The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการสวนป่ายูคาลิปตัส TTCN_ Main Audit 160321 Website

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Saikanoi Mk, 2021-03-15 00:21:05

แผนการจัดการสวนป่ายูคาลิปตัส TTCN_ Main Audit 160321 Website

แผนการจัดการสวนป่ายูคาลิปตัส TTCN_ Main Audit 160321 Website

Page |1

สารบัญ

เร่อื ง หน้า

MANAGEMENT PLAN 3

1.วตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายการบริหารจดั การ 3
2.คาํ อธิบายของทรพั ยากรป่าไมท้ ีอ่ ย่ภู ายในขอบเขตการจดั การ ขอ้ จาํ กดั ทางสิง่ แวดลอ้ ม การใชท้ แี่ ละสถานะการถือครอง
สภาวะทางสงั คมและเศรษฐศาสตรแ์ ละขอ้ มลู โดยรวมของทข่ี า้ งเคียง 5
3.คาํ อธิบายของวนวฒั น์ และ/หรือ ระบบการบรหิ ารจดั การอ่ืน ซง่ึ ไดม้ าจากการรวบรวมคาํ ถามและ 6
ขอ้ มลู ผา่ นทางทรพั ยากรท่ีมีอยใู่ นระบบนเิ วศนข์ องป่า 13
4.เหตผุ ลในวธิ ีการเกบ็ เก่ียวผลผลิต (งานตดั ไม)้ และอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการเก็บเก่ียว และวธิ ีการเก็บเก่ียว 14
5.การเตรยี มการเพื่อตรวจตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โต และการเปลย่ี นแปลงของไม้ 24
6.แนวทางการป้องกนั สภาพแวดลอ้ ม ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาผลกระทบดา้ นสงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม 28
7.แผนสาํ หรบั ระบแุ ละป้องกนั สายพนั ธทุ์ ีห่ ายาก ใกลส้ ญู พนั ธุ์ และอยใู่ นอนั ตราย 40
8. แผนทแี่ สดงถงึ ทต่ี ง้ั ของทรพั ยากรป่าไม้ รวมถงึ ท่ไี ดร้ บั การคมุ้ ครอง แผนในการดาํ เนินกจิ กรรมบรหิ ารจดั การและการถือครองท่ี
9.เหตผุ ลในวธิ ีการเก็บเก่ียวผลผลติ (งานตดั ไม)้ และอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการเก็บเก่ียว 41
42
MONITORING AND ASSESSMENT 43
44
1.ผลผลติ จากป่าไมท้ ี่มกี ารเกบ็ เก่ียว 45
2.อตั ราการเจริญเตบิ โต และการสรา้ งทดแทนสภาพป่า
3.องคป์ ระกอบและการสงั เกตกุ ารเปลยี่ นแปลงของพนั ธพุ์ ชื และสตั วป์ ระจาํ ถ่นิ
4.ผลกระทบตอ่ สงั คมและสิ่งแวดลอ้ มท่เี กดิ จากการเกบ็ เก่ียวและดาํ เนนิ กิจกรรมอืน่ ๆ
5.ค่าใชจ้ า่ ย, ความสามารถในการผลติ และประสิทธิภาพของการบริหารจดั การป่า

Page |2

MANAGEMENT PLAN

1.วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายการบรหิ ารจัดการ

ด้านเศรษฐกิจ

พฒั นาและปลกู สรา้ งสวนป่ าใหม้ ีประสิทธิภาพในการใชป้ ระโยชนแ์ ละการเพิ่มมลู ค่าของผลผลิตไมจ้ ากสวนป่ าใหม้ ีกาํ ไรไม่
ต่าํ กว่า 10%

ดา้ นสังคม

ส่งเสริมการจา้ งงานกบั คนในทอ้ งถ่ิน ท่ีอย่ใู กลเ้ คียงกบั สวนป่ าใหเ้ ขา้ มาดาํ เนินการกิจกรรมต่างๆในสวนป่ า ไม่นอ้ ยกว่า 3%
เพ่อื เสรมิ สรา้ งใหเ้ กิดรายไดแ้ ละความรว่ มมือท่ดี ภี ายในชมุ ชน โดยไม่ใหเ้ กดิ ขอ้ รอ้ งเรยี น

ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
ส่งเสรมิ และอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพในสวนป่ า พืน้ ท่ีอนรุ กั ษ์ตอ้ งมีอย่างนอ้ ย 10% ของพืน้ ท่ีท่ีเขา้ รว่ มโครงการ

คือไมต่ ่าํ กวา่ 562 ไร่

2.คาอธบิ ายของทรัพยากรป่ าไม้ทอ่ี ยภู่ ายในขอบเขตการจัดการ ขอ้ จากัดทางสิ่งแวดลอ้ ม การใชท้ แ่ี ละสถานะการถือครอง
สภาวะทางสังคมและเศรษฐศาสตรแ์ ละขอ้ มูลโดยรวมของทข่ี า้ งเคียง

ทรัพยากรป่ าไมท้ อ่ี ย่ภู ายในขอบเขตการจัดการ
บรษิ ัท ทรีเทคชยั นาท จาํ กัด มีสาํ นกั งานตงั้ อยู่ ณ เลขท่ี 274 หม่ทู ่ี 2 ตาํ บลท่าตูม อาํ เภอศรีมหาโพธิ จงั หวดั ปราจนี บุรี โดย
บริษัทฯไดด้ าํ เนินการปลกู ไมย้ คู าลิปตสั ท่เี ขา้ ขอการรบั รองการจดั การสวนไมอ้ ย่างย่งั ยืน ไดถ้ กู กาํ หนดรอบตดั ฟัน (Rotation) ไวท้ ่อี ายุ
ประมาณ 4 ปีขึน้ ไป อยู่ในเขตพืน้ ท่ีจังหวดั ฉะเชิงเทราและ จงั หวัดปราจีนบุรี พืน้ ท่ีทง้ั หมดเป็นพืน้ ท่ีเช่าในนามบริษัททรีเทคชยั นาท
จาํ กดั มีเอกสารสิทธิ์ถกู ตอ้ งตามกฏหมายทงั้ หมดพืน้ ท่ีรวม 5,615.51 ไร่ โดยเป็นพืน้ ท่ีท่ีขอการรบั รอง 5,096.27 ไร่ แบ่งเป็นพืน้ ท่ีให้
ผลผลิต 4,446.06 ไร่ (188 แปลง) และพืน้ ท่ีอนุรกั ษ์ 650.21 ไร่(8 แปลง) และพืน้ ท่ีท่ีเหลือ 519.24 ไร่ ไม่ไดน้ าํ เขา้ โครงการ เน่ืองจาก
อยรู่ ะหว่างการวเิ คราะหแ์ ผนพฒั นาพนื้ ท่ขี องบรษิ ทั ซง่ึ มีขอบเขตของพนื้ ท่ดี งั นี้

ท่ตี งั้ สาํ นกั งานบรษิ ทั ทรเี ทคชยั นาท จาํ กดั

ทิศเหนอื ติดกบั อาํ เภอประจนั ตคาม จงั หวดั ปราจนี บรุ ี
ทศิ ใต้ ติดกบั อาํ เภอสนามชยั เขต จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
ทิศตะวนั ออก ติดกบั อาํ เภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จงั หวดั ปราจีนบรุ ี
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั อาํ เภอศรีมโหสถ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี

Page |3

ขอ้ จากัดทางส่ิงแวดลอ้ ม

มคี วามหลากหลายของชนดิ พชื คอ่ นขา้ งนอ้ ย เน่อื งจากเป็นพืน้ ท่เี กษตรกรรมทาํ สวนไมย้ คู าลิปตสั และทาํ สวนป่าเพ่อื
เศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่มพี นื้ ท่ตี ดิ เสน้ ทางนา้ํ ไมม่ ากนกั สภาพพนื้ ทส่ี ว่ นใหญ่เหมาะสมในการปลกู สวนไมย้ คู าลปิ ตสั เน่อื งจากพนื้ ท่ี
สว่ นใหญ่เป็นท่รี าบมคี วามลาดชนั ไม่มาก ในปัจจบุ นั จงึ ไมม่ ลี กษั ณะของพนื้ ท่ที ่มี ีความสาํ คญั ทางดา้ นส่งิ แวดลอ้ มหรอื เป็นพนื้ ท่ที ่มี ี
คณุ ค่าดา้ นการอนรุ กั ษส์ งู (High Conservation Value Forest: HCVF)

การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินและสถานะสิทธกิ ารครอบครอง
พนื้ ท่รี บั รองไดใ้ นโครงการนี้ เป็นพนื้ ท่เี ชา่ ท่มี เี อกสารสิทธิ์ท่ีถกู ตอ้ งตามกฎหมายคือ เอกสารสทิ ธิป์ ระเภทโฉนดท่ดี ิน (เอกสาร

สทิ ธิ์ น.ส.4), หนงั สือรบั รองการทาํ ประโยชน์ (นส.3 นส.3ก แบบหมายเลข 3)และใบไต่สวน (น.ส.5) โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้

1 โฉนดท่ดี ิน จาํ นวน 207 ฉบบั พนื้ ท่ี 3,842.58 ไร่

2 หนงั สือรบั รองการทาํ ประโยชน์ จาํ นวน 93 ฉบบั พนื้ ท่ี 1,579.27 ไร่

3. ใบไต่สวน จาํ นวน 10 ฉบบั พนื้ ท่ี 193.44 ไร่

รวมทงั้ สนิ้ จาํ นวน 310 ฉบบั พนื้ ท่ี 5,615.29 ไร่

พืน้ ทปี่ ลกู ไม้ยูคาลปิ ตสั และพนื้ ทอ่ี นุรักษท์ ข่ี อการรับรองต้ังอยูใ่ นอาเภอต่าง ๆ ดังนี้ คือ

1.จงั หวดั ปราจีนบรุ ี ไดแ้ ก่ อ.ศรีมหาโพธิ, อ.กบนิ ทรบ์ รุ ี พนื้ ท่เี อกสารสทิ ธิ์ จาํ นวน 3,152.9 ไร่ เป็น Productive Area 2,472.87 ไร่

2. จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ไดแ้ ก่ อ.พนมสารคาม พืน้ ท่ีเอกสารสทิ ธิ์ จาํ นวน 2,462.39 ไร่ Productive Area 2,069.40 ไร่

