The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิธีการปฏิบัติงาน ( Work instruction) งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 2560-2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by norasit, 2020-09-01 20:04:49

วิธีการปฏิบัติงาน ( Work instruction) งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 2560-2562

วิธีการปฏิบัติงาน ( Work instruction) งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 2560-2562

0

ระเบยี บวธิ กี ารปฏบิ ตั ิงาน
WORK INSTRUCTIONS

งานจ่ายกลาง

โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

วันทอ่ี นุมัตใิ ช้ 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
แก้ไขครัง้ ท่ี 01

วนั ทีอ่ นุมัตใิ ช้ 26 พฤศจิกายน 2562

สารบัญ 1

1. การรบั อุปกรณเ์ ครอื่ งมอื แพทย์สกปรก หน้า
2. การนาสง่ อุปกรณเ์ ครือ่ งมือทางการแพทยป์ ลอดเช้ือ
3. การตรวจนบั ตรวจสภาพ และคดั แยกอุปกรณเ์ ครอ่ื งมือแพทย์สกปรก 2
4. การลา้ งทาความสะอาดอปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื ทางการแพทย์ 10
5. การเตรยี มและบรรจุอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื ทางการแพทย์ 18
6. การทาปราศจากเชือ้ ดว้ ยวิธีนึ่งไอนา้ 26
7. การจัดเก็บเครอื่ งมอื และอุปกรณก์ ารแพทยใ์ นห้องปลอดเชือ้ 34
8. การรับบริการทาปราศจากเช้ือของผูร้ ับบริการภายนอก 42
9. การตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมอื ทางการแพทย์ปราศจากเช้อื 52
10. การรวบรวมเคร่ืองมืออปุ กรณ์ทางการแพทยก์ ่อนนาส่งงานจ่ายกลาง 61
11. การล้างทาความสะอาดเคร่ืองมืออุปกรณท์ างการแพทย์ แก้ไขครัง้ ที่ 1 69
77
90

2

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ กี ารปฏบิ ตั ิงาน
(Work Instruction)

H-WI-3.8-01
เร่ือง : การรบั อุปกรณเ์ คร่อื งมือแพทย์สกปรก

แกไ้ ขครง้ั ที่ : 00
วันท่อี นุมัติใช้ : 6 กุมภาพนั ธ์ 2560

ผู้จดั ทา : ………………………………………
ผู้ทบทวน : (นางพรสวรรค์ โควบุตร)
ผ้อู นุมัติ : หวั หนา้ หน่วยเตรยี มและทาความสะอาดเครอ่ื งมือ

……………………………………
(นางศศิธร เรืองประเสริฐกลุ )

หัวหน้างานจา่ ยกลาง

………………………………………
(รองศาสตราจารยอ์ ภิชาติ จิระวฒุ พิ งศ์)

รองคณบดีฝ่ายโรงพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ วนั ท่อี นุมัติใช้ 3
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)
6 กมุ ภาพันธ์ 2560 หน้า
วิธปี ฏิบตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครั้งที่ 1/7

เรื่อง : การรับอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทยส์ กปรก H-WI-3.8-01 00

สารบัญ หน้า
1. วัตถปุ ระสงค์ 2
2. ขอบเขต 2
3. คาจากัดความ 2
4. หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ 2
5. รายละเอยี ดการทางาน 3
6. เอกสารอา้ งองิ 4
7. แผนผังการปฏิบัตงิ าน 5
8. ประวตั ิการแกไ้ ข 7

4

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ วันทอ่ี นุมัตใิ ช้ หนา้
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 2/7
6 กุมภาพันธ์ 2560
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครงั้ ที่

เรื่อง : การรบั อุปกรณเ์ คร่ืองมอื แพทยส์ กปรก H-WI-3.8-01 00

1. วตั ถปุ ระสงค์
1.1 เพ่ือให้การขนส่งอุปกรณ์เคร่อื งมอื แพทย์ไดม้ าตรฐาน
1.2 เพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภัยตอ่ บุคลากร และผรู้ ับบรกิ าร
1.3 เพื่อป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค

2. ขอบเขต
2.1 งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
2.2 ภาควชิ าและหนว่ ยงานต่างๆ ภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

3. คาจากัดความ
3.1 การขนส่ง หมายถงึ พนักงานที่ได้รบั มอบหมายของงานจา่ ยกลางนาอปุ กรณ์ และรถเข็นเครอ่ื งมอื
ไปรับอุปกรณเ์ ครื่องมอื แพทย์จากหนว่ ยงานภายในคณะแพทยศาสตร์ท่มี ีการรับ-แลก
3.2 อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ หมายถึง อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ที่มกี ารใช้ และยังไม่ได้ใช้จากหนว่ ยงานภายใน
คณะแพทยศาสตรท์ ่ีมีการรบั -แลก
3.3 อุปกรณ์เครอ่ื งมือแพทยท์ ี่มกี ารใช้ หมายถงึ อปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทย์ทมี่ ีการปนเปื้อน
3.4 อุปกรณ์เคร่อื งมือแพทยท์ ี่มยี ังไมไ่ ดใ้ ช้ หมายถึง อปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทย์ทยี่ ังไม่มกี ารปนเปื้อน
หน่วยงานตอ้ งการนาส่งเพื่อทาปราศจากเชื้อซา้
3.5 ใบรับ/แลก หมายถงึ ใบรายการที่หน่วยงานภายในคณะแพทยศาสตร์พิมพ์ระบุรายการจานวนที่ต้องการ
และบนั ทึกในระบบโปรแกรมอัตโนมตั ิมาท่งี านจา่ ยกลาง โดยงานจ่ายกลางจะพิมพ์รายงานออกมาแบบอตั โนมตั ิ

4. หนา้ ท่ีความรับผิดชอบ
4.1 พนักงานรับอุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทย์ มีหนา้ ที่
1) จดั เตรียมรถ และอุปกรณ์สาหรบั ขนย้ายอุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์สกปรก
2) รบั อุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์สกปรกจากหน่วยงานที่สง่ ใบรบั /แลก ตามที่ได้รบั มอบหมาย
3) ขนย้ายอุปกรณ์เคร่ืองมอื แพทยส์ กปรกมายังบริเวณจดุ ตรวจนบั และตรวจสภาพอุปกรณ์
เครอ่ื งมือแพทย์ หน่วยล้างและทาความสะอาดเคร่ืองมือของงานจ่ายกลาง
4) ทาความสะอาด และจัดเก็บรถเข็น และอุปกรณใ์ นการรับอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์สกปรก
4.2 เจ้าหนา้ ท่ขี องหน่วยงานทร่ี ับ/แลกเครื่องมือ มหี น้าท่ี
1) จัดเตรียมอปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื แพทยท์ ี่ใชแ้ ล้ว และยังไม่ได้ใช้ให้พนกั งานของงานจา่ ยกลาง
ท่ีไปรบั อปุ กรณ์เคร่อื งมือแพทย์
2) พมิ พร์ ะบรุ ายการและจานวนท่ตี ้องการรับ/แลกอุปกรณ์เคร่ืองมือแพทย์ในระบบโปรแกรมอัตโนมตั ิ
และบันทึกสง่ มายังงานจา่ ยกลาง

5

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่อนุมัตใิ ช้ หนา้
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 3/7
6 กุมภาพันธ์ 2560
วิธปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขคร้ังท่ี

เรื่อง : การรบั อปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์สกปรก H-WI-3.8-01 00

5. รายละเอียดการทางาน
5.1 การรบั อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์จากหนว่ ยงานภายในคณะแพทยศาสตร์ ให้พนกั งานจ่ายกลาง
ทไี่ ด้รบั มอบหมายเปลี่ยนชุดแตง่ กาย และสวมอปุ กรณป์ ้องกันสว่ นบคุ คล
5.2 หวั หนา้ หน่วยงาน/ผู้ได้รบั มอบหมาย และพนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์เครื่องมือแพทย์ตรวจสอบตารางมอบหมาย
งานประจาวนั ในการรบั /ส่งอุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์
5.3 พนักงานขนสง่ อุปกรณ์เครือ่ งมือแพทย์จดั เตรยี มทาความสะอาดรถเขน็ อปุ กรณ์เครื่องมือแพทย์โดยใช้ผา้ เช็ด
ทาความสะอาดพ้นื ผวิ เครอื่ งมือเคร่ืองใช้ (Posequat pad) และจัดเตรยี มอปุ กรณส์ าหรบั รบั อุปกรณ์
เครอ่ื งมือแพทย์ให้ครบถว้ นพร้อมใชง้ าน มดี ังตอ่ ไปนี้
1) กลอ่ งเปล่าสะอาดสาหรบั บรรจอุ ปุ กรณ์เคร่อื งมือสกปรกของหนว่ ยงานท่ีไปรับ
2) ถงุ มือยางชนดิ ใชแ้ ล้วทง้ิ
3) ผ้าเช็ดทาความสะอาดพน้ื ผวิ เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ (posequat pad)
5.4 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์เครือ่ งมอื แพทย์ ตรวจสอบแบบรายงานการรบั -ส่งอปุ กรณ์เครอ่ื งมือแพทย์
พร้อมลงบันทึกชื่อตนเอง และหนว่ ยงานท่ไี ปรับอปุ กรณ์
5.5 พนักงานขนส่งอุปกรณเ์ คร่ืองมอื แพทย์ นากลอ่ งเปล่าสะอาดสาหรับบรรจอุ ปุ กรณ์เครอื่ งมือสกปรก
ไปแลกกบั หนว่ ยงาน
5.6 เมื่อไปถงึ หนว่ ยงาน พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์ แจง้ ให้เจา้ หน้าที่ทราบ พร้อมทั้งรบั อุปกรณ์
เครือ่ งมือแพทย์ทีบ่ รรจุใสก่ ล่องหรอื ถงุ พลาสติกทปี่ ดิ มิดชดิ โดยตรวจสอบชื่อหนว่ ยงานกับกล่องบรรจุ
ให้ถูกต้อง ถา้ กลอ่ งบรรจไุ ม่ถูกต้องให้หนว่ ยงานดาเนินการแก้ไข จากน้ันไปหนว่ ยงานที่ต้องการไปรับอุปกรณ์
เครอื่ งมือแพทย์ในลาดบั ถดั ไปในรอบเดียวกนั ถ้าไม่มใี หน้ าอุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์น้นั กลับงานจา่ ยกลาง
5.7 พนกั งานขนสง่ อุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์ นาอปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทย์มาไว้ที่จุดตรวจนบั และตรวจสภาพบรเิ วณ
หนว่ ยล้างและทาความสะอาดเครอ่ื งมอื ของงานจา่ ยกลาง
5.8 พนักงานขนสง่ อุปกรณ์เครอ่ื งมอื แพทย์ เช็ดทาความสะอาดรถเข็น และอุปกรณเ์ พื่อไปรับอปุ กรณ์เครอ่ื งมือ
แพทย์ในรอบถัดไป (ถ้ามี)
5.9 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์เครอ่ื งมอื แพทย์ เชด็ ทาความสะอาดรถเข็น และกล่องบรรจุด้วยผ้าเช็ดทาความสะอาด
พื้นผวิ เครือ่ งมือเครอื่ งใช้ (Posequat pad) ก่อนจดั เกบ็ ให้เรียบร้อย

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันท่ีอนุมตั ใิ ช้ 6
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)
6 กมุ ภาพันธ์ 2560 หนา้
วธิ ปี ฏิบัติงาน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขครงั้ ท่ี 4/7

เรอื่ ง : การรับอปุ กรณ์เคร่ืองมอื แพทย์สกปรก H-WI-3.8-01 00

6. เอกสารอ้างองิ
6.1 สุภาพ ศรีทรัพย์ สมาคมศูนย์กลางงานปราศจากเชื้อ. ตวั ชวี้ ดั กระบวนการทาให้ปราศจากเชอ้ื มาตรฐาน7-
Thai-CSSA. [ออนไลน์] [อา้ งถึง 1 กันยนยน 2558]. จาก www.thaicssa.com/.../KPI%207%20step
%20of%20CSSD%20flow.pdf.
6.2 สานกั พัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ ชมรมควบคมุ โรคติดเช้อื ในโรงพยาบาลแหง่
ประเทศไทย. แนวทางการพัฒนาหน่วยจ่ากลาง [ออนไลน์]. [อ้างเม่ือ 20 กนั ยายน 2558]
จาก www.bamras.org/userfiles/12_.pdf.

6.3 อะเคื้อ อุณหเลขกะ. การป้องกนั การติดเชื้อในโรงพยาบาล.พิมพค์ รง้ั ท่ี 2.กรุงเทพฯ: เจ.ซ.ี ซี.การพิมพ์ จากัด;
2542.

