่ี ุด จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
สรุป เนื้อหาวิชาท่ีจัดมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในระดับมากท่ีสุด
จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 96 แสดงว่าเนื้อหาวิชาที่จัดการเรยี นรู้มีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการ
พฒั นาคุณภาพชวี ติ
ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม
5. การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม
ระดับมากทสี่ ุด จานวน 23 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 92
ระดบั มาก จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 8
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดับน้อยทีส่ ุด จานวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ
สรปุ การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด จานวน 23 คน คดิ เป็นร้อยละ 92
แสดงวา่ มกี ารเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม
6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์
ระดับมากท่สี ดุ จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 88
ระดับมาก จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
ระดบั นอ้ ยทสี่ ดุ จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
สรุป การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 22 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 88 แสดงว่าการออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์
23
7. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา
ระดบั มากที่สดุ จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 80
ระดบั มาก จานวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 20
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดับน้อยทสี่ ุด จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
สรุป การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ
80 แสดงว่าการจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา
8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย
ระดบั มากที่สดุ จานวน 22 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 88
ระดบั มาก จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดับนอ้ ยที่สดุ จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
สรุป การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 22 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 88 แสดงวา่ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย
9. วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์
ระดบั มากทีส่ ุด จานวน 22 คน คิดเปน็ ร้อยละ 88
ระดับมาก จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดับนอ้ ย จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อยที่สดุ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรุป วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 22 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 88 แสดงวา่ การจัดกจิ กรรมมีวธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์
ความพึงพอใจต่อวิทยากร
10. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถ่ายทอด
ระดบั มากที่สุด จานวน 24 คน คิดเปน็ ร้อยละ 96
ระดบั มาก จานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4
ระดับปานกลาง จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดับนอ้ ยที่สุด จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
สรุป วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด อยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 24 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 96 แสดงว่าวิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรื่องทถี่ า่ ยทอด
24
11. วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม
ระดบั มากทส่ี ุด จานวน 22 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88
ระดับมาก จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดับนอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดับน้อยทส่ี ดุ จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
สรุป วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 22 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 88 แสดงวา่ วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม
12. วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม
ระดบั มากท่สี ุด จานวน 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92
ระดบั มาก จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ
ระดบั น้อยทส่ี ดุ จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
สรปุ วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซกั ถาม อยู่ในระดับมากท่ีสดุ จานวน 23 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 92 แสดงวา่ วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถาม
ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก
13. สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก
ระดับมากที่สุด จานวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 88
ระดับมาก จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดบั น้อย จานวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดบั น้อยที่สุด จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
สรุป สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 22 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 88 แสดงว่าสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวกมคี วามเหมาะสม
14. การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ ให้เกิดการเรยี นรู้
ระดับมากที่สดุ จานวน 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 84
ระดับมาก จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ยที่สดุ จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
สรุป การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ อย่ใู นระดับมากทส่ี ดุ จานวน 21 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 84 แสดงวา่ การจดั กจิ กรรมมกี ารส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้
25
15. การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปญั หา
ระดบั มากทสี่ ดุ จานวน 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92
ระดับมาก จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8
ระดบั ปานกลาง จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ย จานวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ระดบั นอ้ ยทีส่ ดุ จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ
สรุป การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ จานวน 23 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 92 แสดงว่าการจดั กจิ กรรมมกี ารบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปญั หา
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ
-
ความคดิ เห็นเพิ่มเติม
1. สิง่ ดๆี / ความประทับใจดีๆ ท่ีไดร้ ับจากการไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม กศน.
ขอบคุณ กศน. อาเภอเมืองพะเยาและ กศน. ตาบลบา้ นตนุ่ ทจี่ ัดให้มีการอบรมใหค้ วามร้เู กีย่ วกบั
การสง่ เสริมการเรียนรู้ เรื่อง โครงการสง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนเพือ่ ลดรายจ่ายในครวั เรอื น สามารถ
นาความรทู้ ่ีได้ปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวันไดจ้ รงิ
2. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาปรับปรงุ การจดั กิจกรรม กศน.
