The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานเลขานุการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jutarat23348, 2021-09-21 02:01:04

คู่มือการปฏิบัติงานเลขานุการ

คู่มือการปฏิบัติงานเลขานุการ

เรอื่ ง คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานของเลขานกุ าร

เสนอ
ครูปรยี า ปนั ธิยะ

จัดทำโดย
นางสาวจฑุ ารัตน์ อินตะ๊ ซาว

เลขท่ี 5 สบล. 63.1
สาขาวชิ าการเลขานุการ

ค่มู อื การปฏิบตั ิงานของเลขานกุ าร เลม่ น้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของ
วชิ า 30203-2004 การจัดการเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาลำปาง



คำนำ

คู่มือการปฏิบัติงานเลขานุการฉบับนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของภารกิจหลักของงานเลขานุการ
ซึ่งข้าพเจ้า นางสาวจุฑารัตน์ อินต๊ะซาว นักศึกษา สบล.63.1 สาขาวิชาการเลขานุการ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
ลำปาง ได้จัดทำเพื่อจัดเก็บข้อมูลความรู้ เกี่ยวกับหลักการ แนวทาง เทคนิค ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน
เพื่อถ่ายทอด ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการ ได้นำไปประยุกต์ใช้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน
ใหม้ ีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้

ข้าพเจ้า ตระหนักดีว่า การปฏิบัติหน้าที่ “เลขานุการ” เป็นภารกิจที่ต้องมีความเข้าใจในบทบาท
หน้าที่ ความรอบรู้ และความรับผิดชอบ ดังนั้นจึงหวังว่าคู่มือปฏิบัติงานเลม่ นี้จะเปน็ ประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติงาน
เลขานุการ เพือ่ สง่ ผลให้การปฏิบตั งิ านเลขานกุ ารสำเร็จลลุ ่วงดว้ ยดีและมปี ระสิทธภิ าพ

ขอขอบคุณ บิดา มารดา ครู อาจารย์ และคุณครูปรียา ปันธิยะ ครูผู้สอน มา ณ ที่นี้ด้วย
ผิดพลาดประการใด ขา้ พเจ้าขอรับไวแ้ ตเ่ พียงผู้เดยี ว

จุฑารตั น์ อินต๊ะซาว
สาขาวิชาการเลขานุการ

สารบัญ ข

คำนำ หน้า
สารบัญ ก
คมู่ ือการปฏบิ ัติงานเลขานุการ ข

การนัดหมาย 1
การใช้ E-mail 3
การจดวาระการประชมุ 7
การตดิ ต่อประสานงาน 22
อา้ งองิ 32

คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านเลขานกุ าร

การนัดหมาย

การนัดหมาย (Appointment) เลขานุการจะต้องรับผิดชอบในการจัดการนัดหมาย ตลอดจน
การบันทึกนัดหมายนั้นไว้ เพราะเป็นสิ่งที่จําเป็น และต้องกระทำอย่างรอบคอบไม่ควรใช้วิธีจดจํา เพราะอาจ
เกิดขอ้ ผดิ พลาดได้ ซงึ่ มีข้อควรปฏิบตั ดิ ังนี้

1. วธิ ีการนัดหมาย
2.1 การนดั หมายดว้ ยตนเอง คือ ผทู้ ่ีประสงคจ์ ะขอพบผ้บู ริหารมาติดตอ่ ดว้ ยตวั เอง
2.2 การนดั หมายทางโทรศัพท์ คือ ผูท้ ่ีประสงค์จะขอพบผู้บรหิ ารมไิ ดม้ าดว้ ยตนเอง
2.3 การนัดหมายทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) คือ ผู้ที่ประสงค์จะขอพบผู้บริหาร

ใช้เทคโนโลยีด้านการสื่อสารเข้ามาช่วยในการนัดหมาย แต่การนัดหมายในลักษณะนี้ หากผู้บังคับบัญชา
หรอื เลขานกุ าร ไม่ได้เปดิ จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) กอ็ าจจะทำให้พลาดการตดิ ตอ่ ได้

2. รูปแบบการลงตารางนัดหมาย
เมื่อเลขานุการได้นําเรียนให้ผู้บริหารทราบเกี่ยวกับการนัดหมาย และผู้บริหารประสงค์ให้บุคคล

เข้าพบ ดังนั้น เลขานุการจำเป็นต้องลงการนัดหมายในการตารางนัดหมาย ซึ่งระบบที่เลขานุการผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดำเนินการ มี 2 รปู แบบ ดังนี้

2.1 การลงตารางนดั หมายในสมดุ นัดหมาย
2.2 การลงตารางนัดหมายในระบบ Online ที่ http://www.google.com/calendar/render
ดงั ภาพตวั อย่าง

ภาพที่ 1 การลงตารางการนัดหมาย

2
3. หลกั เกณฑ์การขอเข้าพบ

3.1 การนัดหมายจากบุคคลภายนอก ต้องขอทราบรายละเอียด ชื่อ นามสกุล เรื่องที่ต้องการนัด
หมาย วัน เวลาที่ขอนัดหมาย รวมถึงสถานที่ติดต่อกลับและหมายเลขโทรศัพท์ด้วย ทั้งนี้ เพื่อสอบถามและนัด
หมายวันเวลา และเพอื่ ให้ตรงกบั ความประสงคข์ องผ้บู ริหารในการรบั ทราบนัดหมายดว้ ย

3.2 การขอนัดหมายให้ผู้บริหารพบบุคคล ซึ่งสวนใหญ่จะเป็นบุคคลที่มีระดับสูงกว่าผู้บริหาร
ดงั นนั้ ผู้ทาํ หนา้ ที่เลขานุการจะต้องขอคำปรึกษาจากผู้บริหารและเพ่ือจัดกำหนดวัน เวลาทสี่ ะดวกในการขอนัด
หมายอย่างน้อย เวลาซึ่งอาจจะระบุเวลาที่แน่นอนหรือช่วงเวลา เพื่อให้เขาเลือกได้สะดวกขึ้นเช่น “วันจันทร์
ที่ 10 เวลา 11.00 น. หรอื วันองั คารท่ี 11 เวลา 11.00 น.” หรือ “วันจันทรท์ ี่ 10 ชว่ งเช้าหรือบ่ายกไ็ ด้”