7

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันท่อี นุมตั ิใช้ หน้า
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 5/7
6 กมุ ภาพันธ์ 2560
วิธปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครั้งที่

เรือ่ ง : การรบั อุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทยส์ กปรก H-WI-3.8-01 00

7. แผนผงั การปฏบิ ัตงิ าน ขนั้ ตอนการปฏิบัติ ผเู้ กย่ี วข้อง
ผ้รู ับผิดชอบ
เปลีย่ นเสือ้ ผ้าและสวม  พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์
 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์ อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล เคร่อื งมอื แพทย์
เครอ่ื งมอื แพทย์
ตรวจสอบตาราง ตารางมอบหมายงานการ  หวั หนา้ หนว่ ยงาน/ผู้ทไี่ ดร้ บั
 หวั หน้าหนว่ ยงาน/ มอบหมายงานประจาวนั รับ/สง่ อุปกรณ์ มอบหมาย
ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
 พนักงานขนสง่ อปุ กรณ์ จดั เตรยี ม ทาความสะอาด แนวทางการ  พนักงานขนส่งอปุ กรณ์
เคร่อื งมือแพทย์ รถเข็น อปุ กรณ์ และสถานท่ี ทาความสะอาด เครอื่ งมือแพทย์
อุปกรณ์ และสถานท่ี
 พนกั งานขนส่งอุปกรณ์ ตรวจสอบแบบรายงานการรับ-สง่  พนักงานขนส่งอปุ กรณ์
เครอ่ื งมือแพทย์ แบบรายงานการรับ/ส่ง เครอ่ื งมอื แพทย์
อปุ กรณเ์ คร่ืองมือแพทย์
 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์  พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์
เครอ่ื งมอื แพทย์ เตรยี มกล่องเปล่าสะอาดสาหรับบรรจุ เคร่อื งมือแพทย์
เครือ่ งมอื สกปรกไปแลกกบั หนว่ ยงาน
 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์  พนักงานขนส่งอปุ กรณ์
เครอื่ งมือแพทย์ เครื่องมือแพทย์

 พนักงานขนสง่ อปุ กรณ์ ไปรบั อปุ กรณ์เครอ่ื งมอื แพทย์จากหน่วยงาน  พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
เครื่องมอื แพทย์ ที่ส่งใบแลกอปุ กรณเ์ คร่อื งมือแพทย์ เคร่อื งมอื แพทย์
 เจา้ หน้าทหี่ นว่ ยงานทสี่ ง่  เจา้ หนา้ ท่หี น่วยงานทส่ี ่ง
อุปกรณเ์ ครอื่ งมอื แพทย์ ตรวจสอบกลอ่ งบรรจเุ ครื่องมอื สกปรกให้ อุปกรณ์เครื่องมอื แพทย์
ตรงกับช่อื หนว่ ยงานที่ไปรบั  พนักงานขนส่งอุปกรณ์
 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ เครื่องมอื แพทย์
เครือ่ งมือแพทย์

 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์  พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์
เครื่องมือแพทย์
เครื่องมอื แพทย์ กลอ่ งบรรจุ ไมใ่ ช่ ดาเนินการแกไ้ ข  เจ้าหนา้ ท่ีหน่วยงานที่สง่
 เจ้าหน้าทีห่ นว่ ยงานท่ีสง่ เครือ่ งมอื ตรงกับช่อื ใหถ้ ูกตอ้ ง อุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทย์
อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื แพทย์
หน่วยงาน  พนกั งานขนส่งอปุ กรณ์
ใช่ เครื่องมือแพทย์
ใช่
 พนักงานขนส่งอุปกรณ์  เจา้ หนา้ ท่ีหน่วยงานทส่ี ่ง
เคร่ืองมือแพทย์ รับอุปกรณเ์ คร่อื งมือแพทย์หนว่ ยงาน อุปกรณเ์ คร่ืองมอื แพทย์
 เจา้ หน้าทห่ี นว่ ยงานท่สี ง่ ถัดไป (ในรอบเดยี วกัน)

อปุ กรณ์เครอ่ื งมือแพทย์ A

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 8
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)
หน้า
วธิ ีปฏิบัติงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครั้งที่ วนั ท่ีอนุมัตใิ ช้ 6/7

เรอื่ ง : การรับอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื แพทย์สกปรก H-WI-3.8-01 00 6 กุมภาพันธ์ 2560

ผรู้ บั ผดิ ชอบ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ ผ้เู ก่ยี วข้อง

A

 พนักงานขนส่งอุปกรณ์ ขนส่งอปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทยม์ างาน  พนกั งานขนส่งอปุ กรณ์
เครอ่ื งมอื แพทย์ จา่ ยกลาง เครื่องมือแพทย์

 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์ ตรวจสอบหนว่ ยงานทตี่ ้องไปรับอปุ กรณ์  พนักงานขนสง่ อุปกรณ์
เครอื่ งมือแพทย์ เครอ่ื งมอื แพทย์ในรอบต่อไป เครื่องมือแพทย์

 พนักงานขนส่งอุปกรณ์ ใช่ มหี น่วยงานที่ต้องไปรับ  พนักงานขนส่งอปุ กรณ์
เครอ่ื งมือแพทย์ อุปกรณเ์ ครื่องมอื เครื่องมือแพทย์
แพทยใ์ นรอบตอ่ ไป
 พนกั งานขนส่งอปุ กรณ์  พนกั งานขนส่งอปุ กรณ์
เครอื่ งมือแพทย์ ไมใ่ ช่ เครือ่ งมือแพทย์
 พนกั งานทาความสะอาด  พนักงานทาความสะอาด
ทาความสะอาด / จัดเก็บ
รถเขน็ และอุปกรณ์

9

8. ประวัติการแก้ไข

เรอ่ื ง : การรบั อปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์สกปรก Doc. No. : …………………………….
Rev. No. : ………………………………….

Eff. Date. : ……………………. หน้า 7/7

บนั ทึกการแก้ไข
(สาหรบั เจ้าหน้าทีค่ วบคุมเอกสาร)

ลาดบั ที่ แกไ้ ขครั้งที่ วนั ที่ เหตุผลการแก้ไข

10

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีการปฏิบตั งิ าน
(Work Instruction)

H-WI-3.8-02
เรื่อง : การนาสง่ อุปกรณ์เครอื่ งมอื ทางการแพทย์ปลอดเชื้อ

แก้ไขคร้ังที่ : 00
วนั ที่อนุมตั ใิ ช้ : 6 กุมภาพนั ธ์ 2560

ผูจ้ ดั ทา : ………………………………………
ผู้ทบทวน : (นางศศธิ ร เรืองประเสริฐกุล)
ผู้อนมุ ัติ :
หวั หนา้ งานจา่ ยกลาง

……………………………………
(นางศศธิ ร เรอื งประเสริฐกลุ )

หวั หน้างานจา่ ยกลาง

………………………………………
(รองศาสตราจารย์อภชิ าต จิระวุฒพิ งศ์)

รองคณบดีฝ่ายโรงพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หน้า
1/7
วธิ ีปฏิบตั งิ าน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขครั้งท่ี วันทีอ่ นุมตั ิใช้

เรือ่ ง : การนาส่งอปุ กรณเ์ ครื่องมือ H-WI-3.8-02 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
ทางการแพทย์ปลอดเชอื้

สารบัญ หนา้
1. วตั ถุประสงค์ 2
2. ขอบเขต 2
3. คาจากดั ความ 2
4. หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ 2
5. รายละเอียดการทางาน 2
6. เอกสารอา้ งองิ 4
7. แผนผังการปฏบิ ัติงาน 5
8. ประวตั กิ ารแกไ้ ข 7

12

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธปี ฏบิ ัติงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครงั้ ท่ี วนั ท่อี นุมัตใิ ช้ หนา้
2/7
เรื่อง : การนาส่งอปุ กรณ์เครื่องมือ H-WI-3.8-02 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
ทางการแพทยป์ ลอดเชอื้

1. วตั ถุประสงค์
1.1 เพ่ือสามารถนาส่งอปุ กรณ์เครื่องมือทางการแพทยป์ ราศจากเช้ือได้ถูกต้อง
1.2 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค

2. ขอบเขต
2.1 งานจา่ ยกลาง โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
2.2 หอผู้ป่วยและหนว่ ยงานต่างๆ ภายในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

3. คาจากัดความ
การนาสง่ อปุ กรณเ์ คร่อื งมอื ทางการแพทย์ หมายถึง การขนสง่ อปุ กรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ ปราศจากเช้อื
จากงานจ่ายกลางไปยังหน่วยงานท่ใี ชบ้ ริการ

4. หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบ
4.1 พนักงานขนส่งอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ มีหน้าที่
1) ตรวจสอบกล่องบรรจุอปุ กรณ์เครือ่ งมอื ทางการแพทย์ ปราศจากเช้อื ให้ตรงกับหน่วยงานทต่ี นรับผดิ ชอบ
ในการนาสง่
2) นาอปุ กรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ ปราศจากเช้ือส่งให้หนว่ ยงานถกู ต้อง ครบถ้วน ตามสถานที่
ท่ีหน่วยงานจัดเตรยี มไวใ้ ห้
3) จดั เกบ็ กล่องเปล่าอุปกรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ ปราศจากเช้ือท่ีหนว่ ยงานจดั เตรียมไว้ โดยตรวจสอบ
ความถูกต้องก่อนนากลบั งานจ่ายกลาง
4) เช็ดทาความสะอาดรถเข็นและกล่องบรรจุด้วยผ้าเช็ดทาความสะอาดพ้ืนผิวเคร่ืองมือเคร่ืองใช้
(Posequat pad) กอ่ นจัดเกบ็ ใหเ้ รียบร้อย
4.2 เจา้ หนา้ ท่ีหน่วยงานทีข่ อแลกอุปกรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ มีหนา้ ที่
1) จดั เตรยี มสถานทส่ี าหรบั จัดเกบ็ อุปกรณ์เคร่อื งมือทางการแพทย์ปราศจากเชื้อให้ถูกต้อง ได้มาตรฐาน
2) ตรวจสอบความถูกต้องของกลอ่ งบรรจุอปุ กรณ์เครื่องมอื ทางการแพทย์ เมื่อเปิดกล่องบรรจุตรวจสอบรายการ
และจานวนอุปกรณเ์ ครื่องมือทางการแพทย์ให้ถูกต้อง ครบถ้วน
3) เตรยี มกล่องเปล่าบรรจุอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ใหพ้ นักงานขนส่งนากลับงานจ่ายกลาง

5. รายละเอยี ดการทางาน
5.1 พนกั งานขนส่งอุปกรณเ์ คร่อื งมือแพทย์เปลยี่ นเสื้อผา้ และสวมอุปกรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คล
5.2 พนักงานขนสง่ อุปกรณ์เคร่อื งมอื แพทยต์ รวจสอบตารางการมอบหมายงานประจาวัน และแบบรายงาน
การรบั /ส่งอุปกรณเ์ คร่อื งมือทางการแพทย์
5.3 พนักงานขนสง่ อุปกรณเ์ ครอ่ื งมือแพทย์จดั เตรยี มทาความสะอาดรถเข็น อุปกรณ์และสถานที่ตามแนวทาง
การทาความสะอาดอุปกรณ์และสถานท่ี
5.4 ตรวจสอบใบแลกของหน่วยงานกับกล่องบรรจุอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ปราศจากเชื้อให้ตรงกัน
จากนน้ั จงึ นากล่องและถงุ พลาสติกทป่ี ิดมิดชิดสง่ หนว่ ยงานทถ่ี ูกต้อง ครบถว้ น ถ้าไม่ถูกต้องพนักงาน
ที่จัดเตรียมดาเนินการแกไ้ ขให้ถูกต้องก่อนนาสง่ หน่วยงาน

13

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีปฏิบตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขครง้ั ที่ วนั ท่อี นุมตั ิใช้ หนา้
3/7
เร่อื ง : การนาสง่ อปุ กรณเ์ ครื่องมือ H-WI-3.8-02 00 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2560
ทางการแพทยป์ ลอดเช้อื

5.5 นาสง่ อุปกรณเ์ คร่ืองมือทางการแพทย์ปราศจากเช้ือ จดั วางบรเิ วณสถานที่ทหี่ น่วยงานจัดเตรยี มไว้ให้
โดยไมใ่ ห้ปนเปื้อนกับอปุ กรณ์เครื่องมอื ท่ีใช้แล้ว

5.6 เก็บกลอ่ งเปล่าบรรจอุ ปุ กรณเ์ ครื่องมือทางการแพทย์ท่หี นว่ ยงานเตรียมให้นากลบั งานจา่ ยกลาง
5.7 เชด็ ทาความสะอาดรถเข็น และกลอ่ งอปุ กรณ์ด้วยผา้ เช็ดทาความสะอาดพน้ื ผวิ เครื่องมอื เคร่ืองใช้

(Posequat pad) กอ่ นจดั เกบ็ กล่องอุปกรณไ์ ว้ในหอ้ งเก็บอปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทยป์ ราศจากเช้ือให้เรยี บร้อย
พรอ้ มใช้งาน

14

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธปี ฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครัง้ ที่ วันท่ีอนุมัตใิ ช้ หน้า
4/7
เรอื่ ง : การนาสง่ อุปกรณ์เคร่ืองมือ H-WI-3.8-02 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
ทางการแพทย์ปลอดเชื้อ

6. เอกสารอ้างอิง
6.1 คณะกรรมการพฒั นาระบบการทาปราศจากเช้ืออปุ กรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์.
รายงานผลการดาเนนิ โครงการ “พัฒนาระบบการทาปราศจากเช้ืออปุ กรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาล
ศรนี ครินทร์. ขอนแกน่ : โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ; 2556.
6.2 สภุ าพ ศรที รัพย์ สมาคมศูนยก์ ลางงานปราศจากเช้อื . ตัวชีว้ ัดกระบวนการทาให้ปราศจากเช้อื มาตรฐาน7-
Thai-CSSA. [ออนไลน์] [อ้างถงึ 1 กนั ยนยน 2558]. จาก www.thaicssa.com/.../KPI%207%20step
%20of%20CSSD%20flow.pdf.
6.3 สมาคมศนู ย์กลางงานปราศจากเช้ือแหง่ ประเทศไทย.2557. การทาปราศจากเชอ้ื . [ออนไลน์] [อา้ งถึง 15
กันยนยน 2558]. จาก www.cssd-gotoknow.org/2014/10/sterilization.html.
6.4 สถาบันบาราศนาดูร กรมควบคุมโรค, สานกั พัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ และ
ชมรมควบคุมโรคติดเช้อื ในโรงพยาบาลแหง่ ประเทศไทย. แนวทางการพัฒนาหนว่ ยจ่ายกลาง. [ออนไลน์]
[อ้างเม่ือ 20 กนั ยายน 2558]. จาก www.bamras.org/userfiles/12_.pdf.