ปัญหา
-
อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
อยากให้ กศน. มกี ารจดั ฝึกอบรม ทห่ี ลากหลาย เพื่อสรา้ งโอกาสในการฝึกทักษะต่าง ๆ เปน็ การ
พฒั นาการเรยี นรู้ท่ีต่อเนื่อง
26
บทท่ี 5
สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ
กศน. ตาบลบา้ นตนุ่ ไดจ้ ัดโครงการจดั กระบวนการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน โครงการส่งเสริมการใช้
พลังงานทดแทนเพอ่ื ลดรายจ่ายในครวั เรือน ให้แกป่ ระชาชนตาบลบา้ นตนุ่ วันที่ 15 เดือน กันยายน พ.ศ.
2564 ณ อาคารเอนกประสงค์หมู่ที่ 11 ตาบลบ้านตุน่ อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา โดยมผี เู้ ขา้ รับการ
อบรม จานวน 25 คน เพอื่ ให้ประชาชนรจู้ ักและใช้พลังงานทดแทนและรคู้ ุณคา่ ของพลังงานทางธรรมชาติและ
เพอื่ ลดปญั หาการขาดแคลนพลงั งานและลดภาวะปัญหาโลกรอ้ นจากการเผาไหม้ ด้วยการนาวัสดเุ หลือใชท้ าง
การเกษตรมาผลิตเป็นก๊าชชวี มวลทดแทนเพอ่ื ลดคา่ ใช้จา่ ยด้านพลังงานของครัวเรือน
จึงได้ทาการประเมินผลโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการ
ส่งเสรมิ การใชพ้ ลงั งานทดแทนเพอื่ ลดรายจา่ ยในครวั เรอื น โดยใชแ้ บบประเมินระดับความรูแ้ ละความพงึ พอใจ
โดยใช้วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มลู จากผตู้ อบแบบประเมิน จานวน 25 ชุด จากผเู้ ข้าร่วมโครงการจานวน 25 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 100 ซึ่งสามารถจาแนกได้ดังนี้
ผ้เู ขา้ ร่วมอบรมสามารถนากระบวนการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน โครงการสง่ เสริมการใช้
พลังงานทดแทนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน เพื่อให้ประชาชนรู้จักและใช้พลังงานทดแทนและรู้คุณค่าของ
พลังงานทางธรรมชาติและเพ่ือลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานและลดภาวะปัญหาโลกร้อนจากการเผาไหม้
ด้วยการนาวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตรมาผลิตเป็นก๊าชชีวมวลทดแทนเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของ
ครวั เรอื น จานวน 25 คน คดิ เปน็ ร้อยละ100
ผู้เข้ารบั การอบรมสว่ นใหญ่ เปน็ เพศหญิง จานวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80
ผูเ้ ข้ารับการอบรมสว่ นใหญ่ จานวน 10 คน อยู่ในชว่ งอายุ 60 ปขี น้ึ ไป ปมี ากทส่ี ุดคิดเป็นร้อยละ
40 แสดงว่าส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป มีความสนใจในกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้
เพอื่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน
ผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด 25 คน มีอาชีพเกษตรกรรม 25 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่า
ส่วนใหญ่มอี าชพี เกษตรกรรม
27
แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการทกุ คน จานวน 25 คน
1. การประเมินดา้ นเน้ือหา (จานวน 4 ข้อ)
ระดบั มากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละเฉลย่ี 88
ระดับมาก คิดเปน็ ร้อยละเฉลย่ี 12
ระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละเฉลย่ี 0
ระดบั นอ้ ย คิดเปน็ ร้อยละเฉลย่ี 0
ระดับนอ้ ยที่สดุ คดิ เปน็ ร้อยละเฉลย่ี 0
สรปุ ผูเ้ ข้ารบั การอบรมประเมินด้านการนาเนื้อหามาใชอ้ ยู่ในระดบั มากถึงมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละเฉลย่ี
88สูงกว่าดัชนชี ีว้ ัดความสาเร็จทตี่ ง้ั ไว้ แสดงวา่ ผู้เขา้ รับการอบรมมีสว่ นรว่ มในการนาหลกั สตู รมาใชแ้ ละพงึ
พอใจในการใชเ้ นื้อหาการอบรม
2. ดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม (จานวน 5 ข้อ)