3.3 กรณีทมี่ บี คุ คลมาติดต่อโดยมิได้นัดหมาย ผู้ทําหน้าท่เี ลขานุการจะต้องสอบถามก่อนว่าบุคคล
ที่มาติดตอ่ ได้มกี ารนดั หมายไวล้ ่วงหน้าหรอื ไม่

3.4 กรณีที่มิได้มีการนัดหมายไว้ และผู้บริหารอยูในสำนักงาน ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้อง
เปน็ ผ้ตู ัดสนิ ใจเบื้องต้นว่าสมควรให้พบผู้บรหิ ารหรือไม่ โดยการตัดสนิ ใจนน้ั ไม่ควรดูจากการแต่งกายของบุคคล
นั้น หากพิจารณาแล้วว่า บุคคลนั้นไม่สมควรให้เข้าพบ ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้องอธิบายหรือใช้คําพูดให้
เข้าใจว่า ผู้บริหารติดภารกิจอย่างอื่นอยู่ก่อนแล้ว ยังไม่สามารถให้เข้าพบได้ ดังนั้น อาจให้ฝากข้อความ
หรือเอกสารไว้ เพื่อให้ผู้บริหารพิจารณาและกำหนดวันนัดหมายในภายหลัง โดยจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งห น่ึง
เป็นต้น ส่วนในกรณีที่พิจารณาแล้วว่าสมควรจะนําเรียนผู้บริหารเพื่อพิจารณาอนุญาตให้เข้าพบหรือไม่
ผู้ทําหน้าที่เลขานุการควรจะขอทราบชื่อของผู้มาติดต่อรวมถึงเรื่องที่ขอเข้าพบด้วย เพื่อนําเรียนผู้บริหาร
พิจารณา

3.5 กรณีที่ไม่ได้มีการนัดหมายไว้ และผู้บริหารไม่อยู่ในสำนักงานควรขอทราบชื่อและธุระ
ของผมู้ าติดตอ่ และบันทึกนาํ เรียนให้ผู้บรหิ ารทราบในภายหลัง

3.6 กรณีที่ได้มีการนัดหมายไว้ล่วงหน้า ผู้ทําหน้าที่เลขานุการต้องทำหน้าที่นําเข้าพบตามเวลา
หรือก่อนเวลาหากผู้บริหารสะดวกและไม่มีภารกิจอ่ืน และผู้ทําหน้าที่เลขานุการควรทักทาย โดยการเอ่ยนาม
ของผู้ที่มาติดต่อ จะทำให้เขารู้สึกว่าได้รับความสนใจและเอาใจใส่ ทำให้เกิดการประทับใจต่อการต้อนรับ
ของเรา เช่น สวัสดีค่ะ คุณ......ที่นัดไว้ใช่ไหมคะ เชิญนั่งรอสักครู่ค่ะ ดิฉันจะนําเรียนให้ท่านทราบว่าคุณ.....
มาถึงแลว้ เป็นตน้

3.7 การเรียนให้ผู้บริหารทราบถึงกำหนดนัดหมาย หากผู้บริหารอยูตามลำพัง อาจเรียนโดยตรง
ด้วยวาจา แต่หากทานกําลังมีแขกหรือมีประชุม ให้ใช้วิธีเขียนบันทึกสั้น ๆ นําเรียน โดยอาจแนบนามบัตร
ของผู้เข้าพบไปใหผ้ ู้บรหิ ารทราบด้วยก็ได้

3.8 กรณีที่ผู้นัดหมายไว้หรือผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบ ใช้เวลาเกินที่นัดหมาย หรือเวลาที่
สมควรมาก และผบู้ รหิ ารมีภารกิจอน่ื ทีต่ อ้ งทำต่อ ควรโทรศัพทห์ รือเขยี นบนั ทึกสน้ั ๆ เรียนให้ผู้บรหิ ารทราบ

3.9 ผู้ทําหน้าที่เลขานุการ จะต้องสามารถจดจําชื่อ และจำบุ คคลได้อย่างแม่นยํา
เพอ่ื เป็นประโยชนต์ ่อการต้อนรับทีเ่ หมาะสม และดยี ่ิงข้ึนในโอกาสต่อไป

4. การเล่ือนนดั หมายและการยกเลกิ นดั หมาย

3
4.1 กรณีที่ผู้บริหารมีความประสงค์เลื่อนนัดหมาย ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้องรีบประสาน
กับหน่วยงานหรอื บุคคลให้ทราบโดยด่วน เพ่อื จัดเวลานดั หมายใหม่
4.2 กรณีที่ผู้เข้าพบมีความประสงค์เลื่อนนัดหมาย ผู้ทําหน้าที่เลขานุการจะต้องขอทราบ
รายละเอียดและเหตุผลในการขอเลื่อนนัดหมาย รวมถึงวัน เวลา ที่ประสงค์จะเข้าพบใหม่ เพื่อนําเรียน
ใหผ้ บู้ ริหารทราบ และพิจารณาต่อไป
4.3 กรณีมีการยกเลิกการนัดหมายไม่ว่าจะเป็นความประสงค์ของผู้บริหารหรือผู้ขอเข้าพบ
ผู้ทําหนา้ ท่ีเลขานุการจะต้องรีบประสานและรายงานให้ผู้บริหารและผูข้ อเข้าพบทราบโดยด่วน โดยแจ้งเหตผุ ล
ในการยกเลิกนดั หมายใหท้ ราบ
หมายเหตุ : ข้อผิดพลาดในการนดั หมายอาจเกิดข้ึนไดจ้ ากสาเหตุ ดงั นี้
- ผูบ้ รหิ ารหรือผู้ขอเข้าพบไดต้ ดิ ต่อนัดหมายกนั โดยตรง และอาจไมไ่ ด้แจง้ ให้เลขานุการทราบ
- เล่อื นวนั นดั หมายโดยไม่ได้แจง้ เลขานุการ (ทง้ั นอ้ี าจถือว่าผูบ้ ริหารทราบแล้ว)
- แจง้ เลือ่ นนดั หมายกะทันหัน
- ไมไ่ ดย้ ืนยนั การนดั หมายอกี ครัง้ ก่อนถึงวนั นดั หมาย
- ไม่ได้ลงเวลานดั หมายในตารางนดั หมายใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั

การใช้ E-mail

ภาพท่ี 2 การใช้ E-mail

E-mail ถือเป็นสิ่งพื้นฐานที่ใช้ในการสื่อสาร ทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ อีกทั้งยังเป็น
การสื่อสารไร้พรมแดนทีไ่ ม่เคยจางหายไปกับโลกเทคโนโลยีสมยั ใหม่อกี ด้วย เพราะไม่ว่าจะผา่ นมากี่ยคุ สมัย E-
mail กย็ งั คงเปน็ สง่ิ จำเปน็ ทีต่ อ้ งใช้ในการติดตอ่ สื่อสารอยดู่ ี

4
E-mail คืออะไร
Electronic-Mail หรือที่หลายคนรู้จักกันในเชื่อ E-Mail คือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้
ในการรับ-ส่ง สอื่ สารกันระหวา่ งบุคคล ซงึ่ จะทำการรับ-ส่งผา่ นเครือข่ายกลาง น่ันก็คอื อินเตอร์เนต็ (Internet)
โดยการใช้งานเหมือนกับการส่งจดหมายผ่านไปรษณีย์ปกติ คือต้องทำการเขียนข้อความภายใน โดยมีชื่อ
ของผู้ส่ง ชื่อของผู้รับ จากนั้นคลิกคำสั่งเพื่อส่งข้อความออกไปหาผู้รับ โดยทั้งชื่อผู้ส่ง และชื่อผู้รับจะต้องผ่าน
การลงทะเบียน ที่เรียกกันว่า E-mail Address หากกรณีเป็นข้อความที่ผู้รับไม่ได้อนุญาต ข้อความน้ัน
จะถกู เรยี กว่า Spam

รปู แบบของอเี มล
เม่อื คลิกไปทต่ี ัวเลอื กเพ่ือเขยี นอเี มลจะพบวา่ มีสว่ นประกอบ 2 สว่ นแยกกนั ไว้อย่างชัดเจน คือ
1. ส่วนหัว หรือ Header มีลักษณะเป็นช่องว่าง ให้กรอกรายละเอียดลงไป โดยข้อมูลที่ต้องกรอก
คล้ายกับการจา่ หนา้ ซองจดหมาย จะประกอบไปดว้ ย

- ที่อยอู่ เี มลของผู้สง่ ซ่งึ ในปัจจบุ ันอาจไม่ปรากฏให้เห็น
- ทอ่ี ยูอ่ ีเมลผู้รับ
- หัวขอ้ เนอ้ื หาภายใน เพอ่ื ให้ผู้รบั สามารถเข้าใจครา่ ว ๆ ถึงหวั ข้อเรอ่ื งของการส่ือสารครั้งนี้
2. สว่ นเนื้อความ หรือ Body เป็นสว่ นของเนอ้ื หาทีส่ ามารถพิมพ์ข้อความลงไปได้ เหมอื นการพิมพ์
ใน Word อกี ท้งั ยังสามารถแนบไฟลเ์ อกสาร รปู ภาพ วดี โี อ หรือลิงค์ข้อมูลต่าง ๆ ไปกบั อีเมลเพอื่ ส่งถึงผู้รบั ได้
รูปแบบการใช้งานอเี มล
1. การใช้งานแบบปิด หรือ Offline ซึ่งเป็นการใช้งานโดยที่ไม่ต้องทำผ่านเครือข่ายกลาง
(อินเตอร์เน็ต) ซึ่งสามารถทำได้ โดยการดาวน์โหลดดึงข้อมูลในอีเมลมาเก็บไว้ในโปรแกรม หรือภายใน
คอมพิวเตอร์ก่อน เมื่อมีข้อความเข้ามาในอีเมล ทำให้สามารถเปิดดูข้อมูลอีเมลบนเครื่องได้ตลอดเวลา
ถึงแม้จะไม่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายกลางก็ตาม แต่อย่างไรก็ตามการใช้งานแบบปิดก็ยังมีข้อเสียอยู่ นั่นก็คือ
เมอ่ื ไมม่ ีการเชื่อมตอ่ กบั เครือข่ายกลาง หากมีข้อความหรืออีเมลใหม่เข้ามากจ็ ะไมม่ ีทางทราบข้อมลู ได้
2. การใช้งานแบบเปดิ หรอื Online เปน็ การใช้งานแบบปกติท่ีใช้กัน น่ันคอื ทงั้ ผรู้ ับและผู้ส่ง
มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายกลางไว้อยู่ ทำให้สามารถรับหรือส่งอีเมลได้เลยทันที ส่วนข้อเสียของการใช้งาน
แบบนี้ ขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่อกับเครือข่ายกลาง หากการเชื่อมต่อเกิดปัญหา ก็จะทำให้การรับและส่งอีเมล
มปี ัญหาตามไปด้วย
3. การใช้งานแบบ ยกเลกิ การเช่ือมตอ่ หรอื Disconnected เป็นการผสมกันระหว่างการใช้
งานแบบปิดและแบบเปิด โดยจะอาศัยการเก็บข้อมูลหรืออีเมลเข้ามาในโปรแกรมก่อน ให้ผู้รับสามารถใช้งาน
แบบปิดเพื่อลดภาระของการเชื่อมต่อ และการทำงานของคอมพิวเตอร์ จากนั้นเมื่อผู้รับต้องการที่
จะแก้ไขข้อความ หรือส่งอีเมลเพื่อตอบกลับผู้ส่ง ก็จะมีการสลับการใช้งานเป็นแบบเปิดให้มีการเชื่อมต่อ
กบั เครือข่ายกลาง เพื่อสามารถสง่ อเี มลตอบกลบั หาผสู้ ง่ ได้

