The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรหน่วยการเรียนรู็บูรณาการโรงเรียนบ้านหนองโสน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaekanya29, 2022-01-25 02:43:13

หลักสูตรบูรณาการท้องถิ่นโรงเรียนบ้านหนองโสน

หลักสูตรหน่วยการเรียนรู็บูรณาการโรงเรียนบ้านหนองโสน

หลักสูตรหนว ยการเรยี นรบู ูรณาการ

การศึกษาปลอดภัยและมคี ณุ ภาพ
สาระการเรียนรูวิถชี ีวิตในครอบครัว ชุมชนและทอ งถ่นิ

ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔

โรงเรยี นบานหนองโสน อ.พรานกระตาย จ.กําแพงเพชร
สํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาํ แพงเพชร เขต ๑

สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ


คาํ นํา
หลักสูตรบูรณาการ การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพ สาระการเรียนรูวิถีชีวิตในครอบครัว
ชุมชนและทองถิ่น สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ตามนโยบาย “การศึกษา
ปลอดภยั และมีคุณภาพ” ท่จี ะนําสาระการเรียนรทู อ งถนิ่ ตางๆ ตามบรบิ ทของโรงเรยี น ภายใตสถานการณการ
แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ไปสูการจัดการเรียนรใู นโรงเรียน ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางมีคุณภาพทั่วไป ๓ ดาน คือ จิตพิสัย (Affective Domain) พุทธพิสัย
(Cognitive Domain) ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) และ ดานการจัดการเพ่ือความปลอดภัย
(Safety Management)
โรงเรียนบานหนองโสน ไดดําเนินการพัฒนาหลักสูตร ท่ีจะนําสาระการเรียนรูทองถ่ินตางๆ มา
จัดการเรียนรูในโรงเรียนอยางมีคุณภาพ “ในทุกชั้นเรียน” เปาหมายคือ นักเรียนทุกคน ไดเรียนในสาระการ
เรยี นรูที่เปนวถิ ชี ีวิตของตนเองในครอบครัว ชุมชนและทองถนิ่ ทีเ่ หมาะสมกับความสามารถและวัยของนกั เรียน
การดําเนินงานตามนโยบาย ซ่ึงมีรายละเอียดประกอบดวย ความเปนมาของหลักสูตร จุดมงุ หมายของหลักสูตร
โครงสรา งและเนือ้ หาของหลกั สตู ร ระยะเวลาของหลักสตู ร กิจกรรมการเรยี นรู สื่อและแหลงเรียนรู และการวดั
และประเมนิ ผล
โรงเรียนบานหนองโสน ไดนําหลักสูตรบูรณาการ การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพ สาระการ
เรียนรูวิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและทองถิ่น ชวยสงเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู ใหนักเรียนนําความรู
ตาง ๆ ที่ไดจากการเรียนรูไปใช ใหเกิดทักษะอานออก เขียนได คิดเลขเปน รักการอาน เกิดทักษะคิดเปน ทํา
เปน แกป ญหาและสรา งแรงบันดาลใจการทํางานในรปู แบบโครงการหรือโครงงานที่จะสามารถ ตอยอดนาํ ไปใช
ไดจริงในชีวิตประจําวันอยางมีคุณภาพ และใหมีความปลอดภัยตอสุขภาพและทรัพยสินของตนเองและผูอื่น
ตลอดจนใหเปนประโยชนต อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและสงั คมตอ ไป

(นายพงษธร สันติกลุ )
ผอู ํานวยการโรงเรยี นบา นหนองโสน

สารบัญ ข

หนา
คาํ นํา........................................................................................................................................ ก
สารบัญ........................................................................................................................................ ข

บทนาํ .............................................................................................................................. ๑
จดุ มงุ หมายการพัฒนา..................................................................................................... ๒
สาระการเรยี นร.ู ............................................................................................................. ๒
สมรรถนะสําคญั ของผูเรยี น............................................................................................. ๒
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค. ............................................................................................ ๓
โครงสรา งหลักสูตรบูรณาการการศกึ ษาปลอดภัยและมคี ณุ ภาพสาระการเรียนรวู ถิ ีชวี ิต ๕
ในครอบครัว ชุมชนและทอ งถน่ิ ..................................................................................... ๑๖
แนวการดําเนนิ งาน........................................................................................................... ๑๗
การวัดและประเมินผล.................................................................................................... ๑๙
ภาคผนวก

หลกั สูตรบูรณาการ การศกึ ษาปลอดภยั และมีคุณภาพ ๑
สาระการเรียนรูว ิถชี ีวิตในครอบครวั ชมุ ชนและทอ งถ่นิ

............................................................................
สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษากาํ แพงเพชร เขต ๑

บทนาํ
“สถานศกึ ษาปลอดภัย มน่ั ใจอา นออก เขียนได คิดเลขเปน” เปนนโยบายของสํานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต ๑ ในการสงเสริม สนับสนุนจัดการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของโรงเรยี นในสังกดั และเพ่อื ใหบ รรลผุ ลสําเร็จตามนโยบาย สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
ไดเลือกใชยุทธศาสตร “การศกึ ษาปลอดภัยและมคี ุณภาพ” ในการขบั เคลือ่ นนโยบายดงั กลาว

การดําเนินการของโรงเรียนตามนโยบาย นอกจากการพัฒนาสภาพแวดลอมตาง ๆ ใหมีความ
สะอาด เปนระเบียบ รมรื่น สวยงาม และมีความปลอดภัยทางกายภาพแลว โรงเรียนยังตองพัฒนาหลักสูตร
บูรณาการ “การศึกษาปลอดภยั และมีคุณภาพ” ที่จะนําสาระการเรียนรทู องถ่นิ ตา งๆ ตามบริบทของโรงเรยี น
ภายใตสถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ไปสูการจัดการเรียนรูใน
โรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีคุณภาพทั่วไป 3 ดาน คือ จิตพิสัย (Affective
Domain) พุทธพิสัย (Cognitive Domain) ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) แลว โรงเรียนยังตองเพม่ิ
จดุ มุงหมายการพัฒนา ดา นการจัดการเพ่ือความปลอดภัย (Safety Management) อีกดวย

ผูบริหารสถานศึกษาและครู เปนนักพัฒนาหลักสูตร ท่ีจะนําสาระการเรียนรูทองถิ่นตาง ๆ มาจัด
การเรียนรูในโรงเรียนอยางมีคุณภาพ “ในทุกชั้นเรียน” เปาหมายคือ นักเรียนทุกคน ไดเรียนในสาระการ
เรียนรูท ่ีเปนวถิ ชี วี ิตของตนเองในครอบครัว ชุมชนหรือทอ งถนิ่ ทเ่ี หมาะสมกบั ความสามารถและวัยของนักเรียน
การดําเนินงานตามนโยบาย ครูตองเปล่ียนบทบาทจากผูสอน เปนผูอํานวยความสะดวก เปนโคชสงเสริม
สนับสนุนใหนักเรียนได “ศึกษาคนควา” ขอมูล สารสนเทศ ความรู ภูมิปญญาจากสื่อและแหลงการเรียนรูท่ี
หลากหลาย แลว นําไปสกู ารคิดวเิ คราะห สงั เคราะห สรปุ และสรางเปนความรขู องตนเอง (เปน ผลงานนักเรยี นที่
เปนรูปธรรม) สุดทายผูบริหารสถานศึกษาและครู ตองสงเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู ใหนักเรียนนํา
ความรตู า งๆ ท่ีไดจากการเรียนรูไปใช ใหเกิดทักษะการทาํ งานในรปู แบบโครงการหรอื โครงงานที่จะสามารถตอ
ยอดนาํ ไปใชไดจ รงิ ในชีวิตประจาํ วนั อยา งมีคุณภาพ และใหม ีความปลอดภัยตอสุขภาพและทรพั ยสินของตนเอง
และผูอ น่ื ตลอดจนใหเ ปน ประโยชนต อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและสงั คมตอ ไป

โรงเรียนบานหนองโสน เปนโรงรียนขยายโอกาสขนาดกลาง สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 1 ต้ังอยูเลขท่ี 99/4 หมู 3 ตําบลเขาคีริส อําเภอพรานกระตาย
จังหวัดกําแพงเพชร เปดสอนตั้งแตระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน เปนเขตพื้นที่
บรกิ าร ๓ หมูบ า น คือหมู ๓ บา นหนองโสน หมู ๑๖ บา นหนองตะเข และหมู ๑๘ บานหนองศาลา ผูบรหิ าร
โรงเรยี นคนปจจุบัน คือ นายพงษธ ร สันตกิ ลุ

จดุ มงุ หมายการพัฒนานักเรียน ๒

สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาํ แพงเพชร เขต ๑ มคี วามมุงหวงั ในการพฒั นา
นักเรียนในสังกัด ใหม ีคณุ ลักษณะสาํ คัญและมขี อ มูล สารสนเทศ ความรู ภูมิปญญาจากส่ือและแหลงการเรยี นรู
ทีห่ ลากหลาย แลว นําไปสกู ารคิดวิเคราะห สังเคราะห สรปุ และสรา งเปนความรขู องตนเอง
1. มคี วามรู ความเขาใจและสามารถสรางความรูตามบริบทของวถิ ชี วี ติ ในครอบครวั ชุมชนและ
ทองถิ่นของตนเอง
2. มที กั ษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ท่สี ําคญั ไดแก
๒.๑ รกั การอาน มคี วามใฝรูและใฝเ รยี นรู
๒.๒ ใชป ระโยชนจากคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒.๓ คิดวเิ คราะห สงั เคราะหและสรางความรูดวยตนเอง
๒.๔ ทํางานเปน และทํางานรวมกับผอู ่ืนไป
๒.๕ มีทักษะ คิดเปน ทํางานเปน แกปญ หาเปน และมีแรงบันดาลใจ
๓. มสี มรรถนะและคุณลกั ษณะอันพึงประสงคตามหลกั สตู ร
๔. มีเจตคติที่ดีตอ การเรยี นรู วถิ ชี วี ิตในครอบครัว ชมุ ชนและทองถนิ่ ของตนเอง
๕. มแี นวทางปฎบิ ัติเพอ่ื ความปลอดภยั ทุกรูปแบบ (Safety Management)

สาระการเรียนรู
สาระการเรียนรูสําหรับเปนหวั ขอ เร่ืองในการจัดการเรยี นรูบรู ณาการ การศกึ ษาปลอดภัย และ