จาํ นวนพนื้ ท่ปี ลกู ยคู าลิปตสั รวม 4,446.06 ไร่ และมีพนื้ ท่อี นรุ กั ษ์ 650.21 ไร่

สภาวะทางสังคมและเศรษฐศาสตรแ์ ละข้อมลู โดยรวมของทข่ี า้ งเคยี ง

สภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมโดยรวมของประชากรส่วนใหญ่ในพนื้ ท่ปี ระกอบดว้ ย 2 ส่วนสาํ คญั คอื ทางดา้ นอตุ สาหกรรม
มนี ิคมอตุ สาหกรรมในพนื้ ท่ี เชน่ นคิ มอตุ สาหกรรม 304 นคิ มอตุ สาหกรรมโรจนะปราจนี บรุ ี นิคมอตุ สาหกรรมกบนิ ทรบ์ รุ ี และ ดา้ น
เกษตรกรรม พืชเศรษฐกจิ ท่ีสาํ คญั ในพนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ ขา้ ว, มนั สาํ ปะหลงั ออ้ ย ยคู าลิปตสั และ พชื ผกั สวนครวั

Page |4

3. คาอธิบายของวนวัฒน์ และ/หรือ ระบบการบริหารจัดการอน่ื ซ่ึงไดม้ าจากการรวบรวมคาถามและข้อมูลผ่านทาง
ทรัพยากรทม่ี อี ยู่ในระบบนิเวศนข์ องป่ า

ระบบการจดั การในสวนป่ า

1. การเตรยี มพืน้ ท่ี

หลงั จากการเกบ็ เกี่ยวผลผลติ ไมอ้ อกจากพนื้ ท่ี จะมกี ารพจิ ารณาการไวห้ น่อเป็นอนั ดบั แรก โดยส่ิง ท่ใี ชพ้ ิจารณา คอื ความคมุ้ คา่ ตอ่
การลงทนุ เปอรเ์ ซ็นตร์ อดตายของไมต้ อ้ งมากกวา่ 70 % และสายพนั ธท์ ่ปี ลกู ขณะนนั้ หากพนื้ ท่ตี อ้ งการปลกู ใหมจ่ ะดาเนนิ การเตรยี ม
พนื้ ท่ี 2 แบบ คือ แบบสบั พรวน 100% และงานเตรยี มพนื้ ท่โี ดยใชร้ ถไถกลบตอและวชั พืช และเกล่ยี ปรบั พนื้ ท่ใี หเ้ สมอ กรณีพนื้ ท่ที ่เี ป็น
ท่ลี มุ่ ต่าจะทาการขดุ ทางระบายนา้ เพ่อื ปอ้ งกนั นา้ ทว่ มขงั และลดการเสียหายของกลา้ ไม้

หมายเหตุ :
ในกรณีท่แี ปลงอย่รู มิ นา้ ลมุ่ นา้ และทางนา้ (แหล่งนา้ ธรรมชาติ) ตอ้ งมีการเวน้ ระยะท่กี นั ชน (Steam bank) อย่างนอ้ ย 3
เมตร เพ่อื ปอ้ งกนั การพงั ทลายของดิน และปอ้ งกนั ผลกระทบท่จี ะเกิดกบั แหลง่ นา้ และมีการตรวจตดิ ตามและสารวจทกุ 1 ปี

ผลกระทบทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้
1. การพงั ทลายของดิน หรือตะกอนไหลทบั ถมรอ่ งนา้
2. การเปล่ยี นแปลงสภาพพนื้ ท่ี ทศิ ทางการไหลของนา้ หรอื แหลง่ นา้

การควบคุม/ติดตาม
1. ประเมินการทางาน ก่อนและหลงั การทางานตามหวั ขอ้ ประเมนิ (ใบประเมินผลกระทบงานเตรยี มพนื้ ท่ี)
2. แจง้ แผนวธิ ีการเตรยี ม รวมถงึ ขอ้ หา้ มกบั ผรู้ บั จา้ ง
3. ควบคมุ งานเตรียมพนื้ ท่ใี หเ้ ป็นไปตามรูปแบบท่กี าหนด โดยไม่ไปเปลีย่ นแปลงสภาพการไหลของนา้
4. แจง้ แผนการทางานใหช้ มุ ชนรบั ทราบ
5. บอกมาตรการการทางานใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานรบั ทราบ เช่นการอบรมกอ่ นการทางาน ชีแ้ จง้ ใหค้ รบถว้ น เรือ่ งขน้ั ตอนการ
ทางานรวมถงึ ขอ้ ควรระวงั ในการทางาน

การป้องกนั และแก้ไข

1. ถา้ มีขอ้ รอ้ งเรยี นเกิดขนึ้ ควรแกไ้ ขไปตามกระบวนการรบั ขอ้ รอ้ งเรียน
2. ลงโทษตามระเบยี บท่รี ะบอุ ยใู่ นสญั ญาท่ไี ดย้ อมรบั ตามเง่อื นไข ถา้ มกี ารทาใหเ้ กดิ ความเสียหาย

2. การคัดเลือกชนิดสายพนั ธุ์
สายพนั ธขุ์ องไม้ ยคู าลิปตสั ท่นี ามาปลกู ในสวนไมข้ อง บรษิ ทั ไดเ้ ลอื กใช้ สายพนั ธทุ์ ่มี กี ารพฒั นาปรบั ปรุงพนั ธจุ์ าก

Page |5

บจก.ยคู าลปิ ตสั เทคโนโลยี และบรษิ ัท ทรีเทค จากดั ท่ไี ดร้ บั การจดทะเบยี นคมุ้ ครองพนั ธพ์ ชื ใหมแ่ ลว้ (ม่นั ใจไดว้ า่ ไมใ่ ชไ่ มต้ ดั ตอ่
พนั ธุกรรม GMOs) และเป็นไมย้ คู าลปิ ตสั สายพนั ธทุ์ ่ดี ี ท่มี ีการปลกู ทดสอบในภาคตะวนั ออก และมีการปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพ
พนื้ ท่ี เพ่อื สรา้ งอตั ราผลผลติ ใหเ้ หมาะสมในทางเศรษฐกจิ ดงั นน้ั การเลือกสายพนั ธมุ์ าปลกู จงึ ตอ้ งคานงึ ถงึ ปัจจยั อ่นื ๆประกอบ เชน่
สภาพพนื้ ท่ี ลกั ษณะดิน สภาพดนิ ฟา้ อากาศ การใชป้ ระโยชนข์ องผลผลติ เป็นตน้ สายพนั ธไุ์ มย้ คู าลปิ ตสั ท่นี ยิ มปลกู ปัจจบุ นั แตล่ ะชนดิ
พนั ธมุ์ ี คณุ สมบตั ิเฉพาะตวั แตกตา่ งกนั โดยทางฝ่ายวจิ ยั แปลงปลกู ไดค้ ดั เลอื กสายพนั ธุ์ทม่ี คี วามเหมาะสมสาหรบั พนื้ ท่ภี าคตะวนั ออก
ตามลกั ษณะดิน สภาพอากาศ เป็นตน้
d.อตั ราการเกบ็ เกยี่ วรายปี และสายพันธุท์ ไี่ ด้รับการคดั เลือก
อัตราการเก็บเกีย่ วรายปี
บรษิ ทั ดาเนินการปลกู ไมย้ คู าลิปตสั ท่เี ขา้ ขอการรบั รองการจดั การสวนไมอ้ ย่างย่งั ยนื เป็นการตดั แบบ Clear cutting และอตั ราการ
เกบ็ เก่ียว/รอบตดั ฟัน (Rotation) ไวท้ ่อี ายุ 4 ปีขนึ้ ไป

สายพนั ธุท์ ไี่ ด้รับการคดั เลอื ก
เป็นสายพนั ธทุ์ ่ไี ดร้ บั การคดั เลอื ก โดยแต่ละสายพนั ธมุ์ คี ณุ สมบตั เิ ฉพาะตวั ต่างกนั และ มคี วามเหมาะสมในพนื้ ท่ตี า่ งกนั มดี งั นี้
1. Clone K58 (E.urophylla) ขอ้ ดคี ือ เย่ือมี Yield สงู มคี วามแขง็ แรง สายพนั ธนุ์ เี้ หมาะสมกบั การการปลกู บนท่รี าบ ดินรว่ น หรือดนิ
รว่ นเหนยี ว หรือท่รี าบต่าํ ดินรว่ นทราย ความชืน้ ดตี ลอดปี หนา้ ดินลกึ มคี วามแขง็ แรงตา้ นทานต่อโรคสาํ คญั ชนดิ ตา่ งๆ ท่พี บในปัจจบุ นั
แตม่ ีขอ้ จาํ กดั คือ ไม่ควรปลกู ในทน่ี า้ ขงั ท่ตี า่ ดินระบายนา้ ไมด่ ี หนา้ ดินตืน้
2. Clone K7 (E.camaldulensis x E.deglupta) ขอ้ ดคี ือ เจรญิ เตบิ โตไดด้ ีในพนื้ ท่ชี ่มุ นา้ (ทต่ี ่า) และพนื้ ท่ที ่มี กี ารระบายนา้ ไดด้ ี เขตท่ี
ราบ ราบต่า มนี า้ ขบั มีความชนื้ ในดนิ และอากาศปานกลาง ดนิ รว่ น ดนิ รว่ นเหนียวปนทราย อมุ้ นา้ ดี หรอื ดินรว่ นปนลกู รงั ทงิ้ ใบนอ้ ย

Page |6

เจรญิ เตบิ โตตอ่ เน่ืองตลอดทง้ั ปี ในเขตท่ดี ินลกู รงั โครงสรา้ งแนน่ ทบึ ชว่ งแลง้ ยอดจะพฒั นาไดช้ า้ และทงิ้ ใบมาก แตม่ ขี อ้ จากดั คือ ไม่
ควรปลกู ในท่นี า้ ขงั ไมช่ อบดนิ ดานและหนา้ ดินตืน้
3. Clone K62 (E.urophylla) ขอ้ ดคี อื เจรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นดินรว่ นทรายถงึ ดนิ เหนยี ว หนา้ ดินลกึ ความชืน้ ดี ท่รี าบถึงท่รี าบล่มุ ทนแลง้
ไดด้ ี แตม่ ีขอ้ จากดั คือ ไม่ควรปลกู ในท่ตี ่า นา้ ท่วมขงั ดนิ ดาน
4. Clone PT911 (E.urophylla) ขอ้ ดีคอื ทนแลง้ ไดด้ ี เหมาะกบั ดนิ รว่ นปนทราย แต่มขี อ้ จากดั คือ ไม่ควรปลกู ในทต่ี ่านา้ ท่วมขงั
5. Clone SK ขอ้ ดีคอื ทนต่อสภาพพนื้ ท่ภี าคตะวนั ออกไดด้ ี ไดน้ า้ หนกั ดี เหมาะกบั การปลกู บนพนื้ ท่รี าบ

