The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่าง ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Naan Janyawan, 2022-07-18 04:28:14

ตัวอย่าง ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

ตัวอย่าง ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

ตวั อย่าง
ข้อบงั คบั เกยี่ วกบั การทางาน

ชื่อสถานประกอบกิจการ................................................................................................................................
สถานทต่ี ้งั สานกั งานแห่งใหญ่ เลขที่ ................. หมูท่ ่ี.................. ซอย........................................................
ถนน................................................ตาบล / แขวง..................................... อาเภอ / เขต..................................
จงั หวดั ………………………………………… โทรศพั ท.์ ...........................................................................
สานกั งานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน ต้งั อยเู่ ลขที่............. หมู่ที่ ............ ซอย...............................................
ถนน ................................................ตาบล / แขวง.................................... อาเภอ / เขต .................................
จงั หวดั ………………………………………… โทรศพั ท.์ ...........................................................................
ประกอบกิจการ ..............................................................................................................................................

๑. วนั ทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพกั

๑.๑ วนั ทางาน
สานกั งานแห่งใหญ่ ทางานสัปดาห์ละ ................................ วนั
วนั ........................................................ ถึงวนั ....................................................
สานกั งานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน ทางานสปั ดาห์ละ ............................. วนั
วนั ........................................................ ถึงวนั ....................................................

๑.๒ เวลาทางานปกติ
สานกั งานแห่งใหญ่ ทางานวนั ละ ...................... ชว่ั โมง
เวลา ............................................. น. ถึงเวลา ................................................ น.
สานกั งานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน ทางานวนั ละ ................................ชว่ั โมง
เวลา ............................................. น. ถึงเวลา ................................................ น.
งานกะ ทางานวนั ละ ............................................. ชว่ั โมง
กะที่ ๑ เวลา ............................................. น. ถึงเวลา ................................................ น.
กะท่ี ๒ เวลา .............................................น. ถึงเวลา ................................................ น.
กะท่ี ๓ เวลา ............................................. น. ถึงเวลา ................................................ น.
งานที่อาจเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพและความปลอดภยั ของลูกจา้ งไดแ้ ก่ ลูกจา้ งที่ทางาน.............
.............................. ทางานวนั ละ ........... ชวั่ โมง เวลา ...................... น. ถึงเวลา ..................... น.
งานขนส่งทางบกทางานวนั ละ............... ชวั่ โมง เวลา ....................... น. ถึงเวลา .................... น.

/๑.๓ เวลาพกั

-๒-

๑.๓ เวลาพกั
ก. ระหวา่ งการทางานปกติ
สานกั งานแห่งใหญ่ พกั ระหวา่ งเวลา..................................... น. ถึงเวลา ………..................... น.
สานกั งานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน พกั ระหวา่ งเวลา...................... น. ถึงเวลา ....... .......... น.
สาหรับลูกจา้ งเด็ก พกั ระหวา่ งเวลา............................ น. ถึงเวลา .............................. น. และ
ระหวา่ งเวลา............................. น. ถึงเวลา ............................. น.
งานขนส่งทางบก พกั ระหวา่ งเวลา............................. น. ถึงเวลา ………..................... น.
ข. ก่อนการทางานล่วงเวลา
ในกรณีท่ีมีการทางานล่วงเวลาตอ่ จากเวลาทางานปกติไม่นอ้ ยกวา่ ๒ชวั่ โมง ใหล้ ูกจา้ งพกั .....นาที
ก่อนเริ่มทางานล่วงเวลา

๒. วนั หยุดและหลกั เกณฑ์การหยุด

หยุด
๒.๑ วนั หยดุ ประจาสัปดาห์

สานกั งานแห่งใหญ่ หยดุ สปั ดาห์ละ ................... วนั

สานกั งานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน หยดุ สัปดาห์ละ ................... วนั

นายจา้ งจ่ายค่าจา้ งในวนั หยุดประจาสัปดาห์แก่ลูกจา้ งเท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทางาน (สาหรับลูกจา้ ง

รายวนั รายชว่ั โมง หรือตามผลงาน ถา้ ไม่จา่ ยคา่ จา้ งใหน้ ายจา้ งระบุ)

๒.๒ วนั หยดุ ตามประเพณี

ลูกจา้ งจะไดห้ ยดุ โดยไดร้ ับค่าจา้ งไม่นอ้ ยกวา่ ปี ละ ๑๓ วนั ดงั น้ี

๑. วนั แรงงานแห่งชาติ ๒. ........................................................

๓. ........................................................... ๔. ........................................................

๕. ........................................................... ๖. ........................................................

๗. ........................................................... ๘. ........................................................

๙. ........................................................... ๑๐. ......................................................

๑๑. ........................................................ ๑๒. ......................................................

๑๓. .........................................................

(หรือนายจา้ งจะประกาศใหท้ ราบล่วงหนา้ แตล่ ะปี )

ถ้าวนั หยุดตามประเพณีวนั ใดตรงกับวนั หยุดประจาสัปดาห์ ให้หยุดชดเชยวนั หยุดตาม

ประเพณีน้นั ในวนั ทางานถดั ไป

/๒.๓ วนั หยดุ พกั ผ่อนประจาปี

-๓-

๒.๓ วนั หยดุ พกั ผ่อนประจาปี
ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั มาครบหน่ึงปี มีสิทธิหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี โดยไดร้ ับค่าจา้ งปี ละ.........