มคี ุณภาพสาระการเรยี นรวู ิถีชีวติ ในครอบครวั ชมุ ชนและทองถ่ิน ไดแก
๑. ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เรื่อง ไขเคม็ สมนุ ไพร
๒. ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ เรอ่ื ง ประเภทผักกินใบกนิ ตน
๓. ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๓ เรื่อง การทาํ น้าํ ยาลางจาน
๔. ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๔ เรือ่ ง น้ําสมุนไพรตา นภยั โควดิ (กระชาย)
๕. ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ เรือ่ ง ไมก วาดทางมะพรา ว
๖. ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ เร่ือง การปลูกกลว ย
๗. ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๑ เร่อื ง สบูสมนุ ไพร
๘. ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ เรื่อง เห็ดโคน (ของดีพรานกระตาย)
๙. ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓ เรอ่ื ง จกั สานไมไผ

สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น
หลักสูตรโรงเรียนบานหนองโสน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกลนกลาง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) มุนเนนใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ
๕ ประการ คอื

๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความ
เขาใจ ความรสู ึก และทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี นขอ มลู ขาวสาร และประสบการณอ นั จะเปน ประโยชนตอ
การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับ


หรือไมรบั ขอมูลขา วสารดวยหลกั เหตุผล และความถกู ตอง ตลอดจนการเลอื กใชวธิ ีการสอื่ สารท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ
โดยคาํ นงึ ผลกระทบทม่ี ตี อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคดิ
เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมี
วิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรอื สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเกี่ยวกบั
ตนเองและสังคมไดอ ยา งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
เปน ความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ ทเ่ี ผชญิ ไดอ ยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของ
หลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ
แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหาและมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดย
คาํ นงึ ถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดขึ้นตอตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ ม
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ
เปน ความสามารถในการนาํ กระบวนการตา งๆ ไปใชในการดําเนินชวี ติ ประจําวนั การเรียนรูดว ยตนเอง
การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอ ันดีระหวาง
บุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของ
สังคมและสภาพแวดลอม และการรูจกั หลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไมพงึ ประสงคทส่ี ง ผลกระทบตอ ตนเองและผูอ่นื
๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดานตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค
ถกู ตอ งเหมาะสม และมคี ุณธรรม
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดกาํ หนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคของ
ผูเ รียนไว ๘ ประการ ดังตอ ไปน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย
๒. ซื่อสัตยส ุจริต
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝเรียนรู
๕. อยอู ยา งพอเพยี ง
๖. มงุ มนั่ ในการทาํ งาน
๗. รักความเปนไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ
เพือ่ ปลกู ฝง และพัฒนาผูเรียนใหเปนผูที่มีความรูคูคุณธรรม มคี ณุ ลกั ษณะท่ีดีสําหรับการดํารงชีวิตใน
สังคม ซ่ึงการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงคน้ัน ตองใชขอมูลจากการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพจรงิ ตาม
บริบทของโรงเรียน ฉะนั้นครูผูสอนจะตองใชเวลาในการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนแตละคนเพ่ือนํามาประเมนิ
และตัดสินผล กลุมบริหารวิชาการ จึงไดจัดทําคูมือการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนขึ้น
เพ่ือใหครูท่ีปรึกษาไดใชเปนแนวทางในการประเมินท่ีเปนรูปแบบและแนวทางอันเดียวกัน และสงผลใหการ
ประเมนิ ท่ีไดต รงตามมาตรฐาน ตามตัวชี้วดั ตามทห่ี ลักสตู รฯ กาํ หนด

4

โครงสรางหลกั สูตรบูรณาการ การศกึ ษาเพื่อความปลอดภยั และมีคุณภาพ
สาระการเรียนรวู ถิ ีชีวติ ในครอบครัว ชมุ ชนและทองถิน่
ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑ เรอื่ ง ไขเ คม็ สมุนไพร

ชน้ั /เรอื่ ง/เวลา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ช้ินงาน สื่อและแหลง เรยี นรู การวดั และประเมนิ ผล
ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ ๑. ประโยชนแ ละความสําคญั ของ ๑. มีความตระหนักและ ๑. เลาเรือ่ งการดองไข ๑. วีดิทัศนการดองไขเ ค็มสมนุ ไพร ๑. แบบสงั เกต
เร่ือง ไขเ คม็ สมุนไพร ไขเ คม็ สมุนไพร เห็นความสําคัญของการ เคม็ สมนุ ไพรจากการดู ๒. ใบความร/ู ใบงานเกี่ยวกบั การดองไข พฤตกิ รรม
เวลา ๒๐ ชม. ดองไขเค็มสมุนไพร สอื่ วดี ทิ ัศน เค็มสมนุ ไพร ๒. ชนิ้ งานและผลงาน
๒. เขยี นเร่ืองจากภาพ ๓. วสั ดุและอุปกรณที่ใชในการดองไขเ ค็ม ๓. แบบทดสอบทักษะ
การดองไขเ คม็ สมนุ ไพร สมุนไพร การอานและการเขียน
๓. อานขอความส้ันๆ ๔. ภมู ิปญ ญาทองถิ่น คุณยศวิมล คชรัตน ๔. ตรวจผลงาน
เกีย่ วกบั การดองไขเคม็ ๕. เวบ็ ไซตต า ง ๆ เชน
สมนุ ไพร https://www.youtube.com/watch?v
=hb4hRmTjH6U
๒. การประกอบการทํา ไขเ คม็ ๒. มีความรูค วามเขาใจใน
สมนุ ไพร การสรางและนาํ เสนอ
๒.๑ ชนิดของสมุนไพรทีน่ าํ มาใช ความรเู ก่ียวกับการดองไข
ในการดองไขเ ค็มสมุนไพร เคม็ สมุนไพรดว ยการเลา
๒.๒ กรรมวธิ ดี องไขเคม็ สมุนไพร เร่อื งและเขยี นเร่อื งจาก
๒.๓ การจัดเก็บการดูแลรักษาไข ภาพได
เค็มสมนุ ไพร ๓. ทกั ษะในการการดองไข
๓. การปฏบิ ตั ิการดองไขเค็ม เค็มสมุนไพร
สมนุ ไพร ๔. มแี นวทางปฏบิ ตั เิ พ่อื
๔. แนวทางปฏิบัตเิ พ่ือความ ความปลอดภัยจากการ
ปลอดภัยจากการดองไขเคม็ ดองไขเคม็ สมุนไพร

5

โครงสรา งหลกั สูตรบูรณาการ การศึกษาเพ่อื ความปลอดภยั และมีคณุ ภาพ
สาระการเรยี นรวู ิถีชีวิตในครอบครวั ชมุ ชนและทองถิ่น
ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๒ เรื่อง ผกั สวนครัว ประเภทผักกินใบกินตน
ช้ัน/เร่ือง/เวลา สาระการเรียนรู ผลการเรยี นรู ภาระงาน/ช้นิ งาน สอ่ื และแหลงเรยี นรู การวัดและประเมินผล
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๒ ๑. ประโยชนและความสาํ คญั ของ ๑. มีความตระหนกั และ ๑. เลาเรือ่ งปลูกผักผกั กิน ๑. แผนพับความรูก ารปลูกผักสวนครัว ๑. แบบทดสอบทักษะ
เร่ือง ประเภทผักกนิ ใบ การปลูกผกั สวนครวั ประเภทผกั เหน็ ความสําคญั ของการ ใบกนิ ตน ประเภทผักกินใบกินตน การอาน
กนิ ตน กินใบกนิ ตน(ผกั บุง คะนา ผักชี ปลูกผกั กินใบกนิ ตน ๒. เขยี นเรือ่ งจากภาพ ๒. วิดที ศั น ๒. ช้นิ งาน
เวลา ๒๐ ชม. ฝรัง่ กวางตงุ ) ๓. การจัดทําบัญชีรายรับ- ๓. แบบทดสอบการเลาเรอ่ื งจากภาพ ๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
๒. เรือ่ งปลูกผักประเภทผกั กนิ ใบ รายจาย ๔. Shopping Education Plaza ๔. แบบประเมนิ ช้ินงาน
กนิ ตน ๔. แตงประโยคจากคาํ (Online)
๒.๑ ชนดิ ของปลูกผักกินใบกินตน ๒. มคี วามรู ความเขา ใจ งายๆ ๕. google.com)
ในการสรา งนาํ เสนอ ๕. วาดภาพระบายสีผักที่
ความรูเ กี่ยวกับปลกู ผักกิน ฉันปลูก
๖. คําศพั ทสวนประกอบ
๒.๒ การขยายพนั ธุปลูกผักกินใบ ใบกินตน ดว ยการเลา เร่ือง ของผกั
กินตน และเขยี นเร่อื งจากภาพได
๒.๓ วิธกี ารปลกู ผกั กินใบกนิ ตน
๒.๔ การดแู ลรักษาปลูกผักกินใบ
กนิ ตน
๒.๕ การเกบ็ เกยี่ วการปลกู ผัก
กินใบกินตน

ชั้น/เรอื่ ง/เวลา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชิ้นงาน สื่อและแหลง เรยี นรู 6
3. การปฏบิ ตั กิ ารปลกู ผักกนิ ใบ ๓. ทกั ษะปลกู ผกั กนิ ใบ การวดั และประเมนิ ผล

กนิ ตน กนิ ตน
4. แนวทางปฎิบตั เิ พ่อื ความ ๔. มีกระบวนการทาํ งานฯ
ปลอดภยั จากปลูกผักผักกนิ ใบกิน เพ่อื ความปลอดภัยจาก
ตน ปลูกผกั กินใบกนิ ตน

7

โครงสรางหลักสูตรบูรณาการ การศกึ ษาเพ่อื ความปลอดภัยและมคี ุณภาพ
สาระการเรยี นรูว ิถชี ีวติ ในครอบครวั ชุมชนและทองถ่นิ
ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ เรื่อง น้าํ ยาลา งจาน

ช้นั /เร่อื ง/เวลา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชิน้ งาน ส่ือและแหลงเรียนรู การวดั และประเมินผล
ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑. ประโยชนและความสาํ คญั ของ ๑. มีความตระหนกั และ ๑. เขียนเรื่องจากภาพ ๑. บทความการทําน้าํ ยา ๑. แบบทดสอบทักษะ
เร่ือง การทํานํ้ายา การทาํ น้ํายาลางจาน เหน็ ความสําคญั ของการ จากบรรจุภัณฑน้ํายาลาง ลางจาน การอาน
ทาํ นํ้ายาลางจาน จาน ๒. ยอความการทาํ นํา้ ยา ๒. ชน้ิ งาน
ลา งจาน ๒. เขยี นเรียงความเรื่อง ลา งจาน ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม
เวลา ๒๐ ชม. ๔. แบบประเมนิ ผลงาน
กระบวนการทาํ นํ้ายา ๓. บทความสั้นการทาํ น้ํายาลา งจาน การเขียนเรอ่ื งจากภาพ
ลา งจาน ๔. วดี ทิ ศั นก ารทํานา้ํ ยา ๕. แบบประเมินผลงาน
๓. น้ํายาลางจาน ลางจาน การ
เขียนเรยี งความ
๒. เรอ่ื ง การทาํ นา้ํ ยาลา งจาน ๒.มคี วามรู ความเขาใจ
๒.๑ วัสดอุ ุปกรณ ในการสรา งนาํ เสนอ
๒.๒ วธิ ีการทํานํ้ายาลางจาน ความรเู ก่ยี วกบั การทาํ
๒.๓ การคาํ นวณ ตน ทนุ การผลติ นํ้ายาลา งจานดวยการ
๒.๔ การจาํ หนายน้าํ ยา เขียนเขียนเรือ่ งจากภาพ
ลางจาน และเขียนเรียงความ
๒.๕ การออกแบบผลิตภัณฑ บรรจุ
ภัณฑ
๓. การปฏิบัติการทาํ น้าํ ยา ๓. ทักษะการทาํ นา้ํ ยา
ลา งจาน ลา งจาน