3.การวางแนวปลกู

การวางแนวปลกู คือการกาหนดระยะปลกู จานวนตน้ ต่อไร่ และตาแหน่งท่จี ะปลกู กลา้ ไมย้ คู าลปิ ตสั กอ่ นดาเนนิ การวางแนว
ปลกู พนื้ ท่ที ่จี ะปลกู ตอ้ งเตรยี มพนื้ ท่เี รียบรอ้ ยแลว้ ปัจจยั ท่ีตอ้ งคานึงคอื สภาพของพนื้ ท่หี ากเป็นพนื้ ท่รี าบจะปักหลกั หมายปลกู เป็น
แถวตรงในขณะท่พี นื้ ท่เี นนิ หรือพนื้ ท่มี ีความลาดเอียง จะปักหลกั หมายปลกู ตามแนวระนาบหรอื แนวลาดเอียงกาํ หนดระยะปลกู โดย
ใชร้ ะยะหา่ งระหว่างตน้ 1.5 ระหว่างแถว 3 เมตร โดยทาํ เชอื กวางตามแนวระยะ 1.5 เมตร วางแนวรอ่ งแถว 3 เมตร ขงึ เชอื กตามแนว
แถวและตน้ ทาํ การปลกู ตามระยะท่กี าํ หนด จากนน้ั ขดุ หลมุ ปลกู
มาตรฐานการวางแนว
ตอ้ งไดร้ ะยะระหว่างตน้ และระยะระหว่างแถวทก่ี าหนด ปัจจบุ นั ใชร้ ะยะปลกู 1.5 x 3 เมตร
ฤดฝู น ขนาดหลมุ กวา้ ง x ยาว x ลกึ เทา่ กบั 20 ซม. x 20 ซม. x 20 ซม.
ฤดแู ลง้ ขนาดหลมุ กวา้ ง x ยาว x ลกึ เทา่ กบั 30 ซม. x 30 ซม. x 30 ซม.

4. การปลูก
การปลกู กลา้ ไมย้ คู าลปิ ตสั แบ่งเป็น 2 ฤดกู าล ไดแ้ ก่
4.1 การปลกู กลา้ ไมฤ้ ดฝู น ใชจ้ อบขดุ หลมุ ตามขนาดหลมุ กวา้ ง x ยาว x ลกึ เท่ากบั 20 ซม.x 20 ซม.x 20 ซม.แลว้ วางกลา้ ใหต้ งั้ ตรง
และขยุ มะพรา้ วอยตู่ ่ากว่าหนา้ ดนิ ประมาณ 5 เซนตเิ มตร ใชด้ ินละเอยี ดกลบพรอ้ มกบั ใชม้ ือกดดนิ ใหแ้ นน่ พอประมาณ หา้ มใชเ้ ทา้
เหยียบรอบตน้ โดยเดด็ ขาด เพราะจะทาใหข้ ยุ ท่อี ยใู่ นดินแตกและดินจะแนน่ เกนิ ไป
4.2 การปลกู ไมฤ้ ดแู ลง้ ใชจ้ อบขดุ ท่ีหลมุ ขนาดหลมุ กวา้ ง x ยาว x ลกึ เทา่ กบั 30 ซม.x 30 ซม.x 30 ซม.แลว้ วางกลา้ ใหต้ งั้ ตรง และ
กลบดินหนาจากขยุ มะพรา้ วประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร ใชด้ ินกลบพรอ้ มกบั ใชม้ ือกดดนิ ใหแ้ น่นพอประมาณ หา้ มใชเ้ ทา้ เหยียบรอบตน้
โดยเดด็ ขาดเพราะจะทาใหข้ ยุ ท่อี ย่ใู นดินแตกและดนิ จะแนน่ เกินไป ทงั้ นกี้ ารปลกู หนา้ แลง้ จะตอ้ งมกี ารรดนา้ หลงั จากปลกู ในอตั รา 20
ลติ รต่อตน้ และทาการกลบดนิ ท่โี คนตน้ หลงั จากหนา้ ดินมีความชนื้ หมาดๆ เพ่อื ปอ้ งกนั การระเหยความชนื้ ในดนิ

มาตรฐานกลา้ ทใี่ ช้ปลกู ใบท่ี 3,4,5,6 เสียหายได้ ≤
1.ความสงู :ตน้ กลา้ มคี วามสงู มากกวา่ 20 ซม. วดั จากโคนลาตน้ ถงึ ยอด
2. ยอด และ ใบ: ยอดสมบรู ณด์ ี ไมเ่ สียหาย มใี บใหญ่ ≥ 4 ใบ ใบท่ี 1,2 เสียหายได้ ไม่เสียหาย
25%

Page |7

3.ลาตน้ และความเอยี ง ลาตน้ ตงั้ ตรง หรอื เอยี งไมเ่ กิน 45 องศา กรณี มีรอยต่อ ใหส้ งู จากโคนไม่เกิน 7 ซม.ลาตน้ ไม่มคี วามเสยี หาย
หรือรอยแผล
4.การเจรญิ เตบิ โตของราก และความสงู วสั ดปุ ลกู ระบบรากมคี วาม active วสั ดปุ ลกู สงู ≥ 50%
มาตรฐานงานปลกู
1. ปลกู ตรงตามระยะทว่ี างแนวไว้
2. ปลกู ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน (งานปลกู )
3. อตั รารอดตายของตน้ ไมไ้ มต่ ่ากวา่ 95%

5.การบารุงรักษา
การบารุงรกั ษาเป็นขน้ั ตอนท่สี าคญั หลงั ปลกู ไม้ เพ่อื ใหไ้ มม้ กี ารเจรญิ เตบิ โตท่สี มบรู ณ์ ซง่ึ การบารุงรกั ษาจะประกอบไปดว้ ย การ
ปลกู ซอ่ ม การกาจดั /ควบคมุ วชั พชื การใส่ป๋ ยุ อนิ ทรยี ์ การแต่งก่งิ สาหรบั ไมห้ นอ่ การทาแนวปอ้ งกนั ไฟ และการสารวจอตั ราการเตบิ โต
เปอรเ์ ซน็ ตร์ อดตาย ซง่ึ จะไดแ้ ยกกลา่ วในรายละเอียดตอ่ ไป

5.1 ปลกู ซ่อม หลงั จากทาการปลกู กลา้ ไมไ้ ปแลว้ สว่ นหนงึ่ จะตายจากสาเหตตุ า่ งๆ เช่น การขาดนา้ ยอดหกั นา้ ทว่ มโคน เป็นตน้ กอ่ น
ทาการปลกู ซ่อมจะตอ้ งทาการนบั ว่าในพนื้ ท่ปี ลกู มีตน้ ตายก่ีตน้ เพ่อื จะไดน้ ากลา้ ไมไ้ ปซ่อมไดค้ รบตามจานวนและจะทาการปลกู ซอ่ ม
หลงั จากปลกู ไมภ้ ายใน 1 เดอื น
มาตรฐานงานปลูกซอ่ ม
1. ปลกู ซอ่ มภายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 7 วนั
2. ปลกู ซอ่ มใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน (คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านฝ่ายปลกู และบารุงรกั ษา)
3. เม่ือครบ 30 วนั ตน้ ไมต้ อ้ งไมต่ าย

5.2 การกาจดั วชั พชื มสี ว่ นสาคญั ในการยบั ยง้ั ชะลอความเจรญิ เตบิ โตของกลา้ ไมจ้ งึ มคี วามจาเป็ นท่ตี อ้ งดาเนินการกาจดั และ
ควบคมุ วชั พชื ซง่ึ จะตอ้ งดาเนนิ การอยา่ งต่อเน่อื ง โดยวิธีการกาจดั วชั พชื มี 2 วธิ ี ไดแ้ ก่ การใชแ้ รงงานคน (อา้ งองิ คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน
ฝ่ายปลกู และบารุงรกั ษา) และการใชเ้ คร่ืองจกั ร (อา้ งอิงค่มู อื การปฏิบตั งิ านฝ่ายปลกู และบารุงรกั ษา)

5.3 การใส่ป๋ ยุ ไดม้ ีการใชข้ ไี้ กผ่ สมแกลบสาหรบั เป็นสารปรบั ปรุงดนิ เป็นป๋ ยุ และวสั ดปุ รบั ปรุงโครงสรา้ งของดิน โดยใสใ่ หก้ บั ไมย้ คู า
ลปิ ตสั ช่วงอายุ 1 ปี ในอตั รา 1 ตนั ต่อไร่ วิธีการใส่ โดยใชเ้ คร่ืองจกั ร โรยระหวา่ งแถวของไมย้ คู าลิปตสั จากนนั้ ใชร้ ถแทรกเตอร์ ผาน7
ไถกลบลงไปในดนิ และใสป่ ๋ ยุ เคมีสตู ร 15-15-15 และสตู ร 18-8-8 ใส่อตั ราตามท่กี าหนดเชน่ ใสต่ น้ ล่ะ 50 กรมั โดยใสต่ ามหลมุ ท่เี ตรียม
ไวโ้ ดยจะขดุ หลมุ หา่ งจากตน้ กระดาษ 10-15 เซนตเิ มตรหรอื ตามรศั มีของทรงพมุ่ ในกรณีท่เี ป็นไมท้ ่อี ายมุ ากกว่า 1 เดือน
มาตรฐานการใสป่ ๋ ยุ
1. ใสส่ ารปรบั ปรุงดิน (ขไี้ ก่ผสมแกลบ) ใหม้ คี วามสมา่ เสมอทง้ั แปลง และเตม็ พนื้ ท่ที ่กี าหนด
2. ควรเกบ็ กวาดกอง (ขไี้ กผ่ สมแกลบ) ใหเ้ รยี บรอ้ ย
5.4 การตดั แต่งหน่อ ใชส้ าหรบั การบารุงรักษาไมห้ น่อเท่าน้ัน