5

ภาพท่ี 3 รปู แบบการใชง้ านอเี มล
รูปแบบชอ่ื Email Address
ในการสมัคร Email Address จะมีการกรอกข้อมูลส่วนตัว ทั้งชื่อ-สกุล วันเดือนปีเกิด และ ที่อยู่
เพือ่ เป็นการยืนยันตวั ตนของผูใ้ ช้งาน ในสว่ นของชื่อจะเป็นตามรปู แบบเดยี วกัน
ส่วนแรก your name คอื ขอ้ ความหรอื ช่อื ที่สามารถตงั้ ขึ้นได้ จะสอดคล้องกับช่อื ตนเองหรือ ไม่ก็ได้
แต่ชื่อที่ตั้งขึ้นต้องไม่ซ้ำกับชื่อที่มีอยู่ก่อนแล้ว เครื่องหมาย @ สำหรับกั้นระหว่างชื่อกับชื่อเว็บไซต์
domain.com คือ ชื่อเว็บไซต์ที่ใช้ในการสมัครเพื่อให้ได้ Email Address มา ยกตัวอย่างเช่น gmail.com
outlook.com, yahoo.com และ hotmail.com เปน็ ต้น

ภาพที่ 4 รูปแบบช่อื Email

6
คำย่อท่ีพบไดบ้ ่อย ๆ ใน E-mail
ส่วนมากคำย่อที่ปรากฏภายในอีเมล จะเป็นคำปกติที่ใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน คำย่อเหล่าน้ี
ส่วนมากเป็นภาษาองั กฤษ บางคำต้องมกี ารเรียนรเู้ พ่อื ให้สามารถนำไปใชอ้ ย่างถูกต้อง
- TBA ยอ่ มาจาก To be announced หมายถึง จะประกาศใหท้ ราบภายหลงั
- TBD ยอ่ มาจาก To be determined หมายถงึ จะกำหนดทหี ลงั
- TBC ยอ่ มาจาก To be confirmed หมายถึง จะยนื ยนั กลับมาภายหลัง
- BTW ยอ่ มาจากBy the way หมายถึง อยา่ งไรก็ตาม หรือ อกี อยา่ งหนึ่ง
- FYI ยอ่ มาจาก For you information หมายถึง เรียนให้ทราบ แจง้ ใหท้ ราบ หรือเปน็ ขอ้ มูล
- CC ย่อมาจากCarbon copy หมายถึง ส่งสำเนาถึง เป็นการสง่ โดยให้รับทราบไม่จำเปน็ ต้องตอบกลับ
- FW ยอ่ มาจาก Forwarded message หมายถงึ การสง่ อีเมลที่ไดร้ บั มาแล้วใหค้ นทเ่ี กย่ี วข้อง
- RE ยอ่ มาจาก Reply หมายถงึ การตอบกลบั อีเมล

ภาพที่ 5 คำยอ่ ของ E-mail
ประโยชน์ของ E-Mail
ประโยชน์ของการใช้ E-mail คือมีความรวดเร็วและสามารถส่งข้อความไปหาบุคคลใดก็ได้ทั่วโลก
สามารถรับและสง่ ได้ทัง้ ขอ้ ความ ไฟลเ์ อกสาร ไฟล์รูป ไฟลว์ ีดีโอ หรือลงิ คข์ อ้ มลู ตา่ ง ๆ ทำให้ประหยัดคา่ ใช้จ่าย
ลดการใช้กระดาษและวัสดุสิ้นเปลืองได้เป็นอย่างดี ทั้งยังสามารถสมัครใช้ Email Address ในการทำธุรกรรม
ต่าง ๆ บนเครือข่ายกลางได้ เช่น Internet Banking, Social Network เป็นต้น เพื่อเป็นการยืนยันตัวตน
ของบคุ คลได้อีกดว้ ย ทสี่ ำคญั ผูส้ ่งสามารถสง่ เอกสารได้ไม่จำกัด ประหยัดเวลาในการส่งเพราะส่งต่ออีเมลกันได้
และสามารถสง่ ถงึ ผรู้ บั ไดห้ ลายคนพร้อมกัน
E-Mail นั้นเป็นเทคโนโลยีที่มีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะมีทั้งคว ามสะดวก
ประหยัดทรัพยากรและยังสามารถใช้ยืนยันตัวตนของผู้ใช้งานได้อีกด้วย จึงถูกนำไปเป็นส่วนหนึ่งในการทำ
ธรุ กรรมต่าง ๆ บนโลกเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต และเป็นเทคโนโลยที ี่ยังคงอยูต่ ลอดกาลอีกดว้ ย

7

ภาพที่ 6 ประโยชนข์ อง E-mail

การจดวาระการประชมุ

รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมและมติ
ของท่ปี ระชมุ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ดังนน้ั เมื่อมกี ารประชุม จึงเป็นหน้าที่ของฝ่ายเลขานกุ ารที่จะตอ้ งรับผดิ ชอบจัดทำ
รายงานการประชมุ ปญั หาของการเขยี นรายงานการประชมุ ทพี่ บบ่อยคือ ไมร่ ู้วธิ กี ารดำเนนิ การประชุมทถี่ ูกต้อง
ไม่รู้จะจดอย่างไร ไม่เข้าใจประเด็นของเรื่อง ผู้จดบันทึกการประชุมจะต้องรู้วิธีคิดก่อนเขียน รู้ลำดับความคิด
รโู้ ครงสรา้ งความคิด รูอ้ งคป์ ระกอบเนอ้ื หา จะทำให้เขียนได้เขา้ ใจงา่ ย ไม่สบั สนวกวน

รูปแบบ ให้จัดรปู แบบดงั ต่อไปน้ี
แบบรายงานการประชมุ

รายงานการประชุม……………………………………………………
ครงั้ ท…่ี ………………..

เมอื่ …………………………….
ณ……………………………………………………………………………….