๔. แนวทางปฎบิ ตั เิ พ่ือความ ๔. มีกระบวนการทาํ งาน
ปลอดภยั จากการทาํ น้าํ ยา ฯ เพอ่ื ความปลอดภยั
ลา งจาน จากการทาํ นา้ํ ยาลา งจาน

8

โครงสรา งหลกั สตู รบูรณาการ การศึกษาเพอ่ื ความปลอดภัยและมคี ณุ ภาพ
สาระการเรยี นรูว ิถีชีวติ ในครอบครัว ชมุ ชนและทองถ่ิน

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๔ เร่อื ง นา้ํ สมนุ ไพรตานภัยโควิด (กระชาย)

ชน้ั /เร่ือง/เวลา สาระการเรยี นรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชิ้นงาน ส่ือและแหลงเรียนรู การวัดและประเมนิ ผล
ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๔ ๑. ประโยชนแ ละความสําคัญ ๑. มคี วามตระหนกั และเห็น ๑. เขยี นเรียงความ ๑. บทความ นํ้ากระชาย ๑. แบบทดสอบทักษะการอา น
เรอ่ื ง น้าํ สมุนไพรตา น ของ น้ําสมนุ ไพรตา นภัย ความสําคัญของ น้ําสมุนไพร ๒. หนังสือเลม เล็ก เสรมิ ภูมคิ มุ กนั ๒. ช้นิ งาน
ตา นภยั โควิด(กระชาย)
ภัยโควิด (กระชาย) โควิด (กระชาย) ๒. ยอ ความ น้ํากระชาย ๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
เวลา ๒๐ ชม. เสริมภมู ิคมุ กนั ๔.แบบประเมินการคดั ลายมือ
๓. สรปุ ใจความความ น้าํ ๕.แบบประเมินการทําหนงั สือ
กระชายเสรมิ ภมู คิ มุ กัน เลมเลก็
๔. วดี ทิ ศั น สูตรทาํ น้าํ ๖.แบบประเมนิ การเขยี น
กระชายเขมขน ผสมนํา้ ผึง้ เรียงความ
และน้ํามะนาว อรอยด่ืม
งายกวาทีค่ ดิ ทาํ ตดิ ตูไว ชง
ดมื่ ไดท ง้ั บา น
๕. Shopping Education
Plaza (Online)
๖. google.com
๗. youtube.com

ชั้น/เรื่อง/เวลา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชนิ้ งาน ส่ือและแหลงเรียนรู 9
๒. เรื่อง น้าํ สมนุ ไพรตานภัย ๒. มคี วามรู ความเขาใจใน การวัดและประเมนิ ผล

โควิด (กระชาย) การสรา งนําเสนอความรู
๒.๑ ชนิดและการขยายพันธ เก่ยี วกบั นาํ้ สมุนไพรตา นภยั โค
๒.๒ วิธกี ารปลูก วิด (กระชาย) ดวยการเขียน
๒.๓ วธิ ีการดแู ลรักษา เรือ่ งจากภาพและเขยี น
๒.๔ ระยะเวลาการ เรยี งความ
เก็บเก่ียว
๒.๕ การแปรรูปกระชาย

๓. การปฏิบตั กิ าร ตม นํา้ กระชาย ๓. ทกั ษะในการทาํ นํา้
กระชาย

๔. แนวทางปฎบิ ัตเิ พอ่ื ความ ๔. มกี ระบวนการทาํ งานฯ
ปลอดภยั จากการตม นาํ้ กระชาย เพ่ือความปลอดภยั จากการ

ตม นาํ้ กระชาย

โครงสรา งหลกั สูตรบรู ณาการ การศึกษาเพื่อความปลอดภัยและมีคณุ ภาพ 10
สาระการเรียนรูวถิ ชี ีวติ ในครอบครวั ชมุ ชนและทองถ่นิ
ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๕ เรื่อง ไมกวาดทางมะพราว

ชัน้ /เรอ่ื ง/เวลา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ช้นิ งาน ส่อื และแหลงเรียนรู การวดั และประเมินผล
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๕ ๑. ประโยชนและความสําคญั ของ ๑. มีความตระหนักและเห็น ๑. เรยี งความ ๑. บทความ เรอ่ื งวธิ ที ําไม ๑. แบบทดสอบทักษะการ
เรื่อง ไมก วาดทาง ไมกวาดทางมะพราว ความสําคญั ของ การทาํ ไม ๒. หนงั สอื เลม เลก็ กวาดทางมะพรา วดว ย อาน
กวาดทางมะพรา ว ตนเอง พรอมวิธีใชไม ๒ ๒. แบบทดสอบทกั ษะการ
มะพราว ๒. เรอื่ ง ไมกวาดทางมะพราว ๒. มีความรู ความเขาใจใน แบบใหเหมาะกับงาน เขียน
เวลา ๒๐ ชม. ๒.๑ ชนดิ ของไมกวาดทางมะพรา ว การสรางนาํ เสนอความรู ๒. บทความสน้ั การทําไม ๓. ชน้ิ งาน
๒.๒ การเลือกซือ้ วสั ดุในการทาํ ไม เก่ยี วกับ การทาํ ไมกวาด กวาดทางมะพรา ว จาก ๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
กวาดทางมะพรา ว ทางมะพราวดว ยการเขยี น สํานักงานเกษตรและ
เรยี งความและสรางหนงั สือ สหกรณจังหวดั เพชรบรู ณ
๒.๒.๑ กา นมะพราว เลมเลก็ ได ๓. วีดิทศั น ขั้นตอนการทํา
๒.๒.๒ ดา มไมก วาด ไมก วาดทางมะพรา วสรา ง
๒.๓ วธิ กี ารทาํ ๓. ทักษะในการทาํ ไมกวาด รายได
๒.๔ การใชงาน ทางมะพราว
๒.๕ การเกบ็ รกั ษา ๔. มีกระบวนการทํางานฯ
๓. การปฏิบัตกิ าร ทําไมก วาด เพ่ือความปลอดภัยจาก การ
ทางมะพรา ว ทาํ ไมกวาดทางมะพราว.
๔. แนวทางปฏิบัตเิ พอ่ื ความ
ปลอดภัยจาก การทําไมกวาด
ทางมะพรา ว

โครงสรางหลกั สูตรบูรณาการ การศึกษาเพือ่ ความปลอดภยั และมีคณุ ภาพ ๑๑
สาระการเรยี นรวู ถิ ีชีวิตในครอบครัว ชมุ ชนและทอ งถิน่
ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ เร่อื ง การปลกู กลว ย

ชั้น/เรอื่ ง/เวลา สาระการเรยี นรู ผลการเรยี นรู ภาระงาน/ชิ้นงาน สื่อและแหลง เรยี นรู การวดั และประเมนิ ผล
ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ ๑. ประโยชนแ ละความสาํ คัญ ๑. ตระหนกั และเห็น ๑. เรยี งความ ๑. บทความการปลกู กลวย ๑. แบบทดสอบทักษะการ
เร่ือง การปลกู กลว ย ของการปลูกกลว ย ความสาํ คญั ของ การปลูก ๒. หนงั สอื เลม เล็ก ๒. วดี ิทัศน การปลกู กลว ย เขยี น
เวลา ๒๐ ชม. กลว ย ๓. Shopping Education ๒. ช้นิ งาน
Plaza (Online) ๓. แบบสังเกตพฤติกรรม
๒. เรื่องการปลกู กลวย ๒. อธบิ ายและนําเสนอความรู ๔. google.com)
๒.๑ ชนิดของกลวย เกีย่ วกบั การปลกู กลว ยดวย ๕. สารานุกรมไทยสําหรับ
๒.๒ การขยายพนั ธุกลวย การเขยี นเรียงความและสราง เยาวชนฯ เลม ที่ ๓๐
๒.๓ วธิ กี ารปลกู กลวย หนงั สือเลมเลก็ ได https://www.saranukro
๒.๔ การดูแลรักษา ๓. ทกั ษะในการการปลูก mthai.or.th/sub/book/
๒.๕ การเก็บเก่ียวผลผลติ กลว ย book.php?book=30&c
๓. การปฏบิ ตั กิ ารปลกู กลวย ๔. มีกระบวนการทํางานฯ hap=6&page=chap6.h
๔. แนวทางปฎบิ ตั เิ พอื่ ความ เพือ่ ความปลอดภยั จากการ tm
ปลอดภยั จากการปลกู กลวย ปลูกกลวย

โครงสรา งหลักสตู รบูรณาการ การศึกษาเพ่ือความปลอดภยั และมีคุณภาพ ๑๒
สาระการเรยี นรวู ิถชี ีวิตในครอบครวั ชุมชนและทอ งถน่ิ การวดั และประเมนิ ผล
ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี ๑ เรอื่ ง สบูส มุนไพร ๑. ชนิ้ งาน
๒. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ชัน้ /เร่อื ง/เวลา สาระการเรยี นรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชน้ิ งาน สื่อและแหลงเรยี นรู
ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ๑. ความสาํ คัญและประโยชนของ ๑. มคี วามตระหนักใน ๑. โครงงาน เร่อื ง การทํา ๑. ใบความรูก ารทําสบู
เร่อื ง สบูส มนุ ไพร สบสู มนุ ไพร ความสําคัญและเห็นประโยชน สบูจากสมนุ ไพร สมุนไพร
๑.๑ ความรเู ร่อื งสมุนไพร ของการทําสบูจากสมนุ ไพร ๒. ผลติ ภัณฑ ๒. วดี ิทัศนก ารทําสบจู าก
เวลา ๒๐ ชม. ๑.๒ ชนิดของสมนุ ไพร สมนุ ไพร
๓. ตวั อยา งโครงงาน
๑.๓ ประโยชนของสมุนไพรตา งๆ
๒. เรอื่ ง การทําสบูสมุนไพร ๒. มคี วามรู ความเขาใจใน
๒.๑ ความรทู ่ัวไปเก่ยี วกับสบู การนําเสนอความรเู กยี่ วกับ
๒.๒ สมุนไพรไทย การทาํ สบูจากสมนุ ไพรดวย
๒.๓ รปู แบบการแปรรูป การทําโครงงาน
๒.๔ ขนั้ ตอนการแปรรูป
๓. การปฏบิ ตั ขิ ้ันตอนการทําสบู ๓. ทักษะการทําสบูจาก
จากสมุนไพร สมุนไพร
๔. แนวทางปฎิบัติเพอื่ ความ ๔. มกี ระบวนการทํางานฯ
ปลอดภัยจากการใชสวนผสม เพือ่ ความปลอดภัยจากการใช
สว นผสม