วนั ทางาน ท้งั น้ี นายจา้ งจะกาหนดล่วงหนา้ ใหห้ รือตามท่ีตกลงกนั เวน้ แต่ไดต้ กลงกนั สะสมและเลื่อนวนั หยดุ ที่
ยงั ไม่ไดห้ ยดุ ในปี น้นั รวมเขา้ กบั ปี ต่อ ๆ ไป

ลูกจา้ งซ่ึงทางานยงั ไม่ครบหน่ึงปี นายจา้ งอาจกาหนดวนั หยุดพกั ผ่อนประจาปี ให้แก่ลูกจา้ ง
โดยคานวณใหต้ ามส่วน

กรณีลูกจา้ งไม่ได้ใช้สิทธิหยุดในวนั หยุดพกั ผ่อนประจาปี นายจา้ งจะจ่ายเงินเป็ นค่าทางานใน
วนั หยดุ เสมือนเป็นการทางานในวนั หยดุ

ในกรณีนายจ้างเลิกจา้ งโดยไม่ใช่กรณีท่ีลูกจ้างไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชย ลูกจา้ งมีสิทธิไดร้ ับ
ค่าจา้ งในวนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ในปี ท่ีเลิกจา้ งตามส่วนของวนั หยุดพกั ผ่อนประจาปี ท่ีลูกจา้ งพึงมีสิทธิไดร้ ับ
ตามวรรคแรก

ในกรณีลูกจา้ งบอกเลิกสัญญาจา้ ง หรือกรณีนายจา้ งบอกเลิกสัญญาจา้ งแมจ้ ะมีกรณีนายจา้ ง
ไมต่ อ้ งจา่ ยค่าชดเชยตามกฎหมาย ลูกจา้ งมีสิทธิที่จะไดร้ ับค่าจา้ งในวนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ท่ีไดส้ ะสมไว้

๓. หลกั เกณฑ์การทางานล่วงเวลาและการทางานในวันหยุด

หลกั เกณฑ์
ในกรณีที่งานมีลกั ษณะหรือสภาพของงานตอ้ งทาติดต่อกนั ไป ถา้ หยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็ นงาน
ฉุกเฉิน นายจา้ งจะใหล้ ูกจา้ งทางานล่วงเวลาในวนั ทางาน หรือทางานในวนั หยดุ รวมถึงล่วงเวลาในวนั หยุดได้
เทา่ ท่ีจาเป็น โดยไม่ตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากลูกจา้ งก่อน
สาหรับงานในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร ร้านขายเครื่องดื่ม สโมสร
สมาคม สถานพยาบาล นายจา้ งจะใหล้ ูกจา้ งทางานในวนั หยดุ ก็ได้
ในกรณีท่ีมิใช่งานตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง นายจา้ งอาจให้ลูกจา้ งทางานล่วงเวลาในวนั ทางาน
หรือทางานในวนั หยดุ รวมถึงล่วงเวลาในวนั หยดุ ไดเ้ ป็นคร้ังคราว โดยจะตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากลูกจา้ งก่อน
เป็นแตล่ ะคราวไป
การทางานล่วงเวลาในวนั ทางาน ทางานในวนั หยุด และล่วงเวลาในวนั หยุด สาหรับงานตามวรรคสอง
และวรรคสาม ตอ้ งไมเ่ กินสปั ดาห์ละ ๓๖ ชว่ั โมง
งานขนส่งทางบก นายจา้ งจะให้ลูกจ้างทาหน้าท่ีขบั ขี่ยานพาหนะ ทางานล่วงเวลา เมื่อได้รับความ
ยนิ ยอมเป็ นหนงั สือจากลูกจา้ งแลว้ โดยจะทางานล่วงเวลาไม่เกินวนั ละ ๒ ชว่ั โมง เวน้ แต่มีความจาเป็ นอนั เกิด
จากเหตุสุดวสิ ยั อุบตั ิเหตุ หรือปัญหาการจราจร

/ค่าล่วงเวลา

-๔-

ค่าล่วงเวลา
๓.๑ ถา้ ใหล้ ูกจา้ งทางานเกินเวลาทางานปกติในวนั ทางาน ลูกจา้ งจะตอ้ งไดร้ ับค่าล่วงเวลาในอตั รา
ดงั น้ี

ก. ไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงเท่าคร่ึงของอตั ราค่าจา้ งตอ่ ชว่ั โมงในวนั ทางานตามจานวนชวั่ โมงที่ทา หรือ
ข. ไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่าคร่ึงของอตั ราค่าจา้ งต่อหน่วยในวนั ทางานตามจานวนผลงานท่ีทาได้
สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
๓.๒ ถ้าให้ลูกจ้างทางานในวนั หยุดเกินเวลาทางานของวนั ทางาน ลูกจา้ งจะได้รับค่าล่วงเวลา
ในวนั หยดุ ในอตั รา ดงั น้ี
ก. ไมน่ อ้ ยกวา่ สามเท่าของอตั ราคา่ จา้ งตอ่ ชวั่ โมงในวนั ทางานตามจานวนชวั่ โมงท่ีทา หรือ
ข. ไม่น้อยกวา่ สามเท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อหน่วยในวนั ทางานตามจานวนผลงานท่ีทาไดส้ าหรับ
ลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