Page |8

โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื เลือกหนอ่ ท่มี ีการเติบโตดีไว้ ประมาณ 2-3 หน่อต่อตอ การแต่งหน่อจะดาเนนิ การกบั ไมอ้ ายุ 6-8 เดือน วธิ ีการ
แตง่ หน่อ ใชแ้ รงงานคน โดยจะทาการเลอื กหนอ่ ท่มี ีขนาดใหญ่ จานวน 2-3 หน่อตอ่ ตอ จากนน้ั ใชม้ ดี ตดั หนอ่ ท่ไี ม่ตอ้ งการออกทิง้ ไวใ้ น
แปลงเพ่อื เป็นป๋ ยุ และการแตง่ หน่อจะไม่ดาเนนิ การในชว่ งฤดแู ลง้ เพ่อื ปอ้ งกนั การเกิดไฟไหม้
มาตรฐานการตดั แต่งหน่อ
1. ควรตดั แตง่ หน่อท่ไี มต่ อ้ งการทงิ้ ใหห้ มด
2. ความสงู ของหนอ่ ท่ตี ดั แต่งทงิ้ ไม่เกนิ 15 เซนตเิ มตร

5.5 การสารวจอัตราการเจรญิ เตบิ โต การสารวจอตั ราการเจรญิ เติบโตเป็ นการประเมินผลความคมุ้ คา่ ตอ่ การลงทนุ จะแบ่ง
การประเมินผลผลติ ไม้
ก่อนการตดั ฟัน โดยมวี ธิ ีการประเมนิ ดงั ต่อไปนี้
5.5.1 ขน้ั ตอนเขา้ ตรวจสอบงานนบั เปอรเ์ ซ็นตร์ อดตาย
1) เตรียมอปุ กรณ์ ในการตรวจสอบงาน
1.1) เครื่องนบั จานวน (counter)
1.2) บนั ทึกโดยผา่ นทีม Cockpit Room เพ่อื ใชบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู จานวนตน้ รวมทง้ั วาดแผนผงั การเขา้ ตรวจสอบงาน พรอ้ มระบตุ น้ หรือ
แถวท่พี บตน้ ตาย, ตน้ แคระ, ตน้ ซอ่ ม ผา่ ระบบ Zoom
2) การตรวจสอบงานนบั เปอรเ์ ซน็ ตร์ อดตายสามารถแบง่ ตามลกั ษณะงานไดด้ งั นี้
2.1) งานนบั เปอรเ์ ซ็นตร์ อดตายไม้ 1 เดอื น

- ตรวจนบั จานวนตน้ ปลกู ทงั้ หมดในแปลงนนั้
- ตรวจนบั ตน้ ตาย
- จดบนั ทกึ จานวนตน้ ปลกู ของแต่ละแถวปลกู
2.2) งานนบั เปอรเ์ ซ็นตร์ อดตายไม้ 4 ปี ใหด้ ลู กั ษณะดงั ต่อไปนพี้ ิจารณาเป็นตน้ ท่ไี มส่ ม่าเสมอ
- ตน้ เป็น คือ ตน้ ท่ปี ลกู แลว้ สามารถเจรญิ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งสม่าเสมอ
- ตน้ ตาย กรณีท่ไี มต้ ายจากธรรมชาติ เชน่ นา้ ทว่ ม หรือตายจากกรณีอนื่ ๆ เชน่ ขเี้ ถา้ ไฟไหม้ จะระบสุ าเหตกุ ารตายใหท้ ราบ
ในช่องหมายเหตุ
- ตน้ แคระ คือ ตน้ ทม่ี เี สน้ ผ่าศนู ยก์ ลางนอ้ ยกวา่ 4.7 เซนตเิ มตร หรอื เสน้ รอบวงต่ากวา่ 16 เซนตเิ มตร
- ตรวจนบั จานวนตน้ ตายในแปลงนนั้
- ตรวจนบั จานวนตน้ แคระเกรน็
3) ขน้ั ตอนการวดั ไม้
เร่มิ ทาการวดั การเจรญิ เติบโตของไมท้ ่อี ายุ 1 ปี และ วดั ทกุ ๆ 1 ปี จนครบอายุ 4 ปี กอ่ นการประเมนิ ตดั ไม้

ตาราง กาหนดการวดั การเจรญิ เตบิ โตแปลงไม้

Page |9

อายุ รายละเอยี ดการวดั %รอดตายเละวดั การเตบิ โต หมายเหตุ
เดอื น ตรวจทาจา่ ยการปลกู
นบั % รอดตาย วดั ความสงู (m) วดั เสน้ รอบวง(CM) หาก % รอดตายมากกวา่ 70 % พจิ ารณาปลกู ซอ่ ม
1 หาก % รอดตายตา่ กวา่ 70% พจิ ารณารอื้ ตอ
ตรวจ - -
12 ตรวจวดั ทกุ 2 เดอื น กอ่ นตดั ไมเ้ ขา้ โรงงาน
24 ตรวจ ตรวจ ตรวจ
36 ตรวจ ตรวจ ตรวจ
48 ตรวจ ตรวจ ตรวจ
50 - 60 ตรวจ ตรวจ ตรวจ

ตรวจ ตรวจ ตรวจ

3.1) ความโตทางเสน้ รอบวงระดบั อก (Girth at Breast high) หรอื เรียกยอ่ ๆวา่ GBH คือความโตทางเสน้ รอบวงใน
ระดบั 1.30 เมตร ใชห้ นว่ ยวดั เป็นมลิ ลเิ มตร และคานวณเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางมหี น่วยเป็นนวิ้
3.2) ความสงู การวดั ความสงู วดั จากพนื้ ดินถึงเรือนยอดนยิ มใชห้ นว่ ยวดั เป็นเมตร จากนนั้ นาขอ้ มลู ท่ไี ดม้ าคานวณผลผลติ ของไม้ และ
วิเคราะหค์ วามคมุ้ คา่ ต่อการลงทนุ (ตามตารางมาตราฐานไม)้ ซง่ึ แปลงใดมผี ลผลิตไมค่ มุ้ ค่าแกก่ ารลงทนุ จะทาการตดั ฟันเพ่อื เกบ็ เกี่ยว
ผลผลติ ไมแ้ ละทาการปลกู สรา้ งใหม่
3.3) บนั ทกึ โดยผา่ นทีม Cockpit Room ในระบบ Zoom

6.การเก็บเกี่ยว
การเกบ็ เก่ียวผลผลติ ของไมย้ คู าลปิ ตสั จะเก็บเก่ียวทงั้ พนื้ ท่ี (Clear cutting) เม่ือครบรอบตดั ฟัน (อายุ 4 ปีขนึ้ ไป ) ทางบรษิ ทั ใช้

Harvesters เป็นเครื่องจกั รท่ใี ชส้ าหรบั ตดั ตน้ ไมใ้ นแปลงปลกู เน่อื งจากเป็นวิธีการเกบ็ เก่ียวท่มี ปี ระสิทธิภาพ มคี วามสะดวกรวดเรว็ ใน

การตดั ฟัน สามารถรดิ ก่งิ และทอนความยาวไมไ้ ดต้ ามทต่ี อ้ งการคอื ตดั ไมใ้ หม้ ีความยาวเทา่ กนั ทกุ ทอ่ น (2.50 - 3.00 เมตร) มคี วาม

ปลอดภยั สงู ลดแรงงานคน ลดความบอบซา้ ท่จี ะเกิดกบั ตอไมท้ จ่ี ะแตกหนอ่ ใหม่ ซง่ึ เทคนคิ ในการตดั คือ ไมห้ น่อตดั ใหเ้ หลอื ตอทงิ้ ไว้

สงู ไมเ่ กิน 5.00 ซ.ม (วดั จากตอเดมิ ) และไมย้ อดสงู ไม่เกิน 8.00 ซ.ม (วดั จากพนื้ ดนิ ) อา้ งองิ การควบคมุ แปลงไมท้ ่ตี ดั โดย Harvester

โดยมวี ิธีการเกบ็ เก่ียวโดยสงั เขป ดงั นี้
1.หวั หนา้ แปลงเขา้ สารวจพนื้ ท่โี ดยพนกั งานทมี Harvester กอ่ นทาการตดั ไม้ จะทาการ

1. สารวจขอบเขตรอบพนื้ ท่แี ปลง โดยมีหวั หนา้ แปลงชีข้ อบเขตแปลง เพ่อื ป้องกนั การตดั ไมผ้ ิดแปลง
2. สารวจเสน้ ทางสาหรบั บรรทกุ ไมอ้ อก ตอ้ งมีความกวา้ งของถนนอย่างนอ้ ย 5 เมตร เพ่อื ใหส้ ามารถบรรทกุ ไมอ้ อกจากแปลง
ได้
3. สารวจลกั ษณะพนื้ ท่ขี องแปลงท่จี ะเขา้ ตดั ไม้ ตอ้ งไมม่ ีนา้ ทว่ มขงั พนื้ ท่ตี อ้ งมีความลาดชนั ไมเ่ กนิ 35 องศา
4. สารวจพนื้ ท่ขี า้ งเคียง ท่อี ยอู่ าศยั ผคู้ น แจง้ ใหก้ บั ผทู้ ่อี าศยั อยขู า้ งแปลงทราบ ในการนาเครื่องจกั รเขา้ ตดั ไม้ มกี ารแจง้
ระยะเวลาในการตดั ไมใ้ หก้ บั ผทู้ ่อี าศยั บรเิ วณแปลงทราบโดยตอ้ งบนั ทกึ Link zoom ตอนชีแ้ จงใหก้ บั ผทู้ ่อี าศยั อย่ขู า้ งแปลง ในกรณีท่มี ี
การขนไมผ้ า่ นบรเิ วณชมุ ชนุ ตอ้ งมกี าร zoom ชีแ้ จงกบั ผนู้ าชมุ ชนดว้ ย
5. ทาการบนั ทึก หากตรวจพบสายไฟฟา้ พืชไร่ พชื สวน คคู ลอง ถนนหลวง เพ่อื มาชีแ้ จงพนกั งานขบั รถตดั ไมเ้ ก่ียวกบั ขอ้ ควร
ระวงั ในการตดั ไม้