โครงสรา งหลักสูตรบูรณาการ การศึกษาเพือ่ ความปลอดภัยและมคี ณุ ภาพ ๑๓
สาระการเรยี นรูวิถชี ีวติ ในครอบครวั ชุมชนและทอ งถ่นิ
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๒ เร่ือง เห็ดโคน (ของดีพรานกระตาย) การวดั และประเมินผล
๑. แบบทดสอบความรูทั่วไป
ชั้น/เรอ่ื ง/เวลา สาระการเรยี นรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชิ้นงาน สอ่ื และแหลง เรียนรู เกยี่ วกบั เห็ดโคน
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๒ ๒. ชนิ้ งาน
เรื่อง เห็ดโคน (ของดี ๑. ความรูท ่ัวไปเกย่ี วกบั ๑. มคี วามตระหนกั และเห็น ๑. โครงงาน เรือ่ ง การแปร ๑. หนงั สือเห็ดโคนจาก ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม
เห็ดโคน ความสาํ คัญของเหด็ โคน (ของดี รปู เห็ดโคน ปลวกของสํานักวจิ ยั และ ๔. เครือ่ งมือวดั และ
พรานกระตา ย) ๒. วธิ แี ละข้ันตอนการหา พรานกระตาย) ๒. แผนผังความคิดเร่อื ง พฒั นาการปาไม ประเมินผลอน่ื ๆ
เวลา ๒๐ ชม. เห็ดโคน แนวทางปฏิบัตเิ พ่อื ความ ๒. บทความจากผรู ูจาก ท่เี หมาะสมตามกจิ กรรม
ปลอดภัยในการแปรรปู ปราชญทองถน่ิ การเรียนรู
เห็ดโคน ๓. เว็บไซตตาง ๆ
๓. การจดั ทาํ หนงั สอื เลมเล็ก (-youtube วธิ ีการหา
๔. การเขยี นเรียงความ เหด็ โคน
- youtube ขัน้ ตอนการ
แปรรูปเหด็ โคน)

๓. วิธีการแปรรปู เห็ดโคน ๒. มีความรู ความเขา ใจในการ
๔. การบริหารจัดการ สรา งนาํ เสนอความรเู ก่ียวกบั
การตลาดและการประกอบ การแปรรปู เห็ดโคนดวยการทํา
อาชีพในครวั เรอื น โครงงาน
๕. แนวทางปฏิบัตเิ พื่อความ ๓. ทกั ษะในการแปรรูป
ปลอดภยั เหด็ โคน
๔. มแี นวทางปฏบิ ตั ิเพอ่ื ความ
ปลอดภยั

โครงสรา งหลกั สตู รบูรณาการ การศึกษาเพ่อื ความปลอดภัยและมคี ณุ ภาพ ๑๔

สาระการเรียนรวู ถิ ีชีวิตในครอบครวั ชมุ ชนและทองถน่ิ
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 เรือ่ ง จกั สานไมไผ
ช้ัน/เรื่อง/เวลา สาระการเรยี นรู ผลการเรยี นรู ภาระงาน/ชน้ิ งาน สอื่ และแหลงเรียนรู การวดั และประเมนิ ผล
ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ๑. ประโยชนแ ละความสาํ คญั ๑. นักเรยี นสามารถอธิบาย ๑. แผนรองจานลายส่ือราํ ๑. วทิ ยากรทอ งถ่ิน(ปราชญ ๑. แบบประเมินการจดั ทาํ
เร่อื ง จักสานไมไ ผ ของจักสาน ประโยชนแ ละความสําคัญของ แพน ชาวบา น) โครงงาน
ไมไผ จกั สานไมไผได ๒. พดั ๒. วิดิทศั น ๒. ชนิ้ งาน
เวลา ๒๐ ชม. ๓. ชะลอม - จกั สานไมไผ (Bamboo) ๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๔. โครงงาน - วิธกี ารสานเสื่อลําแพน

- วิธีสานชะลอม
๓. แบบประเมนิ การจัดทํา
โครงงาน
๕. เวบ็ ไซตต า ง ๆ
https://www.youtube.co
m/watch?v=0ktZ_exKbck
https://www.youtube.co
m/watch?v=ztBZTJUDHw
A
https://www.youtube.co
m/watch?v=3p7h7kTOH
CU

ชนั้ /เรือ่ ง/เวลา สาระการเรยี นรู ผลการเรียนรู ภาระงาน/ชน้ิ งาน สอ่ื และแหลงเรียนรู ๑๕
๒. เรือ่ ง จกั สานไมไผ ๒. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการ การวดั และประเมนิ ผล

๒.๑ ความรเู บื้อง ตนเกยี่ วกับ สรา งช้นิ งาน และนาํ เสนอ
การจกั สาน วสั ดุ อปุ กรณ ความรเู กี่ยวกับวธิ ีการจักสานไม
๒.๒ การเลือกใชวัสดุ อปุ กรณ ไผใ นรูปแบบตา งๆดว ยการทาํ
โครงงาน
๓. การปฏบิ ัตกิ ารจกั สาน ๓.๑ ทกั ษะในการจกั สานไมไผ
ไมไผ ๓.๒ นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห
๓.๑ แผนรองจานลายส่อื และนาํ ความรไู ปประยกุ ตใช
รําแพน ในการประกอบอาชีพได
๓.๒ พัด
๓.๓ ชะลอม
๔. แนวทางปฎิบัตเิ พือ่ ความ ๔. มแี นวทางปฎิบัตเิ พอื่ ความ
ปลอดภัยจากการจักสาน ปลอดภัยจากจกั สานไมไผ
ไมไผ

16
แนวการดาํ เนินงาน

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต ๑ กําหนดนโยบาย “ สถานศึกษา
ปลอกภัย ม่ันใจ อานออกเขียนได คิดเลขเปน ท่ีใชเปนแนวทาง ขับเคล่ือนสูจุดหมายการพัฒนานกั เรียน
โดยมุงหวงั ใหเ กิดความรว มมือรว มใจทุกฝาย ดังนี้

๑. กําหนดให“ การพัฒนานักเรยี นมีทกั ษะการเรียนรใู นศตวรรษที่ ๒๑ สถานศกึ ษามีความพรอม
พัฒนานกั เรยี นในสังกัด เปน นโยบายสําคญั “สถานศกึ ษาปลอดภัย มน่ั ใจ อานออกเขียนได คดิ เลขเปน”

๒. สรางความรู ความเขาใจและความตระหนักใหกับ ผูบริหารการศึกษา ผูบริหารโรงเรียน ครู
และบุคลากรทางการศึกษาในสงั กัดทกุ คน ดังน้ี

๒.๑ การจดั การศึกษาทีส่ อดคลองกบั สังคมโลกในปจจุบันและในอนาคตที่จะมี
การเปล่ียนแปลงอยา งรวดเร็ว

๒.๒ การพฒั นาทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 การจดั การเรยี นรูบูรณาการการศึกษา
เพอื่ ความปลอดภยั และมีคุณภาพ สาระการเรยี นรูวถิ ีชวี ติ ในครอบครัว ชมุ ชนและทองถน่ิ

๓. สงเสริม สนับสนุนใหทุกโรงเรียนจัดการเรียนรูบรู ณาการ การศึกษาเพอื่ ความปลอดภยั และมี
คุณภาพ สาระการเรียนรูวิถีชวี ติ ในครอบครัว ชุมชนและทองถ่ิน ท่ีมเี ปาหมายสําคัญ คือ

๓.๑ โรงเรียนมีหนวยการเรยี นรบู รู ณาการ การศึกษาเพอ่ื ความปลอดภัยและมีคุณภาพ สาระ
การเรียนรูว ิถีชวี ติ ในครอบครัว ชมุ ชนและทอ งถิ่น ครบทุกระดบั ช้นั

๓.๒ นักเรียนทุกระดับช้ัน สามารถสรางและนําเสนอความรูเกี่ยวกับวิถีชีวิตในครอบครัว
ชุมชนและทอ งถิ่น (ตามระดับชนั้ ) อยา งนอ ยทุกคนละหรือกลุมละหน่งึ เร่ือง (กลมุ หนง่ึ ไมเ กิน ๑ คน)

๓.๓ จัดใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูความรูเกี่ยวกับ วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและทองถ่ิน
ภายในโรงเรียน

๔. นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรูบูรณาการการศึกษาเพื่อความปลอดภัยและ
มีคุณภาพ สาระการเรียนรวู ิถชี ีวิตในครอบครัว ชมุ ชนและทอ งถน่ิ โดยมกี จิ กรรมหลัก คือ

๔.๑ การสง เสริมสนับสนนุ การพฒั นาหนวยการเรียนรบู ูรณาการการศกึ ษาเพอ่ื ความปลอดภัย
และมีคุณภาพ สาระการเรียนรูวิถีชีวติ ในครอบครัว ชุมชนและทองถิ่น ตามโครงสรา งหลักสูตรหนวยการ
เรียนรบู ูรณาการ สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาํ แพงเพชร เขต ๑ กําหนด

๔.๒ สราง จัดหาและรวบรวมส่ือท่ีเก่ียวของกับ การศึกษาเพื่อความปลอดภัยและมีคุณภาพ
สาระการเรียนรวู ถิ ีชวี ิตในครอบครวั ชุมชนและทองถิน่ ตามโครงสรา งหลักสูตรหนวยการเรยี นรูบรู ณาการ

๔.๓ สง เสริมสนบั สนนุ ใหครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สรา งความร/ู สอ่ื การเรียนรู
ตามวถิ ีชีวติ ในครอบครวั ชุมชนและทอ งถ่ินอยา งนอ ยคนละ ๑ เรื่อง เปนตน

๔.๔ ประเมนิ ความรูของนกั เรยี นโดยใชวธิ กี ารตรวจสอบผลงาน หรือทดสอบความรตู าม
ผลการเรียนรูท่ีกําหนดไวในโครงสรางหลักสูตรหนวยการเรียนรูบูรณาการสาระการเรียนรูวิถีชีวิตใน
ครอบครวั ชุมชนและทอ งถน่ิ

๔.๕ สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานใหผูม ีสวนเก่ียวของทราบ