ค่าทางานในวนั หยุด
๓.๓ ลูกจา้ งที่มีสิทธิไดร้ ับค่าจา้ งในวนั หยดุ วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ วนั หยุดตามประเพณี และวนั หยุด
พกั ผอ่ นประจาปี ถา้ มาทางานในวนั หยุดดงั กล่าว จะไดร้ ับค่าทางานในวนั หยดุ เพิ่มข้ึนอีกไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงเท่า
ของอตั ราคา่ จา้ งต่อชวั่ โมงในวนั ทางานตามจานวนชวั่ โมงที่ทาหรือไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงเท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อหน่วย
ในวนั ทางานตามจานวนผลงานท่ีทาได้ สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
๓.๔ ลูกจ้างท่ีไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวนั หยุดประจาสัปดาห์ ถ้ามาทางานในวนั หยุดดังกล่าว
จะไดร้ ับค่าจา้ งทางานในวนั หยดุ ไม่นอ้ ยกวา่ สองเท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อชวั่ โมงในวนั ทางานตามจานวนชว่ั โมง
ท่ีทาหรือไม่นอ้ ยกวา่ สองเท่าของอตั ราค่าจา้ งตอ่ หน่วยตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ ง
ตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย

๔. วนั และสถานทจี่ ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ และค่าล่วงเวลาในวันหยดุ

๔.๑ ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยุด ค่าล่วงเวลาในวนั หยุด และเงิน
ผลประโยชน์อื่นเนื่องในการจา้ งเป็ นเงินตราไทย เวน้ แต่ไดร้ ับความยินยอมจากลูกจา้ งให้จ่ายเป็ นตวั๋ เงินหรือ
เงินตราต่างประเทศ โดยกาหนดจ่ายเดือนหน่ึงไม่น้อยกว่า ๑ คร้ัง เวน้ แต่จะได้ตกลงเป็ นอย่างอ่ืนที่เป็ น
ประโยชน์แก่ลูกจา้ ง โดยจา่ ย ณ สถานท่ีทางานของลูกจา้ ง ถา้ จะจ่าย ณ สถานท่ีอ่ืนและวิธีอื่น เช่น จ่ายผา่ น
ธนาคารตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากลูกจา้ ง ซ่ึงความยนิ ยอมน้นั นายจา้ งจะจดั ทาเป็ นหนงั สือใหล้ ูกจา้ งลงลายมือช่ือ
ไวเ้ ป็นหลกั ฐานหรือมีขอ้ ตกลงกนั ไวช้ ดั เจนเป็ นการเฉพาะ

๔.๒ ในกรณีเลิกจา้ ง นายจา้ งจะตอ้ งจ่ายค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยุด และค่าล่วงเวลาใน
วนั หยดุ ตามที่ลูกจา้ งมีสิทธิไดร้ ับใหแ้ ก่ลูกจา้ งภายใน ๓ วนั นบั แตว่ นั ที่เลิกจา้ ง

/๕. วนั ลาและหลกั เกณฑ์การลา

-๕-

๕. วนั ลาและหลกั เกณฑ์การลา

๕.๑ การลาป่ วย ลูกจา้ งมีสิทธิลาป่ วยไดเ้ ทา่ ท่ีป่ วยจริง โดยไดร้ ับค่าจา้ งปี หน่ึงไมเ่ กิน ๓๐ วนั ทางาน
การลาป่ วยต้งั แต่ ๓ วนั ทางานข้ึนไป นายจา้ งจะให้ลูกจา้ งแสดงใบรับรองของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั

ช้ันหน่ึง หรือของสถานพยาบาลของทางราชการก็ได้ เช่น สถานีอนามัย ในกรณีท่ีลูกจ้างไม่อาจแสดง
ใบรับรองแพทยห์ รือของสถานพยาบาลดงั กล่าวได้ ให้ลูกจา้ งช้ีแจงให้นายจา้ งทราบ ถา้ นายจา้ งจดั แพทยไ์ ว้
ใหแ้ ลว้ ใหแ้ พทยน์ ้นั เป็นผอู้ อกใบรับรอง เวน้ แต่ลูกจา้ งไมส่ ามารถใหแ้ พทยน์ ้นั ตรวจได้

วนั ท่ีลูกจ้างไม่สามารถทางานได้เนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยที่เกิดข้ึนเน่ืองจาก
การทางาน หรือลาคลอดบุตร ไมถ่ ือเป็นวนั ลาป่ วย

๕.๒ การลาเพื่อทาหมนั ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อทาหมนั ได้และมีสิทธิลาเนื่องจากการทาหมนั ตาม
ระยะเวลาที่แพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงกาหนดและออกใบรับรอง โดยไดร้ ับค่าจา้ งตามระยะเวลาที่ลา