P a g e | 10

2.ผชู้ ีจ้ ดุ แปลงไม้ และขอบเขตของแปลงทง้ั หมด โดยมกี ารทาสญั ลกั ษณ์ เช่น การฉีดสเปรย์ เพ่อื ปอ้ งกนั การเขา้ ตดั ผดิ แปลง
3.พนกั งานระดบั ปฏิบตั กิ ารของหน่วยงาน Harvester ท่ดี แู ลแปลง ขอแผนยา้ ยรถ Harvester หลงั จากท่เี รียบรอ้ ยแลว้ ทมี งานขนสง่
จะจดั แผนใหก้ บั พนกั งานขบั รถขนสง่ ดาเนนิ การยา้ ย
4. ขน้ั ตอนเร่มิ ตน้ การตดั ไม้ พนกั งานตดั ไมถ้ า่ ยรูปเรม่ิ ตน้ การทางาน และสง่ ในหอ้ งไลนข์ องรถ Harvester ทกุ ครงั้ กอ่ นปฏบิ ตั งิ าน
5. ตรวจความพรอ้ มของรถก่อนทาการตดั ไมโ้ ดยพนกั งานขบั รถ รว่ มกบั Cockpit
6. กอ่ นสตารท์ รถใหพ้ นกั งานขบั สงั เกตบรเิ วณโดยรอบหา้ มใหม้ ีคนอยใู่ กลเ้ คร่ืองจกั รนอ้ ยกวา่ 20 เมตร
7. เรม่ิ ตดั ไม้ โดยหนั หนา้ เขา้ หาตน้ ไม้ ครงั้ ละ 3 แถว โดยเดินรถค่อมแถวท่ี 2
8. ตดั โดยลม้ ไมไ้ ปทางดา้ นซา้ ยมอื หรอื ขวามือ แลว้ สไลดท์ อนไมไ้ ปในทศิ ทางตรงขา้ ม ใหอ้ ยรู่ ะหวา่ งแถวท่ี 3 กบั แถวท่ี 4 เหลือสว่ น
ปลายไมว้ างไวร้ ะหวา่ งแถวท่ี 2 กบั แถวท่ี 3
9. ตดั ไมใ้ หม้ ีความยาวเทา่ กนั ทกุ ทอ่ น (2.50 - 3.00 เมตร)
10.โดยการตดั ไมจ้ านวน 9 ตน้ เพ่อื ใหไ้ ดไ้ ม้ 1 กอง งา่ ยตอ่ การทอย
11.ตรวจงานหลงั ตดั เสรจ็ แต่ละวนั ตอ้ งตรวจการร่วั ไหลของนา้ มนั Hydraulic นา้ มนั ดเี ซล นา้ มนั เคร่อื ง ถา้ พบการร่วั ไหลของนา้ มนั หก
ลงแปลงใหจ้ ดั การตกั เกบ็ ใสถ่ งุ สง่ หน่วยงานสง่ิ แวดลอ้ มโรงงาน
ข้อควรระวงั ในการตดั ไม้
1. การตดั ไมช้ ่วงลมแรง

1.1 ใหห้ วั งานเขา้ Zoom ประเมนิ หนา้ งานการตดั
1.2 วิธีการตดั

- รถตดั ตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งเหนอื ลม
- ลม้ ไมไ้ ปในทศิ ทางเดียวกบั ลม
- หลงั จากตดั ตน้ ไมเ้ สรจ็ ใหส้ ไลดห์ วั ตดั ขึน้ ไปอยตู่ รงกลางตน้ ไม้ เพ่อื บงั คบั ทศิ ทาง
- กรณีท่ไี มอ้ ย่ใู กลส้ ายไฟฟ้า บา้ นคน ถนน แปลงเกษตรกร ใหง้ ดตดั ไม้
2การตดั ไมใ้ กลส้ ายไฟฟา้ : ใหต้ ดั ไมล้ ม้ เขา้ ในแปลง ท่ที าการตดั ไม้ เทา่ นนั้
3การตดั ไมใ้ กลบ้ า้ นท่พี กั อาศยั /สวน/ไรน่ า : ใหต้ ดั ไมล้ ม้ เขา้ ในแปลง ท่ที าการตดั ไม้ เทา่ นน้ั
4ในฤดฝู น คดั เลือกแปลงท่อี ยใู่ นท่ีดอน นา้ ไมท่ ว่ มขงั ในการทางาน
หมายเหตุ : หา้ มทากิจกรรมตดั ไมบ้ นพนื้ ท่ีลาดชนั (ลาดชนั มากกวา่ 30 องศา)ในทก่ี นั ชน (Buffer Zone)
คุณภาพไมท้ ่อน
- ไมข้ นาด 2.00 นวิ้ ขนึ้ ไป ส่ง AA เพ่อื นาไปผลิตเป็นไมส้ บั เย่ือและกระดาษ
- ไมข้ นาด 1.50 – 2.00 นวิ้ ส่ง AGF / GFT เพ่อื นาไปผลติ เป็น Fiberboard
- ไมท้ ่เี ล็กกวา่ 1.50 นวิ้ (ปลายพมุ่ ) ส่ง โรงไฟฟา้ NPS เพ่อื นาไปเป็นเชอื้ เพลงิ หรอื ไถกลบ เพ่อื เป็นป๋ ยุ ภายในแปลง

ผลกระทบท่ีอาจเกิดขนึ้
1. เสน้ ทางขนลากไมเ้ กดิ ความเสยี หาย

P a g e | 11

2. เสียงของเคร่อื งจกั รท่ที างานใกลแ้ หลง่ ชมุ ชน
การควบคมุ /ติดตาม
1. ประเมนิ การทางานกอ่ นและหลงั การทางานตามหวั ขอ้ ประเมิน (ใบประเมินผลกระทบงานตดั ไม)้
2. แจง้ แผนการทางานใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนด (กาหนดเสน้ ทางขนสง่ , นา้ หนกั บรรทกุ )
3. บอกมาตราการการทางานใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานรบั ทราบ เช่นการอบรมก่อนการทางาน ชีแ้ จงใหค้ รบถว้ น เร่ืองขนั้ ตอนการทางานรวมถงึ
ขอ้ ควรระวงั ในการทางาน
4. ชีแ้ จงชมุ ชน แจง้ แผนการทางานใหช้ มุ ชนรบั ทราบ
การป้องกนั และแก้ไข
1. การกาหนดเสน้ ทางบรรทกุ ไมท้ ่ชี ดั เจน ไม่ทาใหช้ มุ ชนเดอื นรอ้ น
2. กาหนดนา้ หนกั รถบรรทกุ ไม่ใหเ้ กนิ กฎหมาย เพ่อื ลดความเสียหายของถนน
3. ประเมนิ เสน้ ทางซอ่ มทางท่ชี ารุด ก่อนและหลงั การทางาน
4. หากมเี รอ่ื งรอ้ นเรยี น ใหด้ าเนนิ การตามขนั้ ตอนการแกไ้ ขขอ้ รอ้ งเรียน

6 การป้องกันภยั ที่เกดิ กบั สวนไม้ยูคาลปิ ตัส เกิดไดจ้ ากคน สตั ว์ โรคแมลง และภยั ธรรมชาติ
- ภัยจากคน เกิดจากความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณห์ รอื เกิดจากเจตนาท่ไี มห่ วงั ดีต่อพนื้ ท่ปี ลกู เช่น ไฟลามจากพนื้ ท่ขี า้ งเคยี ง
ไฟไหมจ้ ากการหาผลผลติ ท่ีไมใ่ ชเ้ นอื้ ไม้ เชน่ รงั ผงึ้ สตั วน์ า้ เป็นตน้ การนาขยะมาทงิ้ ในพนื้ ท่กี ารลกั ขโมยไม้ เป็นตน้
การป้ องกนั และแกไ้ ข ภยั ท่เี กดิ จากการรูเ้ ทา่ ไมถ่ งึ การณส์ ามารถแกไ้ ขได้ โดยการทาแนวกนั ไฟระหวา่ งพนื้ ท่ขี องแปลง
การใหค้ วามรูแ้ ละควบคมุ การปฏบิ ตั ิงานอยา่ งใกลช้ ิด แกไ้ ขโดยกระบวนการมวลชนสมั พนั ธแ์ ละการสารวจตรวจตราในพนื้ ท่ี
- ภยั จากสัตว์ พบนอ้ ยมาก เกดิ ไดท้ งั้ สตั วเ์ ลยี้ ง คือววั ควายเขา้ มากินหญา้ ในแปลงปลกู ไมย้ คู าลิปตสั เหยยี บหญา้ ถกู กลา้
ไมข้ นาดเลก็ เสียหายหรือใชล้ าตวั เสียดสกี บั เปลอื กตน้ ไมย้ คู าลิปตสั
การป้องกนั และแกไ้ ข การพบปะพดู คยุ กบั เจา้ ของสตั วเ์ ลยี ้ ง หากดาเนนิ การแลว้ ยงั แกป้ ัญหาไมไ่ ด้ กต็ อ้ งดาเนนิ การ
แกไ้ ขโดยกระบวนการมวลชนสมั พนั ธ์ และตามกฎหมาย
- ภัยจากโรค แมลง ท่มี กั จะพบในแปลงปลกู คือ โรคใบจดุ ดา่ งเหลอื ง โรคใบไหม้ ในชว่ งฤดฝู น และแตนฝอยปม หนอนมว้ นใบ
แตย่ งั ไม่สง่ ผลความเสียหายต่อผลผลิตของไม้
การป้องกนั และแกไ้ ข ตอ้ งดาเนนิ การสารวจตามแผนการตรวจตดิ ตามท่กี าหนด (Eucalyptus Check-up) หากมีการ
ระบาดรุนแรง ตอ้ งกาหนดมาตรการป้องกนั และแกไ้ ขจากสาเหตนุ นั้ ๆ
- ภยั จากธรรมชาติ เกิดจากความปรวนแปรของธรรมชาติรอบตวั เชน่ ฝนตกหนกั เกดิ นา้ ทว่ ม ลมแรงทาใหไ้ มโ้ คนลม้
หรอื โอนเอยี ง ไฟไหมท้ ่ีเกดิ จากลมพดั ในชว่ งฤดแู ลง้ /จากการเผาหญา้ พนื้ ท่ขี า้ งเคยี ง เป็นตน้
การปอ้ งกนั และแกไ้ ข ภยั จากธรรมชาตินบั เป็นภยั ท่ปี ้องกนั แกไ้ ขไดย้ าก เพราะไม่ทราบลว่ งหนา้ วา่ จะเกดิ ภยั ใดขนึ้ ใน
เวลาใด แต่ภยั ธรรมชาติท่ีไม่รุนแรงก็แกไ้ ขไดบ้ า้ งเช่นเดียวกนั
1) การแกไ้ ขจากลมท่เี กดิ จากลมมรสมุ ซ่งึ จะทาใหไ้ มย้ คู าลปิ ตสั ท่มี ีอายปุ ระมาณ 1-2 ปี ขนึ้ ไปลม้ จากลมมรสมุ ท่ีพดั แรง
ได้ แกไ้ ขโดยการใชห้ ลกั ไมป้ ักยดึ พรอ้ มผกู เชือกฟางเพ่อื คา้ ตน้ ไมใ้ นแปลง
2) การป้องกนั ไฟไหม้ ในช่วงปลายปีถึงตน้ ปีระหวา่ งเดอื นธันวาคม-เมษายน การปลกู สรา้ งสวนไมเ้ ป็นการลงทนุ สงู หากถกู ไฟ