15

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีปฏบิ ัติงาน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แก้ไขคร้ังที่ วันทอี่ นุมัตใิ ช้ หนา้
5/7
เรื่อง : การนาส่งอุปกรณเ์ ครื่องมือ H-WI-3.8-02 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
ทางการแพทยป์ ลอดเช้อื

7. แผนผังการปฏบิ ตั งิ าน

ผรู้ ับผดิ ชอบ ข้ันตอนการปฏิบัติ ผู้เก่ยี วข้อง

 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ เปลีย่ นเส้ือผา้ และสวม ตารางมอบหมายงาน  พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
เครอ่ื งมอื แพทย์ อุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบคุ คล การรบั สง่ อปุ กรณ์ เครือ่ งมือแพทย์

 พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์ ตรวจสอบตาราง แบบรายงานการ  พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
เครือ่ งมอื แพทย์ มอบหมายงานประจาวนั รับสง่ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือแพทย์
เคร่ืองเมือแพทย์
 พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์ ตรวจสอบแบบรายงานการรบั -ส่ง  พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์
เครื่องมอื แพทย์ เครื่องมือแพทย์

 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ จัดเตรียม ทาความสะอาด แนวทางการทาความ  พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
เครื่องมือแพทย์ รถเข็น อปุ กรณ์ และสถานท่ี สะอาดอุปกรณ์และ เคร่ืองมือแพทย์

 พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์ สถานท่ี  พนักงานขนสง่ อปุ กรณ์
เครอ่ื งมือแพทย์ เคร่ืองมือแพทย์
ตรวจสอบใบแลกของหนว่ ยงานกบั กล่องบรรจุ
 พนักงานจัดเตรยี ม อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือปราศจากเชอื้ ใหต้ รงกัน  พนกั งานจัดเตรียม
อุปกรณ์เคร่อื งมอื แพทย์ อุปกรณเ์ ครอื่ งมือแพทย์
ปลอดเชือ้ ใบแลกกบั กลอ่ ง ไมใ่ ช่ ดาเนนิ การแกไ้ ข ปลอดเชือ้
 พนักงานขนส่งอุปกรณ์ ถูกต้องตรงกนั ใหถ้ กู ตอ้ ง  พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์
เครื่องมอื แพทย์ เครื่องมือแพทย์
 พนกั งานจัดเตรียม ใช่  พนกั งานจดั เตรยี ม
อุปกรณเ์ ครอื่ งมอื แพทย์ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือแพทย์
ปลอดเช้ือ นากลอ่ งบรรจอุ ุปกรณเ์ ครื่องมอื ปราศจาก ปลอดเชอื้
 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ เช้อื และถุงที่ปิดมดิ ชดิ ใสร่ ถเข็นนาส่ง  พนักงานขนสง่ อุปกรณ์
เครอ่ื งมอื แพทย์ หน่วยงานที่ขอแลก เครอ่ื งมือแพทย์
 เจ้าหน้าทหี่ น่วยงาน
 พนักงานขนสง่ อปุ กรณ์ สง่ กลอ่ งบรรจอุ ปุ กรณเ์ ครือ่ งมอื ปราศจากเช้ือบรเิ วณ ทข่ี อแลกอปุ กรณ์
เครอื่ งมอื แพทย์ เก็บของปราศจากเช้อื ท่หี น่วยงานจดั เตรียมไว้ให้ เครื่องมอื แพทย์
 พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
 เจ้าหน้าท่หี น่วยงาน A เครื่องมอื แพทย์
ที่ขอแลกอปุ กรณ์  เจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยงาน
เคร่อื งมอื แพทย์ ท่ขี อแลกอปุ กรณ์
เครื่องมือแพทย์

16

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แก้ไขคร้งั ท่ี วนั ทอ่ี นุมตั ิใช้ หน้า
6/7
เร่อื ง : การนาส่งอุปกรณเ์ คร่ืองมือ H-WI-3.8-02 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
ทางการแพทย์ปลอดเช้อื

7. แผนผังการปฏบิ ตั ิงาน

ผรู้ ับผดิ ชอบ ขัน้ ตอนการปฏิบัติ ผ้เู กย่ี วข้อง

A

 พนกั งานขนสง่ อุปกรณ์ ตรวจสอบปา้ ยชอื่ หน้ากล่องบรรจกุ บั หน่วยงาน  พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
เคร่อื งมอื แพทย์ ถูกตอ้ งตรงกัน เครือ่ งมอื แพทย์

 เจา้ หนา้ ที่หนว่ ยงาน  เจ้าหน้าท่หี นว่ ยงาน
ท่ีขอแลกอปุ กรณ์ ท่ขี อแลกอปุ กรณ์
เคร่ืองมอื แพทย์ เคร่ืองมือแพทย์

 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ กลอ่ งบรรจุกบั ชือ่ ไม่ใช่ หน่วยงาน  พนักงานขนสง่ อปุ กรณ์
เครื่องมือแพทย์ หนว่ ยงานถูกตอ้ ง ดาเนินการแกไ้ ข เคร่อื งมือแพทย์
ทข่ี อแลกอปุ กรณ์ ทีข่ อแลกอปุ กรณ์
เครอื่ งมือแพทย์ ใช่ ใหถ้ ูกต้อง เครื่องมอื แพทย์

 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ เกบ็ กลอ่ งเปล่าบรรจุอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื แพทย์ปราศจากเชื้อ  พนกั งานขนสง่ อปุ กรณ์
เคร่ืองมอื แพทย์ ทหี่ นว่ ยงานเตรียมไว้ให้นากลับงานจ่ายกลาง เครอ่ื งมอื แพทย์

 พนักงานขนส่งอปุ กรณ์ เช็ดทาความสะอาดรถเขน็ และกลอ่ งบรรจุ  พนกั งานขนส่งอุปกรณ์
เครอ่ื งมอื แพทย์ เครื่องมอื แพทย์

 พนักงานขนสง่ อุปกรณ์ เก็บกล่องบรรจใุ นห้องเก็บอุปกรณเ์ คร่อื งมือ  พนักงานขนสง่ อุปกรณ์
เครื่องมอื แพทย์ ปราศจากเชื้อให้เรียบร้อยพร้อมใชง้ าน เคร่ืองมือแพทย์

 พนกั งานห้องเก็บ  พนกั งานห้องเกบ็
อุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์ อปุ กรณเ์ ครอื่ งมือแพทย์
ปราศจากเชอื้ ปราศจากเช้ือ

8. ประวตั กิ ารแก้ไข 17

เรือ่ ง : การตรวจสอบอุปกรณ์เคร่ืองมอื Doc. No. : ……………………..
ทางการแพทย์ปราศจากเชือ้ Rev. No. :………………………
Eff. Date. :……………........ หน้า 7/7

บนั ทึกการแก้ไข
(สาหรับ เจ้าหนา้ ทค่ี วบคมุ เอกสาร)

ลาดับท่ี แก้ไขครัง้ ท่ี วนั ที่ เหตผุ ลการแก้ไข

18

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีการปฏิบตั ิงาน
(Work Instruction)

H-WI-3.8-03
เรอ่ื ง : การตรวจนับ ตรวจสภาพ และคดั แยกอุปกรณเ์ ครื่องมอื แพทย์สกปรก

แก้ไขครง้ั ที่ : 00
วันที่อนุมัติใช้ : 6 กุมภาพนั ธ์ 2560

ผจู้ ดั ทา : ………………………………………
ผทู้ บทวน : (นางพรสวรรค์ โควบุตร)
ผ้อู นมุ ตั ิ : หวั หนา้ หน่วยเตรียมและทาความสะอาดเคร่อื งมือ

……………………………………
(นางศศธิ ร เรืองประเสริฐกลุ )

หัวหนา้ งานจ่ายกลาง

………………………………………
(รองศาสตราจารย์อภชิ าติ จริ ะวฒุ พิ งศ์)

รองคณบดฝี า่ ยโรงพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 19

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หนา้
1/7
วิธปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขคร้ังที่ วนั ทอี่ นุมตั ใิ ช้

เร่อื ง : การตรวจนับ ตรวจสภาพ และคัดแยก H-WI-3.8-03 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
อปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทยส์ กปรก

สารบัญ หน้า
9. วตั ถุประสงค์ 2
10. ขอบเขต 2
11.คาจากัดความ 2
12.หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ 2
13.รายละเอยี ดการทางาน 3
14.เอกสารอา้ งอิง 4
15.แผนผังการปฏบิ ตั ิงาน 5
16.ประวตั ิการแกไ้ ข 7

20

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีปฏบิ ัติงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครั้งที่ วนั ท่ีอนุมัติใช้ หนา้
2/7
เรอื่ ง : การตรวจนบั ตรวจสภาพ และคัดแยก H-WI-3.8-03 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์สกปรก

1. วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพ่อื สามารถตรวจนับ ตรวจสภาพ และคดั แยกอปุ กรณ์เครอ่ื งมอื แพทยไ์ ด้ถกู ต้อง
1.2 เพ่ือปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชื้อโรค
1.3 เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แก่บุคลากร และผูร้ ับบรกิ าร

2. ขอบเขต
2.1 งานจา่ ยกลาง โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขนแกน่
2.2 หน่วยงานตา่ ง ๆ ภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3. คาจากดั ความ
3.1 การตรวจนบั หมายถงึ การตรวจนบั จานวนอุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทย์สกปรก ตามใบรบั -แลกทห่ี นว่ ยงาน
ส่งใหง้ านจ่ายกลางให้ถูกต้อง ครบถว้ น
3.2 การตรวจสภาพ หมายถงึ การตรวจสภาพ การชารุด เสยี หายของอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์สกปรก
เพอื่ เป็นการตรวจสอบการใชง้ านของอปุ กรณเ์ ครื่องมือ ถ้าไม่สามารถใชง้ านได้ หรือชารุดเสยี หาย
ให้ทาการแยกออกเพื่อดาเนนิ การตอ่ ไป
3.3 การคดั แยก หมายถึง การคัดแยกอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือแพทยส์ กปรก ตามชดุ เคร่อื งมอื ประเภทเคร่อื งมอื
ชนดิ เดียวกนั คัดแยกของมีคมออก เพ่ือให้สามารถล้างทาความสะอาดเคร่ืองมือได้สะดวก ถูกต้อง
3.4 เจ้าหนา้ ท่ตี รวจนับ ตรวจสภาพ และคัดแยกอุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์ หมายถงึ เจา้ หน้าที่หมวดลา้ ง
และทาความสะอาดอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์ของงานจ่ายกลางที่มหี นา้ ท่ตี รวจนับจานวน ตรวจสภาพ
คดั แยก ลา้ งทาความสะอาด อุปกรณ์เครอื่ งมือแพทย์

4. หนา้ ที่ความรับผิดชอบ
4.1 พนักงานตรวจนับ ตรวจสภาพอุปกรณเ์ ครือ่ งมอื แพทย์ มีหนา้ ที่
1) จดั เตรียม ทาความสะอาดอุปกรณ์และสถานที่
2) ตรวจนับอุปกรณ์เคร่ืองมือแพทยส์ กปรกตามรายการ และจานวน ทห่ี นว่ ยงานส่งใบรับ/แลก
3) ตรวจสภาพอปุ กรณ์เครอ่ื งมือแพทยส์ กปรก
4) คัดแยกอปุ กรณเ์ คร่ืองมือแพทย์สกปรก
5) แกะห่ออุปกรณ์เคร่ืองมือแพทยห์ มดอายสุ ง่ ให้หมวดบรรจเุ พ่ือทาปราศจากเช้ือซ้า
6) จัดเกบ็ อุปกรณ์ และทาความสะอาดอุปกรณ์ และสถานท่ีหลงั ใชง้ าน
4.2 พนกั งานขนส่งอุปกรณเ์ ครอื่ งมอื แพทย์สกปรก มีหนา้ ที่
1) นากลอ่ ง/ถงุ อุปกรณ์เครอื่ งมือแพทยส์ กปรกทป่ี ิดมดิ ชดิ มาส่งบริเวณตรวจนบั ตรวจสภาพอปุ กรณ์
เครอ่ื งมือแพทย์สกปรก หมวดล้างและทาความสะอาดเคร่ืองมือ งานจ่ายกลาง
2) นาส่งใบรับ/แลกอุปกรณเ์ คร่ืองมอื แพทย์ให้เจ้าหน้าที่หน่วยเวชภัณฑ์ปลอดเช้ือกับ เจ้าหน้าท่ีตรวจนับ
อุปกรณ์เครอ่ื งมือแพทย์

21

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ปี ฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครง้ั ที่ วันที่อนุมัติใช้ หนา้
3/7
เร่ือง : การตรวจนบั ตรวจสภาพ และคดั แยก H-WI-3.8-03 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
อปุ กรณ์เครื่องมือแพทย์สกปรก

5. รายละเอยี ดของการทางาน
5.1 พนักงานหมวดลา้ งทาความสะอาดเครื่องมือ สวมอปุ กรณป์ อ้ งกันส่วนบคุ คล ก่อนปฏบิ ตั ิงาน
5.2 พนกั งานทขี่ ึน้ ปฏบิ ัตงิ านเวรเช้า (7.00 น.) จัดเตรียมอปุ กรณ์ และสถานทต่ี ามแนวทางการทาความสะอาด
อปุ กรณ์และสถานท่ี สาหรับตรวจนับ ตรวจสภาพ คดั แยก อปุ กรณ์เคร่อื งมือแพทย์สกปรก
5.3 พนกั งานหมวดลา้ งทาความสะอาดเครื่องมือ นาใบรับ-แลกทพี่ มิ พจ์ ากหมวดเวชภณั ฑป์ ลอดเชือ้
ตามท่ีหนว่ ยงานบนั ทึกมาตรวจนับตามรายการ และจานวนใหถ้ กู ต้อง โดยนบั ร่วมกัน 2 คน
5.4 พนกั งานหมวดลา้ งทาความสะอาดเครือ่ งมือ ตรวจสภาพความชารดุ เสียหายของอปุ กรณ์เคร่อื งมือแพทย์
ดว้ ยตาเปลา่ ถ้ามีเคร่ืองมือชารุดเสียหาย ใหแ้ ยกล้างทาความสะอาดด้วยมือ แล้วแยกออกเพ่ือนาอุปกรณ์
เคร่อื งมอื ทีช่ ารดุ แลกเปลยี่ นกับเครอ่ื งมอื ท่ีใช้งานได้
5.5 พนกั งานหมวดล้างทาความสะอาดเครื่องมือ คัดแยกของมีคมออกเพื่อแยกลา้ งทาความสะอาดดว้ ยมือ
5.5 พนกั งานหมวดลา้ งทาความสะอาดเครื่องมือ คดั แยกอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์ตามประเภท ดงั น้ี
1) อุปกรณ์/เครือ่ งมือทเี่ ป็นวสั ดุทามาจากพลาสติก หรือซิลิโคน เชน่ สายดูดของเหลว ชดุ อปุ กรณ์
ใหอ้ ๊อกซเิ จน
2) อปุ กรณ/์ เคร่ืองมือที่เป็นวัสดุทามาจากสแตนเลสท่ีใชส้ าหรับทาหัตถการ เช่น ด้ามมดี กรรไกร คีม
จับเขม็ คมี หนบี เส้นเลือดใหแ้ ยกตามชดุ เครื่องมือและหมวดบรรจุ
3) อุปกรณ/์ เครือ่ งมือท่เี ป็นวัสดุทามาจากสแตนเลสผวิ เรยี บ เชน่ ถ้วยยา ถว้ ยชาระ ชามรปู ไต
ใหแ้ ยกเปน็ ประเภทเดยี วกนั ตามหมวดบรรจุเครื่องมือ
4) อุปกรณ/์ เคร่ืองมือท่ีเป็นวสั ดุทามาจากแก้ว เช่น กระบอกสวนลา้ ง 50 ซี.ซ.ี (Syringe irrigation 50 c.c.)
ขวดใส่ของเหลวท่ีระบายออกจากรา่ งกาย (Chest drain , Radivac drain)
5) อปุ กรณ/์ เคร่ืองมือ ชนดิ เครื่องมอื ขนาดเล็ก เปราะบาง ชารดุ เสยี หายง่าย (Micro surgery instrument)
โดยขณะแยกเคร่ืองมือใหต้ รวจสอบดว้ ยความระมัดระวัง แลว้ วางใส่ในตะแกรงเดยี วกันโดยไม่ให้เครื่องมือ
ทับกัน
6) อปุ กรณ์เครอื่ งมือชนดิ มปี ลายแหลมคม
5.6 พนักงานหมวดลา้ งทาความสะอาดเครอ่ื งมือ นาอุปกรณ์เครือ่ งมือแพทย์ท่ีแยกไว้ใส่รถเข็นเครื่องมอื
ไปตรงจุดล้างทาความสะอาดเครื่องมือ