๕.๓ การลาเพือ่ กิจธุระอนั จาเป็น ลูกจา้ งมีสิทธิลาปี ละ…….วนั (โดยไดร้ ับค่าจา้ งปี หน่ึงไม่เกิน 3 วนั )
๕.๔ การลาเพ่ือรับราชการทหาร ลูกจา้ งมีสิทธิลาเพ่ือรับราชการทหารในการเรียกพลเพ่ือตรวจสอบ
เพื่อฝึ กวิชาทหาร หรือเพ่ือทดลองความพร่ังพร้อมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการรับราชการทหารโดยไดร้ ับค่าจา้ งไม่
เกินปี ละ ๖๐ วนั
๕.๕ การลาเพ่ือฝึ กอบรมหรือพฒั นาความรู้ ให้ลูกจา้ งมีสิทธิลาเพื่อการฝึ กอบรมหรือพฒั นาความรู้
ความสามารถ ในกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี

ก. เพื่อประโยชน์ต่อการแรงงานและสวสั ดิการสังคม หรือการเพิ่มทกั ษะความชานาญเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางานของลูกจา้ ง

ข. การสอบวดั ผลทางการศึกษาท่ีทางราชการจดั หรืออนุญาตให้จดั ข้ึนแต่ไม่รวมไปถึงการลา
ศึกษาต่อให้ลูกจา้ งยนื่ ใบลาล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๗ วนั เม่ือนายจา้ งอนุญาตแลว้ จึงจะหยดุ งานเพื่อการดงั กล่าวได้
(โดยระบุวา่ ไดร้ ับค่าจา้ งหรือไม่ไดร้ ับค่าจา้ งเพือ่ ความชดั เจน)

ลูกจา้ งซ่ึงเป็ นเด็กอายตุ ่ากวา่ สิบแปดปี มีสิทธิลาเพื่อเขา้ ประชุม สัมมนา รับการอบรม รับการฝึ ก
หรือลาเพ่ือการอ่ืน ซ่ึงจดั โดยสถานศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน ที่ไดร้ ับความเห็นชอบจากอธิบดี
กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยให้ลูกจา้ งซ่ึงเป็ นเด็กแจง้ ให้นายจ้างทราบล่วงหน้าถึงเหตุที่ลา
พร้อมท้งั แสดงหลกั ฐานท่ีเกี่ยวขอ้ งถา้ มี และใหน้ ายจา้ งจา่ ยคา่ จา้ งใหแ้ ก่ลูกจา้ งซ่ึงเป็นเดก็ ไมเ่ กินปี ละ ๓๐ วนั

๕.๖ การลาเพ่อื คลอดบุตร ลูกจา้ งหญิงมีครรภม์ ีสิทธิลาเพ่ือคลอดบุตรครรภห์ น่ึงไม่เกิน ๙8 วนั
โดยวนั ลาเพ่ือคลอดบุตรให้หมายความรวมถึงวนั ลาเพื่อตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตรดว้ ย และไดร้ ับ
คา่ จา้ งไม่เกิน ๔๕ วนั

/อน่ึง ลูกจา้ งหญิง...

-๖-

อน่ึง ลูกจา้ งหญิงมีครรภค์ วรแจง้ ใหน้ ายจา้ งทราบถึงการต้งั ครรภ์

ลูกจา้ งหญิงมีครรภ์มีสิทธิขอให้นายจา้ งเปล่ียนงานในหน้าท่ีเดิมเป็ นการชั่วคราวก่อนหรือหลงั
คลอดได้ โดยให้แสดงใบรับรองแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงที่รับรองว่าไม่อาจทาหน้าที่เดิมต่อไปได้ และ
นายจา้ งจะพจิ ารณาเปลี่ยนงานที่เหมาะสมใหแ้ ก่ลูกจา้ งน้นั

๖. วนิ ัยและโทษทางวนิ ัย

๖.๑ ลูกจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน
๖.๒ ลูกจา้ งตอ้ งเช่ือฟังและปฏิบตั ิตามคาสัง่ โดยชอบของผบู้ งั คบั บญั ชา
๖.๓ ลูกจา้ งตอ้ งมาปฏิบตั ิงานใหต้ รงตามเวลา และลงบนั ทึกเวลาทางานตามท่ีกาหนด
๖.๔ ลูกจา้ งต้องปฏิบตั ิหน้าท่ีดว้ ยความซื่อสัตย์ ไม่กลน่ั แกล้งหรือจงใจก่อให้เกิดความเสียหายแก่
นายจา้ งหรือลูกจา้ งดว้ ยกนั เอง
๖.๕ ลูกจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ท่ีดว้ ยความขยนั และเตม็ ความสามารถ
๖.๖ ลูกจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎแห่งความปลอดภยั ในการทางาน
๖.๗ ลูกจา้ งตอ้ งดูแลบารุงรักษาเครื่องจกั ร เคร่ื องมือ และอุปกรณ์การทางานให้อยู่ ในสภาพดีเป็ น
ระเบียบเรียบร้อยตามความจาเป็น หรือตามควรแก่หนา้ ท่ีของตน
๖.๘ ลูกจา้ งตอ้ งช่วยกนั ระมดั ระวงั และป้ องกนั ทรัพยส์ ินใดๆ ในบริเวณที่ทางานหรือโรงงาน โดยมิให้
สูญหายหรือเสียหายจากบุคคลใดๆ หรือจากภยั พบิ ตั ิอื่นๆ เท่าท่ีสามารถจะทาได้
๖.๙ ลูกจา้ งตอ้ งช่วยกนั รักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในบริเวณที่ทางานหรือโรงงาน
๖.๑๐ ลูกจ้างต้องไม่กระทาการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายบุคคลใดในบริเวณที่ทางานหรือ
โรงงาน
๖.๑๑ ลูกจา้ งตอ้ งไม่นายาเสพติดผิดกฎหมาย หรืออาวุธที่มีอนั ตรายร้ายแรง หรือวตั ถุระเบิดเขา้ มา
บริเวณท่ีทางานหรือโรงงาน