ระดบั มากทส่ี ุด คดิ เปน็ ร้อยละเฉล่ยี 87.20
ระดับมาก คิดเปน็ ร้อยละเฉลยี่ 12.80
ระดบั ปานกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละเฉลีย่ 0
ระดบั น้อย คดิ เปน็ รอ้ ยละเฉลยี่ 0
ระดบั นอ้ ยท่สี ุด คดิ เปน็ ร้อยละเฉลี่ย 0
สรปุ ผู้เขา้ รับการอบรมประเมนิ ด้านการจดั กระบวนการเรียนรู้อยใู่ นระดับมากถงึ มากท่ีสดุ คดิ เป็นร้อย
ละเฉลย่ี 87.20 สงู กวา่ ดชั นชี ้วี ัดความสาเรจ็ ที่ต้งั ไว้ แสดงว่าผูเ้ ข้ารบั การอบรมมีความพงึ พอใจในการจัด
กระบวน การเรียนรใู้ นการอบรม
3. ด้านวิทยากรผู้ทาการอบรม (จานวน 3 ข้อ)
ระดบั มากที่สดุ คดิ เป็นร้อยละเฉลี่ย 92
ระดบั มาก คิดเป็นร้อยละเฉลยี่ 8
ระดบั ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละเฉล่ยี 0
ระดบั น้อย คดิ เป็นรอ้ ยละเฉล่ยี 0
ระดบั น้อยทสี่ ดุ คิดเป็นรอ้ ยละเฉลี่ย 0
สรปุ ผู้เขา้ รับการอบรมประเมนิ ด้านวิทยากร ผทู้ าการอบรมอยู่ในระดบั มากถึงมากทส่ี ดุ คดิ เป็นร้อยละ
เฉลย่ี สูงกวา่ 92 ดัชนชี ้ีวดั ความสาเรจ็ ทต่ี ้ังไว้ แสดงวา่ ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความพึงพอใจในการดาเนินการ
อบรมให้ความรู้ของวิทยากร
28
4. ด้านการอานวยความสะดวก (จานวน 3 ข้อ)
ระดบั มากที่สุด คิดเป็นร้อยละเฉล่ีย 88
ระดบั มาก คดิ เป็นรอ้ ยละเฉลยี่ 12
ระดบั ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละเฉลยี่ 0
ระดบั นอ้ ย คิดเปน็ ร้อยละเฉลีย่ 0
ระดบั น้อยท่ีสุด คิดเปน็ ร้อยละเฉลย่ี 0
สรุป ผู้เข้ารบั การอบรมประเมนิ ด้านการอานวยความสะดวก อยู่ในระดบั มากถึงมากทสี่ ุด คิดเป็นรอ้ ย
ละเฉล่ีย 88 สูงกว่าดชั นีชีว้ ัดความสาเร็จที่ต้งั ไว้ แสดงว่า ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความพึงพอใจในการอบรม มี
ความรคู้ วามเข้าใจในการจัดกิจกรรมอบรมครั้งนี้
แนวทางการดาเนินงานครัง้ ตอ่ ไป
ดา้ นครูผูส้ อน/วิทยากรผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ควรจัดกิจกรรมกระบวนการท่ีหลากหลายและน่าสนใจ เพื่อสร้างบรรยายในการจัด
กจิ กรรมข้ันตอนกระบวนการจัดกจิ กรรม
- มี สอ่ื อุปกรณ์ ทเี่ ออื้ ประโยชน์และสนับสนนุ การเรียนรขู้ องผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย
- การอานวยความสะดวกในด้านอาคารและสถานที่
ปัญหาและอปุ สรรค
1. ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมมเี วลาในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมน้อย
2. มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะท่แี ตกตา่ งกนั
แนวทางการแกไ้ ขปัญหา
1. ในการอบรมครง้ั ต่อไปตอ้ งปรับทัศนคติและเตรียมความพร้อมในการเข้ารับการอบรม
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการ
1. เนน้ กิจกรรมกลุ่มแบบมสี ่วนรว่ ม
2. เนน้ กจิ กรรมโดยให้ประชาชนไดป้ ฏิบตั ิจริงตามสถานการณ์
ภาคผนวก
กิจกรรมการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน
โครงการสง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนเพ่อื ลดรายจ่ายในครวั เรือน
ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 11 ตาบลบา้ นตุ่น อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
คณะผ้จู ดั ทา
ที่ปรึกษา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา
ครู ผู้ชว่ ย
1. นางจารณุ ี แกว้ ประภา บรรณารกั ษช์ านาญการ
2. นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสงั ข์
3. นางสาวเมธาพร ฝอยทอง ครูอาสาสมัครฯ
ครู กศน.ตาบลบ้านตนุ่
คณะทางาน
ครู กศน.ตาบลบ้านตนุ่
1. กศน.อาเภอเมืองพะเยา
2. นางกรชนก ตาปญั โญ
3. นางสาววมิ ลพรรณ จันทร์ขาว
ผู้พมิ พ/์ ออกแบบรปู เล่ม
นางสาววมิ ลพรรณ จันทร์ขาว