การวัดและประเมนิ ผล 17

๑. การบรรลเุ ปา หมายระดบั โรงเรยี น เครอ่ื งมือ
วิธกี าร เกณฑ
สอบถามความพึงพอใจตอ การกําหนดนโยบาย แบบสอบถามความพงึ พอใจ - คา เฉลี่ยของ ความพงึ
“การพฒั นานักเรียนมีทกั ษะการเรียนรใู นศตวรรษ พอใจ
ที่ ๒๑ สถานศกึ ษามีความพรอ ม “สถานศกึ ษา ระดับมากข้นึ ไป
ปลอดภยั มัน่ ใจ อา นออกเขยี นได คิดเลขเปน”กบั
ผมู ีสว นเกี่ยวขอ ง
ทดสอบ/สอบถามเก่ียวกบั ความรู ความเขาใจและ -แบบทดสอบ - มีความรู ความเขา
ความตระหนักในการนาํ นโยบายไปสูก ารปฏบิ ตั ิ -แบบสอบถาม ระดบั ดี ขน้ึ ไป
ของผูบรหิ ารโรงเรยี น/ครูและบคุ ลากรทางการ - มีความตระหนกั
ศกึ ษาของโรงเรยี น ระดับมากขน้ึ ไป
การจัดหนวยการเรียนรบู ูรณาการการศกึ ษาเพ่อื -แบบสํารวจ - รอ ยละ ๑๐๐
ความปลอดภัยและมคี ุณภาพ สาระการเรยี นรูวิถี
ชวี ติ ในครอบครวั ชมุ ชนและทองถ่ิน
จัดใหม ีการพฒั นาหอ งสมดุ ใหสอ่ื /เอกสาร/ตํารา -แบบสํารวจ - รอยละ ๑๐๐
เกี่ยวกับ วิถชี ีวิตในครอบครวั ชุมชนและทองถิน่ ให
มีแหลง การเรียนรแู ละเขา ถงึ เว็บไซต Shopping
Education Plaza (Online) (google.com)
หรือเวป็ ไซตต า งๆ
สอบถามความพงึ พอใจตอการจัดกจิ กรรม แบบสอบถาม - คาเฉลย่ี ของ
บูรณาการการศึกษาเพ่ือความปลอดภัยและมี ความพงึ พอใจ ความพงึ พอใจ
คณุ ภาพ สาระการเรยี นรูว ถิ ีชีวติ ในครอบครัว ระดับมากข้นึ ไป
ชุมชนและทองถน่ิ
ตรวจสอบคุณภาพของหนวยการเรยี นรูบูรณาการ แบบประเมินคณุ ภาพ - คณุ ภาพ
การศึกษาเพ่ือความปลอดภยั และมีคุณภาพ สาระ ระดบั ดีขนึ้ ไป
การเรียนรวู ิถีชวี ติ ในครอบครัว ชมุ ชนและทอ งถน่ิ

๒. การบรรลุเปาหมายระดับหองเรยี น เครื่องมอื เกณฑ
วิธกี าร แบบสํารวจ ไมนอ ยกวา รอ ยละ ๘๐

สาํ รวจจาํ นวนนักเรยี นทส่ี ามารถสรา งความรู แบบสาํ รวจ ไมน อยกวา รอ ยละ ๘๐
วิถชี ีวติ ในครอบครัว ชมุ ชนและทอ งถนิ่ ไดอยาง
นอย ๑ เรื่อง แบบสาํ รวจ ไมน อ ยกวารอยละ ๘๐
สาํ รวจจาํ นวนนกั เรียนทีม่ ีคะแนนทดสอบ วิถีชีวติ แบบสํารวจ ไมนอยกวา รอยละ ๘๐
ในครอบครวั ชมุ ชนและทองถิน่ ไมน อยกวา
รอยละ ๕๐
สํารวจจํานวนนักเรียนท่มี ที กั ษะการเรยี นรูใ น
ศตวรรษที่ ๒๑ ที่สําคญั เพมิ่ ข้ึน
สาํ รวจนักเรยี นทีม่ ีเจตคตทิ ่ดี ีตอ การเรียนรูวถิ ชี วี ติ
ในครอบครัว ชุมชนและทอ งถิ่น ระดับมากขึ้นไป

18

ลงชื่อ ผูรบั ผิดชอบโครงการ
(นางสาวกัญญาพร หงษยนต)

ผรู ับผิดชอบงานสงเสรมิ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
ลงช่อื ผูเช่ยี วชาญ
( นายวรเทพ ศภุ กจิ เจรญิ )
ประธานกรรมการสถานศึกษา
ลงช่อื ผูอนมุ ัติหลักสตู ร
( นายพงษธร สนั ตกิ ุล )
ผอู ํานวยการโรงเรียนบา นหนองโสน

19

ภาคผนวก

เชอื่ มโยงหนว ยการเรยี นรู ไขเ ค็มสมนุ ไพร ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ กบั สาระวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๐

ภาษาไทย การงานฯ วทิ ยาศาสตร
- อา นจบั ใจความจากสือ่ ตา งๆ -ใชวสั ดุอปุ กรณ และเครื่องมอื ในการทํางานอยาง - ระบชุ ือ่ บรรยายลกั ษณะและบอกปรมิ าณ
- เลาเรอ่ื งยอจากเร่อื งทีอ่ าน ปลอดภยั ของสวนผสม
- เขยี นสื่อสารดว ยคําและประโยคงา ยๆ - ทํางานเพ่อื ชว ยเหลือตนอง กระตอื รือรนและตรงตอ - การดูแลรกั ษาความสะอาดทัง้ ผปู ฎบิ ัตแิ ละ
- มมี ารยาทในการอาน เวลา ขนั้ ตอนการทาํ ไขเ คม็ สมุนไพร ใหถ กู สุขอนามยั
- พูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความรูสกึ -มที ักษะในการดองไขเ คม็ สมุนไพร
จากเร่อื งท่ฟี ง ดู -นําไขเค็มสมนุ ไพรไปประกอบอาหารไดอยา ง
- เขยี นสะกดคําและบอกความหมายของคํา หลากหลาย

สงั คม หนว ยการเรียนรู คณิตศาสตร
- ภมู ใิ จในภูมิปญญาทอ งถ่นิ ไขเค็มสมนุ ไพร - บอกจํานวนสิ่งของตา งๆ ตามจาํ นวนที่
- มสี ว นรว มในการดแู ลส่ิงแวดลอมที่บานและ กาํ หนด อา นและเขยี นเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลข
หอ งเรียน ศิลปะ ไทยแสดงจาํ นวนไมเ กิน 100 และ 0 ตวั ไม
- ระบสุ นิ คา และบริการทีใ่ ชป ระโยชนใน ทศั นศิลป ทราบคา
ชีวติ ประจาํ วัน -สรา งนําเสนอผลงาน ภาพวาด ภาพประกอบ - หาคําตอบของโจทยป ญหาการบวก การลบ
- บอกประโยชนแ ละปฏิบัตติ นเปนสมาชกิ ทด่ี ี -ใชอปุ กรณ เคร่อื งมอื ในการสรา งสรรคผลงาน 100 และ 0 ตวั ไมทราบคา
ของครองครัวและโรงเรยี น ออกแบบชน้ิ งานทเี่ หมาะสมกับงาน - บอกนา้ํ หนกั เปน กิโลกรมั และ เปน ขีด

เชอ่ื มโยงหนวยการเรยี นรู การปลูกสวนผักประเภทผักกินใบกนิ ตน ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ กบั สาระวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๑

ภาษาไทย การงานฯ วทิ ยาศาสตร
- อานจับใจความจากส่ือตางๆ -ใชว ัสดุอุปกรณ และเคร่อื งมือในการทาํ งาน - ระบุช่ือ บรรยายลกั ษณะและบอกหนา ที่ของ
- เลา เรื่องยอ จากเรื่องทอี่ าน อยางปลอดภัย สวนตา งๆของผักประเภทผักกินใบกินตน
- เขยี นส่ือสารดวยคําและประโยคงายๆ - ทํางานเพือ่ ชวยเหลือตนอง กระตือรือรน - การดูแลรกั ษาประเภทผักกินใบกนิ ตน และการ
- มมี ารยาทในการอา น และตรงเวลา ปฏบิ ตั ิตนเอง
- พดู แสดงความคดิ เหน็ และแสดง -มที ักษะในการการปลกู ประเภทผักกนิ ใบกนิ ใหป ลอดภยั จากสารเคมีจากการปอ งกันโรค
ความรูสกึ และแมลง
จากเรื่องท่ฟี ง ดู หนว ยการเรยี นรู - ใชเทคโนโลยีในการสรา งจัดเกบ็ ขอ มูลตาม
- เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมายของ ผักสวนครวั
ภาษาตา งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) คณติ ศาสตร
ประเภทผกั กินใบกินตน - บอกจํานวนสิง่ ของตา งๆ เปรียบเทยี บ
- คําศพั ทส ว นประกอบของผัก เรียงลาํ ดับ ตามจาํ นวนที่กําหนด อา นและ
ศิลปะ เขียนเลขฮนิ ดูอารบิกตัวเลขไทยแสดงจํานวน
สงั คม ทศั นศลิ ป ไมเกนิ 100 และ๐
-การบนั ทึกรายรับ-รายจา ย -สรา งนาํ เสนอผลงาน ภาพวาด ภาพประกอบ - หาคําตอบของโจทยป ญหาการบวก การลบ
- มสี ว นรวมในการดแู ลสิ่งแวดลอมทบี่ า นและ -ใชอ ปุ กรณ เครื่องมอื ในการสรา งสรรคผ ลงาน จํานวนไมเ กดิ 100 และ๐
หอ งเรยี น ออกแบบชนิ้ งานท่ีเหมาะสมกับงาน - เปรียบเทียบนา้ํ หนักเปนกโิ ลกรมั เปนขีด
- ระบุสินคาและบรกิ ารท่ใี ชป ระโยชนใน
ชีวิตประจาํ วนั
- บอกประโยชนแ ละปฏิบตั ติ นเปนสมาชกิ ท่ีดี
ของครองครวั และโรงเรยี น

เชอ่ื มโยงหนวยการเรยี นรู การทํานา้ํ ยาลางจาน ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ กบั สาระวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๒