P a g e | 12

ไหมเ้ สียหายคา่ ตอบแทนตา่ งๆทจ่ี ะไดร้ บั เป็นศนู ย์ จึงจาเป็นตอ้ งปอ้ งกนั ไฟไหมอ้ ย่างไดผ้ ล หลกั การสาคญั ของการปอ้ งกนั ไฟคือการลด
วชั พชื ออกจากแปลงใหม้ ากท่ีสดุ เม่ือมีวชั พืชอยนู่ อ้ ยหรือไม่มเี ลยไฟก็ไม่เกดิ ขนึ้ ในแปลง การป้ องกนั ไฟมีหลายวธิ ีแต่ท่ไี ดผ้ ลดที ่สี ุด
สาหรบั การป้ องกนั ไฟในแปลงปลกู ไมย้ คู าลปิ ตสั คือ ใชร้ ถแทรกเตอรล์ อ้ ยางไถพรวนระหวา่ งแถวของไมย้ คู าลิปตสั โดยใชร้ ถ
แทรกเตอรล์ อ้ ยางตดิ ผานไถ 7 จานไถระหว่างแถวดาเนนิ การระหวา่ งเดือนพฤศจกิ ายน-ธนั วาคม จะทาใหว้ ชั พชื ถกู ไถพลิกทบั อยใู่ ตผ้ วิ
ดนิ ส่วนหวั แปลงใชเ้ คร่ืองเป่าลมเป่าพวกใบไหมท้ ต่ี กจากตน้ ใหเ้ กลยี้ งเพ่อื ป้องกนั ไฟไหมเ้ ขา้ แปลง และการทาแนวป้องกนั ไฟ โดยการ
ปรบั ปรุงถนนรอบพนื้ ท่แี ปลง ดนั ใบไมอ้ อกใหม้ ากท่สี ดุ และสรา้ งความเขา้ ใจกบั ชมุ ชนในพนื้ ท่ี
หมายเหตุ :หลงั จากท่เี กบ็ เกย่ี วเสรจ็ ทางทมี งานจะพิจารณาไวต้ อเป็นลาดบั แรก โดยปกตจิ ะไวต้ อ 2 รอบ ทงั้ นขี้ นึ้ อย่กู บั % รอดตาย
ภายในแปลงภายใน 2 เดอื น หากต่ากวา่ 70% จะพจิ ารณารอื้ ตอและปลกู ทดแทน ภายใน 2 เดอื น
5.การเตรียมการเพ่ือตรวจติดตามการเจรญิ เติบโต และการเปล่ียนแปลงของไม้

P a g e | 13

6.แนวทางการป้องกนั สภาพแวดล้อม ทไี่ ดจ้ ากการศึกษาผลกระทบด้านสงั คม แ

แผนก : _________สร้างวัตถุดบิ _____________________ การป
[ √ ] งานทที่ าโดยพนักงาน ฝ่ าย : _
[ ] งา

ลาดับท่ี 1.ตาแหน่งงาน/พื้นท่ี 2.รายละเอยี ดการปฏบิ ตั ิงาน/ 3.แหล่งกาเนิดอนั ตราย 4.ใคร/อะไรทไ่ี ด้รับอนั ตราย
ผลการสารวจพื้นที่

งานเตรียมพ้ืนท่ี,งานตดั งานสาราจแปลงและขณะ ตน้ ไมแ้ ละเศษก่ิงไมภ้ ายในแปลง ผปู้ ฎิบตั ิงาน อนั ตรา
1 ไม้ ปฏิบตั ิงาน

งานไถ งานไถกาจดั วชั พืช ร่องน้าภายในแปลง ผปู้ ฎิบตั ิงาน,ผรู้ ับเหมา อนั ตร
2 พลิกคว

งานเตรียมพ้ืนที่,งานตดั งานเติมเช้ือเพลิง น้ามนั เช้ือเพลิงรวั่ ไหล ผปู้ ฎิบตั ิงาน,ผรู้ ับเหมา อนั ตรา
3 ไม,้ งานไถ น้ามนั
สายไฟระหว่างทาง
งานขนส่ง การขนส่งไม้ ก่ิงไมร้ ะหว่างทาง ผปู้ ฏิบตั ิงาน,เพื่อนร่วมงาน 1.อนั ต
4 สายไฟ
2.อนั ต

แปลงปลูก งานปลูก จอบ ผปู้ ฎิบตั ิงาน อนั ตรา
5 ใหไ้ ดร้

พ้ืนที่ภายในแปลง เตรียมพ้ืนท่ี,งานตดั ไม,้ งานไถ, สตั วม์ ีพิษ ผปู้ ฎิบตั ิงาน ไดร้ ับอ
งานตดั เถาวลั ย.์ งานแตง่ หน่อ, ปฏิบตั
6

ผ้จู ดั ทา : พีระการต์ แสนช่ัง ผ้ตู รวจสอบ : ชิดชม บุญบนั ดาลสุข
(พีระการต์ แสนชั่ง) (ชิดชม บุญบนั ดาลสุข)
08-08-20 08-08-20

P a g e | 14

และสง่ิ แวดลอ้ ม

ประเมนิ ความเส่ียงด้านตาแหน่งงาน
_____________สร้างวัตถุดบิ _______________________
านทท่ี าโดยผ้ทู เี่ กย่ี วข้อง

5.ลกั ษณะและสาเหตุของอนั ตราย 6.มาตราการควบคุมความเส่ียง 7.วิธกี ารทางานหากเกดิ เหตุ

ายจากกิ่งไมท้ ิ้มแทง 1. แต่งกายใหร้ ัดกุมก่อนปฎิบตั ิงานทุกคร้ัง 1.ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

2.จดั ใหม้ ีชุดปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ 2.แจง้ หวั หนา้ แปลงใหร้ ับทราบและดาเนินการตามแผนตอบ

โตอ้ ุบตั ิเหตุ

รายและความเสียหายกบั ตวั เคร่ืองจกั รจากการ 1.ใหก้ ารสารวจพ้ืนท่ีการทางานร่วมกบั หวั หนา้ 1.ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

วา่ หรือติดหล่มจากการไม่ชานาญพ้ืนที่ แปลงและทาสญั ลกั ษพ์ ้ืนที่เสี่ยงโดยการปักธงหรือ 2.แจง้ หวั หนา้ แปลงใหร้ ับทราบและดาเนินการตามแผนตอบ

พน่ สีไวใ้ หเ้ ห็นชดั เจน โตอ้ ุบตั ิเหตุ

2.จดั ใหม้ ีชุดปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

ายจากการสูดดม อนั เน่ืองจากการรวั่ ไหลของ 1.ใหม้ ีวสั ดุรองรับจุดเติมและเปลี่ยนถ่ายน้ามนั ทุก หากเกิดน้ามนั ร่วั ไหลในแปลงใหต้ กั ดินบริเวณท่ีมีการร่ัวไหล

คร้งั ใส่ถุงดาส่งใหก้ บั หวั หนา้ แปลงเพ่ือส่งกาจดั ที่หน่วยงาน

2.ติดป้ายเตือนหา้ มก่อประกายไฟในพ้ืนที่ทางาน สิ่งแวดลอ้ มของบริษทั

ตรายจากการถูกไฟดูดอนั เกิดจากเคร่ืองจกั รเก่ียว 1.ใหม้ ีการสารวจเสน้ ทางก่อนการเคลื่อนยา้ ยก่อน หา้ มบรรทุกและความสูงเกินกฎหมายกาหนด

ฟ ทุกคร้งั

ตรายจากการถูกกิ่งไมเ้ ก่ียวรถขนส่ง 2.ใหม้ ีอุปกรณ์ในการช่วยเปิ ดทาง เช่นมีด ไมค้ ้า

สายไฟ เป็ นตน้

ายจากจอบในการชุดหลุมปลูกหกั กระเดน็ ทา 1.ตรวจเช็คอุปกรณ์ใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ านก่อน 1.ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

รับบาทเจ็บ การทา งานทุกคร้ ัง 2.แจง้ หวั หนา้ แปลงใหร้ ับทราบและดาเนินการตามแผนตอบ

2.แตง่ กายใหร้ ัดกุมก่อนลงปฏิบตั ิงานทุกคร้ัง โตอ้ ุบตั ิเหตุ

อตั รายจากสตั วม์ ีพษิ ภายในแปลงเน่ืองจากการ 1.จดั จุดจอดพกั เครื่องจกั รในพ้ืนที่โล่งแจง้ 1.ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

ติงาน เช่นแตน, ต่อ, ผ้งึ , งู เป็ นตน้ 2.มีการสารวจพ้ืนที่ทางานร่วมกบั หวั หนา้ แปลง 2.แจง้ หวั หนา้ แปลงใหร้ ับทราบและดาเนินการตามแผนตอบ