22

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ีปฏบิ ตั งิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครง้ั ท่ี วนั ท่ีอนุมตั ใิ ช้ หนา้
4/7
เรอ่ื ง : การตรวจนับ ตรวจสภาพ และคัดแยก H-WI-3.8-03 00 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2560
อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์สกปรก

6. เอกสารอ้างอิง
6.1 งามสิน วานิชพงษพ์ ันธุ์ และจริ าพร นลิ ชยั โกวทิ ย์. How quality Start in CSSD. [ออนไลน์] [อ้างเม่ือ
1 กนั ยนยน 2558]. จากwww.thaicssa.com/images/How%20Quality%20Start%20in%20CSSD.pdf.
6.2 สภุ าพ ศรีทรัพย์ สมาคมศนู ย์กลางงานปราศจากเชื้อ. ตวั ชว้ี ดั กระบวนการทาให้ปราศจากเชือ้ มาตรฐาน 7 -
Thai-CSSA. [ออนไลน์] [อ้างเมือ่ 1 กันยายน 2558]. จาก www.thaicssa.com/.../KPI%207%20step
%20of%20CSSD%20flow.pdf.
6.3 อะเคื้อ อุณหเลขกะ. การป้องกันการตดิ เช้ือในโรงพยาบาล. พมิ พ์คร้ังที่ 2.กรงุ เทพฯ: เจ.ซี.ซ.ี การพิมพ์ จากัด;
2542.
6.4 อะเค้ือ อุณหเลขกะ. ความรูใ้ นการทาลายเชื้อและการทาให้ปราศจากเชอื้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 2. เชียงใหม่:
โรงพมิ พ์มิ่งเมือง เชยี งใหม่; 2542.

23

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ปี ฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขคร้ังที่ วนั ท่ีอนุมัตใิ ช้ หนา้
5/7
เรอื่ ง : การตรวจนับ ตรวจสภาพ และคดั แยก H-WI-3.8-03 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
อุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทยส์ กปรก

7. แผนผังการปฏิบัติงาน ข้ันตอนการปฏิบตั ิ ผู้เก่ียวข้อง

ผู้รบั ผิดชอบ เปลย่ี นเส้อื ผา้ และสวมใส่  พนักงานหมวดลา้ งทาความ
อุปกรณป์ อ้ งกนั ส่วนบคุ คล สะอาดเคร่ืองมอื
 พนกั งานหมวดลา้ ง
ทาความสะอาด
เครื่องมือ

 หัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบตาราง ตารางการมอบหมายงาน  หัวหนา้ หนว่ ยงาน
 ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย มอบหมายงานประจาวัน หมวดลา้ งทาความสะอาด  ผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย
 พนักงานหมวดล้าง  พนักงานหมวดล้างทาความ
ทาความสะอาด จดั เตรียม ทาความสะอาด เคร่ืองมอื
เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ สถานที่ สะอาดเครอื่ งมอื

 พนกั งานหมวดลา้ ง ตรวจนบั ความครบถว้ น แนวทางการทาความสะอาด  พนกั งานหมวดลา้ งทาความ
ทาความสะอาด ตามชนดิ จานวนอุปกรณ์ อปุ กรณ์ และสถานที่ สะอาดเคร่ืองมือ
เคร่ืองมอื
เครอ่ื งมือตามใบแลก ใบรายการแลกอปุ กรณ์  พนักงานหมวดลา้ งทาความ
 พนักงานหมวดล้าง เครื่องมอื แพทย์ สะอาดเครอ่ื งมอื
ทาความสะอาด
เครอื่ งมือ

 พนักงานหมวดลา้ ง ชนิดและจานวน ไม่ใช่ แจ้งผ้เู กีย่ วขอ้ ง  พนักงานหมวดลา้ งทาความ
ทาความสะอาด อุปกรณเ์ คร่ืองมือ ดาเนินการติดตาม สะอาดเครือ่ งมือ
เครอ่ื งมือ แพทยถ์ กู ตอ้ ง
อปุ กรณ์เครื่องมอื  พนกั งานหมวดลา้ งทาความ
 พนกั งานหมวดลา้ ง สะอาดเคร่อื งมือ
ทาความสะอาด ใช่
เครอ่ื งมอื  พนกั งานหมวดล้างทาความ
ตรวจสภาพความชารดุ สะอาดเคร่อื งมอื
 พนกั งานหมวดล้าง อุปกรณเ์ ครอื่ งมอื แพทย์
ทาความสะอาด
เครื่องมือ อุปกรณเ์ ครือ่ งมือสภาพ ไม่ใช่ แยกลา้ งทาความ
ใช้งานได้ปกติ สะอาดดว้ ยมือ

ใช่

A

24

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธปี ฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขครั้งท่ี วันทอี่ นุมตั ใิ ช้ หนา้
6/7
เรือ่ ง : การตรวจนบั ตรวจสภาพ และคัดแยก H-WI-3.8-03 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
อุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทย์สกปรก

7. แผนผงั การปฏบิ ัตงิ าน

ผรู้ บั ผดิ ชอบ ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ ผเู้ กี่ยวข้อง

 พนักงานหมวดล้าง AA นาอุปกรณ์เคร่อื งมือ  พนักงานหมวดลา้ งทาความ
ทาความสะอาด ชารดุ แลกเปล่ียน สะอาดเครือ่ งมอื
เครอ่ื งมอื คดั แยกอปุ กรณ์ กบั เคร่ืองมือท่ใี ชง้ าน
ได้ปกติ

 พนักงานหมวดล้าง เคร่ืองมือ เคร่อื งมอื ชนิด เครอ่ื งมือขนาดเล็ก  พนักงานหมวดลา้ งทาความ
ทาความสะอาด ประเภทแกว้ มีปลายแหลมคม เปราะบาง ชารดุ สะอาดเครอื่ งมอื
เครอ่ื งมือ เสยี หายงา่ ย

เครือ่ งมอื สแตนเลส เคร่อื งมอื ใช้สาหรับ อุปกรณ์
ทาหัตถการ เช่น ประเภท
ผิวเรียบ เชน่ ถว้ ยยา ด้ามมดี กรรไกร คีม พลาสตกิ /
ชามรูปไต จบั เขม็ คีมหนบี เส้น ซิลโิ คน
เลอื ด

 พนักงานหมวดลา้ ง นาสง่ บรเิ วณลา้ ง  พนกั งานหมวดลา้ งทาความ
ทาความสะอาด ทาความสะอาด สะอาดเคร่อื งมือ
เครอื่ งมอื

25

8. ประวตั กิ ารแก้ไข

เรือ่ ง : การตรวจนับ ตรวจสภาพ Doc. No. : ……………………..
และคดั แยกอุปกรณเ์ คร่อื งมอื แพทย์สกปรก Rev. No. :………………………
Eff. Date. :…………… หนา้ 7/7

บันทกึ การแก้ไข
(สาหรบั เจ้าหน้าท่คี วบคุมเอกสาร)

ลาดบั ที่ แก้ไขคร้ังท่ี วันที่ เหตผุ ลการแก้ไข

26

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ กี ารปฏิบัติงาน
(Work Instruction)

H-WI-3.8-04
เรอ่ื ง : การลา้ งทาความสะอาดอุปกรณ์เครอ่ื งมือทางการแพทย์

แกไ้ ขคร้งั ที่ : 00
วันท่อี นุมัตใิ ช้ : 6 กุมภาพันธ์ 2560

ผจู้ ดั ทา : ………………………………………
ผูท้ บทวน : (นางพรสวรรค์ โควบุตร)
ผอู้ นมุ ัติ : หวั หน้าหนว่ ยเตรียมและทาความสะอาดเครอ่ื งมือ

……………………………………
(นางศศธิ ร เรอื งประเสริฐกลุ )

หวั หน้างานจา่ ยกลาง

………………………………………
(รองศาสตราจารย์อภชิ าติ จิระวุฒิพงศ์)

รองคณบดฝี ่ายโรงพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 27

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หน้า
1/7
วิธปี ฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขครง้ั ท่ี วันทีอ่ นุมตั ิใช้

เร่ือง : การลา้ งทาความสะอาดอปุ กรณ์ H-WI-3.8-04 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
เครื่องมอื ทางการแพทย์

สารบัญ หนา้
9. วัตถุประสงค์ 2
10. ขอบเขต 2
11. คาจากดั ความ 2
12. หน้าที่ความรับผิดชอบ 2
13. รายละเอยี ดการทางาน 3
14. เอกสารอ้างองิ 4
15. แผนผังการปฏิบัตงิ าน 5
16. ประวตั ิการแกไ้ ข 7

28

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ีปฏบิ ตั งิ าน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แก้ไขครั้งท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้
2/7
เร่อื ง : การล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ H-WI-3.8-04 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
เคร่อื งมอื ทางการแพทย์

1. วตั ถปุ ระสงค์
1.1 เพอื่ ให้สามารถลา้ งทาความสะอาดอุปกรณ์เคร่ืองมือแพทย์ถูกวธิ ี ได้มาตรฐาน
1.2 เพอื่ เกดิ ประสทิ ธภิ าพในการทาปราศจากเชื้อ
1.3 เพือ่ ทาลาย และลดจานวนเชือ้ โรค
1.4 เพ่อื ป้องกนั การแพรก่ ระจายเชื้อ
1.5 เพอ่ื ใหเ้ กิดความปลอดภยั ต่อบุคลากร และผรู้ บั บริการ
1.6 เพอื่ ความคงทน/ยดื อายุการใชง้ านของอปุ กรณ์เครื่องมือแพทย์

2. ขอบเขต
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลัยขนแกน่

3. คาจากัดความ
3.1 การลา้ งทาความสะอาดอุปกรณเ์ ครอ่ื งมือแพทย์ หมายถงึ การขจัดอินทรียสารสิ่งสกปรก ฝุ่นละออง
และส่งิ ปนเป้ือนต่างๆออกจากอปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทย์
3.2 น้าประปา หมายถงึ น้าทมี่ าตามทอ่ ระบบนา้ ของโรงพยาบาล
3.3 น้า RO (Reverse Osmosis system) หมายถึง น้าทผ่ี ่านการกรองด้วยระบบ Reverse Osmosis system
ท่ีงานจา่ ยกลางนามาใชใ้ นการล้างทาความสะอาดเครื่องมือ โดยมีการตรวจสอบคุณภาพน้าตามมาตรฐาน
3.4 Enzyme detergent หมายถงึ สารทาความสะอาดอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์ท่มี ีการผสมตัวเอ็นไซม์
ชว่ ยในการย่อยสลาย อนิ ทรยี สารตา่ งๆ เชน่ เลือด โปรตีน ไขมนั และคาร์โบไฮเดรต เป็นตน้ และ
เป็นการช่วยให้การขัดล้างเคร่ืองมือสะดวกง่ายขึน้
3.5 การลา้ งดว้ ยมือ (Manual washing) หมายถึง ขั้นตอนแรกในการลา้ งทาความสะอาดอุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทย์
โดยการนาเครื่องมือแช่ลงในน้าผสมสารขดั ล้าง หรอื Enzymatic detergent เพอ่ื ใหก้ ารขัดล้างง่ายขึน้
หลงั จากนน้ั ใชแ้ ปรงขัดถูเครื่องมอื ทลี ะชิ้น ขณะท่ีขัดล้างเครื่องมือควรขัดใตน้ า้
3.6 การล้างด้วยเคร่ืองล้างอตั โนมัติ (Automatic washer) หมายถงึ การนาอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทยช์ นิดสแตนเลส
ล้างทาความสะอาดโดยใช้เคร่ืองลา้ งอัตโนมตั ิตามโปรแกรมทต่ี ้งั ไว้
3.7 การล้างดว้ ยเคร่ืองลา้ งทาความสะอาดดว้ ยคล่ืนความถ่ีสูง (Ultrasonic cleaner) หมายถึง การนาอุปกรณ์
เครื่องมือแพทยช์ นิดสแตนเลส หรืออุปกรณ/์ เครื่องมือขนาดเล็ก เปราะบาง ชารุดไดง้ ่าย (Micro surgery
instrument) ล้างทาความสะอาดโดยใชเ้ ครื่องล้างด้วยคล่ืนความถ่สี ูง (เคร่อื งทาความสะอาดสิง่ ของด้วยคลื่น
เสียง เนือ่ งจากคราบสกปรกตามซอกเล็กๆยากแก่การทาความสะอาด)ตามโปรแกรมที่ต้ังไว้

4. หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบ
เจา้ หนา้ ท่ลี า้ งทาความสะอาดอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์ มีหน้าที่ ล้างทาความสะอาด อบแหง้
อปุ กรณ์เครือ่ งมือแพทย์ทุกชนดิ ตามกระบวนการขัน้ ตอนก่อนสง่ ให้หมวดบรรจุอุปกรณเ์ ครอ่ื งมือแพทย์

29

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ีปฏิบัติงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขคร้งั ท่ี วันทอ่ี นุมตั ใิ ช้ หนา้
3/7
เรอื่ ง : การล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ H-WI-3.8-04 00 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2560
เครื่องมือทางการแพทย์

5. รายละเอยี ดการทางาน
5.1 พนักงานล้างทาความสะอาดเคร่อื งมอื สวมอปุ กรณ์ป้องกนั กอ่ นปฏบิ ัติงาน
5.2 พนกั งานล้างทาความสะอาดเครื่องมือ นาอปุ กรณ์เครื่องมือแพทย์ที่แยกตามประเภทลา้ งผ่านน้าประปา
1 รอบด้วยมือ ในการล้างทาความสะอาดเคร่ืองมือด้วยมือต้องใช้ความระมัดระวังเพ่ือไมใ่ หเ้ ครื่องมือชารดุ
เสยี หาย อุปกรณ์ทเี่ ป็นท่อกลวงต้องฉีดล้างภายในทอ่ ก่อน
5.3 พนกั งานลา้ งทาความสะอาดเคร่ืองมือ นาอปุ กรณ์เคร่ืองมือแพทย์ชนิดท่ีทาจากแสตนเลสแช่ Enzyme
detergent ที่ผสมนา้ RO นาน 3-5 นาที
5.4 อปุ กรณ์/เครอ่ื งมือทเ่ี ปน็ วัสดุทามาจากพลาสติก หรือซลิ โิ คน คอื สายดดู ของเหลว (สาย Suction) ชุดอุปกรณ์
ให้ออกซเิ จนล้างทาความสะอาดโดยใชเ้ ครือ่ งซักผา้ ตามโปรแกรมทีต่ ั้งไว้ จากนั้นนาไปล้างผ่านน้าประปา
แยกสายดดู ของเหลว (สาย Suction) ล้างดว้ ยเครื่องล้างสายอัตโนมัติ ตามโปรแกรมท่ีต้ังไว้ นาชดุ อุปกรณ์
ทเี่ ป็นสายมีท่อกลวงเปา่ ด้วยปืนลม (Compressure air) จากน้นั นาไปอบในตู้อบแห้งอีกครั้งที่อุณหภมู ิ 50-60
องศาเซลเซยี ส นาน 1 ชั่วโมง
5.5 อุปกรณ์ทเี่ ปน็ ของมคี มประเภทเขม็ ชนดิ ตา่ งๆให้ใช้แปรงเล็กๆขดั ลา้ งด้วยมือ พรอ้ มทัง้ ตรวจสภาพขณะลา้ ง
5.6 อุปกรณ/์ เครื่องมือท่เี ปน็ วัสดุทามาจากแสตนเลสใหแ้ ยกตามหมวดบรรจเุ ครื่องมอื และเป็นประเภทเดียวกัน
ล้างทาความสะอาดโดยใชเ้ คร่ืองล้างอัตโนมตั ิ หรือ เคร่ืองล้างดว้ ยคลน่ื ความถส่ี งู ตามโปรแกรมที่ตั้งไว้
(ใช้น้า RO ผสม Enzyme detergent)
5.7 อุปกรณ์/เครอื่ งมือทเี่ ปน็ วัสดุทามาจากแสตนเลสท่แี ยกตามชุดเครอื่ งมอื เดยี วกนั ให้ลา้ งทาความสะอาด
โดยใชเ้ คร่อื งล้างอตั โนมตั ิ หรือ เครอื่ งลา้ งด้วยคลนื่ ความถ่ีสูง ตามโปรแกรมที่ตงั้ ไว้ (ใชน้ ้า RO ผสม Enzyme
detergent)
5.8 อปุ กรณ/์ เครอื่ งมือทเี่ ป็นวสั ดุทามาจากแกว้ (ประเภทกระบอกฉีดยา) ใหล้ า้ งทาความสะอาดโดยใชม้ ือหรอื
เครื่องลา้ งดว้ ยคลนื่ ความถสี่ ูง ตามโปรแกรมท่ีต้งั ไวน้ าน 20 นาที (ใช้น้า RO ผสม Enzyme detergent) สว่ น
ประเภทขวดระบายของเหลวในร่างกายชนิดขวดแกว้ เชน่ ขวด Chest drain และขวด Radivac drain ให้
ลา้ งด้วยเครือ่ งลา้ งขวดอตั โนมัติ (ผสม Enzyme detergent)
5.9 อุปกรณ์/เคร่อื งมือขนาดเล็ก เปราะบาง ชารดุ ได้ง่าย ให้ล้างทาความสะอาดดว้ ยเคร่อื งล้างดว้ ยคลืน่ ความถ่ีสงู
ตามโปรแกรม ท่ีตัง้ ไว้ นาน 20 นาที (ใช้น้า RO ผสม Enzyme detergent)
5.10 นาอปุ กรณ/์ เครื่องมือท่ีล้างทาความสะอาดแล้วทัง้ หมดอบในตู้อบแห้ง ดังน้ี
1) เคร่ืองมือประเภทแสตนเลส โลหะ แกว้ อบในตู้อบแห้งท่ีอุณหภมู ิ 60-70 องศาเซลเซียส นาน10-15 นาที
2) เคร่ืองมอื ประเภทพลาสติก หรือซิลโิ คน อบในตูอ้ บแหง้ ท่ีอณุ หภูมิ 50-60 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง
5.11 นาอุปกรณ์เคร่ืองมือท่ีอบแหง้ แล้วนาส่งแยกตามหมวดเตรียมและบรรจุ
5.12 หลงั เสร็จสิน้ การปฏบิ ัติงานแลว้ ใหพ้ นกั งานล้างทาความสะอาดเคร่ืองมือ เช็ดลา้ งทาความสะอาดอปุ กรณ์
เคร่ืองล้าง สถานท่ี และจดั เก็บให้เรียบรอ้ ย

30

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธปี ฏบิ ตั งิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครง้ั ท่ี วนั ทีอ่ นุมตั ิใช้ หนา้
4/7
เรือ่ ง : การล้างทาความสะอาดอปุ กรณ์ H-WI-3.8-04 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
เคร่ืองมอื ทางการแพทย์

6. เอกสารอ้างองิ
6.1 คณะกรรมการพฒั นาระบบการทาปราศจากเชื้ออปุ กรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร.์ รายงานผล
การดาเนินโครงการ “พัฒนาระบบการทาปราศจากเชอื้ อุปกรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์.
ขอนแก่น: โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ; 2556.
6.2 งามสนิ วานิชพงษ์พันธ์ุ และจริ าพร นิลชัยโกวิทย.์ How quality Start in CSSD. [ออนไลน์] [อา้ งเม่ือ 1
กันยนยน 2558]. จาก www.thaicssa.com/images/How%20Quality%20Start%20in%20CSSD.pdf.
6.3 สุภาพ ศรที รพั ย์. ตัวช้ีวัดกระบวนการทาให้ปราศจากเชอ้ื มาตรฐาน. [ออนไลน์] [อา้ งเม่ือ 20 กนั ยายน
2558]. จาก www.thaicssa.com/.../KPI%207%20step%20of%20CSSD%20flow.pdf.
6.4 สถาบนั บาราศนาดูร กรมควบคุมโรค, สานกั พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ และ
ชมรมควบคมุ โรคตดิ เช้ือในโรงพยาบาลแหง่ ประเทศไทย. แนวทางการพัฒนาหน่วยจา่ ยกลาง. [ออนไลน์]
[อา้ งเมื่อ 20 กนั ยายน 2558]. จาก www.bamras.org/userfiles/12_.pdf.
6.5 อะเคื้อ อุณหเลขกะ. ความรใู้ นการทาลายเชื้อและการทาใหป้ ราศจากเช้ือ.พิมพ์ครง้ั ที่ 2. เชยี งใหม่:
โรงพิมพ์มงิ่ เมือง เชียงใหม่; 2542.
6.6 อะเคื้อ อุณหเลขกะ. หลักการและแนวทางปฏิบตั ใิ นการทาลายเชอื้ และการทาให้ปราศจากเช้ือ. เชียงใหม่:
โรงพิมพ์ม่งิ เมือง เชียงใหม่; 2544.

31

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขคร้ังท่ี วันที่อนุมัติใช้ หนา้
5/7
เร่ือง : การลา้ งทาความสะอาดอปุ กรณ์ H-WI-3.8-04 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
เครอ่ื งมอื ทางการแพทย์

7. แผนผงั การปฏิบัติงาน

ผรู้ บั ผิดชอบ ขั้นตอนการปฏบิ ัติ ผเู้ ก่ยี วข้อง

• พนักงานล้างทาความ เปลย่ี นเสอื้ ผา้ และสวมอุปกรณ์ • พนกั งานล้างทาความสะอาด
ป้องกันส่วนบุคคล
สะอาดเครื่องมอื เครอ่ื งมอื

• พนกั งานล้างทาความ ตรวจสอบตารางมอบหมาย ตารางมอบหมายงานหมวด • พนักงานลา้ งทาความสะอาด
งานประจาวนั ล้างทาความสะอาดเครอ่ื งมอื
สะอาดเครอ่ื งมือ เครอ่ื งมอื

• พนักงานลา้ งทาความ จัดเตรยี ม/ทาความสะอาด แนวทางการทาความสะอาด • พนักงานลา้ งทาความสะอาด
อปุ กรณ์สถานที่ อปุ กรณ์และสถานท่ี
สะอาดเคร่ืองมอื เครื่องมือ
นาอปุ กรณเ์ คร่อื งมือทแี่ ยกประเภทมา
• พนักงานล้างทาความ ล้างทาความสะอาด • พนกั งานลา้ งทาความสะอาด

สะอาดเครอ่ื งมอื ล้างอุปกรณเ์ คร่ืองมือผา่ นนา้ ประปา เครอ่ื งมอื

• พนกั งานลา้ งทาความ • พนักงานลา้ งทาความสะอาด

สะอาดเครือ่ งมือ เคร่อื งมือ

• พนักงานลา้ งทาความ แช่ Enzyme detergent 3-5 นาที • พนักงานลา้ งทาความสะอาด

สะอาดเครื่องมือ เคร่ืองมือ เคร่ืองมอื ชนดิ อปุ กรณป์ ระเภท เครอ่ื งมอื
ชนดิ micro มปี ลายแหลม พลาสตกิ /ซลิ ิโคน
• พนกั งานล้างทาความ • พนักงานลา้ งทาความสะอาด
surgery คม
สะอาดเครอื่ งมอื เครือ่ งมอื
เครอ่ื งมือ เคร่อื งมอื ใช้สาหรับ เครื่องมือสแตนเลส
• พนักงานล้างทาความ ประเภทแกว้ ทาหตั ถการ เช่น ผิวเรียบ เชน่ ถ้วยยา • พนกั งานล้างทาความสะอาด
ด้ามมีด กรรไกร
สะอาดเคร่อื งมอื เครื่องมอื
คีมจบั เขม็ ชามรูปไต
• พนักงานลา้ งทาความ • พนกั งานล้างทาความสะอาด
ล้างด้วยเครอื่ งล้างคล่ืน คลมี า้เหงลดนอือ้วบีัตดยโเเนสคมรน้ อ่ืตั งิ ลา้ ง ลา้ งด้วยมือ
สะอาดเครอ่ื งมือ ความถส่ี ูง เครอ่ื งมือ

ล้างทาความสะอาด
ดว้ ยเครอ่ื งซกั ผา้

A

A

32

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ีปฏิบัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครงั้ ที่ วนั ท่อี นุมตั ใิ ช้ หน้า
6/7
เรอื่ ง : การล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ H-WI-3.8-04 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
เครอ่ื งมือทางการแพทย์

ผ้รู ับผดิ ชอบ ข้ันตอนการปฏิบัติ ผูเ้ กีย่ วข้อง

• พนกั งานล้างทาความ A • พนักงานล้างทาความสะอาด
A
สะอาดเครอ่ื งมอื เครอ่ื งมอื
นาเขา้ ตอู้ บแหง้
• พนักงานลา้ งทาความ • พนักงานลา้ งทาความสะอาด
เครอ่ื งมอื ประเภท เครื่องมอื ประเภท
สะอาดเครือ่ งมือ สแตนเลส/โลหะ/แกว้ พลาสติก/ซลิ โิ คน เครื่องมอื

• พนักงานล้างทาความ อบทอี่ ณุ หภูมิ 50°- 60° อบทอ่ี ุณหภูมิ 60°- 70° C • พนักงานล้างทาความสะอาด
C นาน 10 นาที นาน 1 ชัว่ โมง
สะอาดเครอ่ื งมือ เคร่อื งมือ

• พนักงานล้างทาความ นาสง่ หมวดบรรจอุ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื แพทยต์ ามหมวด • พนกั งานลา้ งทาความสะอาด
การผลติ
สะอาดเครอื่ งมือ เครื่องมอื
ลา้ งทาความสะอาด จดั เก็บอุปกรณ์และสถานท่ี
• พนกั งานลา้ งทาความ ใหเ้ รยี บรอ้ ย • พนักงานล้างทาความสะอาด

สะอาดเครือ่ งมอื เครอ่ื งมอื

8. ประวัติการแก้ไข 33
เรือ่ ง : การรับอุปกรณเ์ ครือ่ งมือแพทยส์ กปรก
Doc. No. : …………………………….
Rev. No. : ………………………………….
Eff. Date. : ……………………. หน้า 7/7

บันทกึ การแก้ไข
(สาหรับ เจ้าหนา้ ทคี่ วบคุมเอกสาร)