ลูกจ้างผูใ้ ดฝ่ าฝื นจะถูกพิจารณาลงโทษโดยการตักเตือนด้วยวาจา ตักเตือนเป็ นหนังสื อ
ใหพ้ กั งาน หรือเลิกจา้ ง ตามสมควรแห่งความผดิ ที่ไดก้ ระทา

ในกรณีท่ีลูกจา้ งถูกกล่าวหาวา่ กระทาความผิดวินยั นายจา้ งอาจมีคาสั่งพกั งานเป็ นหนงั สือระบุ
ความผิดและกาหนดระยะเวลาพกั งานในระหวา่ งการสอบสวนไดไ้ ม่เกินเจด็ วนั โดยแจง้ ลูกจา้ งทราบก่อนการ
พกั งาน ซ่ึงในระหว่างการพกั งานนายจา้ งจะจ่ายเงินให้แก่ลูกจา้ งไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของค่าจา้ งในวนั
ทางานท่ีลูกจา้ งได้รับก่อนถูกสั่งพกั งาน และเม่ือการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว ปรากฏว่าลูกจา้ งไม่มีความผิด
นายจา้ งจะจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจา้ งเท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทางานนับแต่วนั ท่ีลูกจา้ งถูกส่ังพกั งานเป็ นตน้ ไปโดย
คานวณเงินท่ีนายจา้ งจา่ ยไปแลว้ เป็นส่วนหน่ึงของค่าจา้ งพร้อมดว้ ยดอกเบ้ียร้อยละสิบหา้ ต่อปี

/๗. การร้องทุกข์

-๗-

๗. การร้องทกุ ข์

๗.๑ ขอบเขตและความหมาย
การร้องทุกข์ หมายถึง กรณีท่ีลูกจา้ งมีความไม่พอใจหรือมีความทุกข์อนั เกิดข้ึนเนื่องจากการ

ทางานไม่วา่ จะเป็ นเร่ืองสภาพการทางาน สภาพการจา้ ง การบงั คบั บญั ชา การสั่งหรือมอบหมายงาน การจ่าย
ค่าตอบแทนในการทางานหรือประโยชน์อ่ืน หรือการปฏิบัติใดท่ีไม่เหมาะสมระหว่างนายจ้างหรื อ
ผบู้ งั คบั บญั ชาต่อลูกจา้ งหรือระหว่างลูกจา้ งดว้ ยกนั และลูกจา้ งได้เสนอความไม่พอใจหรือความทุกข์น้นั ต่อ
นายจา้ ง เพ่ือให้นายจา้ งไดด้ าเนินการแกไ้ ขหรือยุติเหตุการณ์น้นั ท้งั น้ี เพื่อให้เกิดความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ ง
นายจา้ งและลูกจา้ ง และเพอ่ื ใหล้ ูกจา้ งทางานดว้ ยความสุข

๗.๒ วธิ ีการและข้นั ตอน
ลูกจา้ งท่ีมีความไมพ่ อใจหรือมีความทุกขเ์ น่ืองจากการทางานดงั กล่าวขา้ งตน้ ควรยนื่ คาร้องทุกข์

ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรงหรือผบู้ งั คบั บญั ชาช้นั แรกของตนโดยเร็ว เวน้ แต่เร่ืองท่ีจะร้องทุกขน์ ้นั เกี่ยวกบั การ
ปฏิบตั ิของผบู้ งั คบั บญั ชาดงั กล่าวหรือผบู้ งั คบั บญั ชาดงั กล่าวเป็ นตน้ เหตุก็ให้ยื่นคาร้องทุกข์ต่อผบู้ งั คบั บญั ชา
ระดบั สูงข้ึนไปอีกช้นั หน่ึง

การย่ืนคาร้องทุกข์ให้กรอกขอ้ ความลงในแบบพิมพท์ ี่นายจา้ งไดก้ าหนดข้ึน (เพื่อให้เป็ นแบบ
เดียวกนั และไดข้ อ้ มูลท่ีสาคญั ครบถว้ น) หรือกรณีนายจา้ งไม่มีแบบพมิ พใ์ หร้ ้องทุกขไ์ ดโ้ ดยวาจา

๗.๓ การสอบสวนและพจิ ารณา
เม่ือผูบ้ งั คบั บญั ชาได้รับคาร้องทุกข์จากลูกจา้ งแล้ว ให้รีบดาเนินการสอบสวนเพื่อให้ทราบ

ขอ้ เท็จจริงในเรื่องที่ร้องทุกขน์ ้นั โดยละเอียดเท่าที่จะทาได้ โดยดาเนินการดว้ ยตนเองหรือดว้ ยความช่วยเหลือ
จากนายจา้ ง ท้งั น้ี ลูกจา้ งผยู้ นื่ คาร้องทุกขช์ อบท่ีจะใหข้ อ้ เทจ็ จริงโดยละเอียดแก่ผบู้ งั คบั บญั ชาดว้ ย