พร้อมทาสญั ลกั ษจ์ ุดเสี่ยงดว้ ยการธง หรือพน่ ดว้ ยสี โตอ้ ุบตั ิเหตุ

ไว้ ใหเ้ ห็นชดั เจน

3.แตง่ กายใหร้ ัดกมุ ก่อนลงปฏิบตั ิงานทุกคร้ัง

P a g e | 15



P a g e | 16



P a g e | 17



P a g e | 18



P a g e | 19



P a g e | 20



P a g e | 21



P a g e | 22



P a g e | 23



7.แผนสาหรับระบแุ ละป้องกนั สายพนั ธุท์ หี่ ายาก ใกลส้ ญู พนั ธุ์ และอยู่ในอนั ตราย

สรุปผลการสารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ

สถานภาพของพนั ธพุ์ ืช

พนั ธพุ์ ชื ท่พี บจาํ นวน 15 ชนดิ ส่วนใหญ่เป็นไมย้ คู าลิปตสั และวชั พชื ชน้ั ลา่ ง แบง่ ไดเ้ ป็นกล่มุ ไมใ้ หญ่ (Tree) สาํ รวจพบทง้ั สนิ้
7 ชนดิ พนั ธุ์ คือ ไมย้ คู าลิปตสั , กระถินเทพา, ตะแบก, สะเดา, พงั แหร, ขอ่ ย และอะราง กลมุ่ ไมร้ ุน่ (sapling) สาํ รวจไม่พบและ กลมุ่
กลา้ ไม้ (seedling) สาํ รวจพบ พบทงั้ สนิ้ 8 ชนิดพนั ธไุ์ ดแ้ ก่ หญา้ คา สาบแรง้ สาบกา กระดมุ ใบ หงอนไก่ดง ไมยราบ ไมยราบยกั ษ์ เน
เปียร์ หญา้ ตนี ตกุ๊ แก

สถานภาพของพืชพรรณท่ีพบ พบว่า ไม่อยู่ในบัญชีรายช่ือของพระราชบัญญัติป่ าไม้ พ.ศ. 2484 พ.ศ. 2562, พระราช
กฤษฎีกากาํ หนดไมห้ วงห้าม พ.ศ. 2530, อนุสัญญาว่าด้วยการคา้ ระหว่างประเทศซ่ึงชนิดสัตวป์ ่ าและพืชป่ าท่ีใกลจ้ ะสูญพันธุ์
(CITES), สหภาพนานาชาติเพ่ือการอนุรกั ษ์ธรรมชาติและทรพั ยากรธรรมชาติ (IUCN) พบจาํ นวน 5 ชนิด ( กระถินเทพา หญา้ คา
สาบแรง้ สาบกา ไมยราบ และไมยราบยกั ษ)์ และพบ ชนิดพนั ธพุ์ ืชต่างถ่ิน (1.ชนดิ พนั ธพุ์ ืชรุกรานแลว้ พบ 6 ชนิด ไดแ้ ก่ ( กระถนิ เทพา
หญา้ คา สาบแรง้ สาบกา ไมยราบ และไมยราบยกั ษ์)

ตารางแสดงรายชอ่ื พืชพรรณทส่ี ารวจพบในพนื้ ทแ่ี ปลงปลกู ไมย้ คู าลปิ ตัสตามชนิด

พระราช ชนดิ พนั ธตุ์ ่างถ่ิน

ลาํ ดบั รายช่อื ทีพ่ บ ช่อื วิทยาศาสตร์ วงศ์ พระราชบญั ญัติ กฤษฎกี า กาํ IUCN CITES 1. 2. มี
ป่าไม้ พ.ศ.2562 หนกไมห้ วงหา้ ม รุกราน แนวโนม้
แลว้ รุกราน
พ.ศ.2530

1. กล่มุ ไมใ้ หญ่ (Tree) : พบ 1 ชนิด

1 ยคู าลิปตสั Eucalyptus camaldulensis Myrtaceae - - -- - -
Dehn. Meliaceae -
Fabaceae -
2 ตน้ สะเดา Azadirachta indica Lythraceae - - -- - -
Cannabaceae -
3 กระถินเทพา Acacia mangium Moraceae - - LC - / -
Fabaceae -
4 ตะแบก Lagerstroemia floribunda - -- - -

5 พงั แหร Trema orientalis (L.) Blume - -- - -

6 ขอ่ ย Streblus asper Lour. - -- - -

7 อะราง Peltophorum dasyrhachis - -- - -

2. กล่มุ ไมร้ ุน่ (sapling) สาํ รวจไม่พบ

P a g e | 24

3. กล่มุ กลา้ ไม้

(seedling)

1 หญา้ คา Imperata cylindrica Poaceae - - LC - / -

หญา้ สาบแรง้ -
-
2 สาบกา Ageratum conyzoides Asteraceae - - LC - / -
-
3 กระดมุ ใบ Borreria laevis (L.) Griseb Rubiaceae - - -- - -
-
4 หงอนไก่ดง Celosia argentea L. Amaranthaceae - -- - -
-
5 ไมยราบ Mimosa pudica Mimosoideae - LC / -

6 ไมยราบยกั ษ์ Mimosa pigra L. Fabaceae - LC / -

7 เนเปียร์ Pennisetum purpureum Gramineae - -- - -
Tridax procumbens (L.) Asteraceae -
8 หญา้ -- / -
ตีนตกุ๊ แก

หมายเหตุ 1. อกั ษรยอ่ ท่จี าํ แนกโดย IUCN; LC = ไมเ่ ป็นกงั วล หรือ Least concern

ตารางแสดงสถานภาพของพรรณพชื ในพนื้ ทข่ี องสวนไมย้ คู าลิปตสั

บัญชีรายชือ่ สถานภาพ
ไมพ่ บ
พระราชบญั ญัตปิ ่าไม้ พ.ศ.2486 พ.ศ.2562
และพระราชกฤษฎีกากาํ หนดไมห้ วงหา้ ม พ.ศ.2530 ไมพ่ บ

อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ ระหว่างประเทศซง่ึ ชนิดสตั วป์ ่ าและพืชป่าที่ใกลจ้ ะสญู พบ 5 ชนิด

พนั ธุ(์ CITES)
สหภาพนานาชาติเพือ่ การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติและทรพั ยากรธรรมชาติ (IUCN)

ชนิดพนั ธพุ์ ืชต่างถ่ิน (1.ชนดิ พนั ธพุ์ ชื รุกรานแลว้ ) พบ 6 ชนิด
ชนิดพนั ธพุ์ ืชต่างถ่ิน (2.ชนดิ พนั ธพุ์ ืชมีแนวโนม้ รุกราน )
ไมพ่ บ

สถานภาพของสัตว์ป่ า

พนั ธุส์ ตั วไ์ ม่พบ ไม่พบในพืน้ ท่ีเน่ืองจากพืน้ แปลงปลกู ไมเ้ ป็นพืน้ ท่ีท่ีว่างเปล่า พืน้ ท่ีอนุรกั ษ์ก็เป็นพืน้ ท่ีแปลงวา่ งเปล่ามากอ่ น
ไมม่ ีสตั วอ์ าศยั

จากการสาํ รวจความหลากหลายทางดา้ นสตั วใ์ นพนื้ ท่ี ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารสาํ รวจเก็บขอ้ มลู ความหลากหลายของสตั วป์ ่าและการ
สาํ รวจโดยการสอบถามจากบคุ คลท่อี ย่ใู นพนื้ ท่แี ปลงปลกู ไมย้ คู าลปิ ตสั และแปลงพนื้ ท่อี นรุ กั ษ์ เพ่อื ใหช้ มุ ชนในทอ้ งถ่ินมสี ว่ นรว่ มใน
การสาํ รวจและสรา้ งแนวคดิ ในการอนรุ กั ษ์สตั วใ์ นพนื้ ท่อี กี ทางหนง่ึ

P a g e | 25

ตารางแสดงสถานภาพของสตั วท์ ส่ี ารวจพบในพนื้ ทขี่ องสวนไม้ยคู าลิปตสั สถานภาพ
ไม่พบ
บัญชรี ายช่ือ ไมพ่ บ
ไมพ่ บ
พระราชกฤษฎีกากาํ หนดใหส้ ตั วป์ ่าบางชนดิ เป็นสตั วป์ ่าคมุ ครอง พ.ศ. 2546
พระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่า พ.ศ. 2562 ไมพ่ บ

อนสุ ญั ญาว่าดว้ ยการคา้ ระหว่างประเทศซง่ึ ชนิดสตั วป์ ่ าและพืชป่าทใ่ี กลจ้ ะสญู

พนั ธุ(์ CITES)
สหภาพนานาชาตเิ พือ่ การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติและทรพั ยากรธรรมชาติ (IUCN)

โดยทางบริษทั มีมาตรการป้องกันสายพนั ธุห์ ายาก ใกล้สญู พันธุแ์ ละอยูใ่ นอนั ตราย ดงั นี้
1. การสาํ รวจชนิดพนั ธพุ์ ชื ตา่ งถ่ิน แนวทางปฏบิ ตั ิ

- กาํ หนดขอบเขต/พนื้ ท่ใี นการเขา้ สาํ รวจ
-เขา้ สาํ รวจ ประเมนิ บนั ทึกพชื พนั ธทุ์ ่พี บในแปลงปลกู /จดั จาํ แนกชนดิ พนั ธุ์ (พนั ธพุ์ ชื ต่างถ่ิน, พนั ธพุ์ นื้ เมือง)
2. การป้องกนั ควบคมุ การแพรร่ ะบาด แนวทางปฏิบตั ิ
- ควบคมุ การแพรก่ ระจายของชนิดพนั ธุ์ (การไถพรวนในแปลงปลกู ก่อนถงึ ช่วงฤดกู ารออกดอกตดิ เมล็ด)
3. การป้องกนั เฝา้ ระวงั และตดิ ตามชนิดพนั ธตุ์ ่างถ่ิน แนวทางปฏิบตั ิ
- เขา้ สาํ รวจและตรวจติดตามประจาํ ปี -สาํ รวจตรวจสอบและติดตามการแพรก่ ระจายของชนิดพนั ธตุ์ ่างถ่ินท่มี แี นวโนม้ รุกราน
- หากพบว่ามีแนวโนม้ รุกรานใหร้ บี กาํ จดั หรอื แจง้ ใหห้ น่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งหาแนวทางท่แี กไ้ ขรว่ มกนั

P a g e | 26

แผนทแ่ี ปลงทขี่ อรับการรับรอง

จดุ สีดาํ คอื กล่มุ แปลงท่ีขอการรบั รอง
สีขาว คือ IFL Impact forest landscape ท่ที ไ่ี ม่ถกู รบกวนโดยมนษุ ย์ ( ทมี่ ีคณุ ค่าดา้ นการอนรุ กั ษ์สงู HCVF (High Conservative Value Forest))