ลาดบั ท่ี แก้ไขครง้ั ท่ี วันที่ เหตผุ ลการแก้ไข

34

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ีการปฏบิ ัตงิ าน
(Work Instruction)

H-WI-3.8-05
เร่อื ง : การเตรยี มและบรรจุอุปกรณ์เคร่อื งมอื ทางการแพทย์

แกไ้ ขครงั้ ที่ : 00
วนั ท่อี นุมัตใิ ช้ : 6 กุมภาพนั ธ์ 2560

ผู้จดั ทา : ………………………………………
ผู้ทบทวน : (นางพรสวรรค์ โควบตุ ร)
ผอู้ นมุ ตั ิ : หวั หนา้ หน่วยเตรยี มและทาความสะอาดเครอ่ื งมือ

……………………………………
(นางศศธิ ร เรอื งประเสรฐิ กุล)

หัวหนา้ งานจ่ายกลาง

………………………………………
(รองศาสตราจารย์อภชิ าติ จิระวุฒพิ งศ์)

รองคณบดฝี ่ายโรงพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 35

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หน้า
1/7
วธิ ีปฏิบตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขครั้งท่ี วันทีอ่ นุมตั ิใช้

เรอื่ ง : การเตรยี มและบรรจอุ ุปกรณ์ H-WI-3.8-05 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
เคร่ืองมือ ทางการแพทย์

สารบญั หนา้
17. วตั ถุประสงค์ 2
18. ขอบเขต 2
19. คาจากดั ความ 2
20. หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบ 2
21. รายละเอยี ดการทางาน 3
22. เอกสารอา้ งอิง 4
23. แผนผงั การปฏิบตั ิงาน 5
24. ประวัติการแกไ้ ข 7

36

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีปฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขคร้งั ที่ วันทีอ่ นุมัติใช้ หน้า
2/7
เร่ือง : การเตรยี มและบรรจอุ ุปกรณ์ H-WI-3.8-05 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
เคร่อื งมอื ทางการแพทย์

1. วัตถุประสงค์
เพือ่ ให้สามารถเตรยี ม และบรรจอุ ุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทย์เพ่ือทาปราศจากเชื้อดว้ ยวธิ ีน่งึ ไอนา้
ถกู ตอ้ งตามมาตรฐาน

2. ขอบเขต
งานจา่ ยกลาง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

3. คาจากดั ความ
3.1 เตรียมและบรรจุอุปกรณเ์ คร่ืองมอื แพทย์ หมายถงึ การจัดเตรยี มสถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ์ที่ใชส้ าหรบั บรรจุ
ชดุ เคร่อื งมือ และเครอื่ งมือตามใบรายการท่กี าหนด
3.2 ชุดอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื แพทย์ หมายถึง ชดุ เครื่องมือที่จดั ตามหมวดการผลิต ดังน้ี
1) หมวดชุดทาแผล และชดุ ชาระ
2) หมวดชดุ เคร่ืองมือวนิ จิ ฉัย
3) หมวดชดุ เคร่อื งมือพิเศษ (ชุดทาคลอด ชดุ ผ่าตดั ตา ชดุ ทันตกรรม เป็นต้น)
4) หมวดชดุ อับสาลี และกระปุก
5) หมวดชดุ วสั ดซุ พั พลาย
6) ชามฟอก ชุดสวนปสั สาวะของห้องผา่ ตดั
7) ขวดchest drain และ ขวด radivac drain
3.3 มาตรฐานการบรรจุเคร่ืองมือ หมายถงึ การบรรจุอปุ กรณเ์ ครือ่ งมือแพทย์ได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน ดงั นี้
1) เลือกประเภทวัสดสุ าหรบั จดั เตรยี มอปุ กรณเ์ คร่ืองมอื แพทยไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
2) จดั อปุ กรณ์เครอ่ื งมือแพทย์ไดถ้ ูกต้องตามใบรายการท่ีกาหนด
3) หอ่ อปุ กรณเ์ ครื่องมือแพทยต์ ามเทคนิคการบรรจุหบี ห่อได้ถูกต้อง
4) ติดเทป/ตวั บ่งชท้ี างเคมีภายใน และภายนอกไดถ้ ูกต้อง
5) ติดป้ายชอ่ื อุปกรณ์เคร่อื งมือแพทย์ กาหนดวันผลติ /วนั หมดอายุไดถ้ กู ต้อง

4. หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบ
4.1 พนักงานเตรยี ม และบรรจเุ คร่อื งมือแพทย์ มีหนา้ ที่
1) จัดเตรยี มสถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณท์ ีใ่ ช้สาหรบั บรรจอุ ุปกรณเ์ ครื่องมือแพทย์
2) บรรจุ และห่ออปุ กรณเ์ คร่อื งมือแพทย์ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ดังน้ี
2.1) หมวดชดุ ทาแผล และชุดชาระ
2.2) หมวดชุดเครือ่ งมือวนิ จิ ฉยั
2.3) หมวดชุดเครอื่ งมอื พเิ ศษ (ชุดทาคลอด ชดุ ผ่าตดั ตา ชุดทนั ตกรรม เป็นตน้ )
2.4) หมวดชดุ อับสาลี และกระปกุ
2.5) หมวดชดุ วัสดุซพั พลาย
2.6) ชามฟอก ชุดสวนปัสสาวะของหอ้ งผา่ ตดั
2.7) ขวดchest drain และ ขวด radivac drain
3) จัดเรียงอุปกรณ์เครอ่ื งมือแพทยเ์ พ่อื เตรียมทาปราศจากเชอื้ ด้วยวิธนี ่ึงไอน้า

37

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วธิ ปี ฏิบัตงิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขครง้ั ที่ วนั ท่ีอนุมัติใช้ หน้า
3/7
เรือ่ ง : การเตรียมและบรรจุอุปกรณ์ H-WI-3.8-05 00 6 กมุ ภาพันธ์ 2560
เครอ่ื งมือ ทางการแพทย์

5. รายละเอียดการทางาน
5.1 พนกั งานหมวดเตรยี มและบรรจเุ ครื่องมือทางการแพทย์เปลีย่ นเส้ือผ้า และสวมอุปกรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คล
5.2 พนักงานหมวดตา่ งๆของหนว่ ยเตรยี ม และบรรจอุ ุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทยท์ าความสะอาดอปุ กรณ์
และสถานท่ีในการบรรจเุ ครอื่ งมอื
5.3 พนกั งานหมวดต่างๆของหน่วยเตรียม และบรรจเุ ครื่องมือ จัดเตรียมวสั ดุ คือ ผ้า หรือ กระดาษสาหรบั
ห่อเคร่อื งมือใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดชุดเคร่ืองมือทร่ี ับผิดชอบ และให้เพียงพอต่อการใช้งานประจาวนั
5.4 พนักงานหมวดต่างๆของหน่วยเตรยี ม และบรรจเุ ครื่องมือ จดั เตรียมวสั ดุทใ่ี ชใ้ นการบรรจุชดุ เครือ่ งมือ เช่น
สาลี ผา้ ก๊อส ไม้พันสาลี เข็มชนดิ ต่างๆ ด้ายเยบ็ และผูกเสน้ เลือด สายยางเหลืองเส้นเล็กและเส้นใหญ่
กระบอกฉีดยาขนาดตา่ งๆกระดาษฟรอยด์ ฯลฯ ตามใบรายการชุดเคร่ืองมือทร่ี บั ผิดชอบ ให้เพยี งพอ
ตอ่ การใชง้ าน
5.5 กอ่ นและขณะบรรจุเคร่อื งมอื ให้ตรวจสอบความสะอาด และสภาพความพร้อมใช้งานของเครื่องมือทุกช้ิน
ถ้าพบเครอ่ื งมือไมส่ ะอาดให้สง่ หนว่ ยล้างทาความสะอาดเครอ่ื งมือล้างทาความสะอาดใหม่ ถา้ พบเครอ่ื งมือ
ไมพ่ ร้อมใชง้ านให้นาไปเปล่ียนเครื่องมอื เป็นตัวท่สี ามารถใช้งานไดก้ ับพนกั งานควบคมุ จดั เกบ็ ในคลังเครื่องมือ
หรือผูท้ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย
5.6 พนักงานหมวดเตรยี มและบรรจเุ คร่อื งมือ บรรจุชดุ เครื่องมือทรี่ ับผิดชอบตามชนิด จานวนใหถ้ กู ต้อง
ตามทกี่ าหนดไว้ในใบรายการ
5.7 พนักงานหมวดเตรียมและบรรจเุ ครื่องมือ ใส่เทปเคมภี ายในระดับ 5 ในชดุ เครื่องมือ
5.8 พนกั งานหมวดเตรียมและบรรจุเครื่องมือ ห่ออปุ กรณเ์ คร่ืองมือตามเทคนิคการบรรจหุ ีบหอ่ (แบบสเ่ี หลี่ยม
หรือแบบซองจดหมาย)
5.9 พนักงานหมวดเตรียมและบรรจเุ คร่ืองมือ ติดเทปเคมีภายนอกจานวน 2 แถบโดยให้เหน็ แถบบ่งชี้อย่างน้อย 5 แถว
ในถาดชดุ เครื่องมือขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ติดเทปเคมีภายนอกจานวน 1 แถบในชุดเครือ่ งมือขนาดเลก็
5.10 พนกั งานหมวดเตรียมและบรรจเุ คร่อื งมือ พิมพส์ ติกเกอร์ ทีป่ ระกอบดว้ ยชื่อรายการเครื่องมือ วันผลติ
วนั หมดอายุ ผู้ผลติ ผทู้ าปราศจากเช้อื นามาติดทห่ี น้าห่ออปุ กรณเ์ คร่อื งมอื แพทย์
1) จัดเรียงอุปกรณ์เครื่องมอื แพทย์ใสต่ ะแกรงตามจานวนทีก่ าหนดไว้ หรือตามความเหมาะสม
ขึน้ อยู่กบั ขนาดของชุดอปุ กรณเ์ คร่อื งมือนน้ั ๆ
2) ตดิ ใบรายการแจง้ ยอดตามจานวนใส่ตะแกรงทจ่ี ดั เตรียมไว้
3) นาตะแกรงไปจัดเรียงใสร่ ถเข็นสาหรบั เตรยี มเข้าหม้อทาปราศจากเชอ้ื ด้วยวิธีนง่ึ ไอนา้ ให้ถูกต้องตรงกัน
ตามหม้อ และรอบทพ่ี ิมพส์ ติกเกอร์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 38

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หน้า
4/7
วธิ ปี ฏิบตั งิ าน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขคร้งั ท่ี วนั ท่ีอนุมัติใช้

เร่อื ง : การเตรียมและบรรจอุ ุปกรณ์ H-WI-3.8-05 00 6 กุมภาพันธ์ 2560
เครอื่ งมอื ทางการแพทย์

6. เอกสารอา้ งอิง
6.1 คณะกรรมการพัฒนาระบบการทาปราศจากเช้อื อปุ กรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์. รายงานผล
การดาเนินโครงการ “พฒั นาระบบการทาปราศจากเช้อื อุปกรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์
2556. ขอนแกน่ : โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น; 2556.
6.2 สุภาพ ศรีทรัพย์. ตัวชี้วัดกระบวนการทาใหป้ ราศจากเช้ือมาตรฐาน. [ออนไลน์] [อ้างเม่ือ 1 กันยายน 2558].
จาก www.thaicssa.com/.../KPI%207%20step%20of%20CSSD%20flow.pdf
6.3 สมาคมศูนย์กลางงานปราศจากเช้ือแห่งประเทศไทย. การทาปราศจากเช้ือ. [ออนไลน์] [อ้างเม่ือ 15 กันยายน
2558]. จาก www.cssd-gotoknow.org/2014/10/sterilization.html.
6.4 สถาบนั บาราศนาดรู กรมควบคุมโรค, สานักพฒั นาระบบบริการสุขภาพ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ และ
ชมรมควบคมุ โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแหง่ ประเทศไทย. แนวทางการพัฒนาหน่วยจา่ ยกลาง. [ออนไลน์]
[อ้างเมื่อ 20 กันยายน 2558]. จาก www.bamras.org/userfiles/12_.pdf.