เม่ือสอบสวนขอ้ เท็จจริงแลว้ ให้ผบู้ งั คบั บญั ชาพิจารณาเรื่องราวร้องทุกขน์ ้นั หากเป็ นเร่ืองท่ีอยู่
ในขอบเขตของอานาจหน้าที่ของผูบ้ งั คบั บญั ชาน้ันและผูบ้ งั คบั บญั ชาสามารถแก้ไขได้ ก็ให้ผูบ้ งั คบั บญั ชา
ดาเนินการแก้ไขให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว แลว้ แจง้ ให้ลูกจ้างผูย้ ื่นคาร้องทุกข์ทราบ พร้อมท้งั รายงานให้นายจา้ ง
ทราบดว้ ย

หากเร่ืองราวที่ร้องทุกข์น้ัน เป็ นเรื่องที่อยู่นอกเหนืออานาจหน้าที่ของผูบ้ ังคบั บัญชาน้ันให้
ผบู้ งั คบั บญั ชาดงั กล่าวเสนอเรื่องราวท่ีร้องทุกข์ พร้อมท้งั ขอ้ เสนอในการแกไ้ ขหรือความเห็นต่อผบู้ งั คบั บญั ชา
ระดบั สูงข้ึนไปตามลาดบั

ให้ผูบ้ ังคับบญั ชาระดบั สูงข้ึนไปดาเนินการสอบสวนและพิจารณาคาร้องทุกข์เช่นเดียวกับ
ผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ตน้ ท่ีไดร้ ับคาร้องทุกข์

ผบู้ งั คบั บญั ชาแต่ละช้นั ตอ้ งดาเนินการเก่ียวกบั คาร้องทุกขโ์ ดยเร็วอยา่ งชา้ ไมเ่ กิน ๗ วนั

/๗.๔ กระบวนการยุตขิ ้อร้องทุกข์

-๘-
๗.๔ กระบวนการยตุ ิข้อร้องทุกข์

เม่ือผบู้ งั คบั บญั ชาแต่ละช้นั ไดพ้ ิจารณาคาร้องทุกข์ ดาเนินการแกไ้ ขหรือยุติเหตุการณ์ท่ีเกิดการ
ร้องทุกข์ และได้แจ้งให้ลูกจ้างผู้ย่ืนคาร้องทุกข์ทราบ หากลูกจ้างผู้ย่ืนคาร้ องทุกข์พอใจก็ให้แจ้งให้
ผบู้ งั คบั บญั ชาทราบโดยเร็วแตถ่ า้ ลูกจา้ งผยู้ นื่ คาร้องทุกขไ์ ม่พอใจ ก็ใหย้ นื่ อุทธรณ์ โดยกรอกขอ้ ความท่ีอุทธรณ์
ลงในแบบพิมพท์ ่ีนายจา้ งไดก้ าหนดข้ึนและยนื่ ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาสูงสุดภายใน ๗ วนั นบั ต้งั แตว่ นั ที่ทราบผลการ
ร้องทุกขจ์ ากผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ตน้

ผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั สูงสุดจะพิจารณาอุทธรณ์และดาเนินการแกไ้ ขหรือยุติเหตุการณ์ตามคาร้อง
ทุกข์ และแจง้ ผลการพจิ ารณาดาเนินการใหล้ ูกจา้ งผยู้ นื่ คาร้องทุกขท์ ราบภายใน ๑๕ วนั

หากลูกจา้ งผูย้ ่ืนคาร้องทุกขย์ งั ไม่พอใจผลการพิจารณาอุทธรณ์ของผูบ้ งั คบั บญั ชาสูงสุด ย่อมมี
สิทธิดาเนินการในทางอื่นอนั ชอบดว้ ยกฎหมายต่อไปได้ (หรืออาจเสนอต่อนายจา้ ง เพ่ือร่วมกนั ต้งั ผชู้ ้ีขาดข้ึน
เพือ่ วนิ ิจฉยั ช้ีขาดปัญหาอนั เกิดจากคาร้องทุกขน์ ้นั ต่อไปได)้

๗.๕ ความคุ้มครองผู้ร้องทกุ ข์และผ้เู กย่ี วข้อง
เน่ืองจากการร้องทุกขท์ ี่กระทาไปโดยสุจริตใจ ยอ่ มก่อใหเ้ กิดประโยชน์อนั ยง่ิ ใหญแ่ ก่ท้งั นายจา้ ง

และลูกจา้ งเป็ นส่วนรวม ดงั น้นั ลูกจา้ งผยู้ นื่ คาร้องทุกข์ ลูกจา้ งผใู้ ห้ถอ้ ยคา ให้ขอ้ มูล ให้ขอ้ เทจ็ จริง หรือให้
พยานหลกั ฐานใดเกี่ยวกบั การร้องทุกข์ และลูกจา้ งท่ีเป็ นผพู้ ิจารณาคาร้องทุกข์ เม่ือไดก้ ระทาไปโดยสุจริตใจ
แมจ้ ะเป็ นเหตุให้เกิดขอ้ ยงุ่ ยากประการใดแก่นายจา้ ง ก็ยอ่ มไดร้ ับการประกนั จากนายจา้ งวา่ จะไม่เป็ นเหตุหรือ
ถือเป็นเหตุท่ีจะเลิกจา้ ง ลงโทษ หรือดาเนินการใดที่เกิดผลร้ายต่อลูกจา้ งดงั กล่าว