————————————-
ผมู้ าประชมุ ……………………………………………………………..……………………………………
ผไู้ ม่มาประชมุ (ถา้ ม)ี …………………………………………………………………………………….
ผเู้ ข้ารว่ มประชุม (ถ้ามี) ………………………………………………………………………………….
เริ่มประชมุ เวลา………………………………………
(ข้อความ) ……………………………………………………………………………………………..............................................…….
………………………………………………………………………………………………………………................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

8
………………………………………………………………………………………………………………................................................
เลิกประชมุ เวลา……………………………………
ผู้จดรายงานการประชุม

รายงานการประชุม : ให้ลงชื่อคณะที่ประชุม หรือชื่อการประชุมนั้น เช่น “รายงานการประชุม
คณะกรรมการ……………..”

คร้ังที่ : การลงครงั้ ทีท่ ่ีประชมุ มี 2 วิธี ทสี่ ามารถเลอื กปฏิบัติได้ คือ
1. ลงครง้ั ทีท่ ี่ประชุมเป็นรายปี โดยเร่ิมครง้ั แรกจากเลข 1 เรียงเปน็ ลำดับไปจนส้ินปีปฏิทิน ทับเลขปี
พทุ ธศักราชทป่ี ระชมุ เมื่อขนึ้ ปปี ฏทิ นิ ใหมใ่ ห้ เริ่มคร้งั ท่ี 1 ใหม่ เรยี งไปตามลำดบั เช่น ครง้ั ที่ 1/2564
2. ลงจำนวนครั้งที่ประชุมทั้งหมดของคณะที่ประชุม หรือการประชุมนั้นประกอบกับครั้งที่ที่ประชุม
เป็นรายปี เช่น ครงั้ ท่ี 36-1/2564
เม่ือ : ใหล้ งวัน เดือน ปี ท่ีประชมุ โดยลงวันที่ พรอ้ มตัวเลขของวนั ท่ี ช่อื เต็มของเดือนและตัวเลขของ
ปพี ุทธศักราช เช่น เม่อื วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2544
ณ : ให้ลงชือ่ สถานที่ ทใี่ ช้เปน็ ทีป่ ระชุม
ผู้มาประชุม : ให้ลงชื่อและ/หรือตำแหน่งของผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุมซึ่งมาประชุม ในกรณี
ที่เป็นผู้ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้แทนหน่วยงาน ให้ระบุว่าเป็นผู้แทนของหน่วยงานใด พร้อมตำแหน่งในคณะ
ที่ประชุม ในกรณีที่เป็นผู้มาประชุมแทนให้ลงชื่อผู้มาประชุมแทนและลงด้วยว่ามาประชุมแทนผู้ใด
หรอื ตำแหนง่ ใด หรอื แทนผ้แู ทนหน่วยงานใด
ผู้ไม่มาประชุม : ให้ลงชื่อหรือตำแหน่งของผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุม ซึ่งมิได้มาประชุม
โดยระบุใหท้ ราบว่าเป็นผแู้ ทนจากหน่วยงานใด พร้อมท้งั เหตุผลทีไ่ ม่สามารถมาประชมุ ถ้าหากทราบดว้ ยก็ได้
ผ้เู ข้ารว่ มประชมุ : ใหล้ งช่ือหรือตำแหน่งของผทู้ ี่มิไดร้ บั การแตง่ ต้ังเป็นคณะทป่ี ระชมุ ซงึ่ ไดเ้ ข้ามาร่วม
ประชุม และหน่วยงานที่สงั กดั (ถ้าม)ี
เรมิ่ ประชมุ : ให้ลงเวลาทีเ่ รมิ่ ประชุม
ข้อความ : ให้บันทึกข้อความที่ประชุม โดยปกติดให้เริ่มด้วยประธานกล่าวเปิดประชุมและเรื่อง
ทปี่ ระชมุ กับมตหิ รอื ขอ้ สรปุ ของท่ปี ระชมุ ในแตล่ ะเรื่อง ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ดังน้ี
วาระท่ี 1 เรื่องท่ปี ระธานแจ้งใหท้ ีป่ ระชมุ ทราบฃ
วาระท่ี 2 เรอ่ื งรบั รองรายงานการประชุม (กรณีเปน็ การประชมุ ทีไ่ มใ่ ชก่ ารประชุมคร้ังแรก)
วาระท่ี 3 เรอ่ื งท่เี สนอให้ที่ประชมุ ทราบ
วาระที่ 4 เรอื่ งทีเ่ สนอให้ทปี่ ระชุมพิจารณา
วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถา้ ม)ี
เลิกประชมุ เวลา : ให้ลงเวลาทเี่ ลิกประชุม
ผู้จดรายงานการประชมุ : ใหเ้ ลขานกุ ารหรือผ้ซู ึ่งไดร้ ับมอบหมายใหจ้ ดรายงานการประชุมลงลายมือ
ชื่อ พร้อมทั้งพิมพ์ช่ือเต็มและนามสกลุ ไวใ้ ต้ลายมือช่อื ในรายงานการประชุมครง้ั นนั้ ดว้ ย

