The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

e-book

e-book

สิทธิและเสรีภาพ
ของชนชาวไทย

ในการจดั ทารัฐธรรมนูญแต่ละฉบบั
ผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งจะคานึงถึงการคุม้ ครองสิทธิและ
เสรี ภาพของประชาชนเป็ นประการสาคญั
เสมอมา เพราะมองวา่ สิทธิและเสรีภาพเป็น
เกียรติยศและศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษยย

ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยน้นั
หากละเลยหรือไม่คุม้ ครองเรื่องเหล่าน้ีแลว้ ยอ่ ม
ส่งผลต่อเกียรติภูมิของประเทศชาติตามไปดว้ ย
การคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพตามเจตนารมณของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย จึงเป็น
หลกั การสาคญั อยา่ งยง่ิ ที่จะตอ้ งนามาบญั ญตั ิไวใ้ น
ทุกๆรัฐธรรมนูญ และในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กไ็ ดม้ ีการนา
เร่ืองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มา
บญั ญตั ิไวใ้ นหมวด 3 มาตรา 25 - 49

สิทธิ

อานาจอนั ชอบธรรมหรือความสามารถที่จะ
กระทาการใดๆ ไดโ้ ดยชอบธรรม โดยอานาจ
อ่ืนแมก้ ระทงั่ อานาจของรัฐจะกา้ วกา่ ยใน
สิทธิของบุคคลอื่นไม่ได้

เสรีภาพ

อานาจตดั สินใจดว้ ยตนเองของมนุษยยที่จะ
เลือกดาเนินพฤติกรรมของตนเอง โดยไม่มี
บุคคลอ่ืนใดอา้ งหรือใชอ้ านาจแทรกแซง
เกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินใจน้นั และเป็นการ
ตดั สินใจดว้ ยตนเองท่ีจะกระทาหรือไม่
กระทาการส่ิงหน่ึงสิ่งใด

สิทธิและเสรีภาพ จงึ มี
ความแตกต่างกนั ตรงที่

1. “สิทธิ” เป็นประโยชนที่ตอ้ งมีกฎหมาย
รับรองและคุม้ ครองไวบ้ ุคคลจึงจะเกิดมีสิทธิ
เช่นน้นั ได้ แต่ถา้ กฎหมายไม่ไดใ้ หก้ ารรับรอง
หรือคุม้ ครองประชาชนกจ็ ะไม่มีสิทธิเช่นน้นั
ในขณะท่ี “เสรีภาพ” เป็นภาวะโดยอิสระของ
มนุษยย แมจ้ ะไม่มีกฎหมายรับรองหรือ
คุม้ ครองไว้ บุคคลกย็ งั คงมีเสรีภาพน้นั

2. “สิทธิ” ท่ีรัฐใหก้ ารรับรองและคุม้ ครอง
แลว้ น้นั รัฐมีหนา้ ท่ีโดยเฉพาะเจาะจงท่ี
จะตอ้ งทาใหป้ ระชาชนไดร้ ับสิทธิน้นั
ในขณะที่ “เสรีภาพ” น้นั รัฐไม่มีหนา้ ท่ีท่ี
จะตอ้ งจดั หาใหแ้ ต่อยา่ งใด



การกล่าวอ้างสิทธิและเสรีภาพ

บุคคลซ่ึงถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ี
ไดร้ ับความคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญ
สามารถยกบทบญั ญตั ิแห่งรัฐธรรมนูญเพ่ือใช้
สิทธิทางศาลหรือยกข้ึนเป็นขอ้ ต่อสู้คดีใน
ศาลได้

บุคคลซ่ึงไดร้ ับความเสียหายจากการ
ถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพหรือจากการ
กระทาความผดิ อาญาของบุคคลอื่น ยอ่ มมี
สิทธิท่ีจะไดร้ ับการเยยี วยาหรือช่วยเหลือจาก
รัฐตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ

สิทธิและเสรีภาพต่างๆ ที่รัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ได้
บญั ญตั ิใหก้ ารรับรองและคุม้ ครองไวน้นั
หากแยกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ จะแบ่งออก
ไดเ้ ป็น ๓ ประเภท คือ

1. สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล
2. สิทธิและเสรีภาพในทางเศรษยฐกิจ
3. สิทธิและ เสรีภาพในการมีส่วนร่วม

ทางการเมือง

สิทธิและเสรีภาพ อาจแบ่ง ออกได้เป็ น ๑๒
ส่วน โดยแต่ละส่วนมีสาระสาคัญพอสรุป

1. ความมีอยขู่ องสิทธิและเสรีภาพตาม
รัฐธรรมนูญ รับรองและคุม้ ครองศกั ด์ิศรีความ
เป็นมนุษยย รวมท้งั สิทธิและเสรีภาพต่างๆ และ
กาหนดขอบเขตการใชอ้ านาจขององคกรต่างๆ
เพอื่ ไม่ใหก้ ระทบกบั สาระสาคญั ของสิทธิและ
เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