๘. การเลกิ จ้างค่าชดเชย และค่าชดเชยพเิ ศษ

๘.๑ การเลกิ จ้างกรณปี กติ
การเลิกจา้ ง หมายความวา่
(๑) การท่ีนายจา้ งไม่ให้ลูกจา้ งทางานต่อไปและไม่จ่ายค่าจา้ งให้ ไม่วา่ จะเป็ นเพราะเหตุสิ้นสุด

สญั ญาจา้ งหรือเหตุอ่ืนใด
(๒) การท่ีลูกจา้ งไม่ไดท้ างานและไม่ไดร้ ับค่าจา้ งเพราะเหตุที่นายจา้ งไม่สามารถดาเนินกิจการ

ต่อไป
จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างทถ่ี ูกเลกิ จ้าง ดงั ต่อไปนี้
ก. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบหน่ึงร้อยยี่สิบวนั แต่ไม่ครบหน่ึงปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจา้ ง

อตั ราสุดทา้ ยสามสิบวนั หรือไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งของการทางานสามสิบวนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ ง
ตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย

ข. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบหน่ึงปี แต่ไม่ครบสามปี ให้จ่ายไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย
เก้าสิบวนั หรือไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานเก้าสิบวนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดย
คานวณเป็ นหน่วย

/ค. ลกู จ้างซึ่งทางาน...

-๙-

ค. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบสามปี แต่ไม่ครบหกปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย
หน่ึงร้อยแปดสิบวนั หรือไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานหนึ่งร้อยแปดสิบวนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับ
คา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

ง. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบหกปี แต่ไม่ครบสิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย
สองร้อยสี่สิบวนั หรือไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานสองร้อยส่ีสิบวนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ ง
ตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย

จ. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบสิบปี ข้ึนไป ให้จ่ายไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามร้อยวัน
หรือไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานสามร้อยวันสุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณ
เป็ นหน่วย

ฉ. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบย่ีสิบปี ข้ึนไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสี่ร้อยวัน
หรือไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานสี่ร้อยวนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็ น
หน่วย

ข้อยกเว้นในการไม่จ่ายค่าชดเชย
นายจา้ งไม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชยใหแ้ ก่ลูกจา้ งซ่ึงเลิกจา้ งในกรณีหน่ึงกรณีใด ดงั น้ี
(๑) ทุจริตตอ่ หนา้ ที่หรือกระทาความผดิ อาญาโดยเจตนาแก่นายจา้ ง
(๒) จงใจทาใหน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสียหาย
(๓) ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุใหน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสียหายอยา่ งร้ายแรง
(๔) ฝ่ าฝืนขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน ระเบียบหรือคาสั่งของนายจา้ งอนั ชอบดว้ ยกฎหมายและ
เป็นธรรม และนายจา้ งไดต้ กั เตือนเป็นหนงั สือแลว้ เวน้ แตก่ รณีท่ีร้ายแรงนายจา้ งไม่จาเป็นตอ้ งตกั เตือน
หนงั สือเตือนใหม้ ีผลบงั คบั ใชไ้ ดไ้ มเ่ กินหน่ึงปี นบั แตว่ นั ที่ลูกจา้ งไดก้ ระทาผดิ
(๕) ละทิ้งหน้าท่ีเป็ นเวลาสามวนั ทางานติดต่อกนั ไม่วา่ จะมีวนั หยดุ คน่ั หรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุ
อนั ควร
(๖) ไดร้ ับโทษจาคุกตามคาพพิ ากษาถึงท่ีสุดใหจ้ าคุก
ในกรณี (๖) ถา้ เป็ นความผิดที่ไดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษตอ้ งเป็ นกรณีที่เป็ นเหตุ
ใหน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสียหาย
การบอกเลิกสัญญาจา้ ง
ก. การจา้ งที่มีกาหนดระยะเวลา สัญญาจา้ งสิ้นสุดลงเม่ือครบกาหนดระยะเวลาจา้ ง โดยนายจา้ ง
และลูกจา้ งไม่ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหนา้
ข. การจา้ งท่ีไม่มีกาหนดระยะเวลา นายจา้ งหรือลูกจา้ งอาจบอกเลิกสัญญาจา้ งโดยบอกกล่าว
ล่วงหนา้ เป็นหนงั สือใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึงทราบอยา่ งนอ้ ยหน่ึงงวดการจ่ายค่าจา้ ง
ลูกจา้ งทดลองงานถือเป็นลูกจา้ งตามสัญญาจา้ งท่ีไมม่ ีกาหนดระยะเวลา

/๘.๒ การเลกิ จ้าง…

- ๑๐ -

๘.๒ การเลิกจ้างเพราะเหตุอื่นท่ีนายจ้างปรับปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลิต การจาหน่าย หรือการ
บริการ อันเน่ืองจากการนาเคร่ืองจักรมาใช้หรือเปลี่ยนแปลงเคร่ืองจักรหรือเทคโนโลยี ซึ่งเป็ นเหตุให้ต้องลด
จานวนลกู จ้าง นายจ้างจะปฏบิ ัติ ดังนี้