ภาษาไทย การงานฯ วิทยาศาสตร
- เขียนเร่อื งจากภาพบรรจภุ ัณฑ - ใชวัสดอุ ปุ กรณ และเครือ่ งมือในการทาํ งาน - ขอ ควรระวงั ในการใชผลิตภัณฑ
- เขียนเรยี งความกระบวนการทาํ นาํ้ ยาลา งจาน อยา งปลอดภัย - การปฏิบตั ิตนเองใหปลอดภยั จากการใช
- เขยี นสอ่ื สารดวยคาํ และประโยคงา ยๆ - ทาํ งานเพื่อชวยเหลือตนเอง กระตอื รือรน สารเคมี
- มมี ารยาทในการอา น และตรงเวลา
- พูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความรูสกึ - มีทกั ษะในการทาํ นํ้ายาลา งจาน คณิตศาสตร
จากเร่อื งทฟ่ี งดู - อา นและเขียนตัวเลขอนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย
- เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคาํ หนว ยการเรยี นรู และตวั หนงั สือ แสดงจาํ นวนนับไมเกิน
การทํานาํ้ ยาลา งจาน 100,000 และ 0
สงั คม แสดงวิธีการหาคําตอบโจทยปญหาเกี่ยวกบั
- บอกส่งิ ท่ตี นเองรกั และภูมิใจในทอ งถิ่น ศิลปะ การเงิน(คํานวณตนทนุ การผลิต)
- มสี วนรวมในการดแู ลส่ิงแวดลอมทบี่ านและ ทัศนศลิ ป - เลอื กใชเ คร่ืองช่ังทเ่ี หมาะสม วดั และบอก
หองเรียน - สรางนาํ เสนอผลงาน ภาพวาด ภาพประกอบ นํ้าหนักเปน กโิ ลกรมั และขดี
- ระบุสนิ คาและบรกิ ารทีใ่ ชป ระโยชนใ น - ใชอุปกรณ เคร่ืองมอื ในการสรา งสรรคผ ลงาน - เลอื กใชเ ครื่องตวงทเี่ หมาะสมและวัด
ชวี ิตประจําวนั ออกแบบช้ินงานทีเ่ หมาะสมกบั งาน เปรียบเทยี บปรมิ าตร ความจเุ ปนลิตรและ
- บอกประโยชนแ ละปฏบิ ตั ิตนเปนสมาชิกทด่ี ี มลิ ลิลิตร
ของครอบครวั และโรงเรียน

๒๓

เช่อื มโยงหนว ยการเรยี นรู นาํ้ สมนุ ไพรตา นภัยโควดิ (กระชาย) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ กับสาระวิชาตามหลกั สตู รแกนกลาง

ภาษาไทย การงานฯ วิทยาศาสตร
- อา นจบั ใจความจากสอ่ื ตา งๆ -ใชว ัสดุอุปกรณ และเครอ่ื งมอื ในการตม นํา้ - ระบชุ ่ือ บรรยายลักษณะและบอกหนาที่ของ
- เลาเรอื่ งยอจากเร่ืองท่อี า น กระชายอยางปลอดภัย สว นตางๆของกระชาย
- เขยี นสอื่ สารดว ยคาํ และประโยคงายๆ - ทาํ งานเพอื่ ชวยเหลือตนอง กระตอื รือรน - การดแู ลรักษากระชาย
- มมี ารยาทในการอา น และตรงเวลา - ใชเทคโนโลยีในการสรา งจดั เกบ็ ขอ มลู ตาม
- พูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความรูสึก -มีทักษะในการตม นา้ํ กระชาย วัตถปุ ระสงค
จากเร่อื งท่ฟี ง ดู
- เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมายของคํา หนว ยการเรียนรู คณติ ศาสตร
นา้ํ สมุนไพรตานภัยโควดิ - บอกเวลา ท่ีใชในการตมนา้ํ กระชาย เปน
สังคม วนิ าที นาที ช่ัวโมงได
- บอกสิง่ ทีต่ นเองรกั และภูมใิ จในทอ งถ่นิ (กระชาย) - เปรียบเทยี บน้าํ หนักเปนกิโลกรมั เปน ขีด
- มสี วนรว มในการดูแลสิ่งแวดลอ มทีบ่ านและ
หอ งเรียน ศลิ ปะ
- ระบุสนิ คาและบรกิ ารทีใ่ ชประโยชนใ น ทัศนศลิ ป
ชวี ติ ประจาํ วนั -สรา งนาํ เสนอผลงาน ภาพวาด ภาพประกอบ
- บอกปะโยชนแ ละปฏิบัติตนเปนสมาชกิ ที่ดีของ -ใชอุปกรณ เคร่อื งมอื ในการสรางสรรคผลงาน
ครอบครวั และโรงเรยี น ออกแบบชน้ิ งานทเี่ หมาะสมกบั งาน

เชื่อมโยงหนว ยการเรยี นรู ไมก วาดทางมะพราว ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๕ กบั สาระวิชาตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๔

ภาษาไทย การงานฯ วิทยาศาสตร
- อา นจบั ใจความจากส่อื ตา งๆ - ใชวัสดอุ ปุ กรณ และเคร่อื งมือในการทํางาน - อธบิ ายสมบัติของวัสดุชนดิ ตาง ๆ เก่ียวกับ
- การสื่อสารโดยใชคาํ ไดถ ูกตอง ชดั เจนและ อยางปลอดภัย ความยืดหยุนของไมกวาดทางมะพรา ว
เหมาะสม - ทาํ งานเพอ่ื ชวยเหลอื ตนเอง กระตือรอื รน และ - ระบุผลแรงเสียดทานทม่ี ตี อการเปลีย่ นแปลง
- เขียนแสดงความรสู ึกและความคิดเหน็ ไดตรง ตรงเวลา การเคลือ่ นท่ีของวตั ถุ
ตามเจตนา - มที ักษะในการทาํ ไมก วาดทางมะพราว - ใชเทคโนโลยีในการสืบคนขอ มูลและอภิปราย
- เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ การนําวสั ดุไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั
- มีมารยาทในการเขียน หนว ยการเรียนรู
ไมกวาดทางมะพรา ว คณติ ศาสตร
สงั คม - บอกจาํ นวนสง่ิ ของตา งๆ เปรียบเทยี บ
- บอกสิ่งทตี่ นเองรักและภูมใิ จในทอ งถนิ่ เรียงลําดบั ตามจํานวนทก่ี าํ หนด อานและเขยี น
- มสี ว นรวมในการดแู ลสง่ิ แวดลอมทบ่ี า นและหองเรียน จาํ นวนทีเ่ ปนเศษสวนและทศนิยมได
- ระบุสินคา และบรกิ ารท่ีใชประโยชนใ นชีวิตประจําวัน - หาคําตอบของโจทยปญหารอยละเกีย่ วกบั
- บอกประโยชนและปฏิบัตติ นเปน สมาชกิ ทด่ี ขี องครอง ตน ทุนและกําไร
ครัวและโรงเรียน - การเปรยี บเทยี บนํา้ หนกั เปนกิโลกรมั เปนขีด

ศลิ ปะ ภาษาอังกฤษ
ทัศนศลิ ป - คนควา รวบรวมคาํ ศพั ทที่เกี่ยวขอ งกับการทํา
- สรางนําเสนอผลงาน ภาพวาด ภาพประกอบ ไมก วาดทางมะพราว
- ใชอุปกรณ เครื่องมือในการสรา งสรรคผ ลงาน

ออกแบบช้ินงานท่ีเหมาะสมกบั งาน

การเชื่อมโยงหนว ยการเรยี นรู การปลูกกลว ย ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ กบั สาระวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕

ภาษาไทย วิทยาศาสตร อังกฤษ

- อา นจับใจความจากสอื่ ตางๆ (ท๑.๑ ป.๖/๓) - ระบสุ ารอาหารและบอกประโชนข อง - ระบปุ ระโยคหรอื ขอความสัน้ ๆตรงกบั
- เขยี นแผนภาพความคิด (ท๒.๑ป.๖/๓) สารอาหารท่ีไดร ับจากกลว ย (ว 1.2 ป.6/1) ภาพ สัญลักษณ หรอื เครื่องหมายทอ่ี า น
- เขียนเรียงความ(ท๒.๑ป.๖/๔) - ใชเหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธิบายและ ( ต 1.1 ป. 6/3 )
- มีมารยาทในการเขียน(ท.๒.๑ป.๖/๙) ออกแบบวิธกี ารแกป ญหาท่ีพบในการปลูก
- แตง บทรอยกรอง(ท๔.๑ป.๖/๕) กลวย (ว 4.2 ป.6/1) คณิตศาสตร
- ประดษิ ฐหนังสือเลม เล็ก
(เขยี นเรื่องตามจินตนาการและสรางสรรค หนวยการเรียนรู - เขียนอัตราสวนเปรียบเทียบปริมาณ
ท๒.๑ป.๖/๘) การปลูกกลวย น้าํ หนกั ผลผลิตเปนกิโลกรัม เปน ขีด
(ค 1.1 ป.6/2)
สงั คม ศิลปะ
การงานอาชพี
- อธิบายบทบาทของผูผลิตทม่ี คี วามรับผดิ ชอบ - สราง นําเสนอผลงาน ภาพวาด จากรปู แบบ - ปฏบิ ัตติ นอยางมมี ารยาทในการทาํ งานกับ
( ส ๓.๑/ป.๖/๑ ) 2 มิตเิ ปน 3 มิตโิ ดยใชหลักการของแสงเงาและ
นํ้าหนกั (ศ ๑.๑ ป.๖/๓) ครอบครวั และผอู ืน่ (ง ๑.๑ ป.๖/๓)
- บอกวิธแี ละประโยชนของการใชทรัพยากร - สรางงานทศั นศลิ ปเ พ่ือถายทอดความคิดหรอื - อภิปรายแนวทางในการทํางานและปรบั ปรงุ การ
อยา งยั่งยนื ( ส ๓.๑/ป.๖/๓ ) เร่ืองราวเกีย่ วกบั กลวย (ศ ๑.๑ ป.๖/๗)
ทํางานแตละขั้นตอน
( ง ๑.๑ ป.๖/๑ )

เช่อื มโยงหนว ยการเรยี นรู การทาํ สบจู ากสมนุ ไพร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ กบั สาระวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๖

ภาษาไทย การงานฯ วทิ ยาศาสตร
- อานจับใจความจากสอ่ื ใบความรู -วิเคราะหข ัน้ ตอนการทํางานตามกระบวนการ - ขอ ควรระวังในการใชผลิตภัณฑ
- พดู แสดงความคิดเหน็ และแสดงความรูสึก -ใชกระบวนการกลมุ ในการทํางานดวยความ - ใชเทคโนโลยีในการสรางจดั เก็บขอ มูลตาม
จากเรือ่ งทฟี่ ง ดู เสยี สละ วตั ถุประสงค
-ตัดสนิ ใจแกปญ หาการทํางานอยางมเี หตุผล -ทดลองและอธบิ ายสมบัติความเปน กรดเบสของ
สารละลาย