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 39

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หนา้
5/7
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขครงั้ ที่ วันทอี่ นุมตั ใิ ช้

เร่ือง : การเตรียมและบรรจุอุปกรณ์ H-WI-3.8-05 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
เครื่องมือ ทางการแพทย์

7. แผนผังการปฏิบตั งิ าน

ผูร้ บั ผิดชอบ ขน้ั ตอนการปฏิบัติ ผู้เกี่ยวขอ้ ง

 พนกั งานเตรียมและ เปลย่ี นเสอื้ ผา้ /สวมอปุ กรณ์  พนกั งานเตรยี มและ
บรรจุเครอ่ื งมอื ป้องกนั ส่วนบุคคล บรรจเุ ครือ่ งมอื

 พนักงานเตรยี มและ จดั เตรยี มทาความสะอาด แนวทางการทาความ  พนกั งานเตรียมและ
บรรจเุ คร่ืองมือ อุปกรณ์และสถานท่ี สะอาดอปุ กรณแ์ ละ บรรจเุ คร่ืองมอื

สถานท่ี

 พนักงานเตรียมและ จดั เตรียมวสั ดสุ าหรบั ห่อ/บรรจุ  พนกั งานเตรียมและ
บรรจุเคร่ืองมือ บรรจุเครื่องมือ
ตรวจสอบความสะอาดของ
 พนกั งานเตรยี มและ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื  พนักงานเตรียมและ
บรรจเุ ครือ่ งมอื บรรจุเครอ่ื งมือ

 พนักงานเตรยี มและ เครือ่ งมอื สะอาด ไม่ใช่ ล้างทาความสะอาด  พนักงานเตรยี มและ
บรรจเุ คร่ืองมือ พร้อมบรรจุ อกี ครงั้ บรรจุเครอ่ื งมอื

 พนกั งานเตรยี มและ  พนกั งานลา้ งทาความ
บรรจุเครื่องมอื สะอาดเครอื่ ง

ใช่  พนักงานเตรียมและ
บรรจเุ คร่ืองมือ
ตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้
งานของอุปกรณ์เครื่องมือ

 พนกั งานเตรยี มและ เคร่อื งมอื สภาพ ไม่ใช่ เปล่ยี นเครอ่ื งมือตวั  พนักงานเตรยี มและ
บรรจุเครือ่ งมือ พรอ้ มใช้งาน ใหม่ทพี่ ร้อมใช้งาน บรรจเุ ครื่องมือ

 พนกั งานเตรยี มและ ใช่  พนกั งานควบคมุ จดั เก็บ
บรรจุเครอ่ื งมอื บรรจุอุปกรณ์เครอ่ื งมือตาม คลงั เครอ่ื งมือ

 พนักงานเตรียมและ รายการท่กี าหนด  พนักงานเตรียมและ
บรรจเุ ครือ่ งมอื บรรจุเครอ่ื งมือ
ใสเ่ ทปเคมภี ายในSteam chemical class 5
 พนกั งานเตรียมและ
บรรจเุ ครอ่ื งมือ

A

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40

(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) หนา้
6/7
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขครัง้ ท่ี วนั ที่อนุมตั ใิ ช้

เรอ่ื ง : การเตรยี มและบรรจุอุปกรณเ์ คร่ืองมือ H-WI-3.8-05 00 6 กุมภาพนั ธ์ 2560
ทางการแพทย์

ผู้รบั ผดิ ชอบ ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ ผูเ้ กยี่ วข้อง

 พนักงานเตรยี มและ A  พนักงานเตรยี มและ
บรรจุเคร่ืองมอื บรรจุเครอ่ื งมอื
ตรวจสอบการบรรจตุ ามใบรายการ

 พนักงานเตรยี มและ บรรจถุ กู ตอ้ ง ครบถว้ น ไม่ใช่ แกไ้ ขให้  พนักงานเตรยี มและ
บรรจุเครอ่ื งมอื ตามรายการ ถูกต้อง บรรจเุ ครื่องมือ

 พนักงานเตรียมและ ใช่ 1. แบบส่ีเหลย่ี ม  พนักงานเตรียมและ
บรรจเุ ครือ่ งมอื ห่ออุปกรณเ์ ครือ่ งมอื ตาม 2. แบบซองจดหมาย บรรจุเครื่องมือ
เทคนคิ การบรรจหุ บี หอ่
 พนกั งานเตรียมและ  พนกั งานเตรยี มและ
บรรจเุ ครอื่ งมอื ตดิ เทปเคมีภายนอก บรรจุเครื่องมอื

 พนกั งานเตรียมและ พมิ พ์สตก๊ิ เกอรต์ ดิ หนา้ หอ่  พนักงานเตรยี มและ
บรรจเุ คร่อื งมอื อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื แพทย์ บรรจุเครื่องมือ

 พนกั งานเตรียมและ จดั เรยี งใสต่ ะแกรง  พนักงานเตรียมและ
บรรจเุ ครอ่ื งมือ บรรจุเครื่องมอื
ตดิ ใบรายการแจง้ ยอด
 พนกั งานเตรียมและ และจานวนใสต่ ะแกรง  พนกั งานเตรียมและ
บรรจุเครื่องมอื บรรจเุ คร่ืองมือ

 พนักงานเตรยี มและ นาตะแกรงใสร่ ถเข็นสาหรับ  พนักงานเตรียมและ
บรรจเุ ครือ่ งมือ เตรียมเข้าหม้อนึง่ บรรจุเครื่องมอื

 พนักงานทาปราศจาก
เชื้อด้วยวิธีน่ึงไอนา้

8. ประวตั ิการแก้ไข 41

เรอ่ื ง : การเตรียมและบรรจุอปุ กรณ์ Doc. No. : …………………………….
เครือ่ งมอื ทางการแพทย์ Rev. No. : ………………………………….
Eff. Date. : …………………… หนา้ 7/7

บันทึกการแก้ไข
(สาหรบั เจา้ หน้าทีค่ วบคมุ เอกสาร)

ลาดับท่ี แก้ไขคร้ังที่ วันที่ เหตผุ ลการแก้ไข

42

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)

วิธีการปฏบิ ตั ิงาน
(Work Instruction)

H-WI-3.8-06
เรือ่ ง : การทาปราศจากเช้อื ด้วยวธิ ีนง่ึ ไอน้า

แก้ไขคร้งั ท่ี : 00
วันที่อนุมัตใิ ช้ : 6 กุมภาพนั ธ์ 2560

ผจู้ ดั ทา : ………………………………………
ผ้ทู บทวน : (นางศศิธร เรืองประเสรฐิ กลุ )
ผู้อนมุ ตั ิ :
หวั หน้างานจา่ ยกลาง

……………………………………
(นางศศธิ ร เรอื งประเสรฐิ กลุ )

หวั หนา้ งานจา่ ยกลาง

………………………………………
(รองศาสตราจารย์อภชิ าติ จริ ะวุฒพิ งศ์)

รองคณบดีฝ่ายโรงพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วนั ทีอ่ นุมตั ิใช้ 43
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)
6 กมุ ภาพันธ์ 2560 หน้า
วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แกไ้ ขครัง้ ท่ี 1/9

เรอ่ื ง : การทาปราศจากเชื้อด้วยวิธีนงึ่ ไอนา้ H-WI-3.8-06 00

สารบัญ หนา้
25. วตั ถปุ ระสงค์ 2
26. ขอบเขต 2
27. คาจากัดความ 2
28. หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ 3
29. รายละเอียดการทางาน 3
30. เอกสารอ้างองิ 5
31. แผนผังการปฏบิ ตั ิงาน 6
32. ประวัตกิ ารแกไ้ ข 9

44

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่อนุมตั ิใช้ หนา้
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 2/9
6 กมุ ภาพันธ์ 2560
วิธีปฏบิ ตั งิ าน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขคร้ังท่ี

เร่ือง : การทาปราศจากเช้อื ด้วยวิธีนง่ึ ไอนา้ H-WI-3.8-06 00

1. วัตถุประสงค์
เพือ่ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิตามกระบวนการทาปราศจากเชอื้ ดว้ ยวิธนี ง่ึ ดว้ ยไอน้าถูกต้องตามมาตรฐาน

2. ขอบเขต
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3. คาจากัดความ
3.1 การทาปราศจากเชอ้ื ด้วยวธิ ีนึ่งไอนา้ (Steam Sterilization) หมายถึง การทาปราศจากเชื้อดว้ ย
วธิ ีทางกายภาพ (Physical method) ชนิดหน่งึ ซง่ึ เป็นกระบวนการในการทาลายหรอื ขจัดเช้อื จุลชพี
ทกุ ชนดิ รวมท้ังสปอร์ของเชอ้ื แบคทเี รยี จากเคร่ืองมือทางการแพทย์ เครอ่ื งมือที่จะต้องผ่านเข้าสู่
ส่วนของร่างกายทป่ี ราศจากเชือ้ ไดแ้ ก่ กระแสโลหิต หรือเนอ้ื เยอื่ เช่น เคร่ืองมือผา่ ตดั เขม็ ฉีดยา
รวมทงั้ สารนา้ ท่ใี ชฉ้ ดี เข้าเสน้ เลอื ด การทาใหป้ ราศจากเชื้อ มีองค์ประกอบสาคัญที่ต้องคานึงถึง 4 ประการ
คือ อุณหภมู ิ (Temperature) ความดนั (Pressure) เวลา (Time) และความชนื้ (Moisture)
3.2 อุณหภูมิ (Temperature) หมายถงึ อุณหภูมทิ ่ีใชใ้ นกระบวนการทาใหป้ ราศจากเช้อื โดยวธิ ีนึ่งดว้ ยไอน้า
คือ 121 และ 134 องศาเซลเซียส ซงึ่ อณุ หภมู จิ ะตอ้ งรักษาไวใ้ ห้คงที่ในกระบวนการทาใหป้ ราศจากเชื้อ
จนกวา่ จะครบระยะเวลาต่าสุดที่กาหนดในการทาให้ปราศจากเช้อื ไมม่ ีสิง่ มชี วี ิตชนดิ ใดสามารถมชี วี ิตอยู่ได้
เมอ่ื สัมผสั กบั ไอน้าอิ่มตวั ท่มี ีอุณหภมู ิ 121 องศาเซลเซียสเป็นเวลานานอย่างน้อย 15 นาที
3.3 ความดนั (Pressure) หมายถึง ท่ีความดนั 15 ปอนด์ต่อตารางนวิ้ น้าจะเดอื ดทอ่ี ุณหภมู ิ 121 องศาเซลเซยี ส
และทค่ี วามดัน 32 ปอนด์ต่อตารางนิว้ นา้ จะเดือดที่อุณหภูมิ 134 องศาเซลเซยี ส ไอนา้ ท่ีอณุ หภูมิ 121 องศา
เซลเซียส และ 134 องศาเซลเซียสจะสามารถทาลายสปอร์ไดภ้ ายในเวลา 15 นาที และ 3 นาทตี ามลาดับ
ความดันจะชว่ ยใหอ้ ุณหภมู ิท่ีน้าเดอื ดสูงขึ้น แตค่ วามดันไม่มผี ลโดยตรงต่อเช้ือจุลชีพหรือต่อการแทรกซึม
ของไอน้าเข้าสหู่ ่ออุปกรณ์
3.4 เวลา (Time) หมายถึง ระยะเวลาที่อปุ กรณ์จะต้องสัมผสั ไอน้าทีอ่ ุณหภมู ิและความดนั ตามท่ีกาหนด ขึน้ อยู่กับ
ชนดิ ของเครื่องนึง่ ท่ใี ช้ ขนาดของห่ออปุ กรณ์ และลักษณะการห่ออปุ กรณ์ ระยะเวลาทใี่ ช้ในการทาให้อปุ กรณ์
ท่ีบรรจุ สาหรบั เครอ่ื งน่ึงชนดิ Pre-vacuum ที่อุณหภูมิ 134 องศาเซลเซียส ความดัน 27 ปอนด์
ตอ่ ตารางนวิ้ จะใช้เวลาเพยี ง 4 นาที
3.5 ความชื้น (Moisture) หมายถึง การทาให้อุปกรณป์ ราศจากเชอ้ื โดยวิธกี ารน่งึ ด้วยไอน้า จะมปี ระสิทธิภาพ
เมื่อไอน้าสมั ผสั กบั ทุกพนื้ ผวิ ของอปุ กรณ์ทีต่ อ้ งการทาให้ปราศจากเช้อื เมื่อไอน้าถกู ส่งเขา้ ภายในชอ่ งอบไอน้า
จะสัมผสั กบั อปุ กรณ์ซ่ึงมคี วามเย็น ไอนา้ จะกลัน่ ตัวเป็นหยดน้า ขณะท่ไี อน้ากล่นั ตัวเป็นหยดน้าจะปล่อย
ความร้อนแฝงออกมา
3.5 มาตรฐานการทาปราศจากเช้ือด้วยไอน้า หมายถึง การทาปราศจากเช้ือด้วยวธิ นี ึง่ ไอน้าได้ถูกต้องครบถ้วน ดังนี้
1) การทาความสะอาดภายในเคร่อื งก่อนนาอปุ กรณ์เขา้ เคร่ือง
2) ตรวจสอบ ประเมิน และบันทึกผลประสิทธภิ าพของกระบวนการทาปราศจากเชอ้ื ดา้ นเชงิ กลเคมี ชวี ภาพ
3) ตรวจสอบความเรียบร้อยของหีบห่อกอ่ นนาเข้าหมอ้ นึ่ง
4) แยกประเภทของหอ่ อปุ กรณ์ และจดั เรียงได้ถกู ตอ้ ง

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ วนั ทีอ่ นุมัติใช้ 45
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)
6 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 หน้า
วิธปี ฏบิ ตั ิงาน (Work Instruction) รหสั เอกสาร แก้ไขคร้ังท่ี 3/9

เรื่อง : การทาปราศจากเชื้อด้วยวธิ ีน่ึงไอน้า H-WI-3.8-06 00

4. หน้าท่ีความรบั ผิดชอบ
4.1 เจา้ หน้าที่ทาปราศจากเช้อื ด้วยวิธนี ึง่ ไอน้า มีหน้าท่ี
1) จดั เตรียมทาความสะอาดเคร่ืองนงึ่ อุปกรณ์ สถานท่ี
2) ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการทางานของเคร่อื งด้านเชิงกล ดา้ นเคมี และดา้ นชวี ภาพ
3) จดั เรียงอุปกรณเ์ ครื่องมือเขา้ เคร่ืองน่ึง
4) ทาปราศจากเชอ้ื ดว้ ยไอน้า
5) นาอุปกรณเ์ คร่ืองมือออกจากเครื่องนึง่