2. ความเสมอภาค กาหนดหลกั เร่ืองความ
เสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบตั ิต่อบุคคลที่
มีความ แตกต่างกนั เพ่ือใหท้ ุกคนเสมอกนั
ในกฎหมายและไดร้ ับความคุม้ ครองตาม
กฎหมายเท่าเทียมกน

3. สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล รับรอง
และคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพในชีวติ และ
ร่างกาย ใน เคหสถาน การเลือกที่อยอู่ าศยั
การเดินทาง เกียรติยศช่ือเสียงความเป็นส่วน
ตวั การส่ือสารการนบั ถือศาสนา
และการป้องกนั มิใหร้ ัฐบงั คบั ใชแ้ รงงงาน

4. สิทธิในกระบวนการยตุ ิธรรม รับรอง
และคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
เก่ียวกบั ความ รับผดิ ทางอาญาที่ไม่ตอ้ งรับ
โทษยหนกั กวา่ ท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมายที่ใช้
อยใู่ นขณะที่กระทา ความผดิ ความ เสมอ
ภาคและการเขา้ ถึงกระบวนการยตุ ิธรรมได้
โดยง่าย และการไดร้ ับความช่วยเหลือทาง
กฎหมาย

5. สิทธิในทรัพยสิน รับรองความมน่ั คงใน
การถือครองทรัพยสิน และคุม้ ครองสิทธิของ
ผถู้ ูกเวนคืนทรัพยสินที่ตอ้ งไดร้ ับการ
กาหนดค่าทดแทนที่เป็ นธรรม

6. สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
รับรองและคุม้ ครองเสรีภาพในการ
ประกอบอาชีพ การแข่งขนั ทางธุรกิจท่ีเป็น
ธรรม ความปลอดภยั และสวสั ดิภาพ
และการดา รงชีพของคนทา งาน

7. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น รับรอง
และคุม้ ครองเสรีภาพในการแสดงความ
คิดเห็น คุม้ ครองป้องกนั มิใหร้ ัฐสง่ั ปิ ด
กิจการหนงั สือพิมพวทิ ยกุ ระจายเสียง และ
วทิ ยโุ ทรทศั น คุม้ ครองให้ ประชาชนไดร้ ับ
ขอ้ มูลข่าวสารที่หลากหลาย และป้องกนั
มิใหม้ ีการยดึ ครองหรือแทรกแซง
ท้งั ทางตรงและ ทางออ้ ม

8. สิทธิและเสรีภาพในการศึกษยา รับรอง
และคุม้ ครองใหม้ ีความเสมอภาคในการ
ไดร้ ับการศึกษยา ซ่ึงรัฐจะตอ้ งจดั ใหอ้ ยา่ ง
ทวั่ ถึง มีคุณภาพ และเหมาะสม คุม้ ครอง
เสรีภาพทางวชิ าการที่ไม่ขดั ต่อ หนา้ ที่
พลเมืองหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน

9. สิทธิในการไดร้ ับบริการสาธารณสุขและ
สวสั ดิการจากรัฐ รับรองและคุม้ ครองให้
ประชาชน ไดร้ ับบริการทางสาธารณสุขจาก
รัฐอยา่ งงเสมอภาค

10. สิทธิในขอ้ มูลข่าวสารและการร้องเรียน
รับรองและคุม้ ครองการเขา้ ถึงขอ้ มูลข่าวสาร
สาธารณะ การรับรู้และรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชน การร้องทุกข การโตแ้ ยง้ การ
ปฏิบตั ิราชการในทาง ปกครองและสิทธิของ
บุคคลในการฟ้องหน่วยงานของรัฐ

11. เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม
รับรองและคุม้ ครองเสรีภาพในการชุมนุม

โดยสงบและ ปราศจากอาวธุ คุม้ ครองให้
ไดร้ ับความสะดวกในการใชพ้ ้นื ท่ีสาธารณะ
และคุม้ ครองการรวมกนั เป็นกลุ่ม รวมท้งั
การต้งั พรรคการเมืองในระบบรัฐสภา

12. สิทธิชุมชน รับรองและคุม้ ครองสิทธิ

ชุมชน ชุมชนทอ้ งถ่ิน และชุมชนทอ้ งถ่ิน
ด้งั เดิม และ คุม้ ครองบุคคลในการอนุรักษย
บารุงรักษยาและการไดร้ ับประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาติ

แหล่งอ้างองิ

บรรเจิด สิงคะเนติ. (2558). หลกั พ้ืนฐานเกี่ยวกบั
สิทธิเสรีภาพและศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษยย. (พิมพ
คร้ังที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พวญิ ููชน.
มานิต จุมปา. (2560). เอกสารประกอบคา
บรรยาย

เรื่อง สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2560 ชุดที่1 และชุดที่ 2. สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 11
กนั ยายน 2560, จาก
http://www.thethaibar.or.th/th
aibarweb/index.php/th

นางสาวปิ ยะธิดา เปล้ืองทุกข
ตอนเรียน nb รหสั 037


Click to View FlipBook Version