9
ส่วนประกอบของข้อความในแต่ละเรอื่ ง ควรประกอบด้วยเนอ้ื หา 3 ส่วน คอื
ส่วนท่ี 1 ความเป็นมา หรือสาเหตุท่ีทำให้ต้องมีการประชุมพจิ ารณาเรื่องนน้ั ๆ
ส่วนที่ 2 ความคดิ เห็นหรอื ข้ออภปิ รายตา่ ง ๆ ซงึ่ คณะทปี่ ระชมุ ได้แสดงความคดิ เห็นหรือไดอ้ ภิปราย
ในเร่อื งดงั กลา่ ว
สว่ นที่ 3 มติท่ปี ระชุม ซึ่งถอื เปน็ ส่วนสำคัญ ที่จำเปน็ ต้องระบใุ หช้ ัดเจน เพ่ือจะได้ใชเ้ ป็นหลักฐาน
หรือใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัตติ อ่ เรื่องต่าง ๆ ท่ีได้ประชุม
การจดรายงานการประชุม อาจทำได้ 3 วิธี คือ
วธิ ีท่ี 1 จดรายละเอียดทุกคำพดู ของกรรมการ หรือผู้เข้าร่วมประชมุ ทุกคน พรอ้ มด้วยมติ
วธิ ที ี่ 2 จดยอ่ คำพูดทีเ่ ป็นประเด็นสำคญั ของกรรมการหรือผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ อนั เปน็ เหตุผลนำไปสู่มติ
ของท่ีประชุม พร้อมดว้ ยมติ
วธิ ีที่ 3 จดแต่เหตผุ ลกบั มตขิ องท่ีประชุม การจดรายงานการประชุมโดยวิธใี ดน้ัน ใหท้ ี่ประชมุ น้ันเอง
เป็นผกู้ ำหนด หรอื ใหป้ ระธานและเลขานุการของท่ีประชมุ ปรึกษาหารือกันและกำหนด
การรบั รองรายงานการประชุม อาจทำได้ 3 วธิ ี คอื
วิธีที่ 1 รับรองในการประชมุ คร้งั นน้ั ใช้สำหรับกรณีเรือ่ งเร่งดว่ นใหป้ ระธานหรือเลขานุการของที่
ประชุม อา่ นสรปุ มติทีป่ ระชุมพจิ ารณารับรอง
วิธที ี่ 2 รบั รองในการประชุมครัง้ ตอ่ ไป ให้ประธานหรือเลขานุการ เสนอรายงาน การประชมุ คร้งั ที่
แล้วมาให้ทีป่ ระชมุ พิจารณารับรอง
วธิ ที ่ี 3 รับรองโดยการแจ้งเวยี นรายงานการประชมุ ใชใ้ นกรณีท่ไี มม่ ีการประชมุ คร้ังตอ่ ไป หรอื มแี ต่
ยงั กำหนดเวลาประชมุ ครงั้ ต่อไปไม่ได้ หรอื มีระยะเวลาห่างจากการประชุมครงั้ นนั้ มาก ใหเ้ ลขานกุ ารสง่ รายงาน
การประชุมไปให้บคุ คล ในคณะทีป่ ระชุมพจิ ารณารบั รองภายในระยะเวลาที่กำหนด

10

ตวั อย่าง

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

การตดิ ต่อประสานงาน

ภาพท่ี 7 การติดตอ่ ประสานงาน

การติดตอ่ สื่อสารให้เกิดการร่วมมือในการปฏิบัติงาน มีความสอดคล้องกัน สรา้ งระเบยี บในการทำงาน
ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การดําเนนิ งานราบรื่น ไม่เกิดการทำงานซำ้ ซ้อน ขดั แย้ง หรือเหล่ือมล้ำกัน เพ่ือให้
การ ปฏบิ ัติงานบรรลวุ ตั ถุประสงคอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ภาพท่ี 8 วตั ถุประสงค์ของการประสานงาน

วตั ถปุ ระสงคข์ องการประสานงาน
การประสานงานเกิดจากความต้องการให้งานเกิดผลสำเร็จมีคุณภาพตามมาตรฐานเป็นไปตาม
ข้อกําหนด ประหยัดเวลา ทรพั ยากรในการปฏิบัติงาน มคี วาม สะดวกราบรืน่ และไม่เกิดปัญหาข้อขัดแย้งซ่ึงใน
การประสานงานแต่ละคร้งั มีวตั ถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้

1. แจง้ ผเู้ กยี่ วขอ้ งทราบ หรอื ขอความชว่ ยเหลอื และเพ่ือรักษาไวซ้ ่ึง ความสมั พนั ธอ์ ันดี
2. ขอคํายนิ ยอมหรือความเห็นชอบ
3. เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
4. ขจัดข้อขัดแยง้ ในการปฏิบัติงานและเพิ่มประสิทธภิ าพประสิทธผิ ลในการดําเนินงานขององคก์ ร

23
5. ชว่ ยใหก้ ารดําเนินงานเป็นตามแผน และทำให้เกิดการดําเนนิ งานอย่าง รอบคอบมากยงิ่ ข้นึ
6. ใช้ตรวจสอบอุปสรรคและซกั ถามปญั หาข้อสงสัยที่เกดิ ข้ึนระหว่างการ ดาํ เนินงาน
7. เพอ่ื ให้งานบรรลุเปา้ หมายท่ีตัง้ ไว้

ภาพที่ 9 ประโยชน์ของการประสานงาน
ประโยชน์ของการประสานงาน

1. ช่วยใหก้ ารทำงานบรรลเุ ป้าหมายได้อย่างราบรนื่ รวดเรว็
2. ช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน
3. ชว่ ยประหยดั งบประมาณ วัสดอุ ุปกรณ์ในการดาํ เนนิ งาน
4. ช่วยให้ทกุ ฝ่ายเขา้ ใจถงึ นโยบายและวัตถปุ ระสงค์ขององค์กร
5. ชว่ ยสรา้ งความสามัคคแี ละความเข้าใจในหมู่คณะ
6. เสรมิ สร้างขวญั กาํ ลงั ใจของผปู้ ฏิบัติงาน
7. ชว่ ยลดข้อขัดแย้งในการทำงาน
8. ส่งเสรมิ ผ้ปู ฏิบัตงิ านใหร้ ้จู ักการทำงานเป็นทมี และเพิ่มผลสำเร็จของงาน
9. เกดิ ความคิดสร้างสรรค์ และมกี ารปรบั ปรุงอยูเ่ สมอ
10. ปอ้ งกนั การทำงานซำ้ ซ้อน
11. ช่วยให้การดาํ เนนิ งานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ

24

ภาพที่ 10 องคป์ ระกอบของการประสานงาน
องคป์ ระกอบของการประสาน
การประสานงานอาจพจิ ารณาองค์ประกอบทสี่ ำคญั ได้ดังนี้

1. ความร่วมมอื จะต้องสร้างสัมพันธภาพในการทำงานโดยอาศัยความเข้าใจ หรือการตกลงร่วมกัน
ในการรวบรวมกําลงั ความคดิ วธิ ีการ เทคนคิ และระดมทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดาํ เนนิ งาน

2. จังหวะเวลาจะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคนตาม
กาํ หนดเวลาท่ตี กลงกันให้ตรงเวลา

3. ความสอดคล้อง พิจารณาความพอเหมาะพอดี ไม่ทำงานซ้ำซ้อนกนั
4. ระบบการสอื่ สาร จะต้องมีการส่อื สารท่เี ขา้ ใจตรงกันอยา่ งรวดเรว็ และ ราบร่นื
5. ผู้ประสานงานจะต้องสามารถดึงทุกฝ่ายเข้าร่วมทำงานเพื่อตรงไปสู่จุดหมายเดียวกันตามท่ี
กำหนด

25

ภาพท่ี 11 วัตถุประสงค์ของงาน
วตั ถุประสงค์ของงาน
ปจั จยั ท่มี ผี ลต่อประสิทธภิ าพในการประสานงาน

1. ตอ้ งมีการกำหนดหนา้ ทีก่ ารงานของแตล่ ะสว่ นงานใหช้ ัดเจน
2. มีระบบการตดิ ตอ่ สื่อสารที่มีประสทิ ธภิ าพ ทั้งนี้ เทคโนโลยีการสอ่ื สาร ท่ีทันสมัยเป็นปัจจยั ทม่ี ี
ผลโดยตรงตอ่ ประสิทธิภาพในการประสานงาน
3. การรว่ มมอื กนั ของผู้ปฏบิ ัติงานในการทำงานร่วมกนั ช่วยให้เกดิ แรงจูงใจ และขวญั กาํ ลังใจของ
ผ้ปู ฏิบัติงาน
4. มกี ารประชุมทีมงาน เพ่อื กำหนดแนวทางการทำงานในการประสานงาน รว่ มกัน ควบคู่กบั การ
ฝกึ อบรมพฒั นาทีมงานเพอ่ื ให้ทมี งานมีความเข้าใจไปในทศิ ทาง เดยี วกัน
5. การมอบอำนาจการตัดสินใจในบางระดบั ให้กบั ผ้ทู าํ หนา้ ที่ประสานงาน เป็นการเพิ่มคุณค่าของ
ผ้ทู ําหน้าทีใ่ หเ้ กิดความม่ันใจและมีความคิดริเร่ิม
6. การสนับสนุนการทำงานโดยการมอบเงินรางวลั หรอื ของขวัญ เปน็ การ กระต้นุ ใหเ้ กิดความ
กระตือรือร้น และสรา้ งขวัญกําลังใจใหแ้ ก่ผู้ปฏิบตั งิ าน

26

ภาพท่ี 12 ปจั จยั ที่ชว่ ยใหเ้ กิดการประสานงานที่ดี
ปจั จยั ที่ชว่ ยให้เกิดการประสานงานที่ดี

1. ต้องมรี ะบบการตดิ ตอ่ สื่อสารท่ดี ี
2. ความร่วมมอื ของผู้ปฏิบตั ิงาน (เปน็ ไปตามอัตโนมตั ิ)
3. ขวญั กาํ ลงั ใจของคนในองค์การ
4. ผู้บงั คบั บัญชาหรือผู้บรหิ ารต้องเป็นผ้ทู ี่มีความสามารถ
5. การวางแผนงานทด่ี ี

ภาพที่ 13 ข้อแนะนำในการทำงาน

27

ข้อแนะนำในการทำงานรว่ มกับหน่วยงานอืน่ เพอื่ การประสานงาน
1. พยายามผูกมิตรในโอกาสแรก
2. หลกี เลี่ยงการนนิ ทาวา่ ร้ายหวั หนา้ คนงาน
3. ไมโ่ ยนความผิดไปใหผ้ ู้อ่ืน
4. สรรเสริญหัวหน้าคนงานอ่นื เมอื่ เขาทำความดี
5. ช่วยเหลอื เมือ่ มีเหตุฉุกเฉนิ
6. เมื่อมีงานเก่ยี วข้องกับหน่วยงานอืน่ ควรแจง้ ใหเ้ ขาทราบ
7. รบั ฟงั คำแนะนํา
8. ความเห็นของคนอืน่ แมเ้ ราจะไมเ่ หน็ ด้วยกค็ วรฟัง

ภาพที่ 14 ขอแนะนำในการทำงานรว่ มกับหนว่ ยงานอื่น

ขอแนะนำในการทำงานรว่ มกับหน่วยงานอื่นเพื่อการประสานงานรวมมือระหวา่ งหน่วยงาน
1. ศึกษาเรยี นรู้ขน้ั ตอนและวิธกี ารปฏิบตั งิ านของหน่วยงานที่เกีย่ วเน่อื งกนั
2. รับทราบปญหาอปุ สรรคจุดแขง็ จดุ อ่อนของหนว่ ยงานท่ีตองประสานงาน
3. สร้างความคนุ้ เคยกับหัวหนาหน่วยงานอืน่ มีการรวมประชุมหารือหา ขอกำหนดท่ีเป็นท่ียอมรับ

ระหวา่ งกนั อาจจัดให้มีการประชมุ สงั สรรคแ์ ละ สันทนาการรวมกัน
4. เมอ่ื เกดิ เหตุการณเขาใจผดิ หรือมีขอผิดพลาด ใหรบี คนหาสาเหตแุ ละรวม กนั ชว่ ยกนั แกไข
5. มกี ารวางระบบการติดตามผลการปฏิบตั ิงานระหวางกันเพอื่ สร้างความรับรู้ รว่ มกัน

28

ภาพท่ี 15 การประสานงานด้วยหนังสอื
การประสานงานด้วยหนังสอื
ใชใ้ นกรณีทเ่ี ปน็ งานประจำท่ีท้งั สองหน่วยงาน ทราบระเบียบปฏบิ ตั ิอยู่แล้ว มีแนวทางปฏิบตั ิ ดังน้ี