5. รายละเอยี ดการทางาน
5.1 พนกั งานทาปราศจากเชือ้ เปลย่ี นเส้อื ผ้า และสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล
5.2 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื จดั เตรยี มทาความสะอาดอปุ กรณ์ สถานที่ ตามแนวทางการทาความสะอาด
5.3 พนกั งานทาปราศจาก ทาความสะอาดเครื่องน่งึ ไอน้าทกุ เคร่ืองทั้งภายในและภายนอก ตามแนวทาง
การทาความสะอาดเครื่องนงึ่ ไอน้า
5.4 พนกั งานทาปราศจากเช้ือ ตรวจสอบเตรยี มความพร้อมของเคร่ืองน่ึงไอนา้ ตามแนวทาง ดงั นี้
1) เปดิ วาล์วน้า
2) เปิดวาล์วแรงดนั ไอนา้
3) เปิดระบบไฟฟ้าเขา้ เครอื่ ง
4) เลือกโปรแกรมการทดสอบประสทิ ธภิ าพเชงิ กลของเคร่ืองนง่ึ ไอนา้
5.5 พนักงานทาปราศจากเช้ือ ตรวจสอบทห่ี นา้ จอการทางานของเคร่อื งนงึ่ ไอน้าว่าพร้อมใชง้ านหรอื ไม่
ถ้าเคร่ืองอยู่ในสถานะพร้อมใช้งาน คอื หนา้ จอมีการเลือกโปรแกรมท่ีถูกต้อง และค่าแรงดนั ไอน้าอย่ทู ี่ 2-3 Bar
5.6 พนกั งานทาปราศจากเชือ้ ตรวจสอบประสิทธิภาพเชิงกลของเคร่อื งโดยใสต่ ัวบง่ ชี้ Bowie dick sheet หรอื
Bowie dick pack ที่เตรยี มไวเ้ ขา้ ไปทดสอบในเครอ่ื งทาปราศจากเช้ือ กดเลือกโปรแกรมการทดสอบ
ตามทก่ี าหนดไว้
5.7 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื อ่านผลการตรวจสอบประสิทธภิ าพและลงบันทึกในแบบฟอรม์ บนั ทึกข้อมูล
การทาปราศจากเช้ือ งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ (CSSD 002)
ถ้าการทดสอบผา่ นเกณฑใ์ ห้ทาการทดสอบขั้นตอนต่อไป ถ้าไม่ผ่านให้ทาการตรวจสอบซ้าคร้ังที่ 2
ถ้าไม่ผ่านอีกคร้ังให้แจ้งหัวหน้างานหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายเพื่อดาเนินการหาสาเหตตุ ่อไป
5.8 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื ตรวจสอบประสิทธภิ าพทางเคมีและทางชวี ภาพ โดยใสเ่ ทปเคมภี ายใน (Steam
chemical integrator class 5) และหลอดเพาะเชอื้ (Rapid Readout Biological indicator) ในหอ่ ผา้
ทดสอบ หรอื Rapid steam plus pack (Chemical and Biological indicator) สาเรจ็ พร้อมนาอุปกรณ์
เคร่ืองมอื ทจ่ี ัดเรียงไว้เข้าเคร่ืองทาปราศเช้ือด้วยไอน้าตามเคร่อื งในรอบท่ี 2 ท่ีเตรยี มไว้ให้ถูกต้อง
5.9 ขณะทาปราศจากเชอ้ื สงั เกตการทางาน หรอื ความผิดปกติการทางานของเครอ่ื ง ถา้ มีแจง้ หัวหน้างาน
เพือ่ ดาเนินการหาสาเหตตุ ่อไป

46

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันท่ีอนุมตั ใิ ช้ หน้า
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 4/9
6 กุมภาพันธ์ 2560
วธิ ปี ฏิบตั ิงาน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขคร้งั ท่ี

เรอ่ื ง : การทาปราศจากเช้ือด้วยวธิ ีนึ่งไอนา้ H-WI-3.8-06 00

5.10 อ่านผลการทดสอบข้อบ่งชท้ี างเคมภี ายใน ลงบันทึกในแบบฟอร์มบนั ทึกขอ้ มลู การทาปราศจากเช้ือ
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ (CSSD 002) นาหลอดทดสอบทางชวี ภาพ
ไปเพาะเชอื้ ทีเ่ ครื่องอุ่นเพาะเช้ือ นาอปุ กรณ์เคร่ืองมือทีท่ าปราศจากเช้ือแยกพักไว้ห้ามเก็บข้ึนชั้น ในห้องเก็บ
อุปกรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ปราศจากเช้ือ

5.11 ถา้ ผลการทดสอบทางเคมภี ายในในรอบที่ 2 ผา่ นเกณฑใ์ ห้ทาการนึง่ อุปกรณ์เครอื่ งมือแพทย์ทจ่ี ัดเตรยี มไว้
ในรอบที่3 โดยใส่ห่อทดสอบเคมภี ายใน Product testing ในการน่งึ ไอน้าทกุ เคร่อื ง ทุกรอบ ถา้ ผลการ
ทดสอบไม่ผ่านเกณฑใ์ ห้ทาการทดสอบรอบที่ 2 ซา้ ถ้ายังไม่ผ่านอีกคร้ังให้งดใชเ้ คร่อื งนง่ึ แจง้ หัวหน้างาน
หรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมายเพื่อดาเนนิ การหาสาเหตตุ ่อไป

5.12 อา่ นผลการทดสอบข้อบง่ ช้ีทางชีวภาพถ้าผ่านนาอปุ กรณ์เครื่องมือท่ีแยกพักไวเ้ กบ็ ขึ้นช้ันในห้องปราศจากเช้ือ
ถ้าไม่ผ่านนาอุปกรณ์เคร่ืองมือทาปราศจากเช้ือซ้าในเครื่องทาปราศจากเชื้อเครื่องอื่นที่ผ่านการทดสอบ
เชิงกลเคมแี ละชีวภาพแล้ว และดาเนินการหาสาเหตุปัญหาเครือ่ งน่งึ ต่อไป

5.13 นาอปุ กรณ์เครื่องมือที่จดั เรยี งไวเ้ ข้าเคร่ืองทาปราศเช้ือดว้ ยไอน้าตามเครื่องและรอบท่ีเตรียมไว้ให้ถูกตอ้ ง
พร้อมใส่ตวั ทดสอบเคมีภายใน (Steam chemical integrator class 5) ทุกรอบขณะทาปราศจากด้วยไอน้า
กดเลือกตามโปรแกรมท่ีกาหนด

5.14 นาอุปกรณ์เคร่ืองมือออกจากเครอ่ื งทาปราศจากเช้อื และอ่านผลการทดสอบเคมีภายใน (Steam chemical
integrator class 5) ทุกรอบ

5.15 เมอ่ื ทาปราศจากเชือ้ เสรจ็ สิ้นแล้วให้ตรวจสอบลกั ษณะความเรียบรอ้ ยของหบี ห่อ ก่อนเก็บข้นึ ช้ันใน
หอ้ งเกบ็ อปุ กรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ปราศจากเชื้อ

47

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ วันที่อนุมตั ิใช้ หน้า
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 5/9
6 กมุ ภาพันธ์ 2560
วิธปี ฏบิ ัติงาน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แกไ้ ขครัง้ ท่ี

เรอื่ ง : การทาปราศจากเชอื้ ด้วยวิธีนง่ึ ไอน้า H-WI-3.8-06 00

6. เอกสารอา้ งอิง
6.1 คณะกรรมการพฒั นาระบบการทาปราศจากเชือ้ อุปกรณ์ทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครินทร.์ รายงานผล
การดาเนนิ โครงการ “พัฒนาระบบการทาปราศจากเชอื้ อุปกรณท์ างการแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
2556. ขอนแกน่ : โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ; 2556.
6.2 สุภาพ ศรีทรัพย์. ตัวชีว้ ัดกระบวนการทาใหป้ ราศจากเชื้อมาตรฐาน. [ออนไลน์] [อ้างเมื่อ 1 กันยายน 2558].
จาก www.thaicssa.com/.../KPI%207%20step%20of%20CSSD%20flow.pdf
6.3 สมาคมศนู ย์กลางงานปราศจากเช้อื แหง่ ประเทศไทย. การทาปราศจากเชื้อ. [Internet] [อา้ งเม่ือ
15 กนั ยายน 2558]. จาก www.cssd-gotoknow.org/2014/10/sterilization.html.
6.4 สถาบันบาราศนาดรู กรมควบคมุ โรค, สานกั พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ และ
ชมรมควบคมุ โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย. แนวทางการพฒั นาหน่วยจา่ ยกลาง. [ออนไลน์]
[อ้างเม่ือ 20 กันยายน 2558]. จาก www.bamras.org/userfiles/12_.pdf.
6.5 อะเค้ือ อุณหเลขกะ. ความรใู้ นการทาลายเช้ือและการทาใหป้ ราศจากเชือ้ .พิมพ์ครง้ั ที่ 2. เชียงใหม:่
โรงพิมพ์ม่งิ เมือง เชยี งใหม่; 2542.
6.6 อะเค้ือ อุณหเลขกะ. หลักการและแนวทางปฏิบัตใิ นการทาลายเช้ือและการทาให้ปราศจากเช้อื . เชยี งใหม่:
โรงพิมพ์ม่ิงเมือง เชียงใหม่; 2544.

48

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันทอ่ี นุมตั ิใช้ หน้า
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University) 6/9
6 กุมภาพันธ์ 2560
วิธปี ฏิบัติงาน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แก้ไขคร้ังที่

เรอ่ื ง : การทาปราศจากเชือ้ ด้วยวธิ ีน่ึงไอน้า H-WI-3.8-06 00

7. แผนผังการปฏิบัติงาน

ผูร้ ับผิดชอบ ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ ผู้เกี่ยวขอ้ ง

 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื เปล่ยี นเส้อื ผา้ และสวมอปุ กรณ์  พนกั งานทาปราศจากเชอ้ื
 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื ป้องกนั สว่ นบคุ คล
แนวทางการทาความ  พนักงานทาปราศจากเชอ้ื
จัดเตรยี ม/ทาความสะอาด สะอาดอุปกรณ์และ
อปุ กรณ์และสถานท่ี สถานท่ี

 พนักงานทาปราศจากเชอื้ ทาความสะอาดเครอื่ งนึ่งไอนา้ ท้ัง แนวทางการทา  พนกั งานทาปราศจากเชอ้ื
 พนกั งานทาปราศจากเช้ือ ภายในและภายนอกทุกเคร่ือง ความสะอาดเคร่อื ง
นง่ึ ไอนา้
ตรวจสอบ/เตรยี มความพร้อมของ
เคร่อื งนง่ึ ไอนา้ ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามค่มู ือการใชง้ าน  พนักงานทาปราศจากเช้ือ
ของเครื่องนงึ่ ฆา่ เชอื้
พรอ้ มใชง้ าน ของผลติ ภัณฑ์

 พนกั งานทาปราศจากเชอ้ื ไม่ใช(่ 1) เคร่ืองน่งึ ไอนา้ ไม่ใช่(2) งดใช้เครือ่ งน่ึง  หัวหนา้ งาน/ผทู้ ีไ่ ดร้ บั
พรอ้ มใชง้ าน พรอ้ มรายงาน มอบหมาย
หวั หนา้ งานหรือผู้
ทไี่ ด้รับมอบหมาย  พนักงานทาปราศจากเชื้อ

 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื ใช่ - อณุ หภูมิ 121องศา  พนักงานทาปราศจากเชื้อ
 พนักงานทาปราศจากเชือ้ (20 นาที)
ตรวจสอบหน้าจอการทางานของ - อณุ หภูมิ 134 องศา  หวั หนา้ งาน/ผู้ทไี่ ดร้ บั
เครอื่ งน่งึ ไอน้าให้พรอ้ มใชง้ าน (15 นาที) มอบหมาย
- คา่ แรงดันไอนา้
2-3 Bar  พนักงานทาปราศจากเชื้อ

ไม่ใช(่ 1) หนา้ จอเคร่ืองนงึ่ ไอนา้ ไม่ใช่(2) งดใชเ้ ครื่องน่งึ
สถานะพร้อมใช้งาน พรอ้ มรายงาน
หวั หน้างานหรือผู้
ใช่ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

A

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันทอี่ นุมัตใิ ช้ 49
(Faculty of Medicine, Khon Kaen University)
6 กมุ ภาพันธ์ 2560 หนา้
วิธีปฏบิ ตั งิ าน (Work Instruction) รหัสเอกสาร แก้ไขคร้งั ท่ี 7/9

เรอื่ ง : การทาปราศจากเชื้อด้วยวธิ ีนง่ึ ไอน้า H-WI-3.8-06 00

ผู้รับผดิ ชอบ ขนั้ ตอนการปฏิบัติ ผูเ้ กยี่ วข้อง

 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื A เปน็ การทดสอบ  พนกั งานทาปราศจากเช้อื
A ประสิทธภิ าพการ
ทางานเชงิ กลของ
ทดสอบการทางานของเครอ่ื งนึง่ ไอนา้ เครือ่ งนงึ่ ไอนา้
โดยใส่ชุดทดสอบ Bowie dick pack
หรอื Bowie dick sheet ในการนงึ่
รอบท่ี 1 เลือกโปรแกรม Bowie dick

 พนักงานทาปราศจากเชอ้ื ไมใ่ ช(่ 1) Bowie dick pack ไม่ใช(่ 2) งดใช้เคร่อื งนึ่ง  หวั หนา้ งานหรือผู้ท่ีได้
 พนกั งานทาปราศจากเชอ้ื หรือ Bowie dick พร้อมรายงาน รบั มอบหมาย
 พนักงานทาปราศจากเชอื้ sheet ผ่านเกณฑ์ หวั หนา้ งานหรือผู้  พนกั งานทาปราศจากเชือ้
 พนักงานทาปราศจากเช้ือ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
 พนกั งานทาปราศจากเชอ้ื
ใช่ เปน็ การทดสอบ
 หวั หน้างานหรอื ผู้ท่ไี ด้
ทดสอบการทาปราศจากเชือ้ ของเครือ่ ง การทาปราศจาก รบั มอบหมาย
นง่ึ ไอนา้ โดยใส่ชดุ ทดสอบ Attest Rapid เช้อื ทางเคมแี ละ  พนักงานทาปราศจากเชื้อ
5 steam plus pack (Biological and ทางชีวภาพ
sterile gage class 5) พร้อมอุปกรณ์  พนักงานทาปราศจากเชื้อ
เครอื่ งมอื แพทย์ ในการน่ึงรอบที่2  พนกั งานประกนั คณุ ภาพ

เลือกโปรแกรม Bowie dick การทาปราศจากเช้ือ

ไม่ใช่(1) ผลการทดสอบการทา ไม่ใช(่ 2) งดใชเ้ ครือ่ งนง่ึ
ปราศจากเช้อื ทางเคมี พรอ้ มรายงาน
หัวหนา้ งานหรือผู้
ผา่ นเกณฑ์ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

ใช่

นาหลอดทดสอบทางชวี ภาพ
เขา้ เครื่องอุน่ เพาะเชอ้ื

 พนกั งานทาปราศจากเชือ้ จดั เรยี งอุปกรณเ์ ครือ่ งมือแพทย์เขา้ เครอื่ งน่ึง เปน็ การทดสอบ  พนกั งานทาปราศจากเชอ้ื
ไอนา้ พร้อมใส่หอ่ ทดสอบ Product testing การทาปราศ
จากเชอ้ื
ในการนึง่ รอบท่ี 3 และรอบตอ่ ๆไป

B


Click to View FlipBook Version