สังคม หนว ยการเรยี นรู คณิตศาสตร
- อธบิ ายความเปน มาหลักการละความสาํ คัญ การทําสบสู มุนไพร - บอกจาํ นวนส่งิ ของตางๆ เปรยี บเทยี บ
ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความจุ
- บอกสงิ่ ทีต่ นเองรกั และภูมใิ จในทองถนิ่ ศลิ ปะ -อธบิ ายของรปู เลขาคณิตสามมิติ(ลักษณะของ
- มีสวนรว มในการดูแลส่ิงแวดลอมที่บา นและ ทศั นศิลป รปู ทรงผลติ ภัณฑ)
หอ งเรยี น -สรา งนาํ เสนอผลงานดานศิลปะ - ใชวิธที ี่หลากหลายในการแกโ จทยปญ หา
-ใชอ ปุ กรณ เคร่อื งมือในการสรางสรรคผ ลงาน
ออกแบบช้นิ งานทเ่ี หมาะสมกบั งาน

เชื่อมโยงหนวยการเรยี นรู จกั สานไมไ ผ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 กบั สาระวชิ าตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๘

ภาษาไทย การงานฯ วิทยาศาสตร
- อา นจบั ใจความจากสือ่ ตางๆ -ใชว สั ดอุ ปุ กรณ และเครอ่ื งมอื ในการทํางานอยาง - วเิ คราะหเ ปรียบเทยี บและตัดสนิ เพื่อเลอื กใช
- นําเสนอโครงงานได ปลอดภัย เทคโนโลยี
- เขยี นรายงานการศกึ ษาคน ควาและเขียน - อภปิ รายข้นั ตอนการทาํ งานท่ีมปี ระสิทธภิ าพ - ประยุกตใ ชค วามรู ทักษะ และทรัพยากรเพอื่
โครงงานได -ใชทักษะในการทาํ งานรว มกนั อยา งมคี ุณธรรม ออกแบบและสรา งผลงาน
- พดู แสดงความคิดเห็นและวเิ คราะห
วจิ ารณ ประเมนิ สิง่ ที่ไดจากการฟงและดู นาํ หนว ยการเรยี นรู คณิตศาสตร
ขอคิดไปประยุกตใ ชในชวี ิตประจําวนั การจักสารไมไผ - มคี วามรูความเขาใจเกยี่ วกับรูปเลขาคณิต 2
มติ ิ และ 3 มิติ
สังคม ศิลปะ -มคี วามรคู วามเขา ใจในเรอ่ื งการแปลงทาง
- อนุรกั ษวัฒนธรรมไทย ทศั นศิลป เลขาคณิตและนําความรคู วามเขา ใจนี้ไปใชใน
-สรา งงานออกแบบและนาํ เสนอชิ้นงานทศั นศลิ ปได การแกปญหาในชวี ิตจรงิ
อยางมคี ณุ ภาพ
และเหมาะสม นําไปประยุกตใ ชในการประกอบ
อาชีพ

เชอื่ มโยงหนว ยการเรยี นรู เห็ดโคน(ของดพี รานกระตาย) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 กับสาระวิชาตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๗

ภาษาไทย การงานฯ วทิ ยาศาสตร
- อานจับใจความจากส่ือตางๆ -ใชวัสดอุ ุปกรณ และเครอ่ื งมอื ในการทํางาน - บรรยายลักษณะของเห็ดโคน
- เขียนเรยี งความ อยางปลอดภัย - จัดทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร
- จัดทําหนังสอื เลม เล็ก - ทาํ งานเพ่ือชว ยเหลือตนเอง กระตอื รือรน - ใชเทคโนโลยีในการสรา งจัดเกบ็ ขอมูลตาม
- มมี ารยาทในการอา น และตรงเวลา วตั ถปุ ระสงค
- พดู แสดงความคดิ เห็นและแสดงความรูสกึ -มที กั ษะในการแปรรปู เหด็ โคน
จากเรอ่ื งทีฟ่ งดู

หนว ยการเรยี นรู
เห็ดโคน(ของดพี รานกระตา ย)

สังคม ศิลปะ คณิตศาสตร
- ภมู ิใจในของดีประจําทอ งถ่ิน ทศั นศลิ ป - คํานวณตน ทุน กาํ ไร
- มีสวนรวมในการดูแลแหลงการเกดิ เห็ดโคนใน -สรางนําเสนอผลงาน ภาพวาด ภาพประกอบ - คาํ นวณสว นผสมวตั ถุดิบในการแปรรูปเห็ดโคน
ธรรมชาติของทองถ่นิ -ใชอปุ กรณ เคร่ืองมือในการสรางสรรคผ ลงาน - เปรียบเทียบน้าํ หนกั เปนกิโลกรัม เปนขดี
- เรียนรกู ารหาตลาดและการจดั จําหนา ย ออกแบบช้นิ งานทเี่ หมาะสมกบั งาน
- บอกประโยชนและปฏิบตั ิตนเปน สมาชิกทด่ี ี
ของครอบครัวและโรงเรยี น

กําหนดโครงสรา งหลกั สูตรบูรณาการ การศกึ ษาเพ่อื ความปลอดภัยและมคี ุณภาพ ๒๙
สาระการเรียนรูวิถชี ีวิตในครอบครวั ชมุ ชนและทอ งถิ่น
เร่ือง ดาวเรือง จํานวน ๒๐ ชว่ั โมง จํานวนชัว่ โมง
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๑ ๓
๑๒
ลาํ ดับ หนวยการเรียนรู เรอื่ ง
๑ ประโยชนแ ละความสําคัญของไขเ คม็ สมุนไพร ๑.๑ ประโยชนของไข ๓
๑.๒ ความสําคัญของไขเคม็ สมนุ ไพร ๒
๑.๓ การดองไขเคม็ สมุนไพรเพือ่ จําหนาย ๒๐
๒ การประกอบการทาํ ไขเคม็ สมุนไพร ๒.๑ การเลือกชนิดของไข
๒.๒ ชนิดของสมนุ ไพรท่นี ํามาใชใ นการดองไขเ ค็มสมนุ ไพร
๒.๓ สว นผสมในการประกอบการทาํ ไขเ ค็มสมนุ ไพร
๒.๔ อุปกรณใ นการประกอบการทํา ไขเค็มสมุนไพร
๒.๕ กรรมวธิ ีดองไขเ ค็มสมนุ ไพร
๒.๖ การจดั เกบ็ การดูแลรักษาไขเค็มสมนุ ไพร
๒.๗ การแปรรูปไขเ คม็ สมุนไพร
๓ การปฏบิ ตั กิ ารดองไขเ คม็ สมนุ ไพร ๓.๑ ทักษะในการดองไขเ คม็ สมนุ ไพร
๓.๒ ทักษะในการจัดเกบ็ การดูแลรกั ษาไขเคม็ สมุนไพร
๔ แนวทางปฏิบัตเิ พ่ือความปลอดภยั จากการ ๔.๑ การปฏบิ ัติท่ถี ูกตอ งจากการใชอ ปุ กรณก ารดองไขเ คม็ สมนุ ไพร
ดองไขเ ค็มสมุนไพร
รวม

กาํ หนดโครงสรางหลกั สูตรบรู ณาการ การศกึ ษาเพ่อื ความปลอดภยั และมคี ุณภาพ ๓๐
สาระการเรียนรูวถิ ีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและทอ งถิน่
เรอ่ื ง ประเภทผักกินใบกนิ ตน จาํ นวน ๒๐ ชวั่ โมง จาํ นวนชัว่ โมง
ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๒ ๓

ลาํ ดับ หนว ยการเรียนรู เรือ่ ง
๑ ประโยชนแ ละความสาํ คญั ของการปลกู ผัก ๑.๓ ปลกู ผกั ประเภทผกั กนิ ใบกนิ ตนเพอ่ื บริโภค ๔
ประเภทผกั กนิ ใบกินตน ๑.๑ ปลกู ผกั ประเภทผกั กินใบกินตนเพื่อจาํ หนาย ๔
๑.๓ ปลกู ผักประเภทผักกินใบกนิ ตน เพือ่ ใชใ นการรกั ษาโรค ๒๐
๒ การปลกู ผกั ประเภทผักกนิ ใบกินตน ๒.๑ ชนดิ ของผกั ปลูกผักประเภทผักกนิ ใบกินตน
๒.๒ การขยายพันธุผกั ปลกู ผกั ประเภทผักกินใบกินตน
๒.๓ วิธีการปลูกผกั ปลูกผกั ประเภทผักกนิ ใบกนิ ตน
๒.๔ การดแู ลรกั ษา
๒.๕ การเกบ็ เกย่ี วผักปลูกผักประเภทผกั กนิ ใบกินตน
๓ การปฏิบตั ิการปลกู ผกั ปลูกผักประเภทผกั กนิ ๓.๑. ทกั ษะในการปลูกผักประเภทผกั กินใบกินตน
ใบกินตน ๓.๒ ทกั ษะในการดแู ลรกั ษาปลกู ผักประเภทผักกินใบกนิ ตน
๔ แนวทางปฎบิ ัติเพอื่ ความปลอดภยั จากการ ๔.๑ การปฎิบัตทิ ่ถี ูกตอ งจากการใชอปุ กรณในกาปลกู ผกั ประเภทผกั กินใบกินตน
ปลูกผักปลูกผักประเภทผกั กนิ ใบกินตน ๔.๒ ความปลอกภัยจากการใชสารเคมเี พ่ือปองกันโรคทเี่ กิดจากผกั ปลกู ผกั ประเภทผกั กนิ
ใบกนิ ตน
รวม

กาํ หนดโครงสรา งหลักสูตรบรู ณาการ การศกึ ษาเพื่อความปลอดภัยและมีคณุ ภาพ ๓๑
สาระการเรยี นรวู ถิ ชี ีวติ ในครอบครวั ชุมชนและทองถ่นิ
เรอื่ ง การทํานํา้ ยาลางจาน จํานวน ๒๐ ชวั่ โมง จาํ นวนชั่วโมง
ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๓
๑๐
ลาํ ดบั หนวยการเรียนรู เรอ่ื ง
๑ ประโยชนและความสําคัญของการทํานํ้ายาลาง ๑.๑ ใชล างทาํ ความสะอาดคราบไขมนั ๓
จาน ๑.๒ ใชลางทําความสะอาด คราบอาหาร ๔
๒ การทํานํ้ายาลางจาน ๒.๑ วัสดอุ ปุ กรณ ๒๐
๓ การปฏบิ ัตกิ ารทํานาํ้ ยา ๒.๒ วธิ ีการทํานา้ํ ยาลา งจาน
ลา งจาน ๒.๓ การคาํ นวณ ตน ทุนการผลิต
๔ แนวทางปฎบิ ตั เิ พอ่ื ความปลอดภยั จากการทํา ๒.๔ การจําหนายน้ํายาลางจาน
น้าํ ยาลา งจาน ๒.๕ การออกแบบผลิตภณั ฑ บรรจภุ ณั ฑ
๓.๑ ทักษะในการทํานาํ้ ยาลางจาน
๓.๒ ทักษะในการดูแลรกั ษานํา้ ยาลางจาน
๔.๑ การปฎิบตั ทิ ถ่ี ูกตองจากการใชอ ปุ กรณในการทํานา้ํ ยาลางจาน
๔.๒ การปฏิบัติตนเองใหปลอดภยั จากการใชส ารเคมี

