The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Leo Oo, 2023-09-20 23:10:19

ปลา

ปลา

เรื่องปลา....ปลา... รศ.นพ.ประเสริฐ อัสสันตชัย ภาควิชาเวชศาสตรปองกนและสังคมั Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล “ปลา” แหลงโปรตีนยอยงาย คุณภาพดีไขมันต่ําแถมยงอัุดมไปดวยวตามิ ินบ1 ี บี2 บี6 และวิตามนดิ ีเหมาะกับผูสูงอายุเด็ก ผูปวยโรคไต และผูปวยโรคหวใจ ัแถมหาซ ื้ องาย ราคาไม แพง ที่สําคัญทานอรอยอีกดวย ประเภทของปลา 1. ปลาที่ไมมีไขมัน หรือมีไขมันนอย - เน ื้อปลามีสีขาว เชน ปลาเนื้ อออน ปลาสําลีปลา จาละเม็ด ปลากะพง 2. ปลาไขมันปานกลาง - เชน ปลาตะเพยนี ปลาดุก ปลาอินทรี 3. ปลาไขมันสูง - สวนมากมเนี ื้ อสเหลี ืองชมพูหรือเทาออน เชน ปลาสวาย ปลาเทโพทะเล เคล็ดลับการเลือกซื้อ - ทําความสะอาด สังเกตด…ูตาปลาตองใส เนอแน ื้ น เม ื่ อกดดูไมบุมตามรอยนิ้วมือเหงือกสีแดงสด สวน ขั้นตอนทาความสะอาดํ ตองขอดเกล็ดออกใหหมด ถาไมมีเกล็ด ตองขูดเมือกเหงือกและควักไส ออกจากนนล ั้ างให  สะอาด ปลา…แหลงแรธาตุไอโอดีน เม ื่ อรับประทานปลาทะเล รางกายจะไดรับแรธาตุไอโอดีนซ ึ่ งมีคุณสมบัติปองกนโรคคอ ั พอกชนิดท ี่ เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน เด็กที่กําลังเจรญเติ ิบโตหากขาดแรธาตุชนดนิ ี้โอกาสทจะ ี่ เปน “โรคเออ” ก็มีมากขึ้น และยังทําใหเจริญเติบโตชา ปลา…แหลงแรธาตุแคลเซียม การรับประทานปลาตัวเล็กๆ ที่รับประทานไดทั้งตัว เชน ปลาขาวสาร ปลาฉิ้ งฉั้ง ปลา กระปองจะเพมธาต ิุ่แคลเซียมท ี่ไดจากกระดูกปลาชวยปองก ันโรคกระดูกพรุน และกระดูกหักงาย ไขมันจากปลา เปนไขมันประเภทไมอิ่มตัว มีความจาเปํนต อรางกายเพราะชวยในกระบวนการเผาผลาญ ใหเกิดเปนพลงงานัและยังไมกอใหเกิดไขมันอุดตันในเสนเล ือด


น้ํามันตับปลา กับน ้ํ ามันปลาตางกันอยางไร  • น้ํามนตั ับปลา สกัดจากตบของปลาทะเล ั นิยมรับประทานเพื่ อเสริมวิตามนเอิ ซึ่งทํา หนาท ี่ ควบคุมเย ื่ อบุผิวใหเป นปกต  ินอกจากนี้ยังมีวิตามนดิ ีที่ชวยในการดูดซึมแคลเซียมรวมทั้ง ฟอสฟอรัสบริเวณลําไสเขาสูรางกาย ทําใหการสร  างกระดูกเปนไปอยางปกต  ิ • น้ํามนปลา ั เปนนาม ้ํ นทั ี่ สกดจากเนั ื้อ หนัง หัวและหางปลาทะเล อาทิปลาซารดีน ปลา เฮอรริ่ง ปลาแมคคอเรล ปลาแซลมอน ปลาทูนา น้ํามนปลาม ั ีกรดไขมันที่รางกายคนเราไมสามารถ สรางเองไดโดยเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว (Polyunsaturated Fatty Acid) หรือ PUFA 2 ชนิด ใน กลุมโอเมกา 3 คือ Eicosapentaenoic acid (EPA) และ Docosahexaenoic acid (DHA) ปจจุบัน วงการแพทยใหความสนใจถึงความสัมพันธของนาม ้ํ นปลาก ั ับโรคหลอดเลือด หัวใจซึ่งกําลงเปั นปญหาสุขภาพที่สําคัญ และสาเหตุการเกดโรคก็มาจากการทหลอดเล ี่ ือดแดงท ี่ ไปเลี้ ยงหวใจไหลเว ั ยนไม ี สะดวกเพราะผนงหลอดเลั ือดหนาและแข็งขนจากการเกาะต ึ้ ัวของ โคเลสเตอรอล การอุดตันของเกร็ดเลือดท ี่ รวมตัวกนสั งผลให  กลามเน ื้ อหัวใจขาดเลือดมาเล ี้ ยง บาง รายท ี่ อาการรนแรงอาจเสุยชี ีวิตได ดังน ั้ นผูปวยโรคนี้จึงมักไดรับคําแนะนําจากแพทยใหรับประทานน้ํ ามนปลา ัเพราะมีสวน ชวยลดระดับไขมันในเลือด และยังชวยลดการเกาะต ัวของเกร็ดเลือด ทําใหการไหลเวียนของเลือด ดีขึ้น ซึ่งปจจัยเหลานี้ชวยลดปญหาโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดไดเปนอยางด ี รับประทานน้ํ ามันปลาอยางไรจึงจะปลอดภัย 1. บุคคลท ั่วไป ควรรับประทานปลาอยางนอยสัปดาหละ 2 ครั้ง รวมท ั้ งอาหารที่มีกรด alpha – linolenic acid สูง เชน น้ํามันถ ั่ วเหลือง เมล็ดธญญพั ืชเตาหูเปนตน 2. ผูปวยโรคหวใจ ัควรรับประทานน้ํ ามนปลา ั ประมาณ 1,000 มิลลิกรัม/วัน 3. ผูปวยที่ตองการลดระดับไตรกลีเซอไรดในเลือด ควรรับประทานวันละ 2 – 4 กรัม * กอนตัดสนใจร ิ บประทาน ั ควรปรึกษาแพทยผูเช ี่ ยวชาญเสียกอนเพอความปลอดภ ื่ ัยและ พึงระวังวาการรับประทานน้ํามันปลาขนาดสูงอาจทาให ํ ระดับวิตามนอิ ในร ี างกายลดลง จะปลาเล็ก..ปลานอย..ปลาตัวโต หากเรารับประทานปลาเปนประจํา ความเส ี่ ยงทจะเป ี่ น โรคหัวใจหรือไขมันอุดตันก็จะนอยกวาคนท ั่วไป ที่สําคัญ ยังมีผลวิจัยวาสาร DHA มีสวนสําคัญใน การพัฒนาสมองโดยเฉพาะในสวนของความจําและการเรียนรูเพราะสาร DHA จะเขาไป  เสริมสรางความเจริญเติบโตของปลายประสาทที่ทําหนาท ี่ถายทอดสัญญาณผานขอมูลระหวาง เซลลสมองดวยกัน ทําใหเก ิดการเรียนรูดีขึ้น ทานไมจําเปนตองซ ื้อปลาแพงๆ มารับประทาน เพราะแคปลาตาใส ๆ ที่วางขายในตลาดแถวบาน เชน ปลาทูปลาตะเพียน ก็มีสารอาหารเหลาน ี้ ครบถวนแลว


Click to View FlipBook Version