1. หากเปน็ เรื่องใหม่ ควรประสานทางโทรศพั ทก์ ่อน
2. ตัวอย่างของเรื่องที่อาจต้องมีหนังสือตามไปหลังประสานงานทางโทรศัพท์ แล้ว เช่น ขอทราบ
ข้อมูล ขอหารือ ขอทราบความตอ้ งการ ขอรับการสนบั สนุน ขอความ อนเุ คราะห์ ฯลฯ
3. หนงั สือทจ่ี ะสง่ ควรตรวจสอบให้ถูกต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ
4. การร่างหนังสือขอรับการสนับสนุน ขอความอนุเคราะห์ หรือขอความ ร่วมมือ ควร
ประกอบด้วย

- เหตทุ ม่ี ีหนงั สอื มา
- ใช้ประโยคที่สื่อถึงการให้ความสำคัญกับหน่วยงานที่ขอรับการ สนับสนุน/ความอนุเคราะห์
หรือแจง้ ความจําเป็นและเรื่องรางท่ตี อ้ งการขอความรว่ มมอื
- ต้ังความหวังท่จี ะไดร้ บั การสนบั สนนุ /ความอนเุ คราะห์หรือไดร้ ับความ ร่วมมอื
- แสดงความขอบคุณอยา่ งจริงใจ
5. เมื่อได้รับการสนับสนุน การอนุเคราะห์ แล้ว ควรมีหนังสือไปขอบคุณ หน่วยงานนั้น ๆ
เพอ่ื รักษาความสัมพนั ธ์อันดีไวส้ ำหรับโอกาสต่อไป

29

ภาพท่ี 15 การตดิ ต่อด้วยตนเอง
การตดิ ต่อด้วยตนเอง
เป็นการประสานงานที่ดี เพราะได้พบหน้า ได้เห็น บุคลิกลักษณะ สีหน้า ท่าทาง ของผู้ติดต่อ
และมเี วลาในการทำความเข้าใจกันได้อย่าง พอเพยี ง การติดต่อดว้ ยตนเอง มขี ้อเสียคือ ใชเ้ วลามาก การติดต่อ
ด้วยตนเองส่วนใหญ่ จะเป็นกรณีที่สำคัญ เช่น เรื่องการกำหนดนโยบาย หรือมีรายละเอียดมาก
เป็นการให้เกียรติ สร้างความรู้สึกที่ดี และเป็นการให้ความสำคัญแก่อีกฝ่ายหนึ่งในการมาติดต่อ ประสานงาน
ด้วยตนเอง ซ่งึ มแี นวทางการปฏบิ ัติ ดงั นี้

1. เตรียมข้อมูล หรือหัวข้อหารือให้พร้อม ข้อมูลดังกล่าวอาจมีการบันทึกสั้น ๆ หรือพิมพ์
รายละเอยี ด ส่ง E-mail ไปลว่ งหนา้ เพ่ือใหอ้ ีกฝ่ายไดเ้ ตรยี มขอ้ มูลในเบ้อื งต้นได้

2. หากสรุปข้อหารือได้แลว้ ควรจัดส่งเอกสารเพ่ือยนื ยันอีกคร้งั

30

ภาพท่ี 16 ข้อจำกัดทีเ่ ปน็ อุปสรรค
ขอ้ จำกัดทีเ่ ป็นอุปสรรคของการประสานงาน

1. กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานและบุคคลไม่ชัดเจน ส่งผลทำใหเกิดการ
กา้ วกา่ ยอำนาจหนา้ ทก่ี ารงานระหว่างกนั

2. ความแตกต่างด้านต่าง ๆ ของบุคคลการขาดมนุษย์สัมพันธ์อาจทำให้ขาดความเข้าใจอันดี
ต่อกนั ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน

3. การขาดระบบการติดต่อสอ่ื สารท่ีดีเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารไม่ทนั สมัยหรือแตกต่างกันมาก
4. ความแตกต่างกันในเทคนิคและวิธีปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยงานต่างกันรวมทั้งสภาพ
และสิ่งแวดลอ้ ม
5. การดำเนนิ นโยบายและประสทิ ธิภาพของหน่วยงานต่างกัน

31

ภาพท่ี 17 อปุ สรรคในการประสานงาน
อปุ สรรคของการประสานงาน

1. ขาดความเข้าใจอันดีตอ่ กนั ระหว่างผูป้ ฏบิ ตั ิงาน
2. การขาดผบู้ ังคับบญั ชาท่ีมีความสามารถ
3. การปฏบิ ตั งิ านไม่มแี ผน
4. การกา้ วก่ายหนา้ ทีง่ านกัน
5. การขาดการติดต่อสื่อสารที่ดี
6. การขาดการนเิ ทศงานท่ีดี
7. ความแตกต่างกนั ในสภาพและส่งิ แวดล้อม
8. การดำเนนิ นโยบายต่างกัน
9. ประสทิ ธภิ าพของหน่วยงานต่างกัน
10. กำหนดอำนาจหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบและอำนาจไม่ชัดเจน
11. ระยะทางตดิ ต่อหา่ งไกลกัน
12. เทคนคิ และวธิ ปี ฏิบัติงานในแตล่ ะหน่วยงานตา่ งกัน

32

อา้ งอิง

www.general.psu.ac.th การนัดหมาย [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา :
http://www.general.psu.ac.th/pdf/ManualSecretary.pdf (3 กนั ยายน 2564 )

www.1belief.com การใช้ E-mail [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา :
https://www.1belief.com/article/what-is-email/?fbclid=IwAR1GozQJeVaaEJmVX-
enO8zctC-6w3XeghAa6haWzvgzjTUomeGQiyAVet8 (3 กันยายน 2564 )

th.jobsdb.com การจดวาระการประชุม [ระบบออนไลน]์ แหลง่ ที่มา : https://th.jobsdb.com/th-
th/articles (3 กนั ยายน 2564 )

https://ddc.moph.go.th การตดิ ตอ่ ประสานงาน [ระบบออนไลน]์ แหลง่ ที่มา :
https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor2//%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%
E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84 (3 กนั ยายน 2564 )

33


Click to View FlipBook Version