รวม

กาํ หนดโครงสรางหลกั สูตรบรู ณาการ การศึกษาเพ่ือความปลอดภัยและมีคณุ ภาพ ๓๒
สาระการเรียนรวู ถิ ีชีวิตในครอบครวั ชมุ ชนและทองถน่ิ
จาํ นวนชัว่ โมง
เรื่อง นาํ้ สมนุ ไพรตานภัยโควิด (กระชาย) จํานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๒
ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๔ ๑๐

ลาํ ดบั หนว ยการเรียนรู เรือ่ ง ๔
๑ ประโยชนและความสําคัญของ น้ําสมุนไพรตา น ๑.๑ สรรพคุณและประโยชนข องกระชายในการเสริมภูมคิ ุมกนั โควิด ๔
ภัยโควิด(กระชาย) ๒๐
๒ การปลูกและการขยายพนั ธุก ระชาย ๒.๑ ชนิดและการขยายพนั ธุ
๒.๒ วิธกี ารปลกู
๒.๓ วิธีการดูแลรักษา
๒.๔ ระยะเวลาการเก็บเกย่ี ว
๒.๕ การแปรรูปกระชาย
๓ การปฏบิ ตั ิการตมนํ้ากระชาย ๓.๑ ทกั ษะในการตมกระชาย
๓.๒ ทักษะการใชอปุ กรณในการตมกระชาย
๔ แนวทางปฏิบัตเิ พ่ือความปลอดภยั จากการตมน้ํา ๔.๑ การปฏบิ ตั ทิ ี่ถูกตองในการตมน้ํากระชาย
กระชาย ๔.๒ การปฏิบัตทิ ถ่ี ูกตองจากการใชอุปกรณในการตมนํ้ากระชาย
รวม

กาํ หนดโครงสรางหลกั สูตรบรู ณาการ การศกึ ษาเพอื่ ความปลอดภยั และมคี ณุ ภาพ ๓๓
สาระการเรียนรวู ิถชี ีวติ ในครอบครวั ชุมชนและทอ งถ่ิน
เรื่อง ไมก วาดทางมะพรา ว จํานวน ๒๐ ช่วั โมง จํานวนชั่วโมง
ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ ๓
๑๐
ลาํ ดับ หนวยการเรียนรู เรอ่ื ง
๑ ประโยชนและความสําคัญของ ไมกวาด ๑.๑ การทาํ ไมก วาดทางมะพราวใหเหมาะสมกบั งาน ๕
ทางมะพราว ๑.๒ ทําไมกวาดทางมะพราวเพื่อจาํ หนาย ๒
๑.๓ ประโยชนข องไมกวาดทางมะพรา ว ๒๐
๒ การเลอื กซอ้ื วัสดุในการทาํ ไมก วาดทางมะพรา ว ๒.๑ ชนดิ ของไมกวาดทางมะพราว
๒.๒ การเลอื กซือ้ วสั ดุในการทําดามไมก วาด
๒.๒.๑ กา นมะพราว
๒.๒.๒ ดา มไมกวาด
๒.๓ วธิ กี ารทํา
๒.๔ การใชงาน
๒.๕ การเก็บรกั ษา
๓ การปฏบิ ัตกิ ารทําไมกวาดทางมะพราว ๓.๑ ทกั ษะในการทําไมก วาดทางมะพราว
๓.๒ ทักษะในการดูแลรกั ษาไมก วาดทางมะพราว
๔ แนวทางปฏิบตั เิ พอื่ ความปลอดภัยจาก การทาํ ไม ๔.๑ การปฏิบัตทิ ถ่ี ูกตองจากการใชอ ุปกรณในการทําไมกวาดทางมะพราว
กวาดทางมะพราว ๔.๒ ความปลอดภัยในการทาํ และการใชไมก วาดทางมะพราว
รวม

กาํ หนดโครงสรา งหลกั สูตรบรู ณาการ การศกึ ษาเพือ่ ความปลอดภยั และมีคณุ ภาพ ๓๔
สาระการเรียนรูว ิถีชีวิตในครอบครัว ชมุ ชนและทอ งถ่นิ
เร่อื ง การปลูกกลวย จํานวน ๒๐ ชวั่ โมง จํานวนชัว่ โมง
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ ๓
๑๐
ลาํ ดับ หนวยการเรยี นรู เร่อื ง
๑ ประโยชนแ ละความสําคัญของการปลกู กลวย ๑.๑ ประวัตขิ องกลว ย ๓
๒ การปลกู กลว ย ๑.๒ การใชประโยชนจากกลวย ๔
๑.๓ การปลกู กลว ยเพื่อจาํ หนา ย ๒๐
๓ การปฏิบตั กิ ารปลกู กลว ย ๒.๑ ชนดิ ของกลวย
๔ แนวทางปฎบิ ัติเพ่อื ความปลอดภัยจากการปลูก ๒.๒ การขยายพนั ธุก ลว ย
๒.๓ วธิ ีการปลกู กลวย
กลวย ๒.๔ การดแู ลรกั ษา
๒.๕ การเกบ็ เกี่ยวผลผลิต
๓.๑. มที ักษะในการปลกู กลวย
๓.๒ มที กั ษะในการดแู ลรกั ษากลวย
๔.๑ การปฎิบัตทิ ี่ถูกตองจากการใชอปุ กรณในการปลกู กลวย
๔.๒ ความปลอดภัยจากการใชส ารเคมีเพอ่ื ปอ งกนั โรค

รวม

กาํ หนดโครงสรางหลกั สูตรบรู ณาการ การศึกษาเพื่อความปลอดภยั และมคี ุณภาพ ๓๕
สาระการเรียนรวู ิถีชีวติ ในครอบครวั ชุมชนและทองถิน่
เรอื่ ง การทําสบูจากสมนุ ไพร จํานวน ๒๐ ช่วั โมง จํานวนชัว่ โมง
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ๔

ลาํ ดับ หนวยการเรยี นรู เร่ือง
๑ ความสาํ คญั และประโยชนของ ๑.๑ ความรเู รอ่ื งสมนุ ไพร ๕
สบสู มนุ ไพร ๑.๒ ชนดิ ของสมุนไพร ๔
๒ การทาํ สบูจากสมนุ ไพร ๑.๓ ประโยชนของสมุนไพรตา งๆ ๒๐
๒.๑ ความรทู ว่ั ไปเกยี่ วกบั สบู
๓ การปฏบิ ตั ขิ ัน้ ตอนการทาํ สบูจากสมนุ ไพร ๒.๒ สมุนไพรไทย
๔ แนวทางปฏิบตั เิ พอื่ ความปลอดภัยจากการใช ๒.๓ รปู แบบการแปรรูป
๒.๔ ขัน้ ตอนการแปรรูป
สว นผสม ๓.๑ ทักษะในการทาํ สบูจากอัญชัน
๓.๒ ทักษะในการทําสบูจากมะขาม
๓.๓ ทักษะในการทําสบูจากวา นหางจระเข
๔.๑ การปฏบิ ตั ิท่ถี ูกตอ งจากการใชอปุ กรณในการทําสบูสมุนไพร
๔.๒ ความปลอกภัยจากการใชสวนผสม

รวม

ลาํ ดับ หนวยการเรยี นรู กําหนดโครงสรางหลกั สูตรบรู ณาการ การศกึ ษาเพอ่ื ความปลอดภยั และมคี ณุ ภาพ ๓๖
๑ ประวัติความเปน มา สาระการเรียนรวู ถิ ชี ีวิตในครอบครวั ชุมชนและทองถิ่น
๒ สืบคน หาแหลงของเหด็ เรื่อง เห็ดโคน(ของดพี รานกระตา ย) จํานวน ๒๐ ช่ัวโมง จํานวนชั่วโมง
๓ เบ็ดเสร็จการแปรรูป ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ ๒
๔ บทสรปุ การตลาด เรอ่ื ง ๒
๕ เนนสะอาดและปลอดภัย ๑.๑ ความรทู ั่วไปเกี่ยวกับเห็ดโคน ๘
๑.๒ ชนดิ ของเห็ดโคนหรอื เหด็ ปลวกท่ีสําคญั ๒

๒.๑ ฤดูกาลของเห็ดโคน ๒๐
๒.๒ วิธีการหาเหด็ โคน
๓.๑. ขนั้ ตอน วิธกี ารทาํ
๓.๒ การแปรรูปเห็ดโคน
๓.๓ โครงงานการแปรรูปเหด็ โคน
๔.๑ การเลือกใชบรรจภุ ัณฑ และการจาํ หนา ย
๔.๒ อาชพี เสริมและการคาํ นวณรายได
๔.๓ เครือขา ยชมุ ชน ทองถิ่น
๕.๑ การปฏบิ ัติทีถ่ ูกตอ งจากการใชอปุ กรณในการแปรรูปเห็ดโคน
๕.๒ สาเหตุของภัยอนั ตราย

รวม

กาํ หนดโครงสรางหลักสูตรบูรณาการ การศึกษาเพ่อื ความปลอดภัยและมคี ุณภาพ ๓๗
สาระการเรยี นรูวถิ ีชีวติ ในครอบครัว ชุมชนและทองถ่นิ
เรือ่ ง การจกั สานจากไมไผ จาํ นวน ๒๐ ชั่วโมง จํานวนชัว่ โมง
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๓ ๒

ลําดบั หนว ยการเรียนรู เรอ่ื ง ๑๒
๑ ประโยชนและความสําคัญของการจกั สานจาก ๑.๑ การจกั สานจากไมไ ผเ พือ่ ใชประโยชนในชีวติ ประจําวนั
ไมไ ผ ๑.๒ การจักสานจากไมไผเพอื่ จาํ หนาย ๒
๒ การจักสานจากไมไ ผ ๒.๑ ความรเู บอื้ งตนเก่ยี วกบั การจักรสาน ๒๐
๒.๒ การเลือกใชวัสดุอปุ กรณ
๓ การปฏิบตั กิ ารการจักสานจากไมไ ผ ๓.๑ ทกั ษะในการการจกั สานจากไมไผ แผนรองจานลายเส่อื รําแพน
๓.๒ ทักษะในการสานพดั
๓.๓ ทกั ษะในการสานชะลอม
๔ แนวทางปฏิบตั ิเพ่ือความปลอดภัยจากการจกั ๔.๑ การปฏบิ ตั ิทีถ่ ูกตองจากการใชอปุ กรณในการจกั สานจากไมไผ
สานจากไมไ ผ
รวม

โรงเรียนบา นหนองโสน อําเภอพรานกระตาย จงั หวดั กาํ แพงเพชร
สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาํ แพงเพชร เขต ๑

สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version