จดุ สดี าํ คอื กลมุ่ แปลงที่ขอการรบั รอง
สีเขยี วคอื พนื้ ที่เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่า อทุ ยานแห่งชาติ และเขตหา้ มลา่ ( ที่มคี ณุ คา่ ดา้ นการอนรุ กั ษส์ งู HCVF (High Conservative Value Forest))
P a g e | 27

8. แผนทแี่ สดงถึงทต่ี ัง้ ของทรัพยากรป่ าไม้ รวมถึงทไ่ี ดร้ ับการค้มุ ครอง แผนในกา
แผนทแี่ สดงถงึ ทต่ี ้ังแปลงปลกู บรษิ ัททรเี ทคชัยนาทจากดั

P a g e | 28

ารดาเนนิ กิจกรรมบรหิ ารจดั การและการถอื ครองท่ี

แผนทท่ี ต่ี ้งั แปลงปลูกบรษิ ัททรเี ทคชยั น

P a g e | 29

นาทจากดั กลุม่ ทา่ ตูมจงั หวดั ปราจนี บรุ ี

แผนทท่ี ต่ี ั้งแปลงปลกู บรษิ ทั ทรเี ทคชัยนาท

P a g e | 30

ท จากัด กลุ่มระเบาะไผ่ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี

แผนทท่ี ต่ี ั้งแปลงปลกู บรษิ ทั ทรเี ทคชัยนาท

P a g e | 31

ทจากดั กลุม่ แหลมเขาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

แผนในการดาเนินกจิ กรรมบริหารจดั การ

P a g e | 32

การถือครองที่

บรษิ ัท ทรเี ทคชยั นาท จาํ กดั มีสาํ นกั งานตงั้ อยู่ ณ เลขท่ี 274 หม่ทู ่ี 2 ตาํ บลทา่ ตมู อาํ เภอศรีมหาโพธิ จงั หวดั ปราจีนบรุ ี โดย
บรษิ ัทฯไดด้ าํ เนนิ การปลกู ไมย้ คู าลิปตสั ท่เี ขา้ ขอการรบั รองการจดั การสวนไมอ้ ยา่ งย่งั ยนื ไดถ้ กู กาํ หนดรอบตดั ฟัน (Rotation) ไวท้ ่อี ายุ
ประมาณ 4 ปีขนึ้ ไป อย่ใู นเขตพนื้ ท่จี งั หวดั ฉะเชงิ เทราและ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี พนื้ ท่ที ง้ั หมดเป็นพนื้ ทเ่ี ชา่ ในนามบรษิ ัททรีเทคชยั นาท
จาํ กดั มีเอกสารสทิ ธิ์ประเภทโฉนดท่ีดิน (เอกสารสิทธิ์ น.ส.4), หนงั สอื รบั รองการทาํ ประโยชน์ (นส.3 นส.3ก แบบหมายเลข 3)และใบ
ไต่สวน (น.ส.5) ถกู ตอ้ งตามกฏหมาย พนื้ ท่รี วม 5,615.51 ไร่ โดยเป็นพนื้ ท่ที ่ขี อการรบั รอง 5,096.27 ไร่ แบ่งเป็นพนื้ ท่ใี หผ้ ลผลิต
4,446.06 ไร่ (188 แปลง) และพนื้ ท่อี นรุ กั ษ์ 650.21 ไร(่ 8 แปลง)

ตารางแสดงพนื้ ทเี่ ชา่ แปลงปลกู ของบริษทั ทรเี ทคชยั นาทจากัด จานวน 188 แปลง พนื้ ที่ 4,446.06 ไร่

กลุ่มแปลง ตาบล อาเภอ จังหวดั จานวนไร่
แหลมเขา 104 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 39.94
แหลมเขา 68 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 14.42
แหลมเขา 67 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 17.26
แหลมเขา 35 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 59.72
แหลมเขา 36.01 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 14.45
แหลมเขา 53 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 5.44
แหลมเขา 36 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 43.59
แหลมเขา 55 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 26.91
แหลมเขา 63 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 48.54
แหลมเขา 57 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 29.24
แหลมเขา 71 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 5.89
แหลมเขา 105/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 5.92
แหลมเขา 106 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 52.81
แหลมเขา 107/2 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 61.55
แหลมเขา 115 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 27.89
แหลมเขา 115/1 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 6.97
แหลมเขา 116/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 25.91
แหลมเขา 117 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 31.64
แหลมเขา 123 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 4.54

P a g e | 33

แหลมเขา 121/3 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 15.58
แหลมเขา 124 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 16.06
แหลมเขา 125/2 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 8.41
แหลมเขา 125/3 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 12.17
แหลมเขา58 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 35.17
แหลมเขา80/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 9.85
แหลมเขา82 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 44.11
แหลมเขา 23.01 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 22.54
แหลมเขา 17 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 17.39
แหลมเขา 18 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 7.18
แหลมเขา 19 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 28.47
แหลมเขา 20.01 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 6.13
แหลมเขา 20 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 3.04
แหลมเขา 23.02 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 4.39
แหลมเขา27.01 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 11.23
แหลมเขา102 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 25.76
แหลมเขา105 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 30.84
แหลมเขา107 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 30.67
แหลมเขา81 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 33.91
แหลมเขา81/1 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 15.11
แหลมเขา118 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 59.14
แหลมเขา118/1 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 26.18
แหลมเขา119 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 38.9
แหลมเขา121/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 12.75
แหลมเขา107/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 31.56
แหลมเขา83 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 30.27
แหลมเขา124/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 21
แหลมเขา125 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 5.67
แหลมเขา125/1 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 8.08

P a g e | 34

แหลมเขา 62.6 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 2.01
แหลมเขา 34 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 48.42
แหลมเขา 20.02 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 22.55
แหลมเขา 62.5 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 5.17
แหลมเขา 13 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 46.06
แหลมเขา 14 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 35.51
แหลมเขา 14.03 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 6.69
แหลมเขา 23 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 72.16
แหลมเขา 24 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 14.31
แหลมเขา 25 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 49.02
แหลมเขา 25.01 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 27.81
แหลมเขา 25.02 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 23.41
แหลมเขา 25.05 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 18.27
แหลมเขา 27.02 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 10.32
แหลมเขา 27.03 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 54.54
แหลมเขา 28 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 25.88
แหลมเขา 29 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 13.99
แหลมเขา 29.01 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 16.23
แหลมเขา 29.03 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 16.12
แหลมเขา 30.01 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 22.19
แหลมเขา 31 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 58.29
แหลมเขา 32 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 40.06
แหลมเขา 55.01 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 13.3
แหลมเขา 62 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 32.06
แหลมเขา 62.01 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 14.03
แหลมเขา 62.04 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 11.13
แหลมเขา 130 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 7.32
แหลมเขา121/2 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 10.39
แหลมเขา 14.01 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา
3
P a g e | 35

แหลมเขา 25.04 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 1.45
แหลมเขา 131 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 4.83
แหลมเขา 62.03 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา 27.02
แหลมเขา81/2 เขาหนิ ซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 30.29
แหลมเขา69 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 24.32
แหลมเขา55/2 เขาหินซอ้ น พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา 11.38
ท่าตมู 138/1 หาดนางแกว้ กบินทรบ์ รุ ี ปราจีนบรุ ี 6.9
ทา่ ตมู 138 หาดนางแกว้ กบนิ ทรบ์ รุ ี ปราจีนบรุ ี 7.74
ท่าตมู 138/2 หาดนางแกว้ กบนิ ทรบ์ รุ ี ปราจนี บรุ ี 15.42
ท่าตมู 138/3 หาดนางแกว้ กบินทรบ์ รุ ี ปราจนี บรุ ี 11.04
ทา่ ตมู 136 หาดนางแกว้ กบนิ ทรบ์ รุ ี ปราจนี บรุ ี 53.73
ทา่ ตมู 137/3 หาดนางแกว้ กบินทรบ์ รุ ี ปราจีนบรุ ี 33.13
โปรง่ ไผ่14 ศรมี หาโพธิ ปราจีนบรุ ี 1.85
ทา่ ตมู 145 ทา่ ตมู กบินทรบ์ รุ ี ปราจนี บรุ ี 10.81
ทา่ ตมู 24/1 ลาดตะเคยี น ศรมี หาโพธิ ปราจีนบรุ ี 34.57
โปรง่ ไผ่39 ศรีมหาโพธิ ปราจนี บรุ ี 6.21
ทา่ ตมู 24 ทา่ ตมู ศรีมหาโพธิ ปราจีนบรุ ี 47.69
ทา่ ตมู 31 ศรีมหาโพธิ ศรีมหาโพธิ ปราจีนบรุ ี 27.12
โปรง่ ไผ่ 38 ศรีมหาโพธิ ปราจีนบรุ ี 43.32
โปรง่ ไผ่ 40 ทา่ ตมู ศรมี หาโพธิ ปราจีนบรุ ี 16.17
ท่าตมู 4 ทา่ ตมู ศรีมหาโพธิ ปราจนี บรุ ี 96.04
ทา่ ตมู 4/1 ศรีมหาโพธิ ศรีมหาโพธิ ปราจนี บรุ ี 13.25
ท่าตมู 5 ศรมี หาโพธิ ศรมี หาโพธิ ปราจีนบรุ ี 57.28
โปรง่ ไผ่55 หนอ่ ท่าตมู ศรมี หาโพธิ ปราจนี บรุ ี 11.44
ท่าตมู 7/1 ทา่ ตมู ศรีมหาโพธิ ปราจนี บรุ ี 31.83
ระเบาะไผ่26 ท่าตมู ศรีมหาโพธิ ปราจีนบรุ ี 32.79
ระเบาะไผ่26/1 ท่าตมู ศรมี หาโพธิ ปราจีนบรุ ี 13.79
ระเบาะไผ่26/2 ทา่ ตมู ศรีมหาโพธิ ปราจนี บรุ ี 7.4
ฮลั ล่า 3/1 หวั หวา้ กบนิ ทรบ์ รุ ี ปราจนี บรุ ี 16.59
หวั หวา้
P a g e | 36 หวั หวา้
หาดนางแกว้


Click to View FlipBook Version