(๑) แจง้ วนั ท่ีจะเลิกจา้ ง เหตุผลของการเลิกจา้ งและรายช่ือลูกจา้ งที่จะถูกเลิกจา้ งให้พนักงานตรวจ
แรงงานและลูกจา้ งทราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ หกสิบวนั ก่อนวนั ที่จะเลิกจา้ ง

ในกรณีนายจา้ งไม่สามารถแจง้ ไดห้ รือแจง้ การเลิกจา้ งนอ้ ยกวา่ หกสิบวนั ตอ้ งจ่ายค่าชดเชยพิเศษ
แทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยหกสิบวนั หรือเท่ากบั ค่าจา้ งของการทางานหกสิบวนั
สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

(๒) จ่ายค่าชดเชยพิเศษเพ่ิมจากค่าชดเชยปกติตามขอ้ ๘.๑ ในกรณีท่ีลูกจา้ งทางานติดต่อกนั เกินหกปี
ข้ึนไป โดยจ่ายไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ยสิบห้าวนั ต่อการทางานครบหน่ึงปี หรือไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งของการ
ทางานสิบหา้ วนั สุดทา้ ยตอ่ การทางานครบหน่ึงปี สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
ท้งั น้ี ค่าชดเชยพิเศษดงั กล่าวจะไม่เกินค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามร้อยหกสิบวนั หรือไม่เกินค่าจา้ งของการทางาน
สามร้อยหกสิบวนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

กรณีระยะเวลาการทางานไม่ครบหน่ึงปี ถา้ เศษของระยะเวลาทางานมากกวา่ หน่ึงร้อยแปดสิบวนั
ใหน้ บั เป็นการทางานครบหน่ึงปี

๘.๓ การย้ายสถานประกอบกจิ การไปต้งั ณ สถานทอี่ นื่
มาตรา 120 นายจา้ งซ่ึงประสงคจ์ ะยา้ ยสถานประกอบกิจการแห่งหน่ึงแห่งใดไปต้งั ณ สถานที่ใหม่

หรือยา้ ยไปยงั สถานท่ีอื่นของนายจา้ ง ให้นายจา้ งปิ ดประกาศแจง้ ใหล้ ูกจา้ งทราบล่วงหนา้ โดยใหป้ ิ ดประกาศไว้
ในที่เปิ ดเผย ณ สถานประกอบกิจการน้นั ต้งั อยู่ ที่ลูกจา้ งสามารถเห็นไดอ้ ย่างชดั เจนติดต่อกนั เป็ นเวลาไม่น้อย
กวา่ 30วนั ก่อนวนั ยา้ ยสถานประกอบกิจการ และประกาศน้นั อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมีขอ้ ความชดั เจนเพียงพอที่จะเขา้ ใจ
ไดว้ า่ ลูกจา้ งคนใดจะตอ้ งถูกยา้ ยไปสถานที่ใดและเม่ือใด

ในกรณีท่ีนายจา้ งไม่ปิ ดประกาศให้ลูกจา้ งทราบล่วงหน้าตามวรรคหน่ึง ให้นายจา้ งจ่ายค่าชดเชย
พเิ ศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ แก่ลูกจา้ งที่ไมป่ ระสงคจ์ ะไปทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ เท่ากบั
ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย 30 วนั หรือเท่ากบั ค่าจา้ งของการทางาน 30 วนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ ง ซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตาม
ผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย

หากลูกจา้ งคนใดเห็นวา่ การยา้ ยสถานประกอบกิจการดงั กล่าวมีผลกระทบสาคญั ต่อการดารงชีวิต
ตามปกติของลูกจา้ งหรือครอบครัวของลูกจา้ งคนน้นั และไมป่ ระสงคจ์ ะไปทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่ง
ใหม่ ต้องแจง้ ให้นายจา้ งทราบเป็ นหนังสือภายใน 30 วนั นับแต่วนั ที่ปิ ดประกาศ หรือนับแต่วนั ที่ยา้ ยสถาน
ประกอบกิจการในกรณีที่นายจา้ งมิไดป้ ิ ดประกาศ ตามวรรคหน่ึง และให้ถือว่าสัญญาจา้ งสิ้นสุดลงในวนั ที่
นายจา้ งยา้ ยสถานประกอบกิจการโดยลูกจา้ งมีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชยพิเศษไมน่ อ้ ยกวา่ อตั ราค่าชดเชยที่ลูกจา้ งพึงมี
สิทธิไดร้ ับตาม มาตรา 118

/ใหน้ ายจา้ ง….

- ๑๑ -

ให้นายจา้ งจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามวรรคสอง หรือค่าชดเชยพิเศษตาม
วรรคสามใหใ้ หแ้ ก่ลูกจา้ ง ภายใน 7 วนั นบั แตว่ นั ท่ีสัญญาจา้ งสิ้นสุด

ในกรณี ท่ีนายจ้างไม่เห็นด้วยกับเหตุผลของลูกจ้างตามวรรคสาม ให้นายจ้างย่ืนคาร้องต่อ
คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ท่ีไดร้ ับแจง้ เป็นหนงั สือ

ประกาศ ณ วนั ที่……………………………………….
ลงช่ือ………………………………………..
(…………………………….……………)

ตาแหน่ง…………………………….……………


Click to View FlipBook Version